Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

Published by jariya5828.jp, 2022-08-11 04:31:20

Description: สมุดภาพสัตว์หิมพานต์

Search

Read the Text Version

สมุดภาพสตั วห์ ิมพานต์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม จัดพมิ พส์ นองพระมหากรุณาธคิ ณุ โนงานพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ณ พระเมรมุ าศ ทองสนามหลวง วันพฤหสั บดี ที่ ๒๖ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๕๖(ว



MllHMl1IllM|1lf|l1lBllIb1llilร^^^^^®^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^B^H^H^Hwl^lilB^fjl I■1HSM1wI1M111pBMi111BHlS111ill^^^^^^^^^ 1 1 iffBlHlljI 1 1 llllll mBM|Bg Jillเ^^^^^^^^^^^^^^^^^^สิฒ OIKCร »I«H>2Cco>>i<<ii>>:«asi>>i<<cii>>;<<ii^^ Ig g fg g lilllf il ___________________________________________________________

สมุดภาพสัตว์หิมพานต์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม จัดพมิ พ์ลนองพระมหากรุณาธคิ ุณ ในงานพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ณ พระเมรุมาศ ทอ้ งสนามหลวง วันพฤหสั บดี ที่ ๒๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐

สมุดภาพสัตว์หมิ พานต์ สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม พิมพค์ ร้ังแรก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ จำนวน ๑,๗๐๐ เลม่ ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. กรมศิลปากร . สมดุ ภาพสตั ว์ทมิ พานต.์ - กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม, ๒๕๖๑. ๒๑๒ หน้า ๑. สัตวใ์ นวรรณคด-ี ภาพ. (. ซอื่ เร่ือง. 704.9432 ISBN 978-616-283-370-0 ที่ปรกึ ษา อธบิ ดกี รมศิลปากร (นายอนนั ต์ ชโู ชติ) รองอธบิ ดกี รมศิลปากร (นายประทปี เพง็ ตะโก) รองอธิบดกี รมศลิ ปากร (นายเมธาดล วจิ ักขณะ) รองอธบิ ดีกรมศิลปากร (นางประนอม คลงั ทอง) ผ้อู ำนวยการสำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ (นางสาวกนกอร ศกั ดาเดช) นายเทมี มีเตม็ ผูท้ รงคุณวุฒิด้านภาษาตะวันออก ประธานคณะทำงาน นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลยห์ วงั เจรญิ นกั อักษรศาสตร์ทรงคณุ วฒุ ิ คณะทำงาน นายทีปวจั น์ ศรีวชั รวิซญ์ นางสาวเอมอร เชาวน์สวน นายสมชยั ฟ้กสุวรรณ์ นายจงุ ดบิ ประโคน นางศิวพร เฉลมิ ศรี นายวิ,นัย เภาเสน นางสาวซญานุตม์ จนิ ดารตั น์ นายวัฒนา พ่ึงชน่ื นางสาววชรพร อังกูรชัชชัย นางสาวยวุ เรศ วุทธีรพล นายสนั ติ วงศ์จรญู ลกั้ ษณ์ นางสาวสาวิณี ขอนแก่น นายจามกี ร ชทู รพ้ั ยั ์ นางสาวรตนาภรณ์ ประจงการ นางสาวหทัยรตั้ น์ บญุ กอง นางสาวปณุ ยวีร์ ส่งเสรมิ นางสำอางศ์ ขนุ ศรี นายสินธ์ซย กลอ่ มเมือง ถ่ายภาพและศิลปกรรม นางสาวนา้ํ ทิพย์ นงศ์สูงเนิน นางขวญั ฤทยั ขาวสะอาด นายหฏั ฐกร เซน็ เสถียร นายชโย ทอ่ งลือ สถานท่ีพิมพ์ บรษิ ทั อมรินทร์'พ'รน้ิ ต้ิงแอนศพ์ ับลซิ 'ชง่ิ จำกัด (มหาซน) ๓๗๖ ถนนชยั พฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตล่ิงชนั กรงุ เทพฯ ๑๐๑๗๐ โทรศัพท ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๒๗๔๒ E-mail: [email protected] Homepage: http://wvvw.amarin.com

คำปรารภ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี ในโอกาสจดั พิมพห์ นงั สอื ที่ระลกึ และจดหมายเหตุ เนื่องในงานพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร วันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีแห่งการครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงปกครองประเทศชาตแิ ละประชาชนด้วยทศพธิ ราชธรรม ดังพระปฐมบรมราชโองการทไ่ี ด้พระราชทานไวใน พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เมื่อวันท่ี ๕พฤษภาคม ๒๔๙๓ ว่า “เราจะครองแผน่ ดินโดย แห่งมหาชนซาวสยาม” และทรงต้งั มัน่ ในพระราชปณธิ านอันแนว่ แนท่ จี่ ะทรงอทุ ศิ ทมุ่ เทกำลังพระวรกายและกำลัง พระราชหฤทัยในการบำเพ็ญพระราชกรณยี กจิ นานปั การเพือ่ ความกนิ ดีอยดู่ ี คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีใหแ้ กอ่ าณาประซาราษฎร์ และความเจรญิ ก้าวหน้าอย่างย่งั ยนื ชองประเทศชาติ พระองค์ทา่ นทรงงานดว้ ยหลักการ “เขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา” รวมท้ังได้พระราชทานหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ เป็นแนวทางส'ู การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ผ่านโครงการ อนั เนื่องมาจากพระราชดำริหลากหลายสาขาเกอื บ ๕,000 โครงการ กอ่ เกิดเปน็ “ศาสตรแ์ หง่ พระราชา” ซึง่ เปน็ การวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เขม้ แข็งอย่างยง่ั ยืน นบั เปน็ คมั ภีรอ์ นั ลาํ้ คา่ แหง่ แผน่ ดนิ ท่ไี ด้พระราชทานแก1 ลูกหลานไทย พระราชดำรสั และพระบรมราโชวาทในวาระโอกาสตา่ งๆ คือ ปรชั ญา คำสอน และคติธรรมที่พระองค์ ทรงปรารถนาใหป้ วงซนซาวไทยท้งั หลายต้งั มนั่ อยูในความดงี าม ความพอดี ความพอเพยี ง รกั ษาความเปน็ ชาติ อารยะ นับเป็นบุญวาสนาของประซาซนชาวไทยที่ได้เกิดมาอยภู่ ายใต้รม่ พระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตรยิ ์ ผทู้ รงพระคุณอนั ประเสริฐ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงเป็นเอตทคั คะทัง้ ศาสตรแ์ ละศลิ ป็ หลายแขนง ทรงเปน็ ท้งั ปราชญ์และครูแห่งแผ่นดินท่ยี ่งิ ใหญท่ ่ีประซาซนซาวไทยต่างเทิดทูนไว้เหนอื เศยี รเกลา้ Q0

พระอจั ฉรยิ ภาพอนั ลา้ํ เลิศและพระปรชี าสามารถเป็นที่ประจักษต์ ,อสายตาและประทับใจทง้ั ซาวไทยและซาว ต่างประเทศ จึงทรงไดร้ บั การทลู เกลา้ ทลู กระหม่อมถวายรางวัลเทดิ ทูนพระเกียรติยศในฐานะทท่ี รงเป็นทัง้ กษัตรยิ ์ นกั คดิ และนกั พฒั นา โดยทรงได้รับการทูลเกลา้ ทลู กระหม่อมถวายพระราชสมัญญามากมายหลายด้าน เซ่น “อคั รศลิ ปนิ ” “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” “พระบิดาแหง่ ฝนหลวง” “พระบิดาแหง่ นวตั กรรมไทย” “พระบดิ าแห่งการประดษิ ฐไ์ ทย” “พระบิดาแหง่ การอนุรักษม์ รดกไทย” “พระบิดาแหง่ การวิจยั ไทย” “พระบิดา แหง่ มาตรฐานการชา่ งไทย” “พระผ้ทู รงเปน็ ครแู หง่ แผ่นดนิ ” เปน็ ตน้ โดยเฉพาะท่ีสำคญั องค์การสหประซาซาติ ได้น้อมเกล้าน้อมกระหมอ่ มถวายรางวัล“ความสำเร็จสงู สุดดา้ นการพฒั นามนษุ ย”์ และทลู เกล้าทลู กระหมอ่ มถวาย พระราซสมญั ญา “พระมหากษัตรยิ น์ กั พัฒนา” เพอื่ เฉลิมพระเกียรตใิ นฐานะท่ีทรงอทุ ิศพระองคใ์ นการพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ ท่ดี ฃี องประซาซนซาวไทย และพัฒนามนุษยชาติอย่างต่อเนอ่ื ง นอกจากนนั้ ยังได้กำหนดให้วนั ที่ ๕ ธนั วาคม ของทุกปี เปน็ “วนั ดินโลก” และน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย “รางวลั นกั วทิ ยาศาสตร์ดินเพอื่ มนษุ ยชาติ” เพอื่ สดดุ พี ระเกียรตคิ ณุ แด1พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทท่ี รงใหค้ วามสำคญั กบั การอนุรกั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรดนิ จนพลิกฟินผืนดนิ เพอ่ื การทำเกษตรกรรมอยา่ งยง่ั ยนื วันพฤหัสบดที ี่ ๑๓ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๕ ๙๕วเลา ๑(ะ นาฬกิ า ๕๒ นาที โศกศลั ยค์ ร้งั ใหญ่ของพสกนกิ รซาวไทยทั้งปวง ประเทศไทยต้องตกอยูในท่ามกลางความโศกเศร้าอาลัยโดยทั่วกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดินทร สยามนิ ทราธิรา'ซ บรมนาถบพติ ร พระมหากษตั ริย์ผทู้ รงเป็นศนู ยร์ วมดวงใจของคนไทยทง้ั ชาติ เสดจ็ สู,สวรรคาลัย และนบั เปน็ วนั มหาอาดูรของโลก โดยผู้นำจากทกุ ประเทศลว้ นแสดงความอาลัยและเสียใจต่อการเสด็จสวรรคตในครัง้ น้ี รัฐบาล ไดก้ ราบบังคมทลู ขอพระราชทานพระราชานญุ าตสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวซริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร จดั งานพระราชพิธีถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เพ่ือนอ้ มเกล้าน้อมกระหมอ่ มถวายพระเกียรตยิ ศอยา่ งสูงสดุ ตามฃตั ตยิ โบราณราชประเพณี เพื่อแสดงความจงรกั ภกั ดี และนอ้ มเกลา้ น้อมกระหมอ่ มถวายเป็นราขสักการะกตญั ณตุ าบชู า ประกาศเฉลิมพระเกียรตยิ ศให้ปรากฏแผไ่ พศาล และเพื่อใหป้ ระซาซนซาวไทยทุกหมู่เหล่าไดม้ ีสว่ นรว่ มสนองพระมหากรณุ าธิคณุ อนั หาที่สุดมิไดข้ องพระมหากษตั รยิ ์ ผทู้ รงพระคุณอันประเสรฐิ โดยรัฐบาลไดก้ ราบบงั คมทูลเชญิ สมเด็จพระเทพรตั นราซสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นทปี่ รกึ ษากติ ติมคกั ดึ๋ในการพระราชพิธี ณ วาระน้ี รัฐบาลโดยคณะกรรมการอำนวยการจดั งานพระราชพธิ ีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ๘ คณะในการดำเนินการจดั งานพระราชพธิ ี พระบรมศพตามโบราณราชประเพณอี ย่างสมพระเกียรติพระราชอสิ ริยยศในวาระสำคญั นี้ให้สมบูรณ์ตามจารตี โบราณ ราชประเพณี ทงั้ งานพระราชพิธี งานรัฐพิธี งานศาสนพิธแี ละงานอื่นๆ ตั้งแต่การบำเพ็ญพระราชกศุ ลพระบรมศพ ณ พระท่ีนงั่ ดสุ ติ มหาปราสาท และการถวายพระเพลงิ พระบรมศพ ณ มณฑลพระราชพิธีท้องสนามหลวง โดยมี ๙

คณะกรรมการฝ่ายจดั ทำหนงั สือทีร่ ะลกึ และจดหมายเหตุงานพระราชพธิ ีถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช และคณะอนุกรรมการตา่ งๆ ๑๐ คณะ ดำเนนิ การจัดทำหนังสอื ทีร่ ะลกึ และ จดหมายเหตุงานพระราชพธิ ีถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพอ่ื บันทกึ พระราชพิธอี นั เกยี่ วเน่ืองกับการพระบรมศพในงานพระราชพธิ ีถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ตามธรรมเนียมปฏบิ ตั ิโบราณราชประเพณี ทั้งการก่อสรา้ งพระเมรุมาศ การจัดร้วิ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศ สง่ิ อนสุ รณ์ตา่ งๆ เพอ่ื เฉลมิ พระเกียรติยศอนั ภญิ โญ ไพศาลแดฑ่ ีฆราชาแหง่ สยาม ผทู้ รงสถติ ในดวงใจคนไทยท้ังชาติ และทรงเปน็ พระมหากษตั ริยท์ ่เี หนือกษตั รยิ ใ์ ดๆ ในประวตั ิศาสตรโิ ลก ในวาระนี้ รฐั บาลและประซาซนซาวไทยทกุ หมู1เหล่า ขอน้อมสำนกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอันหาที่สดุ มิได้ แมเ้ สด็จส'ู สวรรคาลัยช่ัวนริ ันดร แตค่ วามอาลยั น้นั มิเสือ่ มคลาย ด้วยพระบรมราชกฤดาภนิ ิหารแห่งพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และพลงั แห่งความจงรักภักดีของปวงพสกนิกรซาวไทย ฃอเสดจ็ สู่สวรรคาลัยให้สถติ สถาพร ณ ดนิ แดนบรมสขุ แหง่ พระนิพพานตราบนิจนิรันดร เทอญ นายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ๕

f ๙Z Jม ุด ภาพ สั ตว์ หมพานต> ค ำน ำ เน่ืองในการพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธิบดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทรารริ าซ บรมนาถบพติ รในวนั พฤหสั บดี ท่ี ๒๖ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ณ พระเมรุมาศทอ้ งสนามหลวง คณะกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ไดม้ อบหมายให้คณะกรรมการฝ่ายจดั ทำหนงั สอื ทีร่ ะลกึ และจดหมายเหตุฯ พิจารณาจดั พิมพ์หนังสอื และแผ่นพับอนั เน่ืองด้วยพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร นอ้ มเกล้าฯ ถวายเปน็ อนสุ รณ์ถงึ การพระราชพธิ ี สำคัญย่งิ ในครง้ั นี้ จำนวน ๑๐ รายการ ประกอบดว้ ย หนงั สือจดหมายเหตุฉบบั หลกั ๑ รายการ ได้แก่ ๑. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาซิบดี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าซ บรมนาถบพติ ร หนงั สอื จดหมายเหตฉุ บับรอง ๕ รายการ ไดแ้ ก่ ๑. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ฉบบั ประซาซน ๒. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ฉบับส่ือมวลซน ๓. “พระเสด็จส1ู ฟา้ ราษฎรล์ ้วนอาลยั ” บทกวีนิพนธ์โครงการกานต์กวคี ตี การปวงประซาน้อมรำลึกใน พระมหากรุณาธคิ ุณพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๔.หนังสอื และซีดีบทเพลงแสดงความอาลยั แดพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพิตร ๔. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ฉบับวดี ทิ ศั น์ “ทรงสถติ ในดวงใจไทยนริ ันดร์” หนงั สือที่ระลึก ๓ รายการ ได้แก่ ๑. พระเมรุมาศสมยั รัตนโกสนิ ทร์ และพระเมรุในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ๒. เครอ่ื งประกอบพระราชอิสริยยศงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

'Zส)Jม ล ภ า พ ๓. นวมินทราศริ วาทราชสดดุ ี ร้อยกรองเทิดพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร แผน่ พบั ทร่ี ะลึก ๑ รายการ ได้แก่ ๑. แผน่ พับท่ีระลกึ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่าดว้ ยพระราชประวัติ พระราชกรณียกจิ และความรเู้ กย่ี วกับพระเมรุมาศ ฉบบั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ นอกจากน้นั ยังมหี นว่ ยงานภาครฐั และเอกซนอีกเปน็ จำนวนมาก ไดแ้ สดงเจตจำนงรว่ มกนั สรา้ งสง่ิ อนสุ รณ์ น้อมเกล้าฯ ถวาย ด้วยความจงรักภกั ดี นับเปน็ การสร้างทรัพย์สนิ ทางปัญญาไวเ้ ป็นมรดกวฒั นธรรมของแผน่ ดิน เพม่ิ ขน้ึ อีกด้วย หนงั สอื และแผ่นพับอันทรงคุณคา่ เหล่าน้จี ะได้เผยแพร่ไปสสู่ ถาบนั การศึกษา หอ้ งสมดุ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ และ ประซาซนท่วั พระราชอาณาจักร ยังประโยชนแ์ ก'ประซาซน นักเรยี น นิสติ นกั ศึกษาทกุ ระดบั การสมานฉันท์รว่ ม สร้างสรรคผ์ ลงานทรงคณุ คา่ เพ่อื อำนวยประโยชนแ์ ก,สาธารณซนครั้งน้ี เปน็ การแสดงกตัญฌูกตเวทิตาธรรมสนอง พระมหากรุณาธิคุณหาทส่ี ุดมิไดิในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร และร่วมกนั เผยแพรพ่ ระเกียรติคุณใหแ้ ผ่ไพศาลย่งั ยนื สืบไปชวั่ กาลนาน ขอมหิทธานุภาพแหง่ คณุ พระศรรี ัตนตรยั และจติ ใจอันตงั้ มัน่ ในความจงรักภักดีต่อเบื้องพระยคุ ลบาทพระบาท สมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จงเป็นพลวปัจจัยใหเ้ สดจ็ สถิตเสถียรธำรงอยู่ในทพิ ยสถาน อนั สมบรู ณ์ พรัง่ พร้อมด้วยทพิ ยสมบัติทุกเมื่อเทอญ /ว เ (นายวีระ โรจน์พจนรตั น)์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ประธานกรรมการฝา่ ยจัดทำหนังสอื ท่ีระลึกและจดหมายเหตุ งานพระราชพิธีถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (ท)

พ ุด / ไๆพฬ ็* ด ว ห ม พ า น ต ' คำซ้ีแจง สมดุ ภาพสตั วห์ ิมพานต์ เป็นเอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมดุ ไทยท่บี ันทกึ ภาพร่างการผกู หนุ่ รปู สัตวห์ ิมพานต์ ซงึ่ ใชเ้ ข้ากระบวนแห่พระบรมศพ และพระศพเจา้ นายบางพระองคในสมยั รัชกาลท่ี ๓ จงึ มีรปู มณฑปสำหรบั วางผา้ ไตร อนั เปน็ เครอ่ื งไทยทานถวายพระสงฆ์อยูบ่ นหลงั รูปสัตว์หมิ พานต์ทกุ ชนดิ และมคี ำอธิบายรายละเอียด รวมถงึ รายนาม ผ้รู ับผดิ ชอบจดั สร้างหนุ่ รปู สัตวห์ มิ พานต์แต่ละชนดิ ในตน้ ฉบับด้วย ภาพสัตวห์ มิ พานตเ่ หลา่ นจ้ี งึ มคี วามสำคัญในเชงิ ชา่ งจิตรกรรมทบี่ รรพซนของไทยไดส้ ร้างสรรคไ์ วใ้ ห้เป็นมรดกทรัพยส์ ินทางปญั ญาแก,อนุชน โดยมแี นวคดิ และ ความเช่อื มาจากวรรณกรรมเรือ่ งไตรภูมพิ ระร่วงในสมยั สุโขทัย การสรา้ งสตั วห์ มิ พานต์ประกอบงานพระบรมศพและพระศพ เปน็ ราชประเพณที ส่ี ืบเน่ืองมายาวนาน เนอื่ งจากมคี วามเช่อื วา่ พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ สมมติเทวราช เมอื่ เสด็จสวรรคตจึงจัดสรา้ งพระเมรุมาศ โดยมุ่งหมาย ให้เปรยี บเสมือนเขาพระสเุ มรุ ซ่ึงมเี ขา ๗ชน้ั รายล้อมอยู่ และเขาเหลา่ นนั้ ก็เปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศัยของสัตว์นานาพันธุทมี่ นษุ ย์ ไม,เคยเหน็ เพอื่ สง่ เสด็จกลบั สู่ทป่ี ระทับเดมิ บนสรวงสวรรค์ กรมศิลปากรพิจารณาเห็นว่า การจัดพมิ พส์ มดุ ภาพสตั ว์หิมพานตใ่ นครัง้ นี้ นอกจากจะเปน็ การเผยแพร, ความรู้อนั เน่อื งดว้ ยประวตั ศิ าสตร์และจินตนาการในการสรา้ งสรรคส์ ตั ว์หิมพานต่ของชา่ งไทย ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบ สำคญั ในการสร้างพระเมรุมาศและพระเมรุแลว้ ยังเปน็ การรักษามรดกทรัพยส์ นิ ภูมปิ ัญญาเชงิ ช่างวิจติ รศลิ ปข็ องไทย ให้คงอย่สู ืบไป ชา้ พระพุทธเจา้ และชา้ ราชการ พนกั งาน เจา้ หนา้ ท่ีกรมศิลปากรทกุ หมู่เหล่า น้อมสำนกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ อนั หาทีส่ ดุ มไิ ด้ และต้ังใจจะสบื สานพระราชปณธิ านตราบจนชวี ิตจะหาไม่ ขอมหิทธานุภาพแห่งคุณพระศรรี ัตนตรัย และพระราชกศุ ลกฤดารกิ ารในพระองค์ รวมท้ังพลงั แห่งความจงรกั ภกั ดแี หง่ ปวงช้าพระพทุ ธเจา้ ท้ังหลาย จงเป็นพลวปจั จัยดลบนั ดาลใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จสถิตเสถยี ร ณ ดนิ แดนบรมสุขแห่งพระนิพพานตราบนิรันดรเทอญ (นายอนันต์ ชูโขติ) อธิบดกี รมศลิ ปากร ๙

ส-('J)มุ ดดภาพ' ส'cั fตต'ว*หมพาน ต ' สารบัญ คำปรารภ หน้า คำนำ ๓ ๖ คำชี้แจง ๘ สารบัญ ๙ บทนำสมุดภาพสัตวท์ ิมพานต์ ๑๕ ลกั ษณะตน้ ฉบบั สมดุ ภาพสัตวห์ ิมพานต์ ๑๙ คำอธบิ ายรายละเอียดของสัตว์หมิ พานต์ ๓๔ สมุดภาพสตั ว์ปา่ ทิมพานต์ เลขท่ี ๑๙๗ ๓๙ รปู เลม่ ต้นฉบับ ๔๐ บานแพนก ๔๑ แรด ๔๒ มา้ ผา่ นดำแดง ๔๓ ขา้ งเผอื ก ขา้ งเขยี ว ๔๔ ครฑุ ๔๔ นกเทศ ๔๖ นกอนิ ทรี ๔๗ นกหสั ดี ๔๘ หงส์ ๔๙ อปั สรสหี ะ ๔๐ นกทณั ฑิมา ๔๑ นกการวกิ ๔๒ เหมราช ๔๓

f©sT บ ^ ม ล ภ า พ ,3 ต ว ห ม พ า น ต ' หน้า ทักทอ ๕๔ โต ๕๕ สงิ ฆ์ ๕๖ สกุณ'โกรสร ๕๗ กาลสีหะ ๕๘ เกสรสิงหะ ๕๙ คซสีห์ ๖๐ ตณิ สหี ะ ๖๑ ปัณดุราชสหี ์ ๖๒ ไกรสรราชสีห์ ๖๓ โลโต ๖๔ กเิ ลน ๖๕ งายไส ๖๖ สิงโตจนี ๖๗ อสรุ วายุภักษ์ ๖๘ มจั ฉานุ ๖๙ ดรุ งคไกรสร ๗๐ อสั ดรวิหค ๗๑ สิณธพกุญชร ๗๒ ไกรสรจำแลง ๗๓ อสรุ ปักษา ๗๔ เทพนรสงิ ห์ ๗๕ เทพกินร ๗๖ มยุรเวนไตย ๗๗ สีหคักคา ๗๘ สีหรามังกร ๗๙ กิเลนจีน ๘๐ กหิ มี ๘๑ มารศี ๘๒ อศั ดรเหรา ๘๓ 6 )0

โตเทพสิงฆนัต ฬ'มดภาพ'สัตวหมพานต สบุ รรณเหรา นาคปกั ษนิ หน้า กบลิ ปักษา ไกรสรนาคา ๘๔ เหมราอัสดร ๘๔ สนิ ธพนัทธี ๘๖ วารกี ุญชร ๘๗ กิเลนปกี ๘๘ เสอื ปกี ๘๙ หงส์จนี ๙๐ สางแปรง ๙๑ คซปักษา ๙๒ สกุณเหรา ๙๓ ครุฑ ๙๔ มังกรวิหค ๙๔ สงิ หะพานร ๙๖ มยรุ คนธรรพ์ ๙๗ ไกรสรปกั ษา ๙๘ ไก,เสฉวน ๙๙ สินธปุ ักษี ๑๐๐ ไก,ฮกเกย้ี น ๑๐๑ ไก'ตัง้ เกีย๋ ๑๐๒ พานรมฤค ๑๐๓ กรินทปักษา ๑๐๔ ดุรงคปักษนิ ๑๐๔ มงั กรสกณุ ี ๑๐๖ โตเทพอัศดร ๑๐๗ ทิซากรจตบุ ท ๑๐๘ พยคั ฆไกรสีห์ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ 6)6)

J%l ' ZJ ดภาพ'สัตวหมพ า น ต หน้า ไกรสรคาวี ๑๑๔ ข้อความสรุปจบ ๑๑๔ สมุดภาพสัตวป์ า่ หมิ พานต์ เลขท่ี ๑๙๕ ๑๑๗ รปู เลม่ ต้นฉบบั ๑๑๙ บานแพนก ๑๒๐ แรด ๑๒๑ ม้าผา่ นดำแดง ๑๒๒ ขา้ งเผอื ก ขา้ งเขียว ๑๒๓ ครุฑ ๑๒๔ นกเทศ ๑๒๔ นกอินทรี ๑๒๖ นกหสั ดนิ ทร์ ๑๒๗ หงส์ ๑๒๘ อัปสรสีหะ ๑๒๙ นกทณั ฑิมา ๑๓๐ นกการวิก ๑๓๑ เหมราช ๑๓๒ ทักทอ ๑๓๓ โต ๑๓๔ สงิ หะ ๑๓๔ สกณุ 'ไกรสร ๑๓๖ กาลสีหะ ๑๓๗ เกษรสิงหะ ๑๓๘ คซสีหะ ๑๓๙ ตณิ สีหะ ๑๔๐ บณั ฑรุ าชสีห์ ๑๔๑ ไกรสรราชสีห์ ๑๔๒ โลโต ๑๔๓ 6 )b

กเลน ๙Z!Jพุดภ า พ ๙ ต ว ห ม ท า น ต ' งายไส สิงโตจีน หน้า อสุรวายุภกั ษ์ มัจฉานุ ๑๔๔ ดรุ งคไกรสร ๑๔๔ อสั ดรวหิ ค ๑๔๖ สินธพกุญชร ๑๔๗ ไกรสรจำแลง ๑๔๔ อสุรปกั ษา ๑๔๙ เทพนรสิงห์ ๑๔0 เทพกนิ นร ๑๔๑ มยุรเวนไตย ๑๔๒ สีหคักคา ๑๔๓ สิงหรามงั กร ๑๔๔ กเิ ลนจีน ๑๔๔ ไม,ปรากฏซื่อ ๑๔๖ ม้ารศี ๑๔๗ อัสดรเหรา ๑๔๘ โตเทพสงิ หนัต ๑๔๙ สุบรรณเหรา ๑๖๐ นาคาปักษิณ ๑๖๑ กบิลปกั ษา ๑๖๒ ไกรสรนาคา ๑๖๓ เหมราอสั ดร ๑๖๔ สนิ ธพนัทธี ๑๖๔ วารีกุญชร ๑๖๖ กเิ ลนปกี ๑๖๗ เสอื ปกี ๑๔๘ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๒

บ๙ )พุดภ า พ i ' ต 'ว ห ม พ า น ต ์ หน้า หง?(จ,น ๑๗๓ สางแปรง ๑๗๔ คซปีกษา ๑๗๕: สกุโนเหรา ๑๗๖ มงกรวหค ๑๗๗ สิงหพานร ๑๗๘ มยรุ คนธรรพ์ ๑๗๙ ไกรสรปักษา ๑๘0 ไก่เสฉวน ๑๘๑ สินธปุ ักษี ๑๘๒ ไก,ฮกเก้ยี น ๑๘๓ ไกต่ ั้งเก้ยี ๑๘๔ พานรมฤค ๑๘๔ ดรุ งคปักษนี ๑๘๖ กรินทปักษา ๑๘๗ มงกรสกโุ น ๑๘๘ โตเทพอัสดร ๑๘๙ ทิซากรจัตบุ ท ๑๙0 พยัคฆไกรสีห์ ๑๙๑ สหคาว ๑๙๖ พยคั ฆเวนไตย ๑๙๓ กมุ ภนี มิ ิตร ๑๙๔ เทพปักษี ๑๙๔ สีห?เบรรณ ๑๙๖ ไมบ่รากก]'ชอ ๑๙๗ บรรณานกุ รม ๑๙๙ /ไา คผนวก ๒๐๑ ๒0 ๒ อธิบายเร่ืองภาพสตั วห์ มิ พานต์ นายย้ิม ปณี ฑยางกูร เรยี บเรยี ง 6)๔

ร ?มดภาพสัตวหมพานตั๊ นั้ บทนำ* สมุดภาพสัตวท์ ิมพานต์ สตั วห์ ิมพานต์ คอื สัตว์ทม่ี ีลกั ษณะรูปรา่ งแปลกประหลาด ไมเ่ หมอื นสตั ว์ทมี่ ีชีวิตจรงิ โดยอาจมลี ักษณะประลม ระหว่างสตั ว์ ๒ ชนิด หลายชนดิ สัตว์บกกบั สัตว์นํ้า หรือมีลักษณะประสมระหว่างมนุษยก์ บั สัตวช์ นดิ ต่าง ๆ ก็ได้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ์ ปราชญโ์ บราณผเู้ ชย่ี วชาญในเซงิ ชา่ ง ได้ทรง นิพนธถ์ ึงสัตวท์ ิมพานตไํ วใ์ นหนังสือสาสน์ สมเด็จ มรี ายละเอียดท่ีนา่ สนใจ ความว่า “...ทตี่ ง้ั ชอ่ื วา่ สตั วท์ มิ พานตน้ น้ั หมายถงึ สตั ว์ที่ทำประกอบดว้ ย ไมไ่ ดห้ มายความ เปน็ สตั วท์ อ่ี ยใู่ นปาหมิ พานต์ อนั สตั วท์ อ่ี ยใู่ นปาหมิ พานตน์ น้ั กเ็ปน็ สตั วอ์ ยา่ งตรงๆดอ้ื ๆเชน่ พรรณนา ถงึ สระอโนดาต ภาษาทวา่มทีางนา้ัไหลอก๔ ทศิ ทางนัา้ ไหลออกกเ็ ป็นหนา้ ม้า หนา้ ช้าง หนา้ โค หนา้ สงิ ห์ คอื (Lion) แลว้ ตกไปเปน็ ลำนา้ํ ไหลไปสทู่ ส่ี ตั วเ์ หลา่ นน้ั อยู่ อยทู่ อ่ี น่ื ... \" ๑ ขอ้ ความที่ยกมาชา้ งต้น แสดงเหตุผลแล้วว่าแท้จรงิ น้นั สัตวท์ ิมพานตไม่ไดม้ ือยู'จริงในปา่ ทมิ พานต์ทกี่ ล่าวถึงใน อรรถกถาต่าง ๆ เพียงแต่อา้ งซอ่ื วา่ เปน็ สัตวใ์ นป่าทิมพานต์อันเป็นดนิ แดนท่มี นษุ ยไ์ มเ่ คยไปถึงได้ จงึ ไม่อาจบรรยาย ลักษณะสตั ว์เหล่านนั้ ไดด้ งั ตาเหน็ นัน่ เอง แตส่ มเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริครานุวดั ตวิ งศ์ ก็ได้ทรง นิพนธ์เปน็ แนวคิดเกย่ี วกบั การพิจารณาบรรดาสตั ว์ ซึ่งเรยี กว่าสตั ว์ทิมพานตไว้ว่ามี๔ จำพวกคอื (๑ )เปน็ สัตว์ตรง ๆ (๒) ลอกอย่างเขามา (๓) คดิ ขน้ึ จากคำ (๔) ผสมเอาตามชอบใจ๒ “อยา่ งทเ่ี รยี กวา่ สตั วต์ รง ๆ นน้ั กเ็ ชน่ ชา้ ง มา้ เปน็ ตน้ อย่างทล่ี อกเขามานน้ั ก็ เชน่ สงิ ห์ สหี ์ เปน็ ตน้ ทค่ี ดั มาแลว้ ผดิ จากเดิมไปนน้ั เป็นธรรมดาทป่ี ลายมือของชา่ ง อยา่ งทว่ี า่ คดิ ขน้ึ มาจากคำกค็ อื “ทกั ทอ”กม็ มื าในคำกลอนวา่ “ทกั ทอนรสงิ หเ์ มน่ หม”ี ...อย่างทว่ี ่าผสมกเ็ ชน่ นอกจากพระนิพนธ์แนวคดิ ของสมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศแ์ ลว้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ไดท้ รงนพิ นธเ์ ร่ือง สตั ว์ทมิ พานต์กราบทลู สมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ ราบุวดั ติวงศ์ มีเนอื้ หาทีเ่ ปน็ ความร้นู ่าสนใจ ดังนื้ * นางสาวพมิ พพ์ รรณ ไพบูลยห์ วงั เจริญ นกั อักษรศาสตร์ทรงคุณวุฒิ กรมศลิ ปากร เรยี บเรียง ๑ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ และสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชา นภุ าพ, สาสน์ สมเด็จ เล่ม ๑๙ (กรุงเทพฯ: องศก์ ารคา้ ชองครุ สุ ภา, ๒๕๐๕), หนา้ ๒๘๗. ๒ เร่อื งเดมิ , หน้า ๒๘๘. ๓ เรือ่ งเดียวกนั , หน้าเดียวกัน. ร)(ป

มฺดภๆท'สัตว หม t น “...มู ลของส ั ต ว ์ ทิมพานต่นั้นหม่อมฉันลองคิดวินิจฉัยดูเห็นว่าน่าจะปีเปีนลำดับดงั ทลู ตอ่ ไปน้ี ท. คำพเ่ี รยี กสตั ว์หินพานต่ หมายความว่า สัตว์อย่างน้ันปีแตใ่ นปาหิมพานต์ อนั มนุษย์ สามญั ไมส่ ามารถจะเหน็ ตัวจริงได้ เพราะนะนัน้ สัตวจ์ ตุบาทอย่างใดพเ่ี ห็นทันดาดดน่ื ดงั เชน่ เสอื ชา้ ง มา้ ววั ควาย เปน็ ดน้ กด็ หี รอื สตั วท์ วบิ าท เชน่ เปน็ ดน้ กด็ ี จงึ ไมน่ บั เปน็ สตั วท์ มิ พานด้ ข. เพราะสตั วท์ มิ พานตไ่ ม'่เคยได'้เหน็ ทบั ตวั จรงิ ชา่ งจะเขยี นหรอื ปนั รปู จงึ อาศยั แตจ่ ะ เอาความพป่ี งไว้ในชอ่ื พีเ่ รยี ก หรอื พรรณนาอาการและลกั ษณะไวต้ ามคำโบราณมาคิด ประดษิ ฐร์ ปู สตั วห์ มิ พานคขํ น้ึ ดว้ ยปญั ญาของตน “คาดวา่ คงเปน็ เชน่ นน้ั ” ยกตวั อยา่ ง เชน่ ทำรปู สงิ หท์ บั ราขสหี เ์ ปน็ สตั วต์ า่ งทนั เพราะตอ้ งถอื ไมท้ า้ ว สตั วบ์ างอยา่ งกค็ ดิ รปู เลยไปดว้ ยขาดความรู้ เชน่ ใหห้ งสป์ เี ขย้ี ว ปฟี นื ดงั ทรงปรารภนน้ั เปน็ ดน้ และกนิ นรอกี อยา่ งหนง่ึ กท็ ำขดั พระบาลี ปีกหางเปน็ เครอ่ื งแต่งตวั ตอ่ เวลาจะไปไหนจงึ ใสป่ กี หางบนิ ไป เมอ่ื สน้ิ กิจการบินแลว้ ก็ ถอดปกี หางเกบ็ ไวต้ า่ งหาก เชน่ กลา่ วในเรอ่ื งพระสรุ น...รปู กนิ นรทำทนั ทำทอ่ นบนเปน็ มนษุ ย์ ทอ่ นลา่ งเปน็ นก ขดั ทบั ความหมายในพระบาลที เี ดยี ว จงึ เหน็ วา่ เปน็ ด้วยขาดความรู้ ค. เมอ่ื ช่างเปน็ ผดู้ น้ คิด ไดท้ ำรปู สตั วห์ มิ พานตอ่ ยา่ งใดใหป้ รากฏขน้ึ แลว้ ชา่ งภายหลงั กท็ ำ รปู สตั วท์ มิ พานตอ่ ยา่ งนน้ั ตามพป่ี รากฏ ถอื เปน็ แบบตอ่ มา แมจ้ ะแกไ้ ขดกู เ็ ปน็ แตใ่ น ทางประดับ เชน่ กระหนก เปน็ ดน้ ง. รปู สตั วท์ มิ พานตเ่ ดมิ คงปนี อ้ ยอยา่ ง ดเู หมอื นจะปีแตส่ ัตวพ์ ีช่ ือ่ ปรากฏในพระบาลีและ เรยี กชอ่ื เฉพาะสตั วน์ น้ั ๆ ท'ี มาเรยี กรวมทนั วา่ สตั วท์ มิ พานตน่ า่ จะบญั ญตั ขิ น้ึ ตอ่ ภายหลงั เมอ่ื ปรี ปู สตั วพ์ วกนน้ั เพม่ิ เตมิ ขน้ึ อกี มากมาย เหตพุ เ่ี พม่ิ สตั วท์ มิ พานตม่ มี ากขน้ึ อาจมีเหตพุ ี่ หมอ่ มฉนั ยงั มิไดค้ ดิ เห็น แต่พี่พอคดิ เหน็ นนั้ เหน็ วา่ นา่ จะเกดิ แตท่ ำเครอ่ื งแห่ เดิมทำแค'พอจำนวนเจ้านายชอื่ มั ผา้ ไตรไปในกระบวน'หแตัง้ แต่เปลยี่ นทำนุษบก วางไตรบนหลังรูปสัตว์ จึงเพิ่มจำนวนสัตวข์ ้นึ การทเ่ี พม่ิ นั้นจะเพม่ิ ดว้ ยเหตใุ ดก็ตาม ชา่ งต้องคดิ สตั ว์ข้ึนใหมใ่ หแ้ ปลกออกไป พป่ี อี ยแู่ ละอาลกั ษณก์ ต็ อ้ งคดิ เรยี กชอ่ื สตั วพ์ ค่ี ดิ ขน้ึ ใหม่ จงึ เกดิ รปู สตั วน์ อกรดี ตา่ ง ๆ เชน่ £มเร เวนไตยเปน็ ดน้ ..” ๑ กลา่ วโดยสรปุ สตั ว์หมิ พานต์สว่ นใหญเ่ ป็นสตั วท์ ่ีช่างจินตนาการประดิษฐค์ ดิ ข้ึนใหมโ่ ดยเนื้อหาตามความเช่อื โบราณ ไม,ได้มีตวั ตนจรงิ แตอ่ ยา่ งใดเลย เมื่อจะเรยี กชอ่ื สตั วท์ ีค่ ิดขึ้นน้ันกป็ ระสมคำศัพทข์ ึน้ ใหมจ่ ากช่ือเดมิ ของสตั ว์ ท้งั ๒ ชนิดที่นำมาประสมกนั อาจมกี ารยกั เย้ืองในการเลอื กใชค้ ำท่ีหมายถงึ สัตวช์ นิดเดยี วกนั ใหห้ ลากหลาย เชน่ ๑ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์, สาส์นสมเดจ็ เลม่ ๒๐, (กรุงเทพๆ: องศ์การค้าของคุรุสภา, ๒£๐ ห๕น้า ๑๓๕; - ๑๓๗. 6)h

}ม ดภาพสั ตว์ *หมพานต* คซปักษา และกรนิ ทปกั ษา เปน็ ต้น แม1้ซ่ือ'ของสัตว'์ ทมิ พ'านต้ท้งั ๒ ตวั นจี้ ะบง่ บอกใหเ้ หน็ ซดั เจนว่า เป็นสตั ว์ทส่ี รา้ ง ข้ึนมาจากชา้ งประสมกับนกเหมอื นกัน แต่รูปลักษณ์ของสัตว์หมิ พานตท์ ้งั ๒ ชนดิ นี้กไ็ ม1เหมือนกนั เพราะตา่ งก็ เกดิ จากจนิ ตนาการอสิ ระในการสร้างสรรค์งานของช่างแต่ละบคุ คลนั่นเอง นอกจากนน้ั การจนิ ตนาการของชา่ งเพื่อสรา้ งสรรค์สตั วห์ มิ พานต์ชนดิ ใหม่ ๆ กไ็ ม่มืชอ้ จำกดั วา่ จะต้องเป็นสัตว์ ทวิบาท คอื สตั วส์ องเท้า หรือสัตว์จตบุ าท คือ สัตว์สเี่ ทา้ เหมอื นกัน รวมทัง้ อาจเปน็ สัตว์บกประสมกับสัตวน์ ้ํากไ็ ด้ ดังน้ันจงึ มสื ัตวห์ ิมพานต์ทเี่ กดิ จากจินตนาการของช่างมากมายไม่รู้จบ บางครั้งอาจจินตนาการเพือ่ ประโยชนใ์ ช้สอย ในแต่ละยุคสมัย เช่น ภาพสัตว์ทมิ พานตท์ ่ีเขยี นบนหนังสอื สมดุ ไทยในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี ๓ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรท์ กุ ภาพมีบุษบกตง้ั อยู่บนหลงั สตั วด์ ้วยนนั้ เพราะเม่ือเวลาอัญเชญิ พระบรมศพไปสู่ พระเมรุก็นำทุน่ สตั วป์ ่าเหล่าน้ันเข้ากระบวนแห่ด้วย จงึ ใชบ้ ุษบกน้ันเป็นที่ต้งั ภาชนะรองรบั ไทยทานวัตถุ สำหรบั ถวาย พระทพี่ ระเมรุ ครน้ั ถึงพระเมรุแล้วก็นำทนุ่ รูปสตั ว์เหล่านน้ั เข้าไปไวใ์ นโรงรูปสัตว์ท่รี ายรอบพระเมรนุ ัน้ ด้วย๑ สตั ว์ทมิ พานต้ที่สรา้ งจากสัตว์๔ เท้า ๒ชนิดได้แก่ สนิ ธพกญุ ชร(มา้ กับชา้ ง)ดรุ งคไกรสร(มา้ กับสิงโต)คซสหื ะ (ชา้ งกบั ราชสีห์) พยัคฆไกรสีห์ (เสอื กบั สิงโต) สหี คาวี (สิงโตกบั วัว) เปน็ ตน้ สตั วท์ มิ พานต์ท่ีสร้างจากสตั ว์บกประสมสัตวน์ าํ้ ไดแ้ ก่ กุมภีนิมติ ร (จระเข้กับเทพ) สนิ ธปุ ักษี (ปลากบั นก) วารี กญุ ชร (ปลากบั ช้าง) สนิ ธพนัที (ม้ากับปลา) นาคาปักษนี (นาคกบั นก) สัตวท์ มิ พานต์ที่สร้างจากสตั วบ์ กและสัตวป์ กี ได้แก่ อสูรวายภุ กั ษ์ (ยักษก์ บั นกชนิดหนง่ึ ในตำนาน) เทพปักษี (เทพกบั นก) สกุณไกรสร (นกกับสิงโต) อศั ดรวิหค (มา้ กับนก) อสูรปักษา (ยักษ์กับนก) พยคั ฆเวนไต (เสือกับครุฑ) เปน็ ต้น จินตนาการเรอ่ื งสตั วป์ ระสมแปลก ๆ เหล่านมี้ ใิ ช่มเี ฉพาะชา่ งไทยเท่านัน้ หลายชาติหลายภาษาตา่ งกม็ คื วามคดิ เชน่ นีม้ าก่อนแล้ว โดยเฉพาะชาตทิ ่ีมอื ารยธรรมร่งุ เรอื งมาก่อน เชน่ อยี ปิ ต์ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายลักษณะของซาวอยี ิปตว์ า่ “ตามคตศิ าสนาของซาวอียปิ ต์ แตเ่ ดิมนนั้ ถือวา่ เทพเจา้ อวตารลงมาเป็นสัตวเ์ ดรัจฉาน เพราะฉะนัน้ ชน้ั เดิมชอบบูชาสตั ว์เดรัจฉานท่ีสำคญั ว่าทรงเทพเจา้ เปน็ สรณะ แต่ทำ รูปสัตวเ์ หล่านนั้ ด้วยศิลาเป็นเจดยี ์มืรปู เหยีย่ ว รปู จระเข้ รูปแกะ รูปสงิ รปู งู รปู โค แม้จนรปู แมว เป็นต้น คร้นั เมอื่ ลว่ งพุทธกาล ๒๐๐ ปี พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ซนชาตกิ รกี เมชิโดเนิย แผ่อานภุ าพข้นึ ไปในยุโรป ปราบปราม ได้เมืองอียปิ ต์ และเมอื งอืน่ ๆ จนถงึ เมอื งเปอร์เซีย และคันธารราษฎรไ์ นอนิ เดียไว์ใต้ ครน้ั เวลาล่วงมาเมือ่ พวกกรกิ และอยี ปิ ต์ไดส้ มาคมคนุ้ เคยกันมาก การถอื คติศาสนากเ็ กดิ ปะปนกนั กลายเปน็ รูปเทพเจ้าทีจ่ ตุ มิ าบังเกิดในโลก ผิดกบั มนษุ ยแ์ ละสตั วเ์ ดรจั ฉาน จงึ เกิดความคิดนำเทวรูปตวั เป็นคนหน้าเป็นสัตวต์ ่าง ๆ เช่น เป็นเหยยี่ ว เปน็ จระเข้บา้ ง หรือมิฉะน้นั หน้าเป็นคนตวั เปน็ สตั ว์เดรจั ฉาน เช่น สฟิงซ์ เป็นตน้ ดงั น้นั ความคิดเรอื่ งสัตวท์ มิ พานตอ์ าจมาพอ้ งกนั โดยบงั เอญิ หรือเลยี นแบบกันในทางความคดิ ก็ได้ แตล่ กั ษณะ!!!มอื เชงิ ช่างและศิลปะการตกแตง่ อาจแตกต่างกันไป ตามลักษณะเฉพาะของแต่ละทอ้ งถนิ่ นน่ั เอง ๑ คณะกรรมการพิจารณาและจดั พิมพเ์ อกสารประวตั ศิ าสตร์ สำนกั นายกรฐั มนตร,ี สมดุ ภาพสัตว์หมิ พานต์, (กรุงเทพฯ: บริษทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตัง้ จำกัด, ๒๕๒๕), หนา้ ๓. 6)เท)

มดภาพ ตวหมพานต' นอกจากนน้ั ชาตทิ างตะวันออกท่ีมีอารยธรรมเจรญิ รุ่งเรืองมาก่อน คอื จีน ก็มจี ินตนาการในการสรา้ งสรรคส์ ตั ว์ แปลก ๆ ดว้ ยการนำลกั ษณะทีถ่ อื วา่ ดขี องสตั วแ์ ต่ละชนิดมารวมไว์ในสตั วจ์ นิ ตนาการ และถือว่าเป็นสัตวส์ ริ ิมงคลแก' ผพู้ บเห็น ท้งั ยงั ได้กล่าวอ้างถึงความเปน็ สิริมงคลชองสัตวช์ นดิ น้ัน ๆ ไวใ์ นตำนานโบราณดว้ ย เซน่ กิเลน กเิ ลน เป็นซือ่ สัตวใ์ นเทพนยิ ายของจนี ยคุ ต้น หนงั สือเรื่อง ไคเภ็กของจนี เรียกกเิ ลนว่า กนิ หลิน๑ ตามตำนาน จนี กลา่ ววา่ กินเลนมีรปู รา่ งเหมือนกวาง แต่มเี ขาเดียว หางเหมอื นโค หัวเปน็ มังกร เทา้ มกี ีบเหมือนมา้ บางตำราว่า มีตวั เปน็ สนุ ขั ลำตวั เป็นเนอ้ื สมัน เชอื่ ว่าเกิดจากธาตุท้ังห้า คอื ดนิ น้าํ ไฟ ไม้ และโลหะผสมกัน๒เปน็ สัตว์ท่มี ีอายยุ ืน ถึงพันปี ถือเปน็ ยอดแหง่ สัตว์ท้ังหลาย เปน็ สัญลักษณแ์ ห่งมงคลและคุณงามความดที ัง้ ปวง สามารถขจดั สิง่ ขัว่ รา้ ยได้ ซาวจีนท่มี บี ้านเรอื นอยู่ตรงกบั ถนนหรือทางแยกจงึ มักทำยันตร์ ปู หนา้ กเิ ลน หรอื ทำเป็นตวั กิเลนหันหน้าไปทางถนน หรือทางแยกนั้น ๆ เพ่อื ขจัดสงิ่ อปั มงคลหรือสงิ่ ชว่ั ร้ายตา่ ง ๆ ไมใ่ ห้มากลํา้ กรายได้ ไทยและจีนมคื วามสัมพันธ์ทาง การคา้ กันมายาวนาน จึงรับเอาอิทธพิ ลความเช่ือนืเ้ ขา้ มาใข้ในสงั คมไทย ทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม ดงั ปรากฏหลกั ฐานใน สมุดภาพสตั วห์ ิมพานต์ ซ่ึงชา่ งโบราณไดร้ า่ งแบบสำหรับผูกหนุ่ เขา้ กระบวนแหพ่ ระบรมศพคร้ังรัชกาลท่ี ๓ มีรูปกิเลน จนี อยดู่ ้วย แตเ่ ขียนภาพยักเยอ้ื งใหม้ ลี ักษณะลวดลายแบบไทย โดยเติมกระหนกและเครอ่ื งประดบั ตา่ ง ๆ แบบไทย ตลอดจนใสป่ กี ใส่หางแบบกระหนกให้ดว้ ย จนมลื ักษณะประสมตามตน้ แบบจนี และแบบไทยปะปนอยอู่ ย่างลงตวั นอกจากนั้นชา่ งไทยยังมอี ิสระในการเขียนภาพกเิ ลนตามจนิ ตนาการให้มรี ายละเอียดท่ีแตกต่างไปเป็นหลายรปู แบบ สตั วอ์ ีกชนดิ หน่งึ ซงึ่ เปน็ ท่รี ้จู ักอยา่ งดแี ละถอื เป็นสตั ว์สัญลกั ษณ์ของประเทศจนี คือ มงั กร มงั กรเปน็ สัตว์ที่มี ลำตัวยาว มลี กั ษณะคล้ายงูและพญานาค แต่มงั กรมเี ขาและเทา้ เพ่ิมขนึ้ มา มงั กรบางชนิดอาจมีขอ้ แตกต่างผิดแปลก ออกไปอกี เชน่ บางชนิดมีปีกและมจี ำนวนเลบ็ เทา้ ไม่เท่ากันด้วย คำว่า “มงั กร” ไมใช่ภาษาจีนและไม,ใช่ของจีน โดยเฉพาะ แตย่ งั มมี งั กรพน่ ไฟในนทิ านหรือตำนานของชาตติ ะวนั ตกหลายเร่ือง รวมท้ังยงั มีภาพมังกรยคุ ปา่ ปโิ ลนที่มี อายุมากกว่า ๓๐๐๐ ปลี ่วงมาแล้วด้วย ตามความเช่ือของซาวจีนเล่าวา่ มังกรไดร้ ับส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมาจากสตั วถ์ ึง ๙ ชนิดด้วยกัน ดังนัน้ การวาดภาพมงั กรทีส่ มบรู ณจ์ งึ ต้องประกอบด้วยลกั ษณะทง้ั ๙ อย่างคือ ๑. เขาเหมือนกวาง ๒. หัวเหมือนอ‘นฐdร ๓. ตาเหมอื นปศี าจ ๔. คอเหมอื น‘บง ๔. ทอ้ งเหมือนหอยแครง ๖. เกล็ด เหมอื นปลา ๗. เลบ็ เหมือนนกอินทรี ๘. ฝา่ เท้าเหมือนเสอื ๙. หูเหมอื นวัว มังกรชองจนี อาจมเี ลบ็ ตั้งแต่ ๓ เล็บ จนถึง ๔ เล็บ และมีเขาซ่ึงจะงอกเมอ่ื มงั กรตวั นั้นมือายคุ รบ ๔๐๐ ปีแลว้ นอกจากนน้ั ถา้ เป็นตัวผู้จะมหี นวดมเี คราเพ่มิ ขน้ึ ถ้ามอี ายคุ รบ ๑๐๐๐ ปี จึงจะมปี ีกเพิ่มข้นึ อกี อย่างหนง่ึ ด้วย ตามตำนานของไทยมรี ูปสัตว์หิมพานตช์ นิดหนงึ่ เรียกว่า “เหรา” มหี ลักฐานกลา่ วไวใ์ นพงศาวดารกรุงศรอี ยุธยา วา่ ผกู เปน็ รูปห่นุ ใช้เปน็ เครือ่ งประดับรอบพระเมรดุ ว้ ย สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ ทรงนพิ นธ์ถงึ เรื่องเหราว่า “เหราโดยลำพังศัพทจ์ ะเป็นภาษาใดกไ็ ม,รู้ เมื่อไม่รวู้ ่าภาษาใดก็สมมุติโดยลำพงั คติทไ่ี ทย เขา้ ใจว่าจะเปน็ งู หัวเหมือนมงั กรหรอื มีตนี อย่างจิง้ เหลน...” ซึง่ สมบตั ิ พลายน้อย ไดน้ ำบทดอกสรอ้ ยชองโบราณ ๑ สมบตั ิ พลายน้อย, สัตว์ทมิ พานต,์ กรุงเทพๆ: แสงศลิ ป้การพิมพ์, ๒๔๓๔, หนา้ ๓๖. ๒ ประสงค์ พวงดอกไม้, สมดุ ภาพลายไทย ชุดสัตวท์ ิมพานต,์ กรงุ เทพๆ: รวมสาสน์ , ม.ป.ป., หน้า ๒๐. G)Cs

^มุดภาพ1ส ัต ว ห มพ า น ต ^ บทหนึ่งทก่ี ล่าวถงึ ลักษณะของเหรามาประกอบไวใ้ นหนงั สือ เรือ่ ง สตั วห์ มิ พานต์ ทำให้!ด้รายละเอยี ดเพิ่มเติมวา่ เหราเปน็ ลกู ของพญานาค มแี มเ่ ปน็ มงั กร จงึ มลี กั ษณะประสมทง้ั นาคและมงั กร คอื มเี ท้า ๔ เทา้ และมที ง้ั ครีบ ทง้ั หงอนด้วย ดงั ความในดอกสร้อยวา่ ® เจ้าเอยเหรา รกั แก้วข้าเหราเอย๋ บิดานน้ั นาคา มารดานัน้ เปน็ มงั กร มตี นี ท้งั สี่ หน้ามีทั้งครบี และหงอน เปน็ ทง้ั นาคท้งั มังกร เรียกซอ่ื ว่าเหราเอย ฯ กลา่ วไดว้ ่า สตั วห์ ิมพานต์อาจเป็นสตั ว์ทีม่ ีอยู่จริง เซ่น แรด หรือระมาด แต่นำมาเขยี นประดบั ตกแตง่ ให้ สวยงาม แตกตา่ งจากลักษณะเดมิ หรอื ประสมตกแตง่ ระหว่างสัตว์ต้งั แต่สองชนดิ ข้นึ ไปเข้าดว้ ยกนั ให้มลี ักษณะ เดน่ ของสตั วแ์ ต่ละชนดิ ปรากฏอยูอ่ ยา่ งชดั เจน จนกลายเป็นสัตวช์ นิดใหมท่ ่ีมลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ไปหลายรูปแบบ ดังภาพสัตวท์ มิ พานต์ท่ีปรากฏในภาพจติ รกรรมฝาผนงั วัดตา่ ง ๆ หรือภาพลวดลายประดับตไู ทยโบราณ ตลอดจน ผกู เป็นทนุ่ สำหรบั ตกแต่งพระเมรมุ าศกไ็ ด้ มผี ู้ทเ่ี คยเกบ็ รวบรวมภาพสัตว์ทมิ พานตีตามท่ีปรากฏในจติ รกรรมฝาผนัง วดั ต่าง ๆ แลว้ สามารถรวบรวมได้มากกว่า ๒๐๐ ชนิด ซ่ึงปจั จบุ ันคงมศี ิลปนิ สาขาศลิ ปกรรมไทยคดิ สร้างสรรค์ รปู สัตวท์ มิ พานตีทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะแตกตา่ งจากของเดิมเพ่ิมเตมิ อีกดว้ ยเซน่ กัน แมจ้ ะไมม่ ากเหมือนสมยั โบราณกต็ าม แสดงใหเ้ หน็ ว่าจินตนาการของมนษุ ย์ไมเ่ คยมีท่ีส้นิ สุด หากมพี ้นื ฐานและความเขา้ ใจในศิลปะไทยเปน็ อยา่ งดีแล้ว กจ็ ะ สามารถสรา้ งสรรคง์ านใหม่ ๆ ไดต้ ลอดเวลา ลกั ษณะตน้ ฉบับสมุดภาพสัตว์ทิมพานต้ ดน้ ฉบบั สมดุ ภาพสัตว์ทมิ พานตี เป็นเอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมุดไทย จดั อยู่ในหมวดสตั วศาสตร์ จำนวน ๓ เล่ม และหมวดตำราภาพ จำนวน ๑ เล่ม สมดุ ภาพสตั ว์ทิมพานตีแต่ละเล่มมรี ายละเอียดดงั นี้ ๑. ตำราสตั วป์ ่าทมิ พานตี เลขท่ี ๑๙๕ เป็นหนังสือสมดุ ไทยดำ เสน้ รงค๑์ หมายถงึ การบนั ทึกขอ้ มูลในเลม่ ใข้สหื ลาย ๆสื คือ เสน้ ขาวจากเปลอื กหอยมกุ ใชบ้ ันทกึ ภาพสตั ว์ทิมพานตพี รอ้ มบษุ บก เสน้ หรดาลใช้บนั ทึกขอ้ มลู ทห่ี น้าบานแพนก๒ซอ่ื สัตวท์ มิ พานตี และตำแหน่งในร้วิ กระบวน เสน้ ดินสอ๓ใช้บันทกึ ซ่ือตำแหน่งขุนนางผู้มหี น้าท่ี รบั ผดิ ขอบในการสร้างสตั วท์ มิ พานตีเข้ากระบวน นอกจากนน้ั บางภาพยังมกี ารใขส้ ีอื่นในการตกแตง่ ภาพบุษบกหรอื ภาพสัตว์ทิมพานตดี ว้ ย เซ่น ภาพขา้ งเผอื ก ขา้ งเขยี ว หน้าดน้ ๔ที่ ๖ - ๗ ตกแต่งดว้ ยสีเขยี วทบ่ี ษุ บก และภาพสหื คาวี หน้าปลายท่ี ๖๓ - ๖๔ ตกแตง่ ทห่ี น้าด้วยเส้นทอง ๑ รงค์ แปลว่า สี ๒ คำบอกรายละเอียดหนา้ เรอ่ื ง ๓ หมายถงึ เส้นทีไ่ ดจ้ ากดนิ สขี าว ซงึ่ ดนิ ชนิดนี้มแี หล1งที่คณุ ภาพอยู่ทจ่ี ังหวัดนครศรีธรรมราช ดังปรากฏเอกสาร จดหมายเหตุรชั กาลที๓ในการเกณฑ์ดนิ คณุ ภาพจากเมอื งนครศรีธรรมราช ๔ หน้าต้น หมายถงึ ด้านแรกท'ี เริมบันทกึ ข้อความ หน้าปลาย หมายถึง ด้านกลับของหนังสือสมุดไทย เพราะหนงั สือ สมุดไทยมีเพียงหนา้ ต้นกบั หนา้ ปลายเท่าน้นั 6)(ค ํ

๙ZพJ ดุ ภาสพั ต ว ห ม พ า น ต ' ต้นฉบบั เลม่ น้ี ตามประวัติบนั ทึกไวว้ ่า หอพระสมุดฯ ซื้อจากนางทรัพย์ เมื่อวันท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ บนป็ายเดิมของหอพระสมุดวชิรญาณบนั ทึกว่า แบบภาพสตั ว์หมิ พานตส์ ำหรบั ผกู ห่นุ แห่พระบรมศพคร้งั รชั กาลที่ ๓ แตใ่ นตน้ ฉบับมีฃ้อความบานแพนกออกนามเพยี งผเู้ ขียนอย่างรปู สตั ว์ และจำนวนภาพสัตว์หมิ พานต์ โดยไม1ได้ ระบศุ ักราชความว่า “® ขา้ พระพุทธเจ้าขุนราชนุจิตร เขียนหย่างรปู สตั ว ๗๗ รปู เสรจ็ ทลู เกล้าทลู กระหมอ่ มถวาย ขอเดชะ ฯ!ะ®-” คณะกรรมการพิจารณาจดั พมิ พ์เอกสารทางประวตั ิศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี นำไปจัดพมิ พเ์ ผยแพรค่ รง้ั แรก เมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๔โดยมคี ณะบรรณาธกิ ารประกอบด้วย นายย้มิ ปณ้ ฑยางกูร นายทองสืบ ศุภมาร์ค และนางกุลทรพั ย์ เกษแม่นกจิ ๑ โดยใชซ้ ือ่ หนงั สอื ว่า ภาพสัตว์หิมพานต์จากสมดุ ไทยดำของหอสมุดแห่งชาติ ๒. ตำราสัตว์ปาหมิ พานต์ เลขท่ี ๑๙๖ เป็นหนังสือสมดุ ไทยดำ เสน้ รงค์ (ขาว, ดนิ สอ) บนั ทึกภาพ สตั วห์ มิ พานต์ จำนวน ๒๒ ภาพ คือ แรด มา้ ผา่ นดำแดง ข้างเผอื กข้างเขียว ครุฑ นกเทษ นกอนิ ทรี นกหศั ดี หงส์ นกทัณทมึ า นกการวกิ เหมราช ทักทอ โต สงิ ฆ สกณุ 'ไกรษร กาฬสงิ หะ เกสรสิงห คซสี ตณิ สิงห์ บัณดรุ าชสิงห์ ไกรษรราซสีห และโลโต ภาพสตั ว์หมิ พานต์ในเล่มน้ี ตอนตน้ จำนวน ๑๖ ภาพ บันทึกภาพดว้ ยเส้นขาว บันทกึ ซื่อสัตวแ์ ละตำแหนง่ ในกระบวนด้วยเสน้ ดินสอ มลี กั ษณะและรายละเอียดของภาพเช่นเดียวกบั เลขท่ี ๑๙๕ แตไ่ ม่จบบรบิ รู ณ์ ๓. สมุดรูปสัตว์ตา่ ง ๆ เลขที่ ๑๙๗ เป็นหนังสือสมดุ ไทยขาว ปกทารกั บันทกึ ข้อความบนปกด้วยเสน้ ทอง ความวา่ “สมุดรบู สัตวตา่ งๆ ฯ” ภายในเลม่ บนั ทกึ ภาพสัตว์ ซอ่ื สตั ว์ ตำแหนง่ ในริ้วและตำแหนง่ ขุนนางผ้มู หี นา้ ที่ รับผิดชอบในการสร้างสตั ว์หิมพานต์เขา้ กระบวนดว้ ยเส้นหมกึ จำนวน ๗๓ ภาพ ต้นฉบับเลม่ น้ตี ามประวัตกิ ล่าวว่า ซอ้ื จากหมอ่ มหลวงแดง สปุ ระดิษฐ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๙ ในเลม่ มีรายละเอยี ด บนั ทกึ ด้วยดนิ สอดำว่า “แปตบาด” สนั นิษฐานวา่ เปน็ ราคาชองหนังสือเล่มนซ้ี ่งึ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ ทรงเรียบเรียงเลา่ ไวใ์ นหนังสือหอพระสมดุ วซริ ญาณสำหรบั พระนคร เร่ือง การหาหนงั สือใน เมอื งไทย ครัง้ เรมิ่ ดำเนินกจิ การหอพระสมดุ ฯ ว่า ทรงใหป้ ระกาศเชิญซวนนำหนงั สือสมุดไทยมาขายหอพระสมดุ และให้ตงั้ ราคามาดว้ ยหากทรงเห็นว่าเล่มใดมคี ุณค่ามากจะทรงเพ่มิ ราคาใหต้ ามความเหมาะสม โดยมีข้อความบานแพนก บอกวัน เดือน ปที ี่สรา้ งตน้ ฉบบั เลม่ น้ีซงึ่ เป็นหลักฐานยนื ยันไดว้ า่ ต้นฉบบั เล่มน้ีสร้างข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ความวา่ “ ©วัน ๓๑+๓๓ ค,า จลุ ศกั ราช ๑๑๙๗ ป“ ีมแมสพั ศก๒ ขา้ พระพทุ ธจา้ วหลวงพรหมประกาศิต เฃียรรูปสัตวตา่ ง ๆ ขา้ พระพุทธิจา้ วนายฉายจำลองซปุ เสน้ อกั สรทูลเกลา้ ทูลกระหมอ่ มถวาย ขอเดชะ ๚ะ” ๑ ปจ็ จุบัน คุณหญงิ กลุ ทรพั ย์ เกษแม่นกจิ ได้รบั แต่งต้งั ตำแหนง่ ราชบัณฑติ สำนักศลิ ปกรรม ราชบณั ฑิตยสถาน ๒ ศกั ราชทางจันทรคตินี้ หากเปน็ วันอังคาร เดือน ๓ ต้องเป็นวนั ขึ้น ๑๕ คาํ่ จะตรงกบั วนั ท่ี ๒กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๗๘ หากเปน็ วันข้ึน ๑๓ คา่ํ เดือน ๓ ต้องเปน็ วันอาทิตย์ ตรงกบั วันท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๓๗๘ ~!s>o

๙Z#J/ดภ า พ มพานต' นอกจากน้ันตอนทา้ ยเล่มมีขอ้ ความสรุปจำนวนสตั วท์ งั้ หมด พร้อมจำแนกเป็นสตั ว์ ๔ เทา้ และสตั ว์ ๒ เทา้ ความว่า “©หมายตำรารูปสตั ว์ จตุบท ๔๒ จบบริ'บรรณ ๚ะ ®»-” ๗ ๓ รปู ทวบิ าท ๓๑ ตน้ ฉบับเล่มนีม้ รี ายละเอียดในภาพตกแตง่ ดว้ ยลายเสน้ สวยงาม แมจ้ ะใช้เพยี งเสน้ หมึกอย่างเดยี วก็ตาม ดงั ปรากฏในหนงั สอื ทจี่ ดั พมิ พค์ รั้งน้ี ๔. แบบพระเบญจา ว่าดว้ ยตวั อยา่ งพระเมรแุ ละรูปภาพสัตว์เครอื่ งแห่พระบรมศพคร้ังกรงุ ศรีอยุธยา (ฝึมือ เขียนครั้งรชั กาลที่ ๓) เลขที่ ๒๐ หมวดตำราภาพเปน็ หนังสือสมดุ ไทยดำ บนั ทกึ ภาพด้วยเส้นขาว อักษรขอ้ ความ ด้วยเสน้ หรดาล ปรากฏข้อความบนปกวา่ “๑ พระสมดุ หย่างพระเมรุ ครงั้ พระบรมโกฏ ๚ เจ้าพระยาธรรมาธริ าชถวาย รูบสตั วหยา่ งเก่า ตน้ ฉบบั เลม่ นี้ ตามประวตั ิกลา่ ววา่ เจา้ พระยาศรธี รรมาธริ าช (รอด) สง่ มาจากพิพธิ ภัณฑสถาน พ.ศ. ๒๔๔๙ และมีขอ้ ความบนปกของหอพระสมุดวซริ ญาณบันทกึ รายละเอียดว่า แบบพระเบญจาและพระเมรรุ ปู สัตว์เครื่องแห่ ครงั้ กรุงเก่า เมอ่ื พระบรมสพสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั บรมโกศ ปขี าล พ.ศ. ๒๓๐๑ ภายในเล่ม มภี าพสัตว์เคร่ืองแห่บันทกึ ดว้ ยเสน้ ขาว พร้อมบอกขนาดของบษุ บกประกอบรูปสัตว์ บันทึกขนาดด้วยตวั เลขเรียงกัน ๔ ตัว๑ ซื่อรปู สัตวแ์ ละ รายละเอียดอื่น ๆ ดว้ ยเส้นหรดาล จำนวน ๑๒ ภาพ คอื กินร มงั กอร นกเทด นกอนิ ทรยี สิง โต ไกรสรสีห คซสืห ราซสืห โลโต ลมาด และข้าง ภาพสัตว์เคร่ืองแหแ่ ตล่ ะชนิด มีรายละเอยี ด ดงั ภาพตามลำดบั ๑ ตัวเลขเรยี งกัน ๔ ตวั เป็นแนวตัง้ น้ีบางรายการอยใู่ นเครอื่ งหมายปีกกา บางรายการอาจไม่มีเคร่อื งหมายปีกกาครอบ แต่มีความหมายเดียวกัน คือ เป็นมาตราวัดขนาดแบบไทยประเพณี โดยอา่ นเรยี งลำดบั จากบนลงล่าง คอื วา ศอก คบื และนวิ้ ตามลำดับ หากเปน็ เลขศนู ยไหอ้ ่านข้ามไป เซ่น ๗ อ่านว่า ๗ ศอก ๐ ~\\)G )

๙Z Jพ ดุ />ว สั ตว หม พา นต ์ ^ JSul

๙*ม ุด ภ าพ'ส ตภ)วAห เ่ม พ าน ต ิ ฯนหก/ท'/พน คว ว:แ กงั จ-สว เทพvัสnJถว 'นเพทกเ่ ® มงั กร ๑ ไร?09

๙ ม\\ ดภาพส ั ตว์ * หมพานต'

® นกอินทรี ®



๙Uม ดุ ภ า พ rc?ต ว์ห ม พ า น ต ~bn)

'ร/มุดภาพ สัตวcห\\ ม พ า น ต ๏ไ7 vn คใท fn tiie n ง> m ^ ft/rt v ^ r ihriv'i$9 กพ uv $น1สน1ถป1ี )8ง © ไกรสรสหิ ะ © ไร?d

๙$ม ด ภ าพ ต ว ห ม พ าน ด © คซสหี ์ © - ^๙

ม ด ภ า พ'สสภตต)ววAิห ิ ม พ า น ต๙ ® ราซสีห์ ๏ «๐

© โลโต © M6)

๙Z Jม ด ภ า พ มพานต' © ระมาด ®

fifi/ ด ก ๆ พ 1สัตวหมพานต © <ชา้ ง © COM

คำอธิบายรายละเอียดของสตั ว์หิมพานต์ กระบิลปกั ษา ลกั ษณะเหมอื นกระบห่ี รอื พญาวานร มปื ีกเหมือนนกตดิ ท่หี ัวไหล่ทั้ง ๒ ขา้ ง เป็นครีบอยู่ ข้างท้องแขน หางเป็นไก่ กรนิ ทปกั ษา ลักษณะเปน็ ขา้ งพลาย แตม่ ปื กี อยตู่ รงสะบักท้ัง ๒ ขา้ ง ส่วนหางเป็นดงั แพนหางนก การวกิ ตอนศีรษะเป็นอย่างหัวนกอนิ ทรี มหี งอนย่นื ไปข้างหน้า ลำตัวทอ่ นอกถงึ เอว มีลักษณะ คล้ายมนุษย์ ลำแขนค,ู หน่ึงลักษณะคลา้ ยขานก ลำตัวทอ่ นล่างมที ้งั ปกี ขา และขนพวงหาง เหมือนไก, กาฬราชสหี ,์ กาฬสิงหะ, กาฬสหี ์ มีรปู ลักษณะดงั ราชสีห์ กินนร, กนิ รี อมนษุ ยพ์ วกหนึง่ ทำเป็นรปู ครึ่งคนครึ่งนก หรอื ทำเป็นรูปนางมนษุ ย์ ติดปีก ติดหาง เปน็ รปู ภาพเลา่ เรือ่ งตามวรรณคดอี ีกแบบหนงึ่ กเิ ลน สัตวท์ ิมพานตท์ ี่เขยี นตามสัตว์ในเทพนยิ าย หัวเปน็ มงั กร ตัวคล้ายม้า หางเปน็ พวง เท้าเปน็ กีบ ตวั เป็นเกลด็ กิเลนปีก หัวเหมือนเหรา ตัวเปน็ สงิ ห์ มีเกลด็ มปี ีก กิหมี ใบหน้าและลำตวั มีฃนเป็นพวงคลา้ ยสนุ ัขพนั ธุปักก่ิง หางเป็นพวง เท้าเปน็ องุ้ ซอ่ นเล็บ เกษรสงิ หะ ตวั เป็นสิงห์ หวั มีหงอน เทา้ เป็นกบี ไกรสรคาวี สว่ นศีรษะถงึ ต้นคอเป็นม้า มีเขาอยา่ งโค ใบหูทง้ั ๒ขา้ งมรี ูปอย่างใบหเู สอื ลำตวั เปน็ อยา่ ง ราชสีห์ หางเป็นพวงอย่างหางม้า พน้ื ตัวสีดำ หางและปลายเทา้ สขี าว ไกรสรนาคา เปน็ สัตว์ ๔ เทา้ มศี รี ษะและหางอย่างนาค เลบ็ เท้าอยา่ งเลบ็ สงิ ห์ ลำตัวมเี กลด็ ไกรสรปกั ษา ลกั ษณะเปน็ สตั ว์ ๔ เท้า มเี ทา้ อยา่ งอุ้งเท้าสิงห์ ศีรษะคล้ายนกอินทรี และหงอนต้ังไป ต้านหนา้ มปี ีกเผยบิ กางขึ้นทั้งคู่ ติดอย่ทู ่ีตอนหลังสะบกั ลำตวั มีเกล็ด เฉพาะตอนปลายหาง มฃี นเปน็ แผง ไกรสรราชสีห์ ลกั ษณะเป็นสตั ว์ ๔ เท้า มรี ปู พรรณสณั ฐานดงั่ ราชสหี ์ มผี วิ กายสีชาวด่ังสีหอยสังข์ เสน้ ขนวนเป็นวงทกั ษิณาวฏั คซปักษา ลกั ษณะรูปกายคล้ายครุฑ แต่มงี วงและงาอยา่ งขา้ ง บนหัวมซี อ่ กนก ส่วนกายทอ่ นบน ประดับด้วยกรองศอ รัดอก เกราะออ่ น ทับทรวง สายสะองิ้ ปนั เหน่ง และสวุ รรณกระถอบ (X)๙'1

คซสีห์ _ น)ม’ ุ ดภาพ& ต ว ห ม ' ห า น ต ' ติณสหี ์ มีปกี อยู่ใต้สะเอว มฃี นปีกและขนหางคล้ายนก มีซ่อกระหนกนารตี อ่ เปน็ ส่วนหาง ในงาน โตเทพอสั ดร เขยี นมกั เขียนให้จบั ตน้ คอพญานาค และมือทง้ั สองข้างยึดสว่ นหางของพญานาคชูไว้ ทักทอ รอบข้อมอื ถงึ ท้องแขนและรอบขอ้ เทา้ ถงึ ใต้เข่าเปน็ ครบี กระหนก ทัณฑิมา ลักษณะเป็นรูปสตั ว์ ๔ เท้า เหมือนราชสีหแ์ ตม่ หื ัวเป็นช้าง มกี ระหนกประดับดูคลา้ ยหงอน ตงั้ เอนไปขา้ งหนา้ ทซิ ากรจตบุ ท บางตำราว่ามลื กั ษณะคล้ายนางโค มืสีกายหม่นมวั เหมอื นนกพริ าบ บางตำราวา่ มสี กี ายแดง เทพนรสิงห์ เหมอื นขานกพิราบ หรือสีแดงคลา้ ยหญ้าแหง้ แลใหญ่เทา่ กับโคหน่มุ เท้าเปน็ กีบเหมอื นกบั นกเทศ เทา้ โค นรนารี นรสหี ์ ลกั ษณะเปน็ สตั ว์ ๔ เท้า ตัวเป็นมา้ หัวเป็นสงิ โต นาคปก๋ ษนิ นาคพต ลักษณะเปน็ สัตว์มี ๔ เท้าคล้ายคซสหี ์ หวั มืลกั ษณะคล้ายไกรสรสหี ะ เกษรสหี ะกเิ ลนไทย โลโต หรือโลโต ซึง่ เป็นสงิ หจ์ ำพวกหนึ่งมีงวงและงาเล็ก ๆ สว่ นคขสีหม์ ีหัวเหมอื นช้าง ตวั คลา้ ย สงิ ห์ คอื เป็นชา้ งผสมสงิ ห์ ขนบนหัวปลวิ ไปข้างหนา้ และมีเครา ลักษณะกายเป็นครฑุ หัวเปน็ นก มีหงอน จะงอยปากใหญแ่ ลงองมุ้ มเี ขีย้ ว ๑ ค'ู มีหูแบบ หูววั ตาแบบจระเข้ มีอมี ๕ นว้ิ เล็บแบบนก มแี ผงขนใตท้ อ้ งและนอ่ ง ตรงกลางหลังมีปกี หางเป็นพวงแบบหางไก่ มลี ักษณะพเิ ศษ คอื ถอื ไมเ้ ท้าทองหรือไม้กระบองอยเู่ สมอ จงึ ไต้ ซอ่ื ว่า “ทัณฑิมา” (ผถู้ ือกระบอง) ลักษณะเป็นสตั ว์ ๔ เทา้ มีรปู ลกั ษณะเป็นสงิ ห์ หัวคล้ายสงิ โต หรือโตเทพอัสดร มปี ีกและ หางอยา่ งนก ขนสีเหลืองอมล้ม ขนสันหลังสีเขยี วอ่อน เปน็ ลกั ษณะประสมระหวา่ งนก กับสิงห์ ลกั ษณะท่อนบนเป็นเทพ ทอ่ นลา่ งเปน็ ราชสหี ์ เท้าเป็นกบี เหมือนเนือ้ ลักษณะรปู ร่างคลา้ ย ๆ นกอินทรี มลี กั ษณะท่อนบนเป็นมนุษยผ์ ู้หญงิ กายสีเหลือง ท่อนล่างเป็นราชสีห์ เท้าเป็นกีบคู่ อยา่ งกบี กวาง อัปสรสีห์ก็เรยี ก ลักษณะท่อนบนเป็นมนษุ ยผ์ ู้ชาย กายสีขาว ทอ่ นล่างเป็นราชสหี ์ เท้าเป็นกีบคู่อยา่ งเท้ากวาง ลกั ษณะหัวเป็นนาค ตวั เป็นนก หางเป็นกระหนก รปู ลักษณะเปน็ นาค แต่มีเทา้ เป็นสัตว์ ๔ เท้า ลักษณะเปน็ สิงห์ผสมเสอื คือ มหี วั และตวั เปน็ สงิ ห์ หู หาง เท้า เปน็ เสอื ลำตัวมีเสน้ ขนวนเป็นกน้ หอย นวิ้ เท้าเหยยี ดเห็นเล็บ พ๕1

ร)ม ุ ด ภ า พ ' ส ั ต ว ห ม ท า น ต ^ วารกี ญุ ชร เปน็ สัตว์ ๔ เท้า หวั และกายเป็นช้าง แต่มีครบี คลา้ ยปลาที่แกม้ ขา สนั หลงั ใต้ทอ้ ง และ หาง สว่ นท้องมีลายเป็นปล้อง มีสีกายต่าง ๆ กัน สกณุ ไกรสร เปน็ สัตว์ ๔ เท้า ลกั ษณะสงิ หป์ นนก คือ มีหวั เปน็ นก ตัวเปน็ สิงห์ หางมแี ผงขน ตง้ั แต่ ปลายจนเกือบถึงโคนหาง เทา้ มี ๔ นวิ้ เล็บยาว สางแปลง ลักษณะเป็นสงิ ห์ผสมกเิ ลนและเสือ มีหวั และตัวเปน็ สิงห์ หงอนเป็นกเิ ลน จมูกและเทา้ เปน็ เสือ สิงหรามงั กร มลี กั ษณะเป็นสิงหผ์ สมมังกร คือ มหี ัวเป็นมังกร ตวั เปน็ สิงห์ เทา้ เป็นอ้งุ ซอ่ นเลบ็ ตามลำตัว มีเส้นขนวนเปน็ ก้นหอย สินธพกุญชร มกี ายเป็นม้า หัวคล้ายช้าง มีงวงและงา สว่ นตาและปากคล้ายสงิ ห์ หงอนทห่ี ัว ช้างแก้ม และตรงคอเปน็ ช่อกระหนก รอบคอมีลังวาลและทับทรวง แผงคอเปน็ ชอ่ กระหนก ใต้คาง อก และใตท้ อ้ งเปน็ ปลอ้ ง ลำตัว ขา และหางคลา้ ยม้า สินธพนที ลกั ษณะเปน็ มา้ ผสมปลา มหี ัวและตัวเป็นมา้ หางเป็นปลา มคี รบี ทีห่ ลังและน่อง มกี ระหนก ประดบั ที่ช้างแกม้ ช้างคอ และรอบโคนหาง หสั ดนิ , หัสดลี งิ ค์ เปน็ สัตวส์ องเทา้ มหี ัวเปน็ แบบคซสีห์ มงี วง มงี าแบบช้าง ลำตวั เปน็ นกมปี ีก มหี างสวยงาม ในไตรภมู กิ ล่าวว่า มีกำลงั เท่ากบั ๕ ชา้ งสาร เหมราช สตั ว์ ๔ เทา้ รปู หงส์ผสมสงิ ห์ มหี ัวเป็นสิงห์ ตวั เป็นสิงห์ เท้ามี ๔ นิ้ว เลบ็ ยาว เหรา หรอื เหราพต ลักษณะเป็นรูปนาคผสมมังกร คอื มหี วั และตัวเปน็ นาค มีเท้าและหนวดเป็นมงั กร อสรุ ปกั ษา หรืออสุรวหิ ค ลกั ษณะเปน็ รูปยกั ษผ์ สมนก มีคร่งึ บนเป็นยกั ษ์ประดับศริ าภรณ์ และใส่เคร่อื งอยา่ งเสนา ยกั ษ์ ครง่ึ ลา่ งเป็นนก มีปีกออกมาจากเอว หางเป็นพวงเหมือนหางไก่ มี ๒ ขา เทา้ มี ๔ น้ิว เลบ็ ยาว อัปสรสหี ์ มลี กั ษณะท่อนบนเปน็ มนษุ ย์ผูห้ ญิง ท่อนล่างเปน็ ราชสีห์ เทา้ เปน็ กีบค,ู อยา่ งกีบเท้ากวาง นรนารกี เ็ รยี ก อน่ึงในต้นฉบบั สมดุ ภาพสตั วห์ ิมพานต์ มคี ำศัพท์บางคำทีเ่ ป็นคำศัพทเ์ ฉพาะ เซ่น เทศ หมายถึง ต่างประเทศ หรอื แบบที่ได้มาจากต่างประเทศ ผ่าน หมายถงึ ลายขวางซงึ่ มอี ยู่ทรี่ ่างกายมา้ สจี ัน หมายถงึ สเี หลอื งอ่อน สหิ ง หมายถึง สที ่ีเจือสีแดง เม่ือต้องการใหส้ มี คี วามสดใส

หงซาต หมายถง สแี ดงประสมกับสอี ่นื ๆ หงดิน หมายถึง สแี ดงประสมกบั สีอ่นื ๆ หงเสน หมายถงึ สีแดงประสมกบั สีอ่ืน ๆ หงษบาท หมายถงึ สเี หมอื นตีนหงษ์ คือ สีแดงเรอื่ หรือสีแสด การจดั พมิ พ์สมุดภาพสตั ว์หมิ พานตใ์ นครัง้ น้ี นอกจากจะแสดงภาพสตั วห์ ิมพานตเ์ ครอื่ งแห1สมัยสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ ทง้ั ๑๒ ภาพในบทนำเรอ่ื งแลว้ ยังนำข้อมลู จากสมดุ ภาพสัตวห์ มิ พานต์ทม่ี จี ำนวนครบบริบูรณ์ อกี ๑ เล่ม คือ เลขท่ี ๑๙๗ ซึง่ ยังไมเ่ คยพมิ พเ์ ผยแพร่เปน็ ลำดบั ตอ่ มา แลว้ ปิดทา้ ยดว้ ยฉบับเลขท่ี ๑๙๕ ซ่งึ ไดเ้ คย จดั พมิ พ์ เมือ่ พุทธศกั ราช ๒๕๒๕ พรอ้ มทั้งนำคำอธบิ าย เรอื่ ง ภาพสตั ว'์ ทมิ พานต์ทอ่ี าจารย์ยิ้ม ปณั ฑยางกูร เรยี บเรียง มาต่อเปน็ ภาคผนวก เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลลำหรับศกึ ษาเปรียบเทียบในรายละเอยี ดของภาพสัตวห์ ิมพานต์ต่าง ๆได้ชดั เจนยงิ่ ขน้ึ



สมดุ ภาพสัตวป์ าหิมพานต์ เลฃที่ ๑๙๗ หมวดสตั วศาสตว์

๙Z J)พดุ ภ า พ i v t o ห ม พ า น ต๙ิ , ® รปู เล่มต้นฉบับ ® <£๖

๙Z J>พดุ /)ๆพ 'สั ตว์ *หมพานต' - หน้าต้นที่ ๑-๒ ๏ ขอ้ ความบานแพนก ®

ม ด ภ า พ \"' ส ัตภ)วAห่ ่ มI พ า น ตAิ หน้าต้นที่ ๓ -๔ ® แรด ๑ (Pb

fZif4Jเด ภ าพ 'i ตว์5ห ม ท าน ต ์ หนา้ ต้นที่ ๕-๖ ๏ มา้ ผา่ นดำแดง ๏

๙$ม ด ภ า พ ' ส ตภว)Aหิ ห,ิ ม พ า น ตร

1๙ Jม ุ ด ภ า พ 'สoตั)ตว๔ห่ หร่ ่ ม พ า น ต - หน้าต้นที่ ๙ -๑ ๐ ® ครุฑ ® ๔๙



รส '\\ พุด ภาพ'สั ตว์ *หมทานต์ หนา้ ตน้ ที, ๑๓-๑๔ ® นกอนิ ทรี ®


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook