Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเดินทางตามรอยพระราชา ภาคใต้ฝั่งตะวันตก

หนังสือเดินทางตามรอยพระราชา ภาคใต้ฝั่งตะวันตก

Published by jariya5828.jp, 2020-06-24 09:23:19

Description: หนังสือเดินทางตามรอยพระราชา ภาคใต้ฝั่งตะวันตก

Search

Read the Text Version

ภาคใตŒฝ˜›งตะวนั ตก ทอ ง ๙ แหลง เรยี นรู พิพธิ ภณั ฑท ี่มชี วี ติ เสน ทางเรียนรู “ตามรอยพระราชา1”

พระราชา ไมไ ดม แี ตในนิทาน ในเดตนิ รแียขดอมนงตพแัวรหเดะงรินกาทาชราาเงรไียปนรู สนกุ รู สนุกคิด Heart Head สนุกทำ Hand เตรียมตัวไปเรยี นรู ใหเตม็ อิ่ม เตรียมใจไปสนุกใหเต็มท่ี เตรยี มถามไดท กุ คำถามทีส่ งสยั เตรยี มบันทึกทุกความประทบั ใจไวก นั ลืม ณ แหลงเรียนรู พพิ ธิ ภณั ฑทมี่ ีชวี ิต จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พระราชา รัชกาลท่ี ๙ 2

หนงั สือเดินทางของฉนั rt Hearชอ่ืtจรงิ ชอ่ื เล่น โรงเรียน Hand ช้นั คตปิ ระจำ�ใจ โทรศพั ท์ เตรียมตวั ออกเดินทางไปเรยี นรู้ สมดุ บันทึก กระบอกนำ้ � กล้องถ่ายรปู ดินสอ ยางลบ กระเปา๋ เป้ หมวก 1

คู่มอื พอ่ แม่ (Parent’s Guide) การเดนิ ทาง ‘ตามรอยพระราชา’ ของเดก็ ๆ ครง้ั นี้ พอ่ แม่ ครู หรือผู้ ใหญ่สามารถมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้และสนกุ ไปกับเดก็ ๆ ด้วยการ… • กระตุ้น ใหเ้ ด็กๆ เกดิ การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ สืบเสาะ จินตนาการ และลงมือท�ำ • สงั เกต พฤตกิ รรมการเรียนรขู้ องเดก็ ๆ สง่ เสริมใหเ้ กดิ การต่อยอด และเชื่อมโยงกับประสบการณ์จริง • ประเมิน การเรียนรู้และทักษะส�ำคัญที่เกิดจากการ เรียนรู้ของเด็กๆ ๔ ทกั ษะ คอื แรงบนั ดาลใจ คดิ สร้างสรรค์ เอาใจใส่ จดจ่อ อยากเรียนรู้ ส�ำรวจ เสาะแสวงหาค�ำตอบ อยากทำ� ต่อ สังเกต อธบิ ายขอ้ มลู สร้างแนวคดิ ใหม่ เกดิ แรงบันดาลใจ เช่ือมโยง บรู ณาการ คดิ วิเคราะห์ ลงมือท�ำ เข้าใจปัญหา เปรียบเทียบมมุ มอง ปฏิบัติจริง กล้าลอง ตา่ งๆ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง กล้าเรียนรู้ ลองลงมือท�ำ วิเคราะหข์ ้อมลู แสดงเหตผุ ล 2

ร่วมเรียนรไู้ ปกบั เดก็ ๆ • กระตนุ้ ให้เด็กๆ สนใจ ช้ีชวนใหส้ งั เกตสิ่งต่างๆ รอบตัว • ชวนเดก็ ๆ ตง้ั ค�ำถาม คิด และหาค�ำตอบ • ลองใหเ้ ด็กๆ ไดเ้ ล่น ลองทำ� สมั ผสั และเรียนรู้สง่ิ ตา่ งๆ • ชวนเดก็ ๆ ใหค้ ดิ เชื่อมโยงสง่ิ ตา่ งๆ กบั ตวั เอง ท่ีบา้ น ท่ีโรงเรียน และสงั คมรอบตัว • ตง้ั ค�ำถามให้เดก็ ๆ ทำ� ความเขา้ ใจเรื่องราว ปัญหา และสาเหตุ ของการเกิดปญั หาตา่ งๆ • ตง้ั ขอ้ สังเกตให้เดก็ ๆ คดิ ถงึ ขอ้ ดี-ข้อเสยี ของส่ิงตา่ งๆ ทไี่ ดเ้ หน็ • ต้งั ขอ้ สงสยั และค้นคว้าขอ้ มูลเพิม่ เตมิ ตอ่ จากแหล่งอื่นๆ • ทา้ ทายเดก็ ๆ ให้คดิ หาแนวทางแก้ปัญหาตามวิธีของตวั เอง 3

ศาสตร์ของพระราชาไม่มีวันล้าสมัย วิชาท่ีพระองค์ทรงสอน ใช้ไดท้ ุกมมุ โลก เปน็ ศาสตรถ์ นอมโลก ถนอมมนษุ ย์ ตลอด ๗๐ ปีแห่ง ศาสตร์พระมหากษตั ริย์ ในหลวงรชั กาลที่ ๙ ทา่ นทรงสอนพวกเราไว้ ครบเครื่อง วันนี้พระองค์ท่านไม่ประทับอยู่กับเราแล้ว แต่มีแสงสว่าง ทสี่ ่องทางเราตลอดเวลา ขอใหเ้ ดนิ ตาม หนงั สอื เดนิ ทางตามรอยพระราชา คอื โรดแมปใหไ้ ปศกึ ษาตาม เส้นทางของศาสตร์กษัตริย์ เป็นเคร่ืองมือเหมือนมีไกด์คอยอธิบาย พอ่ แมล่ กู ได้เรยี นรู้พร้อมกัน เขา้ ใจพรอ้ มกัน ตรวจสอบ ลงมอื ปฏิบตั ิ บนฐานความสามัคค ี   4

ความรดู ี วนิ ยั เดน เนน คุณธรรม โรงเรียนบานตนั หยงกาโบยชยั พฒั นา ตำบลปูยู อำเภอเมอื ง จงั หวดั สตูล ขอใหเ้ ปน็ การเทย่ี วอยา่ งสรา้ งสรรค์ เทยี่ วไปสอู่ งคค์ วามรทู้ พ่ี ระองค์ ประสิทธิ์ประสาทให้ เที่ยวดูศาสตร์กษัตริย์ ศาสตร์พระราชาจะเที่ยว ได้เป็นร้อยโครงการ เหนือสิ่งอื่นใด จะเกิดความภาคภูมิใจว่าพ่อ ของเราเก่งเหลือเกิน พ่อเราสอนเราทุกอย่าง เราเสียอีกอาจไม่ค่อย เป็นลกู ทด่ี ีนกั ไม่ค่อยใส่ใจคำ� สอนของพอ่ นักแตไ่ มส่ าย เวลาน้หี นังสอื เดินทางจะน�ำทางพวกท่านทั้งหลายไป จะเป็นเครื่องช่วยอย่างดี รับรองว่าจะบรรลุธรรม ธรรมชาติและธรรมดา และจบลงด้วยค�ำว่า ป ระโ ยชนส์ ขุ ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ เลขาธกิ ารมูลนธิ ิชยั พฒั นา และที่ปรกึ ษาโครงการหนงั สือเดินทางตามรอยพระราชา 5

เรียนรู้จัดการนำ�้ รักษาท้องทะเล ฟ้นื ฟูปา่ (ชายเลน) พัฒนาอาชีพท้องถิ่นอยา่ งยง่ั ยนื ภาคใตฝ้ ั่งตะวนั ตก กระบี่ พงั งา ภเู กต็ ระนอง สตลู ตรงั 6

7

แผนทเี่ สน ทางการเรียนรู ๓ ตามรอยพระราชา ๑๐ โครงการหมูบาน ชยั พฒั นา-กาชาดไทย (บานทงุ รกั ) จ.พงั งา โครงการพฒั นาดานการศึกษา ๔๒ โรงเรียนบา นตันหยงกาโบยชัยพัฒนา จ.สตูล ความรูด ี วนิ ัยเดน เนน คุณธรรม ๒๐ โรงเรียนบา นตันหยงกาโบยชัยพฒั นา ตำบลปูยู อำเภอเมือง จงั หวัดสตลู สนามเดก็ เลน ถนนสาธารณะ ถนนสาธารณะ ๑ โครงการพัฒนา ดา นการศึกษา ถนนสาธารณะ โรงจอดรถ อาคาร 2 โรงเรียนบา นเกาะสาหราย อาคารอเนกประสงค ชัยพัฒนา จ.สตูล แทงคน ้ำ ถนนสาธารณะ ๒ อาคาร 3 สนามวอลเลยบ อล บานพักค ูร ลานหนาเสาธง อาคาร 1 ลานกิจกรรม หอง โรงอาหาร หอ งคอมพิวเตอร อำนวยการ 8 ๒๖๖ ๓ ๔ สำนกั งาน ๕

๓๒ ๕๐ โครงการฝายคลองพระแทว พรอ มระบบสง นำ้ อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จ.ภเู กต็ ฝาย โครงการฟน ฟู และอนุรกั ษป าทงุ ทะเล อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จ.กระบ่ี ๒ โครงการอา งเก็บน้ำ ๕๔ ศนู ยเรยี นรกู ารเพิ่ม คลองหยา ๖๔ ประสทิ ธิภาพการผลติ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ จ.กระบ่ี สินคาเกษตร อ.รัษฏา จ.ตรัง ๔๖ โครงการพัฒนาการปลกู ขา ว โครงการอา งเก็บน้ำคลองทา งว้ิ เพอ่ื บริโภคครบวงจร อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ จ.ตรัง ในสหกรณน ิคมอาวลกึ จ.กระบ่ี 9

เท่ียววิถีชุมชนคนชาวเล โครงการหมูบ่ ้านชยั พัฒนา-กาชาดไทย (บา้ นท่งุ รัก) จ.พังงา เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยและเดือดร้อนจากคลื่นยักษ์สึนามิ ที่เกิดข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เจ้าหญิงนักพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนฯ มีรับสั่งให้จัดหาพ้ืนที่ที่เหมาะสม เพ่ือสร้างบ้านเรือนใหม่ให้ราษฎร อยอู่ าศยั จนเกดิ เปน็ บา้ นทงุ่ รกั ชมุ ชนนสี้ รา้ งขนึ้ ใหช้ าวบา้ นทยี่ า้ ยมาจากตำ� บล เกาะพระทอง พังงา ได้มีบ้านอยู่อาศัยและประกอบอาชีพ ทั้งนี้ให้มี ชีวิตใหมท่ ดี่ ขี ้นึ 10

11

สนกุ เรยี นรู้ วิถีชวี ติ ท่ีโครงการหมู่บา้ น ชยั พัฒนา-กาชาดไทย (บา้ นทุ่งรกั ) ท่ีเรยี กช่อื \"บ้านทงุ่ รัก\" เพราะมตี น้ ไม้ ทม่ี ดี อกคล้ายดอกรักอยู่ทว่ั ไป กลมุ จักส กลกุมลผมุ ลผติ ลเติรือเรมืออมแอกแกนนจจำลำลอองง OTOPOTOP กลมุ วิสาหกิจชุมชนอาชีพอวน อาคารเรอื นรบั รอง กลมุ วิสาหกจิ ชุมชนอาชีพอวน ปหมรหปะบูมรปะาูบาปนาาน บบอ บอ บำบำดับนดั ้ำนเส้ำเียสีย กองงออำำนนววยยกกาารร ศูนศยสูนายธส าารธณาะรสณขุ สขุ ศศนู ูนยยพพ ัฒนาเด็กเเลล็ก็ก มลู มฐูลาฐนาชนุมชุมนช(คนส(มคชส)มช)บกลานมุกบททลาุงอนุมรงททกัเทุงอ รีย่ งกัวเทีย่ อาอคาาคราร แอแงอกง กักเกักเ็บกนบ็ ้ำนบ้ำา บนาทนุงทรักุงรัก อเนอกเนปกรปะรสะงสคงค พพ้ืน้ืนโทโคทคีบ่ ่ีบรรางางนกนกทาทารรุงุง พพรรักักัฒัฒ((ปนปนาาาาไไมม)) อาชีพประมงพ้นื บา้ น ชาวบา้ นทุ่งรักมอี าชีพประมงพ้ืนบา้ น และเลี้ยงปลาทะเลในกระชงั 12 มีการส่งเสรมิ พฒั นาอาชีพประมง ดว้ ยโครงการอตุ สาหกรรมประมงพ้นื บา้ น

สำนกั สงฆ โรงแปรรูปสัตว์น�้ำ ผลิตภัณฑ์ แปรรูปสัตว์น�้ำเพิ่มมูลค่า ได้แก่ ปลา สระนำ้ หยองปรุงรส ปลาข้างเหลืองหวาน ขนมปนั้ ขลิบไสป้ ลา และกะปิปากจก สาน โครงการอตุ สาหกรรมประมงพื้นบ้าน โรงซอ่ มเรือ สรา้ งและซ่อมเรือก่าบางมอแกน และ เรอื หัวโทงไฟเบอร์กลาสให้ชาวบา้ นน�ำไปใชป้ ระกอบอาชพี โรงผลิตอาหารเม็ด ผลิตอาหารเม็ดส�ำหรับเลี้ยง ปลาทะเลในกระชงั แทนอาหารทเ่ี ปน็ ปลาสด ชว่ ยลดตน้ ทนุ และแกป้ ัญหาขาดแคลนอาหารปลา ยว โครงการอตุ สาหกรรม ประมงพนื้ บา น เด็กๆ รไู้ หม “ประมงพืน้ บา้ น” ตา่ งจาก โรงงานผลติ อาหารเม็ด “ประมงพาณิชย”์ อยา่ งไร โรงงานแปรรปู สัตวน้ำ โรงซอ มเรือ ทา เทยี บเรือชยั พัฒน 13

ทอ่ งเที่ยววถิ ีชุมชน คนชาวเล ด้วยมีวิถแี หง่ ชาวเล มีแหล่งทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชน และใกล้เคยี ง บ้านทุ่งรักจัดการท่องเท่ียววิถีชุมชน มีบ้านพักโฮมสเตย์ เรอื หางยาวนำ� เท่ียว และบรกิ ารน�ำเทยี่ วหลากหลายแบบให้เลือก วิหารเซยี น ๑ ใน ๓ แห่งของโลก ตั้งอยู่ บนเกาะทงุ่ นางดำ� เปน็ จดุ ทเี่ ชอ่ื วา่ เปน็ ตำ� แหนง่ หวั มงั กร พลับพลึงธาร คลองตาเลื่อน แหล่งอนุรักษ์ต้นพลับพลึงธาร ราชินีแห่ง สายนำ้� อยใู่ นคลองตาเลอื่ น ชว่ งทอี่ อกดอกคอื เดือนตลุ าคมถงึ ธนั วาคม ทะเลแหวกหนวดมังกร เกิด ปรากฏการณ์ธรรมชาติทะเลแหวก หน้าเกาะ ทุ่งนางด�ำ ต�ำแหน่งหัวมังกร จึงได้ช่ือ ว่า แหลมไมต้ าย “ทะเลแหวกหนวดมังกร” ชายหาดที่สวยงาม ชมฝงู ปูแดงชว่ งเวลาน�้ำทะเลลด เกาะพระทอง เกาะขนาดใหญ่ อันดับ ๕ ของไทย มีแหล่งท่องเที่ยว ทน่ี ่าสนใจ เช่น ทงุ่ หญา้ สะวันนาเมอื งไทย ทุ่งหญ้าสีทองประดับด้วยต้นเสม็ดขาว กระจายตวั อยา่ งงดงาม บงึ นำ้� ขนาดใหญบ่ น เกาะเปน็ แหลง่ อาศยั ของนกกวา่ ๑๔๐ ชนดิ อา่ วตาแดง และอ่าวหินกองเปน็ ชายหาดที่ สวยงาม เหมาะมาชมพระอาทติ ยต์ ก 14

กิจกรรมทอ่ งเที่ยวน่าสนใจ ไปสนุกเรียนรู้กัน ป่นั จักรยาน เยีย่ มชมวิถชี มุ ชน และธรรมชาติ นง่ั เรือหางยาว ชมธรรมชาตปิ า่ ชายเลน เทย่ี วได้ตลอดปี ล่องแพไม้ไผ่ สัมผัส เด็กๆ อยากท�ำ ธรรมชาติสองฝั่งคลองท่ีมีน�้ำ กิจกรรมไหนบ้างนะ สีเขยี ว จนได้ชื่อวา่ “ธารมรกต” ช่วงที่เหมาะคือ เดือนมิถุนายน ถึงพฤศจกิ ายน พายเรือแคนู พายเรือ ชมป่าชายเลนในคลอง ใหอ้ าหารปลา เยย่ี มชม กระชังเล้ียงปลาทะเล พรอ้ มให้ อาหารปลา งมหอยชักตีน งมหอยมาท�ำเมนูอร่อย ชว่ งทเ่ี หมาะคอื ขน้ึ ๑๕ คำ�่ 15 ถึงแรม ๔ คำ�่

แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว แหลง่ เรยี นรู้ ใน อ.คุระบุรี ใกล้เคยี งบ้านทุ่งรกั โครงการปลูกพชื ผสมผสาน ของมูลนิธิชัยพั ฒนา พลิกฟื้น นากุ้งรา้ ง ปลูกพชื ผสมผสาน กะปปิ ากจก มสี ่วนผสม โรงเรียน อะไรบา้ ง เดก็ ๆ ลองชมิ ดูสิ บานทุงรักชัยพฒั น ว่ารสชาติตา่ งจากกะปิ ท่ีบา้ นของเราไหมนะ ปลาทะเลที่เลย้ี งในกระชังได้ โครงการชัยพฒั นา-กาชาดไทย มปี ลาอะไรบ้างนะ (บานทุง รัก) 16 สมัยกอ่ นทำ� เหมอื งแรอ่ ะไร แล้วท�ำไมถึงถกู ทิง้ ร้าง

โรงพยาบาล พลกิ ฟน เหมืองแรร าง โครงการศึกษาทดลองปลูก คุระบุรชี ัยพฒั นา สศู นู ยเ รียนรู ปาล์มน�้ำมันและเกษตรผสมผสาน เปลี่ยนเหมืองแร่ร้างดินเสื่อมโทรม ให้ การปลกู ปาลมนำ้ มัน อุดมสมบูรณ์จนปลูกปาล์มน�้ำมันและ พืชตา่ งๆ ได้ โรงเรียนครุ ะบุรชี ัยพฒั นาพิทยาคม ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารเลยี้ งปลาในกระชงั ใช้อาหารอัดเม็ด กระชังเล้ียงปลาทะเลโดย ใช้อาหารอัดเมด็ โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพ ตำบลทงุ รักชยั พฒั น โครงการอุตสาหกรรมประมงพืน้ บาน แหลง ศึกษาเรยี นรูนอกหองเรยี น ชาวมอแกน มีวิถีชีวิต อย่างไร และอาชีพดง้ั เดมิ ทำ� อะไร 17

เลือกซือ้ หาสินคา้ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน กะปิปากจก ผลิตภัณฑ์ข้ึนชื่อ ของบา้ นทงุ่ รกั ภมู ปิ ญั ญาเกา่ แกท่ ม่ี มี ากวา่ ๑๐๐ ปี เรมิ่ ต้นโดยชาวบ้านปากจก เกาะ พระทอง กะปิท�ำจากกุ้งเคยแท้ สะอาด กลิ่นหอม รสชาตกิ ลมกล่อม เรือก่าบางมอแกน บ้านทุ่งรัก น้�ำมันสมุนไพรจากใบเสม็ด มีชาวมอแกนอาศัยอยู่หลายครัวเรือน ต้นเสม็ดเป็นต้นไม้ท่ีขึ้นชุกชุมในพ้ืนที่ นอกจากท�ำประมงแล้วยังมีอาชีพเสริม นำ� มาทำ� นำ�้ มนั สมนุ ไพรสารพดั ประโยชน์ เรือจ�ำลองแกะสลักจากไม้นี้เป็นสัญลักษณ์ แก้เวียนศีรษะ คัดจมูก เคล็ดขัดยอก ของชาวมอแกนผู้ท่องไปในทะเลอันดามัน ปวดเมื่อย พษิ จากแมลงกดั ต่อย เพื่อให้เยาวชนชาวมอแกนได้เรียนรู้ถึงวิถี ชีวิต ประวัติความเป็นมาของเรือมอแกน รวมถงึ ถา่ ยทอดวถิ นี ใ้ี หบ้ คุ คลทวั่ ไปไดเ้ รยี นรู้ ขนมปัน้ ขลบิ ไส้ปลา เหมาะเปน็ ของฝาก ขนมขบเคย้ี ว ของวา่ งรบั ประทาน กบั น้�ำชากาแฟ ชาวบ้านทุ่งรักมีความเป็นอยู่ที่ดีอย่างย่ังยืน ต่อยอดภูมิปัญญาดั้งเดิม สรา้ งอาชีพใหม่ เสริมรายได้ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ 18

เดก็ ๆ ร้ไู หมในภาพคืออะไร ๑ กระดาษคำ�ตอบ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒๓ ๔ โครงการหมู่บ้านชยั พฒั นา-กาชาดไทย (บา้ นทงุ่ รัก) การเดินทาง หมู่ ๖ ต.แมน่ างขาว อ.คุระบุรี จ.พงั งา โทร. ๐ ๗๖๔๕ ๗๐๒๗ 19 กลุ่มทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนบ้านทุง่ รักชัยพฒั นา โทร. ๐๘ ๗๐๒๙ ๒๘๓๘, ๐๘ ๖๒๙๙ ๘๑๒๐

แเทลี่ยะวหเมกาบู่ ะ้าปนูยชาู เวยปยี่ รมะโมรงงเรียน โครงการพัฒนาดา้ นการศึกษา โรงเรียนบา้ นตนั หยงกาโบยชยั พัฒนา จ.สตลู หมู่บ้านตันหยงกาโบย ต้ังอยู่บนเกาะปูยู ทะเลอนั ดามนั เดมิ เปน็ พนื้ ทหี่ า่ งไกลความเจรญิ ไม่มีน้�ำประปา ไม่มีไฟฟ้า โรงเรียนมีสภาพ ทรุดโทรมและขาดแคลน เจ้าหญิงนักพัฒนา ทรงห่วงใยความเป็นอยู่ของเด็กๆ จึงให้ หลายหน่วยงานเข้ามาช่วยเหลือพัฒนา โรงเรยี นบา้ นตนั หยงกาโบยเพอ่ื สรา้ งการศกึ ษา ที่ดีให้แก่เด็กๆ และท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ ของชาวบา้ นดขี น้ึ 20

21

โรงเรียนบ้านตนั หยงกาโบย เป็นโรงเรียนขยายโอกาส เปิดสอนระดบั อนบุ าลถึงมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ สมยั กอ่ นอาคารเรียนทรุดโทรมมาก ในหน้าแล้งเด็กๆ ไมม่ นี �ำ้ ใช้ สมเดจ็ พระเทพรัตนฯและหนว่ ยงานต่างๆ เข้ามาช่วยเหลอื ซอ่ มแซมและสร้างอาคารเรียนใหม่ เมื่อวนั ท่ี ๔ มนี าคม ๒๕๕๒ ทรงกดปุ่มเปิดแพรคลมุ ป้ายโรงเรยี น นบั จากวนั นน้ั ชาวเกาะ ปยู ูกม็ ไี ฟฟ้าและน�ำ้ ประปาใชก้ นั จนถงึ ทุกวนั นี้ หลกั สตู รสนกุ สรา้ งอาชีพ มีพระราชด�ำริให้โรงเรียนจัดท�ำหลักสูตรการเรียนรู้ ดา้ นอาชีพ นอกจากการเรียนในห้องเรียนปกติ เด็กๆ ทีน่ ่ี จึงไดส้ นกุ ไปกับกจิ กรรมที่อาจจะกลายเปน็ อาชพี ในอนาคต ความรดู ี วนิ ยั เดน 22

ประดิษฐ์ดอกไม้จากผ้าใยบัว ฝกึ ฝมี อื งานประดิษฐ์ สรา้ งรายไดเ้ สริม เบเกอร่ีและอาหารพื้นเมือง เชฟจ๋วิ เรยี นทำ� ขนมปุยฝ้ายหลากสี คกุ ก้ี โดนตั ขนมปัน้ ขลบิ ทอด เค้ก ขนมโค ขนมหมอ้ แกง ขนมหมอ้ แกงถั่ว วนุ้ กะทิ ฯลฯ ช่างไฟฟ้า อาชีพช่าง ช่างตัดผมชาย เรียนรู้ ซอ่ มเป็น สรา้ งได้ เทส่ ดุ ๆ การตดั ผมจากชา่ งมอื อาชพี เนนคณุ ธรรม ทักษะชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ฝึกทำ� การเกษตร ปลูกพืชผัก สวนครัว เพาะเห็ด ฯลฯ 23

ไปเท่ียวเกาะปูยูกนั ดีกว่า เกาะปยู ู ตง้ั อยหู่ า่ งจากฝง่ั ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร ธรรมชาตสิ วยงาม มวี ถิ ชี วี ติ หมบู่ า้ น ชาวประมง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คนที่น่ีพูดได้ ๒ ภาษาคือ ภาษาไทย และภาษามลายู ไ ป เ ก า ะ ต ้ อ ง น่ั ง เรื อ น่ังเรือโดยสารรับจ้างจากท่าเรือ ดา่ นศลุ กากรสตลู ใชเ้ วลาประมาณ ๒๐ นาที บนเกาะใช้รถพ ่วงข้าง การสัญจรไปมาบนเกาะ นั่งรถ รับจ้างจักรยานยนต์พ่วงข้าง ไปชมสถานทต่ี า่ งๆ รอบเกาะ น่ังรถพ่วง เที่ยวรอบเกาะ ชม วิถีหมู่บ้านชาวประมง อาชีพหลักของ ชาวบ้านท่ีนี่ส่วนใหญ่ท�ำอาชีพประมงชายฝั่ง ขนาดเล็ก รับจ้างทั่วไป มีท�ำสวนยางและ สวนผลไมบ้ า้ ง 24

แวะดบู า้ นอนรุ กั ษป์ ู ถา้ มชี าวประมงจบั ปทู ม่ี ไี ขไ่ ด้ ท�ำไมตอ้ งอนรุ ักษ์ บ้านนี้จะรับซื้อปูไข่ในราคาท่ีสูงกว่าปูทั่วไปแล้วน�ำปูไข่ พันธป์ุ ดู ้วยล่ะ มาเพาะเลีย้ งให้ปฟู กั ไข่ พอไขฟ่ ักเปน็ ลกู ปู จะปล่อยลูกปู นับแสนตัวลงส่ทู ะเล เปน็ การขยายพนั ธป์ุ ูสทู่ อ้ งทะเล ชาวบา้ นที่น่ีใช้ภาษา อะไร เป็นภาษาหลกั นะ โรงเรยี นบ้านตันหยงกาโบยชัยพัฒนา การเดนิ ทาง หมู่ ๒ ต.ปยู ู อ.เมอื ง จ.สตลู โทร. ๐๘ ๖๙๘๔ ๔๑๓๔ 25 www.sesao.go.th/bantonyongkaboiy

ไปเยย่ี มโรงเรียนบนเกาะ โครงการพัฒนาด้านการศกึ ษา โรงเรียนบ้านเกาะสาหร่ายชยั พัฒนา จ.สตูล ถงึ จะอยใู่ นพน้ื ทเี่ กาะหา่ งไกล แตก่ ไ็ มเ่ คยอยไู่ กลเกนิ สายพระเนตรของเจา้ หญงิ นักพัฒนา ทรงห่วงใยการศึกษาของเดก็ ๆ บนเกาะสาหรา่ ย จงึ มีพระราชด�ำรใิ ห้ โรงเรียนจัดท�ำหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ในทอ้ งถน่ิ เพ่อื ให้เด็กๆ นำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตจรงิ 26

27

การเดินทาง ไปเกาะสาหร่าย เกาะ สาหรา ย อบต. มสั ยดิ เกาะสาหราย หาด ท ้ อ ง ท ะ เ ล ที่ ยั ง อุ ด ม แหลมยา ส ม บู ร ณ ์ ชาวประมงที่นี่ ออกทะเลจับสัตว์น�้ำได้มากมาย 28 ปลาทะเลนานาชนิด ปลาจวด ปลาทราย ปลาเกา๋ ปลากระเบน หมกึ ปมู า้ กงุ้ กงั้ ฯลฯ

ทา เรือทงุ รนิ้ ทาเรอื เจะบลิ งั ทาเทยี บเรอื โรงเรยี นบาน เดนิ ทางด้วยเรือโดยสาร ๒ เส้นทาง เกาะสาหรา ย จากทา่ เรอื เจะ๊ บลิ งั ระยะทาง ๑๔ กโิ ลเมตร ชัยพัฒนา การเดินทางภายในเกาะ จากทา่ เรอื ทงุ่ รน้ิ ระยะทาง ๑๐ กโิ ลเมตร มถี นนคอนกรตี เชอื่ มตอ่ กนั รอบเกาะ ทำ� ใหก้ ารเดนิ ทาง เดก็ ๆ รไู้ หม สะดวก ชาวประมงใชเ้ คร่ืองมอื อะไรในการจับสตั วน์ ำ�้ วิถี ชาวประมงแหง่ ทะเลอนั ดามนั ประชาชนเกาะสาหรา่ ยสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี ประมงชายฝง่ั ขนาดเลก็ แบง่ เปน็ * ประมงชายฝง่ั ๙๒ % * ประมงนำ�้ ตน้ื ๑ % * ทำ� อาชพี อน่ื ๆ ๗% เชน่ คา้ ขาย ทำ� สวน เลยี้ งสตั ว์ ทำ� ธรุ กจิ ฯลฯ 29

แผนผงั การเรยี นรู้ โรงเรยี นบา้ นเกาะสาหรา่ ยชัยพฒั นา ถนนสาธารณะ ๑ อาคาร รวมก ัตญู โรงจอดรถ ถนนสาธารณะ อาคารอเนกประสงค แทงคน ำ้ อาคาร ๒ อาคาร ๓ ๒ ๑ เสาสัญญาณเตอื นภัย สนามวอลเลยบอล ๒ ศาลารว มใจเฉลิมพระเกยี รติ ๓ หองแปรรูปอาหารทะเล สนามเด็กเลน อาคาร ๑ หอ ง ๔ หอ งปฏบิ ัตกิ ารเคร่ืองยนตเ ลก็ ถนนสาธารณะ ๘อำนวยการ ๕ หอ งปฏบิ ัตกิ ารตอ เรอื ไฟเบอรกลาส ลานกจิ กรรม ๖ ศูนยเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพียงเพอื่ อาหารกลางวัน ๖ ๓ ๔ สำนักงาน ๗๕ และการประกอบอาชพี ๗ ถังเก็บน้ำประปาโรงเรยี น ๘ เคร่อื งกรองน้ำดื่ม ๙ สถานีวิทยเุ พอื่ การศกึ ษาแและพัฒนาอาชีพ เด็กๆ ที่น่ีมาจากครอบครัวชาวประมง หลายคนออกเรอื หาปลากับพอ่ แม่ การไดเ้ รยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี นเพอ่ื เสรมิ ตอ่ อาชพี ประมงจงึ เปน็ สงิ่ ทใี่ กลต้ วั ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ สนุกสนาน เป็นการเรียนรเู้ พื่อชวี ติ ที่จะน�ำไปใช้ประโยชน์ในวิถีชีวติ ได้จริง 30

หลกั สูตรเพ่ือใหน้ ักเรียนมีอาชีพติดตัวในอนาคต ห ้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ต ่ อ เรื อ ไฟ เบ อ ร ์ กลาสเด็กๆ เรียนรู้เก่ียวกับเรือไฟเบอร์กลาส ที่น�ำมาใช้แทนเรือไม้กันมากข้ึน ได้เรียนรู้ การซอ่ มแซม และต่อเรอื ไฟเบอร์กลาส ทำ� ไมจึงใช้เรือไฟเบอรก์ ลาส มาแทนเรือไมแ้ บบเกา่ เรือไฟเบอร์กลาสมีขอ้ ดีอย่างไรบ้างนะ ถนนสาธารณะ ห ้ อ ง ป ฏิ บั ติ กา ร เคร่ืองยนตเ์ ลก็ เรยี นรกู้ าร ลานหนา เสาธง บานพักค ูร ซ่อมเครื่องยนต์ดีเซลเรือเล็ก เครอื่ งยนตด์ เี ซลเรอื ประมง โรงอาหาร ๙ หองคอมพิวเตอร ห้องแปรรูปอาหาร ๘ ทะเล เด็กๆ ได้เรียนรู้การ แปรรูปอาหารทะเล เช่น ท�ำ ปลาแห้ง ปลาเค็ม การเค่ียว มันปู ขนมปั้นขลิบไส้ทะเล ขนมผกู รกั โรงเรยี นบ้านเกาะสาหร่ายชยั พฒั นา สตูล การเดินทาง หมทู่ ่ี ๕ ต.เกาะสาหรา่ ย อ.เมอื ง จ.สตลู โทร. ๐๘ ๑๗๓๘ ๐๑๕๕ 31 www.bksr.ac.th โรงเรยี นบา้ นเกาะสาหรา่ ยชยั พฒั นา

สนกุ เรียนรู้ ในปา่ ๕ อย่าง ประโยชน์หลายอยา่ ง โครงการฟน้ื ฟแู ละอนรุ ักษป์ ่าท่งุ ทะเล อันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ จ.กระบี่ ปา่ แหง่ น้ีได้ชอื่ ว่าเปน็ “ป่าไมข้ องแม่” “อย่างที่จังหวัดกระบี่ ข้าพเจ้าไป เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พระราชนิ ี แมข่ องแผ่นดนิ ขอกับชาวกระบ่ีว่า ป่าไม้ชายเลนนี้ ชวนให้ชาวบ้านมาช่วยกันอนุรักษ์ฟื้นฟู อย่าท�ำลายเลย ขอให้ข้าพเจ้าเถอะ ปา่ ทุ่งทะเลด้วยความรว่ มมือรว่ มใจ ป่าแห่งนี้ ขอใหเ้ ปน็ ปา่ ไมช้ ายเลนอยา่ งเดมิ เพอ่ื จึงกลบั มาอดุ มสมบูรณอ์ กี ครงั้ ความย่งั ยนื ของประเทศไทยเอง” พระราชดำ� รัส สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ เม่ือวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๓ 32

33

ปา่ ทงุ่ ทะเล หาดทรายผนื ยาวสวยงาม และป่า ๕ ชนิด สัตว์ปา่ มากมาย ต่างมาอาศยั อยู่ในป่านี้ ท่ีนม่ี ีไมเ้ สม็ดขาว ที่สมบรู ณ์หนาแนน่ ท่ีสุด ท�ำไมเสมด็ ขาวชอบขึ้นที่น่ี ปา พรุ เสมด็ ขาวอยู่ผนื ป่าชนดิ ไหนนะ ปาดิบช้ืน สำนักงานโครงการฟน ฟู และอนุรักษป าทงุ ทะเล อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ ๑. ป่าชายหาด ขนึ้ ทงุ หญา อยู่ตามริมชายหาดทุ่งทะเล ธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ไมส้ นทะเล หยที ะเล ปอทะเล และเตยทะเล ปาชายหาด ชายหาดท่งุ ทะเลมคี วามยาว ปาชายเลน ประมาณ ๗ กโิ ลเมตร ท�ำไมท่ีนถ่ี ึงมปี ่าต้ัง ๕ ชนดิ 34 มปี า่ อะไรบ้างนะ

แผนผังแหล่งเรยี นรู้ภายในโครงการ ฟน้ื ฟูและอนรุ ักษ์ป่าทงุ่ ทะเล อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ สง่ เสริมอาชีพ สรา้ งรายได้ นอกจากอนุรักษ์ธรรมชาติ พระราชินียังทรง ส่งเสริมให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมสร้างรายได้ โดยใช้ วัตถดุ ิบทมี่ ใี นท้องถิ่นให้เกดิ ประโยชน์ โ ค รง การ ศิ ล ปา ชี พ กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์ ทงุ่ ทะเล การทอผา้ กกี่ ระทบ จากใบเตยปาหนนั เตยปาหนนั ภู มิ ป ั ญ ญ า ก า ร ท อ ผ ้ า ข อ ง เป็นพืชท่ีมีในท้องถิ่น ชอบข้ึนตาม ทอ้ งถนิ่ ทอผา้ ฝา้ ยโดยใชก้ กี่ ระทบ ริมหาด ชายทะเล ป่าโกงกาง ต้นเป็นกอ แตกก่ิงใบยาวเป็นพุ่ม กี่กระทบ คอื อะไร ใ บ ส า ม า ร ถ น� ำ ม า จั ก ส า น เ ป ็ น ท�ำไมถึงเรียกวา่ ก่ีกระทบ ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ มลี วดลายสวยงาม 35

เด็กๆ ลองทำ� ดซู ิ ก่ีกระทบทอผา้ ไดอ้ ย่างไรนะ โครงการ ศนู ยศ ิลปาชีพทุงทะเล ศาลาทรงงาน การทอผา กีก่ ระทบ โครงการฟน ฟแู ละ อนรุ ักษปา ทงุ ทะเล อันเนอ่ื งมาจาก อาชีพเล้ียงสัตว์ ส่งเสริมอาชีพ พระราชดำริ การเลย้ี งสตั ว์ เชน่ กลมุ่ เลย้ี งผง้ึ การเพาะพนั ธ์ุ นกกรงหวั จุก การเลี้ยงกระจง แปลงสาธติ เกษตร เรียนรู้วิถีป่าชุมชน ส่งเสริมการท�ำ การทำเกษตร วนเกษตร การท�ำสวนเกษตรในป่า เพื่อใช้ ในพ้นื ท่ีปา ไม ประโยชนจ์ ากปา่ อยา่ งถกู วธิ ี เขตหา มลาสตั วป าทุง ทะเล โแคลระงอกนาุรรักศษูนพยันศ ธกึ ปุ ษู ปาากทาุงรทพะฒั เลนา 36

สตั วป์ า่ นานาชนดิ ความอดุ มสมบูรณข์ องป่า ทำ� ให้มสี ตั ว์ปา่ หลากหลาย ทั้งบนบกและในนำ้� นก มไี มน่ อ้ ยกวา่ ๑๘๐ ชนดิ ไดแ้ ก่ ไกป่ า่ นกกนิ เปย้ี ว เหยย่ี วแดง นกเขาเปลา้ ฯลฯ นกอพยพ เชน่ นกอกี อ๋ ย นกหวั โต ฯลฯ สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก มไี มน่ อ้ ยกวา่ ๗ ชนดิ เชน่ กบนา องึ่ เขยี ดทราย ฯลฯ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ปลานำ้� จดื เชน่ ปลาดกุ มี ๒๑ ชนดิ เชน่ หมปู า่ ลงิ แสม ปลาชอ่ น ปลาหมอ ฯลฯ คา่ งแวน่ อเี หน็ นากใหญข่ นเรยี บ สัตว์เล้ือยคลาน มไี มน่ อ้ ย ลน่ิ หรอื ตวั นม่ิ ฯลฯ กวา่ ๑๖ ชนิด เชน่ เตา่ นา เหีย้ แย้ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ตะกวด งกู ะปะ งจู งอาง งูเขียว ฯลฯ เชน่ กงุ้ หอย ปู ฯลฯ แหล่งอาหารของชาวบา้ น สัตว์น�้ำเค็ม ไดแ้ ก่ ปลา ป่าเป็นแหล่งอาหาร มีพืชท่ีใช้ท�ำเป็น ทะเลชนดิ ตา่ งๆ เตา่ ทะเล ฯลฯ อาหารและสมุนไพรหลายชนิด เช่น เห็ดเสม็ด เห็ดที่ชอบข้ึนตามต้นเสม็ดขาว ผักหวานป่า มะมว่ งหมิ พานต์ ขเ้ี หลก็ มะขาม เปน็ ตน้ 37

เรียนรู้อนุรักษ์ป่าทุ่งทะเล ปา่ ทงุ่ ทะเลมพี ้นื ท่ี ๗,๐๕๗ ไร่ มาทน่ี ม่ี เี รอ่ื งให้เรียนร้มู ากมาย แนว กั น ไฟ ป ้ อง กั น ไฟป่า ส่งเสริมการป้องกัน ไฟปา่ โดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน แหลง่ เพาะพันธ์ไุ ม้ เพาะพนั ธ์ุ กล้าไม้แจกจ่ายให้ชาวบ้าน น�ำไปปลูก เช่น ผักหวาน มะขาม มะมว่ งหมิ พานต์ ฯลฯ มาช่วยกันปลูกป่าและฟื้นฟูป่า แหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชงิ นเิ วศ ชายเลน ถ้าอยากปลูกป่าชายเลน ติดต่อ สนกุ กบั แหลง่ เรยี นรศู้ กึ ษาธรรมชาติ เจ้าหน้าทล่ี ่วงหน้า ระบบนิเวศ ปา่ ไม้ และชายหาด คา่ ยเยาวชน เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ ป่าทุ่งทะเล โรงเรียนท่ีสนใจท�ำ กิจกรรมน้กี ต็ ิดตอ่ เข้ามาได้ 38

๒. ปา่ พรุ กระจายตวั อยบู่ รเิ วณตอนกลางของพน้ื ท่ี ได้แก่ เสม็ดขาว หว้าหิน หวา้ ตงั หน กะพอ้ ตน้ หลาว ชะโอน หวาย กลว้ ยไมป้ า่ ๓. ป่าชายเลน หนาแนน่ บรเิ วณรมิ คลอง ไดแ้ ก่ โปรงขาว โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเลก็ โปรงแดง ถวั่ ดำ� ถ่วั ขาว ตะบนู ดำ� ตะบูนขาว หวายลิง เหงือกปลาหมอ ปา่ แตล่ ะชนดิ มีประโยชน์ ยงั ไงบา้ งนะ ป่ าดบิ ชื�น ๕. ทงุ่ หญา้ ธรรมชาติ ทงุ่ หญา้ เรยี บ ๔. ป่าดิบช้ืน ขน้ึ ตามรอ่ งหว้ ยนำ�้ ทอดตัวยาวตลอดแนวป่าชายหาด ตอนกลางของพน้ื ท่ี ไดแ้ ก่ ตะเคยี น ปา่ พรุ และกระจายเปน็ หยอ่ มทวั่ พน้ื ที่ หวา้ หนิ เสมด็ แดง หวา้ และมกี ลว้ ยไม้ ปา่ หลากหลายชนดิ 39

มาเท่ียวทุ่งทะเล ตอ้ งไปว่งิ ไลจ่ บั หอยว่ิง หอยวิ่งหรือหอยหวาน หอย เมนหู อยว่ิง หอยวงิ่ ตวั เลก็ แตเ่ นอื้ แนน่ ชนดิ สองฝา ขนาดประมาณ ๒-๓ นว้ิ เมอื่ รสชาติหวานอร่อย น�ำมาท�ำเป็นอาหารได้ ถกู คลน่ื ซดั ขนึ้ บนชายหาดจะวงิ่ ตามผวิ นำ้� หลายเมนู เช่น ผัดฉ่า ผัดกะเพรา หรือ แล้วซ่อนตัวในพื้นทราย จะโผล่ขึ้นมาให้ ผดั นำ้� มนั หอย ใสใ่ นแกงตา่ งๆ กไ็ ด้ หรอื จะทำ� เหน็ บนชายหาดเวลานำ้� ลด ชาวบา้ นใชไ้ ม้ ยำ� หอยวงิ่ กอ็ รอ่ ยอยา่ บอกใคร หรอื มอื ควานไปบนพนื้ ทราย หอยกจ็ ะโผล่ ขน้ึ มาใหว้ ง่ิ ไลจ่ บั กนั สนกุ สนาน คนชว่ ยดแู ลปา่ ถงึ ย่ังยนื โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าทุ่งทะเล อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ต้นแบบ การบริหารจัดการทรัพยากรป่า โดยการมี สว่ นรว่ มของคนในทอ้ งถนิ่ ทำ� ใหค้ นเหน็ คณุ คา่ ของป่าไม้ เมื่อคนดแู ลปา่ และปา่ ใหป้ ระโยชน์ กบั คนได้ คนกบั ปา่ กอ็ ยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ 40

สนุกจับคู่ ลองขีดเสน้ โยงสงิ่ ทเ่ี ก่ยี วข้องกนั ต้นเสม็ดขาว หมปู า่ เตยปาหนัน การทอผา้ เห็ดเสมด็ สตั ว์ไมม่ ี กระดกู สนั หลงั ก่กี ระทบ ไมส้ นทะเล สตั วเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนม กุง้ ป่าชายหาด การจักสาน โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ปา่ ทงุ่ ทะเล การเดินทาง อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริ กระบ่ี หมทู่ ่ี ๓ ต.เกาะกลาง อ.เกาะลนั ตา จ.กระบ่ี 41 โทร. ๐๘ ๔๘๔๖ ๗๕๔๒

ไปดรู ะบบชลประทานท่ีชาญฉลาด และกาลกั นำ้� ยกั ษ์ โครงการอ่างเก็บนำ�้ คลองหยา อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ จ.กระบ่ี พระราชาทรงห่วงใยเกษตรกรจึงได้ มอบหมายกรมชลประทานจดั หาแหลง่ นำ้� และระบบส่งน�้ำช่วยเหลือประชาชน มี ก า ร ส ร ้ า ง อ ่ า ง เ ก็ บ น�้ ำ ค ล อ ง ห ย า อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ใช้เป็น แหล่งกักเก็บน�้ำไว้ใช้ในการเพาะปลูก รวมทั้งเป็นแหล่งน�้ำอุปโภคบริโภคของ ประชาชน 42

43

เ มนี ำ้กษตรกรหนา ใส ใชต ลอดป ระบบสงน้ำ อา งเก็บนำ้ คลองหยา พนื้ ทช่ี ลประทาน ทไ่ี ดป ระโยชนจ ากอางเก็บนำ้ เดก็ ๆ รไู้ หม “กาลักน้ำ� ” คืออะไร มปี ระโยชน์อยา่ งไรนะ ดว้ ยพระเมตตาของพระราชา ช่วยให้เกษตรกรในพนื้ ทีม่ นี ำ้� ท�ำการเกษตรตลอดทง้ั ปี หมดปญั หาขาดแคลนน้ำ� ในหน้าแลง้ มีผืนดนิ อดุ มสมบูรณ์ ในนำ้� มีปลา ในนามขี ้าว 44

กาลกั น้ำ�ยักษ์ ช่วยในการพรอ่ งนำ้ �ลงสลู่ ำ�คลองธรรมชาติ การพร่องน้ำ� คอื อะไร ท�ำไมอ่างเก็บนำ้� ตอ้ งพร่องน�้ำด้วยละ่ ๒,๗๕๕ครอบคลมุ พื้นท่ี ระบบสง่ นำ�้ อา่ งเกบ็ นำ้� ไร คลองหยา มีระบบส่งน้�ำที่มี ประสิทธิภาพ มีท่อส่งน�้ำและ คลองส่งน้�ำครอบคลุมพ้ืนที่ ๒,๗๕๕ ไร่ โครงการชลประทานกระบี่ สำ� นกั งานชลประทานที่ ๑๕ การเดินทาง กรมชลประทาน อ่างเกบ็ นำ้� คลองหยา อันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริ หมู่ ๓ บ้านปากหยา ต.ปลายพระยา อ.ปลายพระยา จ.กระบ่ี 45 โทร. ๐ ๗๕๖๑ ๒๘๘๐, ๐ ๗๕๖๑ ๒๘๖๘ เว็บไซต์ http://province.rid.go.th/krabe/

สมั ผัสภูมปิ ัญญาชาวนาไทย โครงการพัฒนาการปลูกขา้ วเพื่อบริโภคครบวงจร ในสหกรณ์นคิ มอ่าวลึก จ.กระบ่ี ขา้ วคอื อาหารหลกั ของชาวไทย แตน่ บั วนั ชาวนากย็ ง่ิ ลดนอ้ ยลงไป เพราะหนั ไป ปลูกพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆ เช่น ปาล์มน�้ำมัน ยางพารา พระราชาจึงมีพระราชด�ำริ ส่งเสริมประชาชนรักษาภูมิปัญญาการท�ำนาข้าวไว้ เกิดเป็นโครงการปลูกข้าว เพื่อบริโภคแบบครบวงจรในสหกรณ์นคิ มอ่าวลกึ 46

47

ภมู ปิ ญั ญาการทำ�นา แม้หลายครอบครัวจะเลิกอาชีพท�ำนาไปท�ำอย่างอ่ืน แต่ยังมี ชาวบ้านจ�ำนวนหนึ่งยังท�ำนาข้าวทุกปี ด้วยความรักในอาชีพชาวนา ที่สืบทอดกันมาจากปู่ย่าตายาย เม่ือก่อนท�ำนาต้องรอฝนตกตาม ฤดูกาล ปไี หนฝนแลง้ กไ็ ม่ได้ทำ� นา แตต่ อนน้ชี าวนารบั นำ้� จากระบบ ชลประทานของอ่างเก็บน�้ำคลองหยา อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เม่ือมีน้�ำสมบูรณ์ ไม่ขาดแคลน ชาวนาจึงสามารถท�ำนาได้ถึงปีละ ๒ ครงั้ เรียกกนั วา่ นาปรงั และนาปี เดก็ ๆ อยากร้ไู หม นาปเี ร่ิมท�ำ เดือนใดและนาปรังเริ่มทำ� ในเดือนใด พระราชทานโรงสีข้าวของ ชุมชน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ 48 โรงสขี า วพระราชทาน ชาวนามที โ่ี รงสขี า้ วในราคายอ่ มเยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook