Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นที่น้อยก็ปลูกผักได้

พื้นที่น้อยก็ปลูกผักได้

Published by jariya5828.jp, 2021-07-01 04:34:58

Description: พื้นที่น้อยก็ปลูกผักได้

Search

Read the Text Version

การปลูกผักไม่จ�ำเป็นต้องมีสวน มีไร่ถึงจะปลูกได้ แค่มี ‘ใจ’ กับพื้นที่ เลก็ ๆ เชน่ ระเบยี งคอนโดมเิ นยี มหรอื อพาร์ตเมนต์ พ้ืนที่ดาดฟ้า หรือพื้น ท่ีเอาตด์ อร์เล็กๆ ของบ้านเดยี่ วหรอื ทาวน์เฮาส์ก็ปลูกผักกินเองได้แล้ว ท�ำได้อย่างไรมาเรียนรู้กัน แต่ก่อนอ่ืนเรามารู้ประโยชน์ของ การปลูกผกั กินเองกันว่าดอี ยา่ งไร

ปลูกผัก กนิ เองดีอย่างไร ปลอดภัยกว่า ปลูกผักอินทรีย์กินเอง เตรียมดินเอง ท�ำน้�ำหมักชีวภาพเอง มั่นใจได้ 100% วา่ ไรส้ ารเคมี ดตี ่อสขุ ภาพ ประหยดั ค่ากับข้าว จะดีแคไ่ หน ถ้าคณุ มี แหลง่ วตั ถดุ บิ อาหารหลากหลาย เชน่ กะเพรา ผกั กาดขาว คะนา้ พรกิ ขห้ี นู ขน้ึ ใหเ้ ดด็ อยใู่ นบา้ น ไม่ ตอ้ งงอ้ ตลาดสด ช่วยลดโลกร้อน การปลูกผกั กนิ เอง ท�ำให้ ไม่ตอ้ งเดนิ ทาง ไม่ต้องใช้ถุงพลาสตกิ ช่วยลดพลังงาน การปลูกผักบนดาดฟ้า หรือปลูกผักพืชเลื้อย ช่วยบังแดด ลดอุณหภูมิ ภายในบ้านได้ ก็จะประหยัดค่าไฟ เพม่ิ รายได้ เมอื่ ถงึ วนั ทปี่ ลกู ไดด้ ี ปลกู ไดง้ าม ผักทีเ่ หลอื สามารถนำ� ไปขาย แปรรูปเป็นอาหาร หรอื ท�ำป๋ยุ หมกั ชีวภาพขายต่อได้

พื้นที่น้อยไม่ใช่ปัญหาของการปลูกผัก เพราะ เราสามารถเลอื กรปู แบบการปลกู ชนดิ ของพชื ผกั ท่ีเหมาะกับสภาพแวดล้อมได้ รูปแบบ การปลกู ผัก ปลูกผักพืชเลื้อย ผักพืชเล้ือยนอกจากทานได้แล้ว ยังมีประโยชน์ช่วยก�ำบังแสงแดด เช่น ถั่วลันเตา ต�ำลึง ที่เหมาะกับการปลูกในพ้ืนท่ีเล็ก เช่น ระเบียง คอนโดมิเนียม วิธีการก็คือ สร้างห้างให้พืชเลื้อยแบบง่ายๆ ด้วยท่อ PVC มาต่อกับข้อต่อ โดยจะท�ำเป็นรูปทรงอะไรก็ตามแต่สะดวก หรือ จะใช้ไม้ไผ่ท�ำก็ได้ ยอดออ่ นของถวั่ ลนั เตาทเ่ี รารจู้ กั กนั ในชอ่ื “โตว้ เหมยี่ ว” เมอ่ื ครบ 7 วนั ก็ สามารถตัดมาทานได้แล้ว รวมถึงถั่วชนิดอื่นๆ เช่น ถ่ัวเขียว เมื่อเพาะ ได้ 4 วัน เราก็จะได้ “ถั่วงอก” มาทาน เห็นไหมว่า การปลูกผักทานเอง ไมย่ ากและไม่ต้องรอนาน

ปลูกพืชสมุนไพร พชื สมนุ ไพร เชน่ กะเพรา ตะไคร้ หอมแดง สะระแหน่ โหระพา กยุ ช่าย และพรกิ เปน็ พชื ลักษณะเลก็ สามารถปลูกในกระถาง หรอื วัสดปุ ระยกุ ตข์ นาดไมต่ อ้ งใหญ่ ปลกู ผกั แนวตง้ั การปลกู ผกั แนวตง้ั เปน็ สไตลท์ เ่ี หมาะกบั พนื้ ทท่ี ค่ี อ่ นขา้ งจำ� กดั อุปกรณ์ในการเพาะปลูกที่น�ำมาจัดสวนแนวตั้งได้นั้น ได้แก่ กระถาง ขวดน้ำ� แก้วกาแฟ หรือภาชนะอนื่ ๆ ในบา้ นทีน่ ำ� มา ประยุกต์แขวนไว้กับผนังหรือระเบียงได้ แต่ภาชนะที่น�ำมา ประยุกต์ใช้จะต้องเก็บดนิ ได้และนำ�้ สามารถไหลออกได้ ปลูกผกั แนวนอน วธิ กี ารนเี้ หมาะกบั บา้ นทมี่ พี น้ื ทไ่ี มน่ อ้ ยจนเกนิ ไป เชน่ มบี รเิ วณ ดาดฟา้ หรอื บรเิ วณหนา้ บา้ นหรอื หลงั บา้ น โดยใชว้ ธิ ปี ลกู ผกั ใน กระบะ และนอกจากกระบะแลว้ ยงั สามารถนำ� ทอ่ PVC มาตอ่ แล้วใชแ้ สลนปูรองท่พี ้นื ก็ปลกู ผักได้ด้วย วธิ ีน้ดี ินก็ไมไ่ หลออก มาเช่นกนั เป็นวธิ ที ่ที �ำงา่ ย ทน และราคาถูก เคลด็ ลับปลกู ผักแนวนอน ส่ิงที่ต้องค�ำนึงถึงคือ ความร้อนและน้�ำหนัก ซ่ึงผู้ช่วยชั้นดีในการลดความร้อน และน�้ำหนักก็คือ ถ่านหรอื กาบมะพร้าว โดยการปไู วด้ ้านลา่ งภาชนะคร่งึ หน่งึ

ปลูกผกั อะไรดี เราควรเลือกผักที่เราอยากทานและเหมาะกับการปลูกในพ้ืนที่เล็กๆ เช่น กระถางหรือกระบะ โดยมีส่ิงที่ต้องค�ำนึงถึง ดังน้ี 1. ควรเลือกผักท่ีมีรากหย่ังลึกน้อยถึง ปานกลางจะได้เหมาะกับการปลูกผักใน กระถางหรือกระบะ ผักหย่ังรากตื้น เช่น คะน้า กะหล�่ำปลี ผักกาดขาว ผักกาดเขียว ผักกาดหอม สะระแหน่ ผักชี ตั้งโอ๋ เป็นต้น ผักหยั่งรากกลาง ได้แก่ กะเพรา มะเขือ โหระพา พริก มะเขือเทศ ถั่วฝักยาว แตงกวา แมงลัก เป็นต้น 2. เลือกผักชนิดที่ปลูก 1 ครั้ง แต่เก็บ เกยี่ วได้หลายคร้ัง เช่น กะเพรา เป็นต้น เพราะเราจะมีผักกินได้เร่ือยๆ (หากปลูก ผักที่ตัดกินได้คร้ังเดียว ต้องรออีก 1-2 เดือน กว่าจะได้ปรุงอาหารอีกคร้ัง) 3. ควรปลูกผักให้หลายๆ ชนิด เพราะ ร่างกายมนุษย์ต้องการสารอาหารที่ หลากหลาย

ผกั อะไร... เหมาะปลกู หน้าฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ควรปลูกคะน้า กุยช่าย บวบเหล่ียม ขา้ วโพดหวาน และหอมแดง ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ควร ปลูกผักโขม ผักกาดขาว กุยช่าย มะเขือเปราะ มะเขือยาว พริกข้ีหนู พริกชี้ฟ้า เทคนิคปลูกพืชหน้าฝน 1. ควรปลูกพืชล้มลุกท่ีมีรากไม่ลึกและแผ่ขยายไม่กว้าง เพ่ือง่ายต่อการลงดิน 2. หาวัสดุมาคลุมดิน เช่น แกลบหรือฟาง เพ่ือไม่ให้น้�ำฝนชะล้างหน้าดิน 3. ยกร่องดินให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดการระบายน�้ำได้ ช่วยให้รากมีอากาศหายใจ 4. ท�ำหลังคาตาข่ายมุง เพ่ือช่วยกรองแดด และป้องกันฝนได้ดีระดับหน่ึง เม่ือเลือกผักที่จะปลูกได้แล้ว ก็มาเข้าขั้นตอนการปลูกกันเลย

วธิ ปี ลกู ผัก ในกระถาง 1. เตรียมกระถางหรือภาชนะที่ลึกอย่างน้อย 30 เซนติเมตร 2. ผสมดิน 1 ส่วนกับปุ๋ยหมัก / ปุ๋ยคอก 1 ส่วน และแกลบด�ำ 1 ส่วน แล้วแยกใส่ในกระถางส่วนหนึ่ง 3. ขุดดินในกระถางให้เป็นรูตรงกลาง แล้วน�ำกล้าผักที่เพาะไว้มาใส่ 4. กลบด้วยดินท่ีผสมไว้อีกส่วนหนึ่ง 5. วางกระถางในท่ีท่ีโดนแดดอย่างน้อยคร่ึงวันแล้วรดน�้ำเช้า-เย็น 6. รดน้�ำหมักชีวภาพผสมน้�ำทุก 3 วัน (ในกรณีท่ีต้องการเร่งการ เจริญเติบโต / เร่งดอกเร่งผล / มีแมลงรบกวน) วิธีน้ีประยุกต์ใช้กับภาชนะอ่ืนๆ ได้ เช่น ขวด แก้วกาแฟ ตะกร้า เป็นต้น แต่การจะให้พืชผักงาม ปัจจัยหลักอยู่ท่ีการเตรียมดินก่อนที่จะ ผสมดินลงในกระถาง

เคล็ดลับ 1. นำ� เศษผักผลไม้ กากกาแฟ เศษอาหารมา ย่อยเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วผสมเศษอาหารเหล่านี้ เตรียมดนิ เข้ากบั ปุ๋ยคอก ให้ผักโต๊โต 2. เตมิ น�้ำตาลใส่ดนิ ในปริมาณที่เหมาะสม 3. ใส่น้�ำหมักชีวภาพให้พอเปียกและคลุกให้ เข้ากัน 4. ทิ้งไว้ในภาชนะที่อากาศผ่านได้ เช่น เข่ง ตะกรา้ ถงุ ปยุ๋ แลว้ หมกั ไว้ 7 วนั วางไวใ้ ตช้ ายคา ไม่โดนแดดโดยตรง (หากมีกลิ่นเหม็นให้เอา นำ�้ ตาลละลายนำ้� พรมใส)่ และหลงั 7 วนั ใหจ้ บั ดนิ ดู ถา้ ไมร่ อ้ นคอื ยอ่ ยสลายหมดแลว้ พรอ้ มใช้ 5. จากนัน้ ผสมดินเข้ากับป๋ยุ หมกั ในอัตรา 1:1 แลว้ นำ� ใสก่ ระถาง จากนนั้ หยอ่ นเมลด็ พนั ธห์ุ รอื ต้นกล้าลงไป วธิ ที ำ�น้ำ�หมกั ชวี ภาพใชเ้ อง สตู รผัก สตู รผลไม้ ส่วนผสม เศษผักใบเขียว ยอดผักใบเขียว ส่วนผสม เปลอื กผลไม้สด กากนำ้� ตาลหรือ (ยอดพืชทุกชนิดจะสะสมฮอร์โมนเติบโต น้�ำตาลทรายแดง ปริมาณเท่ากับปริมาณ เพราะผกั โตทางยอด) และกากนำ�้ ตาลหรอื ผลไม้ที่ใช้ เชน่ ผลไม้ 1 กโิ ลกรมั ตอ่ น�้ำตาล น้�ำตาลทรายแดง ปริมาณเท่ากับปริมาณ 1 กโิ ลกรัม ผักท่ีใช้ เช่น ผัก 1 กิโลกรัมต่อน�้ำตาล 1 วัสดุ ขวดหรอื ภาชนะเจาะรู กิโลกรัม วธิ ที ำ� นำ� เปลอื กผลไมส้ ดมาคลกุ กบั นำ้� ตาล วิธีท�ำ น�ำผักมาผสมกับน้�ำตาล แล้วต้ัง แล้วน�ำไปใส่ในภาชนะที่เจาะรู ปล่อยให้ ทิ้งไว้ให้น้�ำไหลออกมา และใช้น้�ำนั้นมา น้�ำค่อยๆ หยดออกมา น�ำน�้ำนั้นไว้ใช้รด รดน้ำ� ต้นไม้ ต้นไม้ ส่วนกากทเ่ี หลือกน็ �ำมาผสมดิน

เรือ่ งน่ารขู้ องนกั ปลูกมือใหม่ นักปลูกมอื ใหม่มกั เจอปัญหาดนิ ไมค่ อ่ ยร้อน ซงึ่ อาจเกดิ จากดนิ ชนื้ เกินไป เพราะ ใส่น�้ำมากเกินไป แต่ไม่ตอ้ งกงั วล ถ้าไมร่ ้อนก็ใหท้ งิ้ ไว้ อาจจะชา้ หนอ่ ย แตย่ อ่ ยแนน่ อน กลน่ิ เนา่ ทเี่ กดิ จากการใสเ่ ศษอาหารประเภทโปรตนี เยอะเกนิ ไป วธิ แี กค้ อื ใสน่ ำ�้ ตาล เพม่ิ เขา้ ไป เศษโฟม หลอดน�้ำ สามารถผสมในดนิ ได้ เพอื่ ใหด้ นิ เกดิ ช่องว่าง ระบายน้ำ� ได้ดี และอากาศสามารถเขา้ ไปในดินได้ เพราะอากาศเป็นตวั กระตนุ้ ออกซเิ จน ทำ� ใหร้ ากพืช เกดิ ได้ดีขึน้ วิธีก�ำจดั โรคพืชไดด้ ีที่สุดคือ เราต้องหม่ันสังเกต ถ้าเหน็ สง่ิ ผิดปกติก็พลิกใบดู ถา้ เป็นโรคกเ็ ด็ดทิง้ ทันที ตาขา่ ยพรางแสง ให้เลอื กท่ีพรางแสงได้ 60% มอื ใหมห่ ัดปลูกควรปลูกแต่พอกนิ ก่อน เมอ่ื ช�ำนาญแล้วค่อยเพิ่มปริมาณ เมอ่ื เกบ็ ผกั ในกระถางหมด ใหเ้ ตมิ ดนิ ชดุ ใหม่ลงกระถางใหเ้ ต็มแล้วปลูกใหม่ได้เลย แตอ่ ยา่ ปลกู ผกั ชนดิ เดมิ ตอ่ ทนั ที เพราะสารอาหารทพี่ ชื ชนดิ นนั้ ตอ้ งการจะถกู ดงึ ไปใชห้ มด แลว้ ใหป้ ลกู พืชอื่นๆ หมนุ เวยี นสัก 2-3 รอบ แล้วจงึ ค่อยกลบั มาปลูกพชื ชนดิ เดิม ผักน่าปลูก ผกั บุ้งจนี สำ�หรับมือใหม่ วิธเี ตรยี มเมลด็ พันธ์ุ 1. แชเ่ มล็ดพันธไ์ุ ว้ 1 คนื (ถา้ อยากให้งอกเร็ว) 2. จากนน้ั น�ำมาหอ่ ผา้ ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วนั และ รดนำ�้ ใหผ้ า้ เปียก โดยรดวันละ 1 ครง้ั และเก็บไวใ้ นรม่ 3. พอครบ 2 วนั ตน้ ก็พรอ้ มโต มลี กั ษณะคลา้ ยถว่ั งอก ให้น�ำไปลงกระถางปลกู ไมเ่ กิน 10 วันก็ไดก้ นิ แล้ว วิธีน�ำผักบุ้งลงกระถาง น�ำดินที่เราเตรียมไว้ใส่กระถาง น�ำต้นผักบุ้งลงดิน แลว้ รดนำ้� พอครบ 7 วนั กใ็ สป่ ยุ๋ บำ� รงุ ไดโ้ ดยใหใ้ สต่ อนเชา้ แตถ่ า้ ใสส่ ารฆา่ แมลง เชน่ นำ�้ หมกั ชวี ภาพ หรอื นำ้� สม้ ควนั ไม้ให้ใสต่ อนเย็น

ถว่ั งอก วิธเี ตรียมเมล็ดพันธุ์ 1. น�ำเมลด็ ถว่ั เขียวแชน่ น้�ำทิ้งไว้ 1 คืน 2. จากน้นั น�ำมาใส่ตะกรา้ แล้วคลมุ ผา้ เพื่อรักษาความช้ืน 3. น�ำหนิ น้ำ� หนกั ประมาณแก้วน้�ำมาทบั ไวอ้ ีกที เพื่อปอ้ งกันไม่ให้ถว่ั งอกยืดหาแสง ซึง่ ต้นจะไม่อวบ 4. เมื่อถวั่ งอกงอกแลว้ แต่เรายังไม่อยากกิน ให้น�ำไปแชเ่ ย็นได้ หากเราเก็บผักท้ังต้น ผักที่ได้อาจเยอะเกินความ ตอ้ งการ ดงั นนั้ เราควรใชว้ ธิ เี กบ็ เปน็ ใบๆ เทา่ ทตี่ อ้ งการ โดย เรมิ่ ตน้ เดด็ จากใบลา่ งขน้ึ สดู่ า้ นบน เพราะใบทอ่ี ยดู่ า้ นลา่ ง จะแก่ ดว้ ยวธิ กี ารนเ้ี ราจะสามารถเกบ็ ใบไดจ้ นกวา่ ตน้ จะ ออกดอก ซึง่ ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 เดือน คะน้า ผักบุ้ง เด็ดใบโดยไม่ต้องถอนออกท้ังต้น เพ่ือให้ใบอ่อน แตกแขนงออกมาอีก สะระแหน่ กะเพรา โหระพา แมงลัก ต�ำลึง ยงิ่ เดด็ ยิ่งแตกยอดให้ ไดร้ ับประทานกันตลอดปี

จัดพิมพแ์ ละเผยแพรโ่ ดย SOOK PUBLISHING เรียบเรยี งขอ้ มูลบางสว่ นจาก • เอกสาร Green Workshop #1 : มาปลูกผกั กัน ศูนยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะ สำ� นักงานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) • เอกสารความรอู้ ินโฟกราฟกิ เกบ็ ผกั แบบเวริ ์กๆ ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สำ� นกั งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) • เอกสารความรู้อนิ โฟกราฟิก เตรยี มดนิ ยังไงให้ผกั โต๊ โต! ศูนย์เรียนรู้ สขุ ภาวะ ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) • เอกสารความรู้อินโฟกราฟกิ เทคนคิ ปลกู ผักในหนา้ ฝน ศนู ย์เรียนรู้ สขุ ภาวะ ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) • เอกสารความรอู้ นิ โฟกราฟกิ ลงมอื ปลกู ผกั กนั เลย ศนู ยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะ ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) • ปลกู ผักกนิ เองมีดีไฉน? ศนู ย์เรียนรู้สุขภาวะ ส�ำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) สามารถสืบคน้ ข้อมลู และหนังสอื เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ห้องสรา้ งปญั ญา ศนู ย์เรียนรู้สขุ ภาวะ ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) หรอื ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ีแอปพลเิ คชัน SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook