Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเลื่อกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย

คู่มือเลื่อกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย

Published by jariya5828.jp, 2022-08-18 06:05:05

Description: คู่มือเลื่อกชนิดพรรณไม้เพื่อปลูกป่าป้องกันอุทกภัย

Search

Read the Text Version

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวป า และพันธพุ ืช กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม



คํานาํ จากสถานการณม หาอทุ กภยั ในป พ.ศ. 2554 ทําใหรัฐบาลตองหามาตรการทุกวิถที างในการ ปอ งกัน เพอ่ื มใิ หเ กิดมหาอุทกภยั ข้ึนอีก และหน่งึ ในมาตรการตางๆ ทรี่ ัฐบาลไดก าํ หนดไว คือ การ ปลูกปาเพ่ือปองกันอุทกภัยในพื้นที่ตนน้ําลําธารตามแนวทางพระราชดําริที่พระบาทสมเด็จ พระเจา อยหู วั ไดพ ระราชทานใหแ กน ายกรฐั มนตรี คณะกรรมการยทุ ธศาสตรเ พอื่ การฟน ฟแู ละสรา ง อนาคตประเทศ (กยอ.) และคณะกรรมการยทุ ธศาสตรเ พอ่ื วางระบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนาํ้ (กยน.) เมื่อวนั ที่ 24 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2555 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจดูแลและฟนฟูพื้นที่ปาตนน้ําโดยตรง พรอมนอมนําแนวพระราชดําริ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มาเปน แนวทางปฏบิ ตั จิ งึ ไดจ ดั ทาํ หนงั สอื คมู อื ในการเลอื กชนดิ พรรณไม ทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั การปลกู ปา เพอ่ื ปอ งกนั อทุ กภยั ในพน้ื ท่ี ในเบอ้ื งตน มเี ปา หมายในพน้ื ทล่ี มุ นาํ้ 8 แหง ไดแก ลุมนํ้าปง ลุมนํ้าวัง ลุมน้ํายม ลุมนํ้านาน ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําสะแกกรัง ลุมนํ้าทาจีน และ ลุมนํ้าเจาพระยา เพ่ือเปนคูมือใหแกผูปฏิบัติงานในภาคสนามประกอบการตัดสินใจคัดเลือกชนิด พรรณไมท่ีเหมาะสมในการปลูกปา โดยมีเนื้อหาครอบคลุมขอมูลดานพฤกษศาสตร นิเวศวิทยา การเพาะและขยายพันธุ และการใชประโยชนดานตางๆ พรอมดวยขอแนะนําในการปลูกเพื่อให ประสบผลสําเรจ็ และจะไดข ยายผลไปดําเนนิ การในพ้ืนที่อ่ืนตอ ไป กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือนี้จะเปนประโยชนตอ ผูปฏิบัติทั้งของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ที่มุงม่ันนอมนําพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ดังกลาวมาสานตอ ใหเกิดการเพิ่มพ้ืนท่ีปาและลดการสูญเสียจาก อุทกภัยใหไดต ามเจตนารมยของรฐั บาล (นายดํารงค พิเดช) อธิบดกี รมอุทยานแหง ชาติ สตั วปา และพนั ธพุ ชื

บทนาํ 1 หลกั เกณฑก ารคดั เลอื กชนิดไม 2 ขอมลู พ้ืนฐานของ 8 ลุมน้ําหลกั 4 ลกั ษณะกายภาพลมุ น้าํ 5 ลักษณะภูมิศาสตร 6 ลักษณะสังคมพชื 6 การใชห นงั สือคมู ือ 13 ไมโ ตเร็ว กระเชา Holoptelea integrifolia Planch. 18 กระทุม Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. 19 กระทมุ นา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil. 20 กระบาก Anisoptera costata Korth. 21 กฤษณา Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte 22 กลว ยฤ ษี Diospyros glandulosa Lace 23 กะอวม Acronychia pedunculata (L.) Miq. 24 กา นเหลือง Nauclea orientalis (L.) L. 25 กําลงั เสือโครง Betula alnoides Buch.-Ham. ex D. Don 26 กุมนํา้ Crateva magna (Lour.) DC. 27 ขวาว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale 28 จาํ ปาปา Magnolia baillonii Pierre 29 จกิ นา Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. 30 เฉียงพรา นางแอ Carallia brachiata (Lour.) Merr. 31 ซอ Gmelina arborea Roxb. 32 ตองแตบ Macaranga denticulata (Blume) Müll. Arg. 33 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. 34 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Wall. ex Guillem. & Perr. 35 ตะแบกนา Lagerstroemia floribunda Jack 36 ทองเดือนหา Erythrina stricta Roxb. 37 ทะโล Schima wallichii (DC.) Korth. 38 ทง้ิ ถอ น Albizia procera (Roxb.) Benth. 39 นอ งขาว Alstonia glaucescens (K. Schum.) Monach. 40

นางพญาเสอื โครง Prunus cerasoides D. Don 41 ประดูสม Bischofia javanica Blume 42 ปออีเกง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. 43 ปนแถ Albizia lucidior (Steud.) I. C. Nielsen 44 พฤกษ Albizia lebbeck (L.) Benth. 45 พพี าย Elaeocarpus lanceifolius Roxb. 46 โพบาย Balakata baccata (Roxb.) Esser 47 มะกอกน้าํ Elaeocarpus hygrophilus Kurz 48 มะกอกปา Spondias pinnata (L. f.) Kurz 49 มะขามปอ ม Phyllanthus emblica L. 50 มะแขวน Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. 51 มะมอื Choerospondias axillaris (Roxb.) B. L. Burtt & A. W. Hill 52 ยมหอม Toona ciliata M. Roem. 53 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don 54 ลาํ ปาง Pterospermum diversifolium Blume 55 ลําพูปา Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp. 56 สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon 57 สนุน Salix tetrasperma Roxb. 58 สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. 59 สะตอื Crudia chrysantha (Pierre) K. Schum. 60 สะทอนรอก Elaeocarpus robustus Roxb. 61 สกั Tectona grandis L. f. 62 สตั บรรณ Alstonia scholaris (L.) R. Br. 63 เสี้ยวดอกขาว Bauhinia variegata L. 64 แสมสาร Senna garrettiana (Craib) H. S. Irwin & Barneby 65 อะราง Peltophorum dasyrachis (Miq.) Kurz 66 อนิ ทนลิ นํ้า Lagerstoemia speciosa (L.) Pers. 67 69 ไมโตชา Careya sphaerica Roxb. 70 Sandoricum koetjape (Burm. f.) Merr. 71 กระโดน Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn. 72 กระทอน Castanopsis acuminatissima (Blume) A. DC. 73 กระบก Quercus aliena Blume 74 กอ เดือย Castanopsis tribuloides (Sm.) A. DC. กอเต้ีย กอ ใบเล่ือม

กอแปน Castanopsis diversifolia (Kurz) King ex Hook. f. 75 กอพวง Lithocarpus fenestratus (Roxb.) Rehder 76 กอ หยุม Castanopsis argyrophylla King ex Hook. f. 77 กํายาน Styrax benzoides Craib 78 คงคาเดอื ด Arfeuillea arborescens Pierre 79 คา หด Engelhardtia spicata Blume 80 เชยี ด Cinnamomum iners Reinw. ex Blume 81 แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C. Nielsen 82 ตะครอ Schleichera oleosa (Lour.) Oken 83 ตาเสือ Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker 84 ตว้ิ ขาว Cratoxylum formosum (Jack) Dyer 85 ประดู Pterocarpus macrocarpus Kurz 86 พญารากดํา Diospyros variegata Kurz 87 พะยอม Shorea roxburghii G. Don 88 พะยงู Dalbergia cochinchinensis Pierre 89 มะคาแต Sindora siamensis Teijsm. & Miq. 90 มะคา โมง Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 91 มะปวน Mitrephora tomentosa Hook. f. & Thomson 92 ยางบง Persea kurzii Kosterm. 93 ยางโอน Polyalthia viridis Craib 94 สมอไทย Terminalia chebula Retz. 95 สะแกแสง Cananga latifolia (Hook. f. & Thomson) Finet & Gagnep. 96 สารภดี อย Anneslea fragrans Wall. 97 หวา Syzygium cumini (L.) Skeels 98 บรรณานกุ รม 100 รายช่อื วงศแ ละชอ่ื พฤกษศาสตร 104 ดชั นีชือ่ พฤกษศาสตร 106



ในป พ.ศ. 2554 ทผ่ี า นประเทศไทยเกดิ เหตกุ ารณม หา งานในภาคสนามประกอบการตดั สนิ ใจคดั เลอื กชนดิ พรรณ อุทกภัยข้ึนในพ้ืนท่ีภาคเหนือและภาคกลางหรือพ้ืนท่ี ไมท่ีเหมาะสมตอการปลูกปา โดยคณะผูจัดทําไดรวมรวม ลุมนํ้าเจาพระยาใหญ อันประกอบดวยลุมนํ้าสาขาไดแก ขอมูลจากการคนควาเอกสารงานวิจัยดานปาไมท่ีผานมา ลุมนํ้าปง ลุมน้ําวัง ลุมน้ํายม ลุมนํ้านาน ลุมน้ําปาสัก ประกอบกับขอมูลจากประสบการณของนักพฤกษศาสตร ลุมน้ําสะแกกรัง ลุมนํ้าทาจีน และลุมน้ําเจาพระยา และนักนิเวศวิทยาปาไมของสํานักวิจัยการอนุรักษปาไม เหตกุ ารณด งั กลา วสง ผลเสยี หายอยา งรนุ แรงตอ ทกุ ภาคสว น และพนั ธพุ ชื และนาํ เสนอขอ มลู ดา นตา งๆ ทเี่ ปน ประโยชน ของประเทศ ซ่ึงมีสาเหตุหลักมาจากปริมาณนํ้าฝนท่ีตก ตอผูปฏิบัติงานภาคสนาม รวมถึงภาครัฐสวนอื่นๆ ภาค มากกวา ปกตปิ ระมาณรอ ยละ 40 ในพน้ื ทล่ี มุ นาํ้ และขาดการ เอกชน และประชาชนทั่วไปสามารถนําคูมือดังกลาวไปใช บรู ณาการบรหิ ารจดั การนาํ้ เหนอื เขอ่ื นและใตเ ขอ่ื น รฐั บาลได เปน ขอ มลู ทางวชิ าการประกอบการดาํ เนนิ กจิ กรรมปลกู ปา เล็งเห็นความสําคัญตอการแกปญหาอุทกภัยท่ีนับวัน ในพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบของตนเองได จะรุนแรงและเกิดบอยคร้งั มากข้ึน มีความจําเปนเรงดวน ที่จะตองกําหนดมาตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา บัญชีรายช่อื พรรณไมนน้ี ําเสนอพรรณไมจํานวน 80 ทั้งระบบอยางบรู ณาการประกอบดวย ชว งตนนาํ้ กลางน้ํา ชนดิ โดยคดั เลอื กจากไมท อ งถน่ิ ทง้ั ไมโ ตเรว็ และไมโ ตชา ทพ่ี บ และปลายนาํ้ โดยในสว นของชว งตน นา้ํ จะตอ งสง เสรมิ การ ในแตละชนิดปาหลัก ๆ ในพื้นท่ีลุมน้ําทั้ง 8 ลุมน้ํา ดแู ลพน้ื ทตี่ น นา้ํ ดว ยการปลกู ฟน ฟปู า ไมใ หก ลบั มาทาํ หนา ท่ี ครอบคลุม 5 ชนิดปา ไดแก ปาดิบเขา ปาดิบแลง ดูดซับน้าํ ฝนและปองกันดนิ พงั ทลายอยางมีประสทิ ธิภาพ ปาผลัดใบผสม ปาเตง็ รัง และปาชายน้ํา ทง้ั น้ีหลักการคดั เลอื กชนดิ ไมจ ากคมู อื เลม นม้ี คี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งรจู กั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมพี ระราชดาํ รเิ มอ่ื สังคมพืชหรือระบบนิเวศของพ้ืนที่ปลูกวาเปนปาแบบ วันท่ี 24 กุมภาพันธ 2555 เก่ยี วกับการตัดไมทําลายปา ใด โดยเฉพาะความสงู ของพน้ื ทจี่ ากระดบั นา้ํ ทะเลปาน และแนวทางการปลกู ปา ฟน ฟพู นื้ ทตี่ น นา้ํ กบั คณะกรรมการ กลาง จงึ จะสามารถเลอื กชนดิ ไมท เี่ หมาะสมในเบอื้ งตน ยทุ ธศาสตรเพื่อการฟน ฟูและสรา งอนาคตประเทศ (กยอ.) ได สว นขอ มลู บรรยายพรรณไมแ ตล ะชนดิ เปน การอธบิ าย และคณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อวางระบบการบริหาร ลักษณะทางพฤกษศาสตรอยา งงา ย มขี อมลู ประกอบดาน จัดการทรัพยากรน้ํา (กยน.) มสี าระสําคญั วา การปลูกปา นิเวศวิทยา การกระจายพันธุ การเพาะขยายพันธุ และ ควรจะปลกู ไมเ นอ้ื ออ นและไมเ นอ้ื แขง็ ผสมผสานกนั ไป ขอ เสนอแนะอ่นื ๆ พรอ มภาพถา ยแสดงสว นตาง ๆ ของ โดยเฉพาะทางภาคเหนือ สําหรับไมเน้ือออน ขึ้นเร็ว พรรณไมแตละชนดิ ใชงานและขายไดสวนหนึ่ง ท้ังยังปกปองไมเนื้อแข็ง โตชา การปลูกไมผสมผสานดวยกันหลายชนิดเพื่อ การจดั ทาํ คมู ือนม้ี ีขอ จํากัดดา นเวลาและการคน ควา ปอ งกนั การทาํ ลายและปอ งกนั การตดั ไมช นดิ ทม่ี รี าคาแพง เอกสาร ดังน้ัน ขอมูลบางสวนอาจมีนอย รวมถึงจํานวน ชนิดพรรณไมอาจยังไมครอบคลุมทั่วท้ังระบบนิเวศของ กรมอทุ ยานแหง ชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ชื เปน หนว ย ลุมน้ําที่มีขนาดใหญ แตในเบื้องตนนี้ เปนพรรณไมท่ีงาย งานหลักหนวยงานหน่งึ ท่ีมีภารกิจดูแล และฟนฟูพ้ืนท่ีปา ตอ การจดั หาเมลด็ หรือกลา ไมไ ด และถา จะใหประสบผล ตนนํ้าท้ังหมดของประเทศ และไดรับมอบหมายใหจัดทํา สําเร็จในการปลูกปาย่ิงขึ้น สามารถสอบถามผูมี โครงการใหสอดคลองกับแผนบริหารจัดการนํ้าของ กยน. ประสบการณดานการเพาะชํากลาไมและการปลูกปา พรอมทั้งนอมนําแนวพระราชดําริท่ีพระบาทสมเด็จ ของกรมปาไมและกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ พระเจาอยูหัวไดพระราชทานมาเปนแนวทางปฏิบัติให พันธุพืช หรือการคนควาดวยตนเองเพิ่มเติมจาก สมั ฤทธผ์ิ ลตอ การฟน ฟรู ะบบนเิ วศตน นาํ้ ในพนื้ ทล่ี มุ นาํ้ หลกั เอกสารคมู อื การเพาะชาํ กลา ไม กรมปา ไม หรอื หนงั สอื ทง้ั 8 ลมุ นาํ้ การจดั ทาํ หนงั สอื คมู อื ในการเลอื กชนดิ พรรณไม ของหนว ยฟนฟูปา ของมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ท่ศี กึ ษา ทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั การปลกู ปา เพอ่ื ปอ งกนั อทุ กภยั ในพน้ื ทล่ี มุ นาํ้ แนวทางสาํ หรบั ฟน ฟปู า ในพนื้ ทภี่ าคเหนอื ประกอบการ ทง้ั 8 แหง เปนสวนหน่ึงของกิจกรรมดังกลาวเพื่อรองรับ ตัดสินใจเลือกชนิดไมปลูกในแตล ะพืน้ ที่ โครงการฟน ฟสู ภาพปา ทก่ี าํ ลงั จะมขี น้ึ เปน คมู อื ใหแ กผ ปู ฏบิ ตั ิ 1

จากพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เรอ่ื งการปลกู ฟน ฟปู า ตน นา้ํ ใหไ ดผ ล เกี่ยวกับการปลูกไมโตเร็ว-ไมโตชา และประโยชนจ ากการปลกู ไมทัง้ สองผสมผสานกันนน้ั เปน ท่ีมาของการจัดทําหนังสือ “คูมือเลือกชนิดพรรณไมเพ่ือปลูกปาปองกันอุทกภัย” คณะ ทํางานจึงไดนอมนําพระราชดํารัส รวมกันคนควางานวิจัยดานปาไมที่เคยมีมา ตลอดจน ประสบการณของนักพฤกษศาสตรและนักนิเวศวิทยาปาไม ดําเนินการคัดเลือกชนิดพรรณไม ที่เหมาะสมตอ การปลกู ปา ปองกนั อทุ กภัย เพ่ือใหก ารปลูกฟน ฟูปากลบั คนื สสู ภาพใกลเ คียงกับ ปาตามธรรมชาติที่สมบูรณอยางรวดเร็ว และกลับมามีประสิทธิภาพตอการปองกันอุทกภัย เปนแหลงตนน้ําลําธารท่ีดดี งั เดิม โดยมหี ลกั เกณฑคัดเลือกชนดิ พรรณไมท ่ีมคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 1. ไมโ ตเรว็ หรือไมเบกิ นาํ หมายถึง พรรณไมท ่ีตอ งการแสงในการเจริญเตบิ โต มาก มีการเจริญเติบโตท้ังความสูงและขนาดอยางรวดเร็ว ผลิดอกออกผลในเวลาอันสั้นและ จาํ นวนมาก เขายดึ ครองพืน้ ที่ปาเสื่อมโทรมไดเ รว็ กวา พรรณไมชนดิ อน่ื ๆ หรือเรยี กวา pioneer species โดยสว นใหญแ ลว ไมโ ตเรว็ จะอายสุ น้ั (ประมาณ 20 ป) มกั เปน ไมเ นอ้ื ออ น สว นไมโ ตเรว็ อายปุ านกลางถงึ อายยุ นื (20– กวา 100 ป) อาจจะเปน ไมเ นอ้ื ออ นทม่ี แี กน ไมห รอื ไมม แี กน ไม ไมโ ตเรว็ อายสุ น้ั จะมรี ะบบรากแผก วา งใกลช น้ั หนา ดนิ และไมแ ขง็ แรง แลว จะลม ตายเอง ไมโ ตเรว็ จะสรา งใบและทงิ้ ใบอยา งรวดเรว็ กลายเปน ซากพชื คลมุ ดนิ สรา งความชมุ ชน้ื และเพมิ่ ธาตอุ าหาร ใหแกดิน การปลูกไมโตเร็วสามารถควบคุมวัชพืชพวกหญาไดดี ผลการวิจัยของการปลูกฟนฟู ปา ดิบเขาท่รี ะยะปลูก 1.6–1.8 ม. (FORRU, 2000) ระบุวา ภายในเวลา 3 ป เรอื นยอดตนไมจ ะ ชิดกันและวัชพืชเริ่มหายไป ทําใหลดปญหาเรื่องไฟปาอันเปนปญหาสําคัญของการปลูกปา นอกจากนไ้ี มโ ตเรว็ จะชว ยใหร ม เงาและลดความรอ นใหแ กไ มโ ตชา ทอ่ี ยใู นระยะกลา ไม และไมห นมุ กลา วไดว า เปน ไมพเ่ี ลีย้ ง (nurse tree) ในระยะแรกของไมโ ตชา นัน่ เอง นอกจากนี้ ปาไมโตเรว็ หรือปา รุน ปาเหลา ยังเปน ท่อี ยอู าศยั แหลงอาหารใหส ตั วป า อน่ึง ศ.ดร. ธวัชชัย สันติสุข พนักงานราชการพิเศษ ที่ปรึกษาอาวุโส หอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพ ชื เปนผรู ิเรม่ิ ประมวลความรูเก่ยี วกับพรรณไมเบกิ นํา (pioneer tree) หรอื พรรณไมพเนจร (nomad tree) หรือ พรรณไมโครงสรา ง (framework tree) ขึ้นเปน เอกสารวชิ าการปาไม สําหรบั บรรยายในที่ประชมุ วชิ าการปา ไมเ ปนครั้งแรกเม่อื ป พ.ศ. 2520 และปจ จุบันกาํ ลงั ปรบั ปรุงเนื้อเรอื่ งใหเ ขายคุ สมยั ซง่ึ กรมอุทยานแหง ชาติ สัตวปา และ พนั ธพุ ืช จะไดจ ัดพมิ พใ นโอกาสตอไป 2. ไมโ ตชา หมายถงึ พรรณไมท ี่มกี ารเจรญิ เติบโตในอัตราทนี่ อ ยหรือนอยมาก ทัง้ ดา นความสงู และขนาด บางชนดิ ในชว งทเ่ี ปน กลา ไมต อ งอาศยั รม เงาและความชน้ื จากไมเ บกิ นาํ รอไมเ บกิ นาํ ลม ตายแลว เปด แสง จงึ จะเรม่ิ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเรว็ ปกตไิ มโ ตชา จะมเี นอ้ื ไม ทแ่ี ขง็ หากเปน ชนดิ ทต่ี น สงู ใหญแ ละมอี ายยุ นื จะมรี ะบบรากทแ่ี ขง็ แรง ลกึ และแผก วา ง สามารถ เกาะยึดหนาดินและดินช้ันลางไดดี ไมโตชามักพบในปาธรรมชาติดั้งเดิม หรือ climax forest อาจเรยี กพรรณไมโ ตชา นวี้ า climax species ปา ทีถ่ ูกทาํ ลายอยา งตอเน่อื งมาหลายป จนแทบ ไมเหลือไมโตชาดั้งเดิมเหลืออยู หรืออยูไกลจากแหลงแมไม จําเปนจะตองปลูกไมโตชาผสม เขาไป เพ่ือเรง ใหปาสามารถฟน ฟกู ลบั มาสมบรู ณดงั เดิม เปน การยนระยะเวลาของการทดแทน สังคมพชื (plant succession) ในชว งตา ง ๆ ใหรวดเรว็ ข้นึ 2

3. ไมท อ งถน่ิ หรอื ไมพ น้ื เมอื ง หมายถงึ พรรณไมท มี่ ถี น่ิ กาํ เนดิ หรอื มถี นิ่ อาศยั ตามธรรมชาตอิ ยใู นประเทศไทย หรอื indigenous species การเลอื กไมท อ งถนิ่ ทขี่ น้ึ ใกล พ้ืนท่ีปลูกปาดวยแลว ยอมเปนการยืนยันไดวาจะสามารถข้ึนและเจริญเติบโตไดดี เนอื่ งจากมรี ะบบนเิ วศใกลเ คยี งกนั และยงั เปน การชว ยอนรุ กั ษพ นั ธกุ รรมของไมพ น้ื เมอื ง ดวย ไทยเปนประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยเฉพาะความหลากหลาย ของพรรณพชื ทส่ี ามารถปรบั ตวั ไดเ หมาะสมกบั สภาพอากาศและสง่ิ แวดลอ มตา ง ๆ แมแ ต ในปา เสอ่ื มโทรมกม็ กี ารฟน ฟตู วั เองไดด ไี มส ง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มและสตั วป า ในภายหลงั ดงั เชนในกรณีของไมตา งถิ่น (alien species) หลายชนิดทก่ี ลายมาเปนไมตางถ่นิ รกุ ราน (invasive alien species) และมีผลกระทบตอระบบนิเวศดัง้ เดิมอยา งรนุ แรง 4. ไมปาที่สามารถใชประโยชนไ ดอ ยา งเอนกประสงค เชน เนือ้ ไม ใชสอย สมนุ ไพร สียอ ม พชื กินได เปน ตน การปลกู ปาเปนการเพ่ิมคุณคาทางเศรษฐกิจ ใหแกชุมชนใกลปา สามารถเขามาใชประโยชนได เปนการสรางความมีสวนรวมในการ ดแู ลรกั ษา รสู ึกหวงแหนตอ ปา ทกี่ าํ ลงั จะกลบั มาสมบรู ณด งั เดมิ นอกจากน้ี ยงั เลอื กไมป า ทม่ี รี ะบบรากสามารถปอ งกนั การพงั ทลายของหนา ดนิ หรอื ดนิ ถลม ไดด ี โดยเฉพาะไมโ ตชา ทีม่ รี ะบบรากแผก วา ง หย่ังลกึ หนาแนน และแขง็ แรง 5. ไมปาท่ีสัตวปาสามารถเขามาใชประโยชนได ไมวาจะเปนท่ีอยู อาศยั ทาํ รงั หลบภยั หรอื แหลง อาหาร เนอ่ื งจากสตั วป า เปน องคป ระกอบหนง่ึ ของระบบ นิเวศปา ไมทีส่ มบรู ณ รวมถึงมนุษยต า งมีววิ ัฒนาการรวมกันมา มีการพงึ่ พาอาศยั ซึ่งกนั ดงั นนั้ ปา ปลกู ทผ่ี สมผสานไมห ลายชนดิ สตั วป า มกั จะเขา มาดาํ รงชวี ติ และอาจนาํ พาเมลด็ ไมจากปาท่ีสมบูรณใกลเคียงเขามาในแปลงปลูกปา หรืออาจนําเมล็ดไมภายในแปลง กระจายไปสแู ปลงปลกู ใกลเ คยี งกนั กระบวนการดงั กลา วยงิ่ เปน การเพม่ิ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพของชนดิ ไมใ นแปลงปลกู และเรง กระบวนการฟน ฟทู ดแทนตามธรรมชาตขิ อง ปาไดเปนอยางดี อยางไรก็ตามในพ้ืนที่ปาเส่ือมโทรมมักมีสัตวปาเขามานอย สวนใหญ จะเปน สตั วป า ขนาดเลก็ เชน นก คา งคาว กระรอก บา ง หนู ชะมด อเี หน็ ชนดิ ไมท ส่ี ตั วป า เหลา นชี้ ืน่ ชอบจงึ ควรไดรับการพิจารณาดวย 6. ไมป า ทห่ี าเมลด็ ไดง า ย ไมป า ทหี่ าเมลด็ ไดง า ย ขนึ้ กระจายอยทู ว่ั ไปตาม ธรรมชาติ สามารถหาแมไ มเ กบ็ เมล็ดไดสะดวก หรือเปนชนิดพันธเุ ดิมทน่ี ิยมนํามาปลกู ฟน ฟปู า และไดผ ลดี ซง่ึ มกั จะมขี อ มลู การปลกู ขยายพนั ธทุ คี่ อ นขา งสมบรู ณ และยนื ยนั ผล สําเร็จไดจริง 3

พ้ืนที่เปาหมายเพ่ือวางแผนจัดการปองกันการเกิด ลุมนํ้าเจาพระยาใหญ มีพื้นที่ตนนํ้าสวนใหญอยูในภาค อทุ กภัยในเขตพน้ื ท่ีลุมน้าํ เจาพระยาใหญ อันประกอบดว ย เหนือตอนบน บางสวนอยูตามขอบที่ราบภาคเหนือ ลุมน้ําสาขาหลักของประเทศจํานวน 8 ลุมน้ํา ไดแก ตอนลา งและภาคกลาง มที ศิ ทางการระบายนา้ํ จากทศิ เหนอื ลมุ น้าํ ปง ลมุ นาํ้ วัง ลุม นํา้ ยม ลุมน้าํ นา น ลมุ นํ้าสะแกกรัง ลงสทู ศิ ใตท อี่ า วไทยในเขตจงั หวดั สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร ลมุ นา้ํ ปา สกั ลมุ นา้ํ ทา จนี และลมุ นาํ้ เจา พระยา ทง้ั 8 ลมุ นา้ํ และกรงุ เทพมหานคร ลมุ นา้ํ เจา พระยาใหญถ อื วา เปน พนื้ ท่ี ถือวาเปนระบบพ้ืนที่ลุมนํ้าเดียวกันเปนสาขาของแมน้ํา ลุมนํ้าที่ใหญท่ีสุดและมีปริมาณนํ้าทาเฉล่ียรายปสูงท่ีสุด เจาพระยา เรียกรวมกันวา ของประเทศไทย การแบง ลุมนํ้าหลัก 25 ลุมน้ําของประเทศไทย ขนาดพ้ืนท่ี ขอบเขต และที่ต้ังแตล ะลมุ นํา้ แสดงในภาพ และตาราง ขอบเขตลุมน้าํ และพ้นื ท่ีปา ไมป พ.ศ. 2543 ของลุม นา้ํ หลัก 8 ลมุ นาํ้ (ลุมนํ้าเจาพระยาใหญ) 4

ลมุ น้ําเจา พระยาใหญ มพี ้นื ทปี่ ระมาณ 100 ลานไร พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า น ค ร ป ฐ ม ( ฝ ง ต ะ วั น อ อ ก ) หรอื ประมาณรอ ยละ 30 ของพน้ื ทปี่ ระเทศ ครอบคลมุ พน้ื ท่ี ปทมุ ธานี นนทบรุ ี กรงุ เทพฯ สมทุ รปราการ และสมทุ รสาคร 28 จังหวัด สวนใหญอยูในเขตจังหวัดภาคเหนือและภาค กลาง แบง ตามหลกั การจดั การลมุ นํ้าเปน 3 สวน คือ รปู รา งของลมุ นาํ้ เปน สเ่ี หลย่ี มผนื ผา แกมรปู กรวยหงาย ความยาวของลุมนํ้าจากเหนือจรดใตประมาณ 600 กม. ลุมน้ําตอนบน ไดแก พ้ืนที่ภาคเหนือตอนบน ความกวา งของลมุ นาํ้ ตอนบนมคี วามกวา งประมาณ 300 กม. ประกอบดวย 7 จงั หวดั ไดแ ก เชยี งใหม ลาํ พนู ลาํ ปาง แพร ลมุ นาํ้ ตอนลา งทรี่ ะบายนา้ํ ออกทกี่ น อา วไทยกวา งประมาณ พะเยา (ตะวันออกเฉียงใต) นา น และอตุ รดิตถ (ตอนบน) 70 กม. และมคี วามลาดเทของพนื้ ทรี่ บั นาํ้ หรอื ศกั ยภาพของ การระบายนํ้าที่นอยมาก ตั้งแตลุมนํ้าตอนกลางที่ตัวเมือง ลมุ นํ้าตอนกลาง ประกอบดว ย 8 จงั หวัด ไดแ ก ตาก อุตรดิตถถึงปากน้ําสมุทรปราการ ในระยะทางแนวราบ สุโขทัย อตุ รดติ ถ (ตอนลา ง) กําแพงเพชร พษิ ณโุ ลก พิจิตร ประมาณ 400 กม. แตร ะดบั ความแตกตา งดา นแนวตง้ั เพยี ง เพชรบูรณ ลงมาถึงตนนํ้าเจาพระยาท่ีจังหวัดนครสวรรค 60 ม. จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง เน่ืองจากสภาพ (พื้นท่ตี อนบนของจงั หวัดนครสวรรค) ภูมิประเทศของภาคเหนือตอนลางและภาคกลางเปนท่ี ลุมนํ้าตอนลาง ประกอบดวย 15 จังหวัด ไดแก ราบลุม ดังน้ันพ้ืนที่ลุมน้ําตอนกลางและตอนลางจึงเกิด นครสวรรค (พน้ื ทต่ี อนลา งของจงั หวดั นครสวรรค) อทุ ยั ธานี เหตุการณน้ําทวมเปนประจําตามธรรมชาติของสภาพ ชัยนาท อางทอง สุพรรณบุรี สิงหบุรี ลพบุรี สระบุรี ภูมิประเทศ และภูมอิ ากาศตามฤดกู าล ตาราง ขนาดพน้ื ท่ี ขอบเขต และท่ีตง้ั ของลุม น้ําท้ัง 8 แหง หนวย : ไร ช่ือลุมนาํ้ พน้ื ท่ปี า ป พ.ศ. 2543 รวมท้ังหมด ปง ปา ชายเลน ปาดบิ เขา ปา ดบิ แลง ปา เต็งรงั ปาที่พน้ื ฟตู าม ปาเบญจพรรณ ปาไผ ปา สนเขา สวนยูคาลิปตัส สวนสัก ธรรมชาติ 2,231,472.26 692,088.41 91,642.95 14,750,196.39 3,119,314.65 66,449.95 8,390,824.94 15,683.34 108,485.45 34,234.44 วงั 279,941.37 280,837.12 619,618.28 207,132.64 2,982,601.84 129.37 289,713.37 4,659,973.98 ยม 854,286.38 544,532.36 833,381.91 72,381.33 4,642,915.56 12,464.82 6,461.49 177,120.67 7,143,544.52 นาน 671,975.96 1,215,515.67 488,289.95 144,255.79 8,430,369.78 15,425.64 5,311.39 8,270.03 68,242.57 11,047,656.76 เจา พระยา 8,102.64 2,392.48 35,582.97 62,688.39 277,593.16 18,892.68 26,326.44 727.48 432,306.25 สะแกกรัง 122,769.85 72,613.96 70,068.71 21,726.52 651,633.22 32,757.01 3,578.80 975,148.07 ปาสัก 543.27 297,977.63 214,492.44 291,865.25 1,513,318.56 27,446.82 8,748.86 10,350.20 131,172.39 2,495,915.43 ทาจนี 20,124.57 16,374.52 65,853.85 79,319.34 12,391.65 435,606.12 93.16 72,090.00 2,695.86 704,549.07 รวมทงั้ หมด 28,227.20 4,177,363.61 3,171,811.49 5,460,068.25 878,891.51 27,324,863.17 90,006.46 122,545.69 190,618.98 764,894.09 42,209,290.46 5

ลุมนํ้าตอนบนเปนตนน้ําท่ีสําคัญ พ้ืนที่กวารอยละ ทศิ เหนอื ตะวนั ออกและตะวนั ตกเปน ลกู คลนื่ ลอนลาดและ 80 เปน เทอื กเขาสงู ชนั สว นใหญว างตวั ในแนวเหนอื ใต สลบั กบั เทอื กเขาสงู คลา ยภาคเหนอื ซงึ่ เปน พนื้ ทตี่ น นา้ํ ระบายนาํ้ ลง แอง ทร่ี าบ กวาง 20–50 กม. ทีม่ ีแมน้าํ ไหลผานกลางแอง แมน าํ้ ยม นา น ปง และปา สกั เทอื กเขาดา นเหนอื เปน ปลาย คอื แมน าํ้ ปง แมน าํ้ วงั แมน าํ้ ยม และแมน าํ้ นา น ซง่ึ เทอื กเขา ดา นใตส ดุ ของเทอื กเขาผปี น นาํ้ และหลวงพระบาง เปน พน้ื ที่ เหลา นที้ าํ หนา ทเี่ ปน สนั ปน นา้ํ ใหแ กล มุ นาํ้ สาขาเหลา น้ี ไดแ ก ตนนํ้าไหลลงสูแมน้าํ ยม และแมน ํ้านาน ดานทิศตะวันออก เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาผีปนน้ํา คือเทอื กเขาเพชรบูรณ เปนพ้ืนท่ีตน นาํ้ ไหลลงสูแมน ้ํานา น ตะวันตก (เทือกเขาขุนตาล) เทอื กเขาผีปนน้ํากลาง (สนั ปน และแมน้ําปาสัก และดานทิศตะวันตกคือเทือกเขาถนน แดนลาํ ปาง-แพร) เทือกเขาผปี นนา้ํ ตะวันออก (สันปนแดน ธงชัยเปนพ้ืนทตี่ นนาํ้ ไหลลงสแู มน้ําปงตอนลา ง แพร-นาน) และเทือกเขาหลวงพระบาง (สันปนแดนนาน- แขวงไชยบรุ ี ประเทศลาว) แองที่ราบทีส่ ําคญั ในเขตลมุ นํ้า ลุมน้ําตอนลาง พ้ืนท่ีเกือบทั้งหมดเปนท่ีราบลุมน้ํา ตอนบนนไี้ ดแ ก แอง เชยี งใหม- ลาํ พนู ตง้ั อยใู นลมุ นา้ํ ปง แอง ทวมถึงหรือพ้ืนที่ดินดอนสามเหล่ียมปากแมนํ้าเจาพระยา ลาํ ปาง-แมเ มาะ ตง้ั อยใู นลมุ นา้ํ วงั แอง แพร- วงั ชน้ิ ตงั้ อยใู น แองที่ราบกวางและยาวประมาณ 200 กม. มีแมนํ้า ลุม นา้ํ ยม แอง นา น ตง้ั อยูในลมุ นา้ํ นาน เจาพระยา และสาขาท่ีแตกออกไปมากมายที่สําคัญคือ แมน า้ํ ทา จนี แมน าํ้ นอ ย แมน าํ้ ลพบรุ ี มพี น้ื ทตี่ น นาํ้ เลก็ นอ ย ลมุ นาํ้ ตอนกลาง พน้ื ทส่ี ว นใหญเ ปน ทร่ี าบลมุ นาํ้ ทว มถงึ บรเิ วณดา นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื เปน พน้ื ทต่ี น นาํ้ แมน าํ้ สะแกกรงั แองที่ราบกวางประมาณ 200 กม. บริเวณตอนกลางของ และแมน าํ้ กระเสยี ว (สาขาของทา จนี ) และดา นทศิ ตะวนั ออก พนื้ ที่ มแี มน ํา้ ปง ยม และนา นไหลผานในแนวเหนือใตแ ละ เฉียงเหนือเปนพ้ืนท่ีตนนํ้าบึงบอระเพ็ด หวยสาขาแมน้ํา สอบเขา หากนั จนบรรจบกนั ทจี่ ังหวดั นครสวรรค ขอบดา น ลพบรุ ี และหวยสาขาของแมน้ําปาสกั ตอนลาง พน้ื ทล่ี มุ นาํ้ เจา พระยาใหญม พี น้ื ทป่ี า ไมป ระมาณรอ ยละ forest) ไดแก ปาดิบแลง จะพบไดตามหุบเขาหรือชายนํ้า 42 ของพน้ื ทล่ี มุ นาํ้ โดยกวา รอ ยละ 70 อยใู นภาคเหนอื ตอนบน หรือพ้ืนท่ีที่มีดินลึกอุดมสมบูรณ และปาดิบเขาจะพบตาม ในเขตลมุ นา้ํ ปง วัง ยม และนาน ปจ จยั หลกั ท่กี าํ หนดชนดิ ภูเขาสูง กวา 1,000 ม.ขนึ้ ไป ซงึ่ สภาพภูมิประเทศ ดิน หิน สงั คมพชื ของประเทศไทยรวมถงึ พน้ื ทลี่ มุ นาํ้ เจา พระยาใหญ และการรบกวนจากกิจกรรมของมนุษยเปนปจจัยรองท่ี คือสภาพภูมิอากาศท่ีแบงแยกระหวางฤดูฝนและฤดูแลง ทําใหพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาใหญมีสังคมพืชท่ีหลากหลาย ชัดเจน มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป 1,100–1,400 มม. และซับซอน พน้ื ทบ่ี นภเู ขาสงู ตง้ั แตร ะดบั 1,000 ม. ถงึ ยอดดอยอนิ ทนนท 2,565 ม. ปริมาณนํ้าฝนจะเพ่ิมขึ้นอีกประมาณรอยละ สังคมพืชสวนใหญของลุมนํ้าเจาพระยาใหญ 20–80 จากการปกคลมุ ของเมฆหมอกเปน ประจํา ปรมิ าณ จาํ แนกเปน 2 ประเภทหลกั คอื ปา ผลดั ใบ (deciduous forest) นํ้าฝนเฉลี่ยรายป (จากฝนปกติและเมฆหมอกบนภเู ขาสงู ) และปาไมผลัดใบ (evergreen forest) ซ่ึงสวนใหญเปน ยอดดอยอนิ ทนนทไ มต าํ่ กวา 2,200 มม. โดยทั่วไป ปรมิ าณ ปาผลัดใบ คือ ปาผลัดใบผสม และปาเต็งรัง สําหรับปา น้ําฝนกวารอ ยละ 80 ตกในชวงฤดูฝน โดยเฉพาะในเดือน ไมผ ลดั ใบ ไดแ ก ปา ดิบแลง และปาดบิ เขา การแบง ชนิดปา สิงหาคมและกันยายน จึงทําใหสังคมพืชสวนใหญเปนปา หรือสงั คมพืชในประเทศไทยมหี ลายทฤษฎี สําหรบั ปาตาม ผลัดใบ (deciduous forest) ไดแก ปา ผลดั ใบผสมหรอื ปา ธรรมชาติหลักๆ ที่พบในพ้ืนท่ีลุมน้ําเจาพระยาใหญและ เบญจพรรณ และปาเต็งรัง สวนปาไมผลัดใบ (evergreen มักเปนพื้นที่ที่จัดใหมีกิจกรรมปลูกปาทดแทน แบงเปน 5 ประเภท รายละเอียดของสภาพปาดงั ตอ ไปนี้ 6

หรือเรียกอีกชื่อวา “ปาเบญจพรรณ” เปนปาโปรง แคหางคาง แคหวั หมู ตะคร้าํ สมกบ กระเชา ยมหิน ขานาง ผลัดใบในชวงฤดูแลงระหวางเดือนมกราคม–เมษายน มะคาโมง ซอ เปนตน ปาผลัดใบผสมท่ีชื้นมากและอยูใน ปริมาณน้ําฝนเฉล่ียรายปไมเกิน 1,400 มม. พบท่ีระดับ ระดบั สงู มักพบ กางหลวง เสี้ยวดอกขาว ปอมืน เลยี งฝา ย ความสูงไมเกิน 1,000 ม. และมักจะมีไฟปาเกิดข้ึนเปน ปอตบู หชู า ง ทองหลาง ปา ผลดั ใบผสมตามพน้ื ทร่ี าบมดี นิ ลกึ ประจําเกือบทุกป ท่ีเปนปจจัยจํากัดใหไมที่ไมทนไฟและ หรือใกลช ายนา้ํ มักพบ ตะแบกแดง ตะแบกนา เสลาขาว ไมผ ลดั ใบไมส ามารถเขา มาได ปา ผลดั ใบมกั พบไผช นดิ ตา ง ๆ สมอพเิ ภก ทองเดอื นหา ปน แถ ยางแดง เปน ตน ไผท ม่ี กั พบ หลายชนดิ ซ่ึงเปน พชื ดชั นีชี้วาเปน ปาผลัดใบผสมและบงช้ี ในปา ชนดิ นแี้ ละสามารถบอกสภาพความชมุ ชนื้ ของปา ไดด ี ความอดุ มสมบรู ณข องปา ไดด ี ปา ทม่ี ไี ผข น้ึ หนาแนน บง บอกวา ดงั น้ี พน้ื ทแ่ี หง แลง จะพบ ไผร วกและไผไ ร พนื้ ทชี่ นื้ ปานกลาง เคยถกู รบกวนมากมากอ น โดยเฉพาะพน้ื ทที่ มี่ ไี ฟปา เกดิ ขนึ้ มกั พบ ไผซ าง และไผบ ง พน้ื ทช่ี น้ื มากอยตู ามทดี่ อนหรอื อยู เปนประจาํ เกอื บทกุ ป ปาชนดิ นี้พบมากทสี่ ุดในพืน้ ท่ลี มุ น้าํ ในระดบั สูงมักพบ ไผห ก ไผบ งดาํ ไผบ งใหญ ไผเ ปา ะ และ เจา พระยาใหญ ประมาณรอ ยละ 65 ของปา ทงั้ หมดในพนื้ ท่ี ไผผ าก และปา ผลดั ใบผสมทช่ี น้ื มากตามทร่ี าบชายนาํ้ มกั พบ ลุมน้ํา ความหลากหลายของชนิดพันธุมีไมมากนักแตมี ไผปาหรือไผหนาม และไผลํามะลอ ไมเบิกนําของปา จํานวนประชากรในแตละชนิดมาก ความหลากหลายของ ผลดั ใบผสม ไมส ามารถจาํ แนกไดช ดั เจน เนอื่ งจากเกอื บทกุ ชนดิ พนั ธพุ ชื ทง้ั ไมพ มุ และไมต น ทงั้ หมดประมาณ 100–150 ชนดิ ตอ งการแสงมาก และยงั เปน พชื ทนไฟ สามารถแตกหนอ ชนิด เฉพาะไมต นมี 20–40 ชนดิ ในขนาดพนื้ ท่ี 1 เฮกแตร ไดดีหลังปาถูกไฟปาเผาหรือถูกตัดฟน ไมที่เปนไมเบิกนํา (6.25 ไร) โครงสรางเรือนยอดปาแบง เปน 4 ชั้น เรอื นยอด และโตเรว็ มนี อ ยชนดิ เชน สกั แคหางคา ง แคหวั หมู แคหนิ ระดับบนสุดสูงประมาณ 25–35 ม. พรรณไมเดน ไดแ ก สัก มะกอก ต้วิ พฤกษ ปนแถ กางหลวง มะหาด ทองหลาง (เปน ไมเ ดน ของปา ผลดั ใบผสมทม่ี คี วามชมุ ชนื้ ปานกลางใน กระทมุ ตะแบก เสลา ปอ เลยี ง ยอปา งว้ิ ปา ขวา ว ตะเคยี นหนู ภาคเหนอื ตอนบนและดา นตะวนั ตกของภาคเหนอื ตอนลา ง) อะราง ยาบขีไ้ ก หมีเหมน็ เสยี้ วดอกขาว ขานาง สะแกแสง แดง รกฟา ตะแบก เสลา พฤกษ ถอ น สาํ โรง ปอตอ ก งว้ิ ปา มะกลาํ่ ตน ซอ และไผชนิดตา ง ๆ เปนตน ขวา ว ตะเคยี นหนู กระทุมเนิน มะกอก ประดูปา แคหิน ปา ผลัดใบผสมหรอื ปาเบญจพรรณท่จี งั หวดั แมฮ อ งสอน คอนขา งแหงแลง มีไมสักผสม 7

มีสภาพปาโปรงมากกวาปาผลัดใบผสม พ้ืนลางมี นจี้ ะเปน ไมว งศย าง (Dipterocarpaceae) ทผ่ี ลัดใบ 5 ชนิด หญาปกคลุมหนาแนน ผลัดใบในชวงฤดูแลง และข้ึนใน อยางนอ ยจะข้ึนรวมกัน 2 ชนดิ ขน้ึ ไป คอื เต็ง รัง ยางเหียง สภาพอากาศคลา ยกบั ปา ผลดั ใบผสม ระดบั ความสงู ไมเ กนิ ยางพลวง กราด (กราดอาจพบไดตามลมุ นา้ํ ปาสักตอนลาง 1,300 ม. มักจะมีไฟปาเกิดขนึ้ เปนประจาํ เกอื บทุกป ปจจยั และทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของลมุ นา้ํ เจา พระยา) ไมเ ดน แวดลอ มทว่ั ไปคลา ยปา ผสมผลดั ใบ แตม ดี นิ เปน ลกู รงั มหี นิ อน่ื ๆ มีหลายชนิดเหมอื นกับท่พี บในปา ผลดั ใบผสม บาง และกรวดปะปนกบั ดนิ เหนียวหรอื ดนิ ปนทราย ธาตุอาหาร ครงั้ อาจพบ สนสองใบ ทร่ี ะดบั ความสงู 300–1,200 ม. หรอื ตํ่าหรือมีธาตุอาหารบางอยางสูงเกินไปทําใหพืชสวนใหญ สนสามใบ ท่ีระดบั ความสูง 1,000–1,700 ม. ซงึ่ พบมากใน เจรญิ เตบิ โตไมไ ด ปา ชนดิ นพี้ บมากรองลงมาอนั ดบั สอง คอื ภาคเหนอื ตอนบนและลมุ นาํ้ ปา สกั ตอนบน ไมป า เตง็ รงั ชอบ ประมาณรอ ยละ 13 ของพ้นื ทีป่ า ท้งั หมดในลมุ นาํ้ ฯ ความ แสงแดด ปาทถ่ี กู ทาํ ลายใหม ๆ จะเห็นตน ไมเกา แตกหนอ หลากหลายของพรรณไมม ไี มม าก มไี มพ มุ และไมต น ทงั้ หมด ข้ึนมาจากรากและตอไมเดิมอยางหนาแนน ปาที่กําลัง ไมเกิน 100 ชนดิ เฉพาะไมตนมปี ระมาณ 15–30 ชนิดใน ทดแทนจะมีตนไมขึ้นหนาแนนมากและมีตนขนาดเล็ก ขนาดพ้นื ที่ 1 เฮกแตร โครงสรางชน้ั เรอื นยอดแบง ออกเปน ไมพ น้ื ลา งเบาบาง การปลกู ฟน ฟปู า เตง็ รงั ทไ่ี มถ กู รบกวนมาก 3 ชน้ั เรอื นยอดปา สงู 10–30 ม. ไมเ ดน ทเ่ี ปน ดชั นขี องปา ชนดิ จงึ ไมม คี วามจาํ เปน ปา เตง็ รงั ผสมสนเขา (สนสองใบ) บรเิ วณจงั หวัดแมฮ อ งสอน 8

เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปนสีเขียว ไมในวงศย าง (Dipterocarpaceae) เชน ยางแดง ยางแขง็ ตลอดป แตมีไมผ ลดั ใบขึน้ ผสมอยปู ระมาณไมเกินครึ่งหนึ่ง ยางปาย พนั จาํ กระบาก ชา มวง ไมเดนชนดิ อน่ื ๆ ไดแ ก พบในพื้นท่ีที่มีชั้นดินลึกเก็บความชุมชื้นไดนาน มีปริมาณ กางหลวง มะแฟน มะยมปา ยมหนิ ตามพน้ื ท่รี าบใกลน ้ํา น้ําฝนมากแตยังคงมีชวงฤดูแลงท่ีชัดเจน มักขึ้นอยูตาม มักพบ ยมหอม ตาเสือ ตะแบก เสลา สัตบรรณ โพบาย รอ งหว ย รมิ ลาํ ธาร หรอื ในพน้ื ทส่ี งู ประมาณ 700–1,000 ม. ยางนา ตะเคยี นทอง สะเดาชา ง เฉยี งพรา นางแอ สมอพเิ ภก มีลักษณะเปนปาดบิ แลงก่ึงปา ดิบเขา หรือปา ดบิ แลง ก่ึงปา สมพง ปออเี กง มะมือ สารผกั หละ หัวกา ยางนอง เปน ตน ผลดั ใบผสม ซงึ่ มกี ารผสมกนั ของพรรณไมท งั้ 3 ประเภทปา พรรณไมเ ดน รองลงมา ไดแ ก มะคา โมง กระเบากลกั ลาํ ไยปา คือ ปา ดบิ แลง ปาดบิ เขา และปา ผลดั ใบผสม เน่อื งจากเปน คอแลน ยางโอน พญารากดาํ มะปว น รกั ขาว พะวา เปน ตน ชว งทเ่ี รม่ิ มฝี นบนภเู ขามากขน้ึ ทาํ ใหป า ในชว งระดบั ความสงู ไมเบกิ นําของปาดิบแลงมีหลายชนิด อีกท้งั ไมเบกิ นําในปา นมี้ คี วามหลากหลายของพรรณไมม าก สว นในพนื้ ทลี่ มุ นา้ํ ฯ ผลัดใบผสมสามารถเปนไมเบิกนําของปาดิบแลง พบปาดิบแลง ประมาณรอยละ 7.5 ของปา ทัง้ หมดในพ้นื ที่ ไดเชนกัน เชน มะหาด ขนนุ ปา ลําปา ง สะเตา สตั บรรณ ลมุ นาํ้ ความหลากหลายของชนดิ ไมม มี ากกวา ปา ผลดั ใบแต ตองแตบ สอยดาว ตองเตา ลําพปู า พังแหรใหญ โพบาย นอ ยกวา ปา ดบิ เขา แตล ะพน้ื ทอี่ าจมไี มพ มุ และไมต น มากถงึ สมพง ปออีเกง กระทุมบก มะยมปา มะเดื่อปลอง 300 ชนดิ เฉพาะไมตนประมาณวา มี 40–70 ชนดิ ในขนาด เดอ่ื ปลอ งหนิ สกั ขไ้ี ก ซอ แมว ชา แปน เพกา แคฝอย ปอกระสา พื้นท่ี 1 เฮกแตร โครงสรางชั้นเรอื นยอดแบงออกเปน 4 ชน้ั หมอนหลวง คาหด แหลบกุ และไผท ีข่ นึ้ ในปาผลดั ใบผสม เรือนยอด เรือนยอดปา สูง 20–50 ม. พรรณไมเ ดน ไดแก ทช่ี นื้ มาก เปน ตน มาก เปน ตน ปาดิบแลงท่ีอําเภอแมร มิ จงั หวัดเชียงใหม มีไมยางปายขึ้นหนาแนน ตามสันเขาและไหลเขา 9

เปน ปา ไมผ ลดั ใบ พรรณไมเ กอื บทงั้ หมดไมผ ลดั ใบ ขน้ึ เรือนยอด เรือนยอดปาสูง 20–30 ม. พรรณไมเดนเปน อยูทร่ี ะดับความสงู มากกวา 1,000 ม. จากระดับนํ้าทะเล ไมวงศกอ (Fagaceae) ตางๆ กลุมพืชเมล็ดเปลือย เชน ปานกลาง มสี ภาพอากาศท่ีเยน็ และชุม ช้ืน เนื่องจากระดับ สนสามใบ มะขามปอ มดง พญามะขามปอ ม พญาไม ขนุ ไม ความสงู ของพน้ื ทแ่ี ละมฝี นภเู ขาเกดิ ขน้ึ เปน ประจาํ อณุ หภมู ิ พรรณไมเดนชนิดอ่ืนๆ เชน จําป จําปาปา มณฑา กวม ในฤดูรอ นมักจะไมเกนิ 25 องศาเซลเซียส ตามลําตนและ ไมใ นวงศช า (Theaceae) เชน ทะโล ไกแ ดง เมีย่ งผี ไมใน กงิ่ ของตน ไมจ ะมมี อสและเฟร น เกาะเปน จาํ นวนมาก ตน ไม วงศอบเชย (Lauraceae) เชน ทัง สะทิบ เทพธาโร เปนตน ที่อยูตามสนั หรอื ยอดเขามักมลี าํ ตนแคระแกรน ก่ิงกานบดิ สําหรับปา ดิบเขาระดบั สงู จะไมพบพรรณไมเขตรอ นขึน้ อยู งอเน่ืองจากแรงลมและมีดินตื้น พรรณไมมีการผสมผสาน ไดเลย เชน ไมวงศไ ทร (Moraceae) วงศถว่ั (Fabaceae) วงศ ระหวางเขตรอน (tropical) กบั เขตอบอนุ (temperate) และ ตาเสอื (Meliaceae) วงศจ ําป-จําปา (Magnoliaceae) วงศ เขตภเู ขา (montane) ทก่ี ระจายมาจากแนวเทอื กเขาหมิ าลยั กระดงั งา (Annonaceae) รวมทง้ั ไมก อ หลายชนดิ กไ็ มป รากฏ และประเทศจนี ตอนใต ปา ดิบเขาสามารถแบง ออกเปน 2 ทคี่ วามสงู ระดบั นเี้ ชน กนั เชน กอ เดอื ย กอ ใบเลอื่ ม กอ หมน ประเภทตามระดบั ความสงู และลกั ษณะองคป ระกอบสงั คมพชื กอแดง เปนตน ไมเบิกนําของปาดิบเขา ไดแก กอแปน คอื ปา ดบิ เขาระดบั ตาํ่ พบทร่ี ะดบั ความสงู 1,000–1,900 ม. กอเดือย กอ หยุม กอ สีเสยี ด ทะโล ปลายสาน แมงเมา นก และปา ดบิ เขาระดบั สงู พบทร่ี ะดบั ความสงู มากกวา 1,900 ม. จาํ ปห ลวง จมุ ป สนสามใบ จนั ทรท อง กาํ ลงั เสอื โครง กอ สรอ ย ในพนื้ ทล่ี มุ นาํ้ ฯ พบปา ดิบเขาประมาณรอยละ 9.9 ของปา เนาใน กลว ยษี มะแขวน ทงั ตะไครตน เปนตน ทง้ั หมด ปา ชนดิ นมี้ คี วามหลากหลายของพรรณไมม ากกวา ปาดิบแลงและปาผลัดใบอื่น ๆ อาจมีไมพุมและไมตนมาก พน้ื ทป่ี า ดบิ เขาทถี่ กู แผว ถางและทรี่ กรา ง ตอ มาจะ ถึง 400 ชนดิ เฉพาะไมต นคาดวามี 50–100 ชนิดในขนาด มสี นสามใบขน้ึ ปะปนกบั พรรณไมด ง้ั เดมิ ของปา ดบิ เขา หรอื พน้ื ที่ 1 เฮกแตร โครงสรา งชัน้ เรอื นยอดแบงออกเปน 4 ชน้ั ปา ดบิ เขาผสมสนสามใบ จดั เปน สงั คมพชื ปา ดบิ เขาทตุ ยิ ภมู ิ (secondary) ปาดบิ เขาในระดับต่าํ ผสมสนสามใบ อําเภอปาย จงั หวัดแมฮ อ งสอน 10

มีสภาพทั่วไปคลายกับปาดิบแลงในระดับต่ํา แตมัก ในพน้ื ทต่ี น นาํ้ มกั จะพบ ไครน าํ้ ไครย อ ย เตมิ สมพง ลาํ พปู า จะพบพรรณไมที่มีระบบรากทนตอการถูกแชนํ้า ยึดเกาะ ยมหอม พระเจา หาพระองค มะเนยี งนํ้า และหวาตา ง ๆ ตลง่ิ ไดด ี และมกี ระแสนาํ้ ชว ยแพรก ระจายเมลด็ ไมต น ทพี่ บ เปน ตน นอกจากนต้ี ามตลง่ิ ของลาํ ธารและแมน าํ้ สายใหญม กั บอ ยไดแ ก สนนุ ตะเคยี นทอง ยางนา กระทมุ กา นเหลอื ง มไี ผข น้ึ อยอู ยา งหนาแนน เชน ไผป า ไผห นาม ไผส สี กุ ไผล าํ ตาเสอื กมุ นา้ํ มะตาด จกิ นา เตา รา ง มะเดอ่ื อทุ มุ พร เปน ตน มะลอก เปน ตน ปา ชายนาํ้ ที่มีตนไครน าํ้ คอยยดึ หนา ดินและชะลอความเร็วของนา้ํ 11



รายละเอียดของพรรณไมแตละชนิดที่แนะนาํ วาเหมาะสมตอการปลูกปา จาํ นวน 80 ชนดิ แบง เปนไมโตเร็ว 50 ชนิด และไมโตชา 30 ชนิด เปนไมทองถิ่นท่ีสามารถพบไดในพื้นท่ีลุมน้ํา เจาพระยาใหญ โดยเรียงตามลําดับอักษรช่ือที่เรียกในภาษาไทยในแตละประเภท มีช่ือพื้นเมือง (vernacular name) และช่อื อื่น ท่เี ปนชื่อทอ งถิน่ ซ่ึงใชเ รยี กเฉพาะในจงั หวัดลุม น้าํ เจาพระยาใหญหรอื ใกลเคียง หากทราบช่ือพฤกษศาสตรสามารถเปดดูดัชนีชื่อทางพฤกษศาสตรแลวเปดดูรายละเอียด คําบรรยายทางพฤกษศาสตรพรอมเปรียบเทียบกับรูปภาพ เพ่ือตรวจสอบความถูกตอง นอกจากนี้ ยังมดี ัชนชี ่อื วงศ เพอื่ ความสะดวกและรวดเร็วในการสืบคนมากขนึ้ สาํ หรบั ขอ มูลดา นอตั ราการเจริญเตบิ โต ความตอ งการแสง และระดับความสงู สวนหนงึ่ ได มาจากการคนควาจากเอกสารงานวิจัยซ่ึงไมสามารถหาไดครบทุกชนิด บางสวนจึงไดขอมูลมาจาก ประสบการณข องคณะผจู ดั ทาํ ทน่ี าํ มาแลกเปลย่ี นประสบการณแ ละรว มกนั พจิ ารณาจดั การองคค วามรู เพอื่ เปน ขอ มลู เบอ้ื งตน ทางคณะผจู ดั ทาํ ยนิ ดที จ่ี ะรบั ขอ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ จากผมู ปี ระสบการณใ นพน้ื ที่ เพอ่ื จะไดนําไปแกไ ขปรบั ปรุงในโอกาสตอไป ลักษณะวิสัย อธิบายเกี่ยวกับนิสัยตามธรรมชาติของขนาดตนไมแบงเปน ไมตนขนาดเล็ก (สูง 5–10 ม.) ไมต นขนาดกลาง (สูง 10–20 ม.) ไมตนขนาดใหญ (สงู มากกวา 20 ม.) และไมพ ุม (แตกก่งิ ต่ํา สงู 2–5 ม.) รวมถงึ การระบุ วา เปนไมโตเร็วหรือไมโ ตชา ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั เขยี นบรรยายลกั ษณะทเี่ ดน ของชนดิ พชื สามารถจาํ แนกในภาค สนามไดง า ย ลักษณะเดนจะแสดงดว ยตัวอักษรเขม เขตการกระจายพนั ธุ อธิบายการกระจายพันธุในตา งประเทศ การกระจายพันธุและนเิ วศวิทยาในประเทศไทย อธบิ ายแหลง ทพ่ี บในธรรมชาติตามภาค หรือจังหวดั ตาง ๆ นเิ วศวิทยา และถิ่นทอี่ ยใู นปาธรรมชาตหิ ลัก 5 ประเภท หรอื ระบบนิเวศทขี่ น้ึ เฉพาะเจาะจง ตลอด จนชว งเวลาการออกดอกและผล โดยเฉพาะในชว งท่ผี ลแก ประโยชน นําเสนอขอมูลการใชป ระโยชนด า นอืน่ ๆ นอกจากการปลูกปา การขยายพนั ธุ อธบิ ายวธิ กี ารขยายพนั ธซุ ง่ึ จะเนน ทกี่ ารเกบ็ และการเพาะเมลด็ เทคนคิ เฉพาะของพชื แตล ะ กลมุ หรือชนดิ ขอ แนะนาํ อธบิ ายขอ มลู เพมิ่ เตมิ ทอ่ี าจชว ยพจิ ารณาเลอื กนาํ ไปปลกู ปา การปลกู ผสมผสานระหวา งไมโ ตเรว็ และไมโ ตชา และการดูแลรกั ษาไดอยางเหมาะสมยิ่งขน้ึ ขอ มลู เพมิ่ เตมิ เอกสารทส่ี ามารถคน ควา รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ได โดยเฉพาะรายละเอยี ดทางพฤกษศาสตร และการขยายพันธุ 13

ผลสาํ เร็จในการปลกู ฟน ฟปู าตน นํา้ ลาํ ธารหรือระบบนิเวศปาไม สงิ่ สําคญั อันดบั แรกขึน้ อยู กบั การเลอื กชนดิ พรรณไมท เ่ี หมาะสมตอ พนื้ ทป่ี ลกู เพราะพรรณไมเ หลา นน้ั จะเจรญิ เตบิ โต และปรับปรงุ สภาพปาใหดีขนึ้ ได เหมือนกับปาดง้ั เดมิ ในชว งระยะเวลาอยา งนอ ยไมต ่าํ กวา 20 ป สงิ่ สาํ คญั ตอ ไปคอื วธิ กี ารปลกู ขัน้ ตอนการเตรียมกลา การปลกู และการดแู ลรกั ษา ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอนจาํ นวนมากเหลา นจี้ าํ เปน อยา งยง่ิ ทผี่ ปู ลกู จะตอ งใชค วามรคู วามชาํ นาญและประสบการณ ตลอดจนความเอาใสดูแลตอทุกข้ันตอน ดังนั้นการปลูกฟนฟูปาจึงเปนงานท่ียาก ใชเวลานาน และติดตามผลสําเรจ็ ในระยะยาว อยา งไรกต็ ามในขั้นตอนแรก การคดั เลอื กพรรณไมแตละชนิด นั้น คณะทํางานไดล าํ ดบั ขัน้ ตอนและใหข อมูลประกอบการตดั สินใจเพื่อใหประสบผลสําเรจ็ มาก ที่สดุ ดงั ตอ ไปนี้ 1. ศกึ ษาสภาพระบบนิเวศปาดง้ั เดมิ ผูปลกู จะตอ งทราบ กอ นวาพนื้ ทแี่ ปลงปลกู ปาเดิม หรือพื้นที่ที่ตองการปลูกฟน ฟสู ภาพธรรมชาติ เปน ระบบนิเวศปา ชนิดใด โดยพจิ ารณาจากขอ มลู พ้ืนฐานในสวนที่ 1 หรอื อาจคน ควา เอกสารเพม่ิ เตมิ ดวยตนเอง กไ็ ด เชน หนังสือ “ปาของประเทศไทย” (ธวัชชัย, 2549) หรือ “นเิ วศวิทยาพน้ื ฐานเพอื่ การปาไม” (อทุ ศิ , 2542) ซง่ึ อาจตอ งทราบระดบั ความสงู จากระดบั นาํ้ ทะเล และสามารถจาํ แนกชนดิ พรรณไม ปา ไดบ า ง โดยอาจตรวจสอบจากพรรณไมด งั้ เดมิ ทเ่ี หลอื อยใู นพนื้ ทป่ี ลกู ปา หรอื พนื้ ทป่ี า ขา งเคยี ง สภาพปา เส่ือมโทรม ทถ่ี กู บุกรกุ ทําไรเ ลอื่ นลอย ในภาคเหนือ มไี มด ัง้ เดมิ เหลือกระจาย 2. สาํ รวจสภาพความสมบรู ณข องพน้ื ท่ี ตรวจสอบดู สภาพความเสอ่ื มโทรมของพนื้ ทวี่ า มไี มป า ดงั้ เดมิ หลงเหลอื เพยี งใด และสาํ รวจพรรณไมใ นปา ขา ง เคียงแปลงหรือใกลเคียงท่ีเปนชนิดปาเดียวกันวามีไมชนิดใดบาง ซึ่งอาจใชเปนแหลงแมไมเก็บ เมลด็ ไมต อไปได 3. พิจารณาชนิดพรรณไมที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ คัดเลือกชนิดไมจากบัญชีรายช่ือใหตรงกับชนิดปาในแปลง ระดับความสูงจากระดับน้ําทะเล สภาพพน้ื ที่ และการกระจายพนั ธอุ ยา งนอ ยในภาคเดยี วกนั หรอื เปน ชนดิ ทพ่ี บในแปลงปลกู หรอื 14

ใกลเคียงจะเปนการเหมาะสมมากยิ่งขึ้น เพราะสามารถเก็บเมล็ดไมในแหลงปลูกไดงาย ซ่ึงใน คมู อื น้ีมีจํานวน 80 ชนดิ คิดเปน จํานวนประมาณ 10–20 ชนดิ ตอชนิดปา ซ่งึ อาจไมส ามารถหา เมล็ดพนั ธุได การหาขอ มลู เพิม่ เติมจึงเปน ส่ิงจําเปน 4. พจิ ารณาจาํ นวนชนดิ พรรณไมท จ่ี ะปลกู การเลอื ก จาํ นวนชนดิ พรรณไมต อ พน้ื ทป่ี ลกู ขน้ึ อยกู บั ความหลากหลายของพรรณไมในปา ด้ังเดมิ พรรณไม ทเ่ี หลอื อยใู นพน้ื ท่ี และระดบั ความเสอ่ื มโทรมของพน้ื ทป่ี ลกู เชน พน้ื ทป่ี า เสอ่ื มโทรมทม่ี พี รรณไม เดมิ เหลอื มากกวา 10 ชนดิ และมากกวา 10 ตน ตอ ไร อาจเลอื กพรรณไมปลกู เพิ่มเขาไปเพียง ไมเบิกนํา ตะเคียนหนู ขึ้นหนาแนนคลุมพื้นท่ีในปา ผลัดใบผสมทเ่ี ส่อื มโทรม 5–10 ชนิด ซ่งึ ปา ดิบเขาทส่ี มบูรณอ าจมีพรรณไม 50–100 ชนิด ตอพ้ืนท่ี 1 เฮกแตร (6.25 ไร) ขณะที่ FORRU (2000) ศกึ ษากลา ไมแ ละวธิ กี ารฟน ฟปู า ดบิ เขาทดี่ อยสเุ ทพระบวุ า ควรเลอื กปลกู ไมโตเรว็ และโตชา ผสมกัน 20–30 ชนดิ ตอ แปลง เร่มิ ปลกู พรอมกนั ที่ระยะปลกู 1.6–1.8 เมตร หรือประมาณ 500–600 ตนตอไร เพราะไมโตเร็วจะคลุมพื้นท่ีไดเร็ว มีเรือนยอดเร่ิมชิดกัน ประมาณปท่ี 3 สวนไมโตชาหลายชนิดสามารถตั้งตัวไดในท่ีโลงแสงแดดจัด และจะโตขึ้นไป ทดแทนไมโ ตเรว็ ตอ ไปในชว ง 10-20 ป 5. พจิ ารณาจํานวนตนของพรรณไมท ่ีจะปลกู การ เลอื กจาํ นวนพรรณไมต อ พน้ื ทป่ี ลกู ปา สดั สว นของไมโ ตเรว็ : ไมโ ตชา ในเบอ้ื งตน (ยงั ไมม ขี อ มลู ทาง วชิ าการยนื ยนั ) ควรเลอื กจาํ นวนตน ของไมโ ตเรว็ อยา งนอ ยรอ ยละ 50–70 เพราะอยา งนอ ยทาํ ให พน้ื ทโี่ ลงถกู ปกคลุมดวยไมตนแทนทีว่ ชั พชื ซ่งึ สรางปญ หาอยางมากในการปลูกปา อีกทัง้ ยงั เปน สาเหตุของการเกิดไฟปาและแกงแยงอาหาร หากตองการปลูกไมโตชา สามารถปลูกเพ่ิมลงไป ในปท่ี 2–6 แทนท่ีตนท่ีตาย หรือกอนเรือนยอดปาจะปด สําหรับปาผลัดใบผสมและปาเต็งรัง ตนไมเ กือบทุกชนิดตอ งการแสงแดดมาก จงึ ตอ งปลกู ในปแ รกพรอมกัน หากตองการเลือกปลกู ไผใ นปา ผลดั ใบผสมไมค วรปลกู เกนิ รอ ยละ 10 ของจาํ นวนตน ทง้ั หมด เพราะไผเ ปน ไมโ ตเรว็ อายยุ นื และแผพ มุ กวา งมาก ถา ปลกู จํานวนมากแลวจะบดบงั แสง แยงนํ้าและอาหารจนทาํ ใหไ มโ ตชา ถกู เบยี ดบงั และตายได อยา งไรกต็ ามไผถ อื วา มรี ะบบรากฝอยทห่ี นาแนน เหมาะสมตอการปลูกเพื่อ ปองการพงั ทลายของดนิ ตามตลงิ่ และไหลทางอยา งย่งิ 15





กระเชา Holoptelea integrifolia Planch. วงศ ULMACEAE ชือ่ อ่นื กระเจา, กระเจา (ภาค กลาง); กะเซาะ (ราชบุรี); กาซาว (เพชรบรุ )ี ; ขะจาว, ขะจาวแจง, ฮงั คาว (ภาคเหนือ); พูคาว (นครพนม); มหาเหนยี ว (นครราชสีมา); ฮางคาว (เชยี งราย, ชยั ภมู ,ิ อดุ รธานี) ลกั ษณะวสิ ยั ไมเ นอื้ คอ นขา ง แข็ง โตคอนขางเร็ว ผลัดใบ ขนาด ใหญ สูงไดประมาณ 30 ม. เปลือก เรยี บ ตน ใหญเ ปลอื กแตกเปน สะเกด็ หนา สีน้ําตาลเทา เปลือกในสีออก เหลือง ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ี สาํ คัญ ใบเรยี งเวียน รปู รหี รือรปู ไข กลบั ยาว 7–14 ซม. ปลายใบเรยี ว แหลม โคนใบเบีย้ วมนหรือเวาเลก็ นอ ย ขอบใบเรยี บหรอื จกั ซฟ่ี น หา งๆ แผน ใบดา นลางมขี นส้นั นุมหรือเกลี้ยง ขย้ีแลวมีกลน่ิ เหมน็ ชอดอกออกเปน กระจกุ สน้ั ๆ ตามซอกใบ ดอกขนาดเลก็ ดอกแยกเพศหรอื มดี อกสมบรู ณเ พศอยบู นชอ เดยี วกนั ผลแบบผลปก เดยี ว แบน รปู รี เสน ผา นศนู ยก ลาง 2–3 ซม. ปก บาง ลอมรอบเมล็ด ปลายเปนต่งิ คลา ยงาม เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย ศรลี งั กา พมา ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม ไทย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ กระจายตามปา ผลดั ใบผสมแทบทกุ ภาคของประเทศ ยกเวน ภาคใต ระดบั ความสงู 150–1,300 ม. ดอกออกเดอื นมกราคม–กมุ ภาพนั ธ ติดผลเดอื นกุมภาพันธ– เมษายน ประโยชน เนื้อไมล ะเอยี ดสมํ่าเสมอ เสี้ยนตรง สีเหลืองออน แข็งปานกลาง เมอ่ื แหง แลว เหนยี วมาก ใชกอ สรา ง ทําเคร่อื งเรอื น เครอื่ งกลึง เคร่ืองมอื กสกิ รรม เรอื ไมอ ัด และแกะสลักไดดี ใชทาํ ไมฟ น และถานทมี่ ีคณุ ภาพ ใบและเปลอื ก ตนมกี ล่นิ เหม็น ใชป รงุ เปน ยาแกปวดขอ ยาแกโ รคเร้ือน ยากาํ จัดเหบ็ หมัด และยากันตัวไร เสน ใยจากเปลือกตนเหนยี ว ใชท าํ เชือก ผา กระดาษ และกระสอบ การขยายพันธุ เพาะเมลด็ เมลด็ ควรเพาะทนั ที อตั ราการงอกรอ ยละ 70–80 เมลด็ งอกใชเ วลา 10–15 วนั กลา ไม ควรมอี ายุมากกวา 1 ป กอนนําไปปลูก และสามารถปลกู ดวยเมล็ดโดยตรงและใชเ หงาได ขอ แนะนาํ ไมโ ตเรว็ ปานกลาง รากลกึ ทนไฟ ตองการแสงมาก กลาไมตอ งการรม และไมทนไฟ เหมาะสาํ หรบั ปลกู ฟนฟูสภาพปา ผลดั ใบผสม โดยเฉพาะพ้นื ทีร่ ิมน้าํ สาขาตา ง ๆ ในพนื้ ทีล่ มุ นา้ํ ทางภาคเหนือ ขอ มลู เพิม่ เติม พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรป า ไม, 2542); ตน ไมเมืองเหนือ (ไซมอน และ คณะ, 2543) 18

กระทุม Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. วงศ RUBIACEAE ชอื่ อ่นื กระทมุ บก, ตะกู, ตะโกสม (ภาคกลาง); ตุม หลวง (ภาคเหนอื ); ทมุ พราย (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ) ลกั ษณะวสิ ยั ไมเ นอื้ ออ น โตเรว็ ไมผลัดใบ ขนาดกลาง ถงึ ขนาดใหญ สงู ไดประมาณ 30 ม. ลําตนเปลาตรง กิง่ ตง้ั ฉาก กบั ลําตน ปลายกง่ิ โนม ลง ทรงพุม กวางคลายรม ตนแกเปลือก แตกเปนรองตามยาว สนี ํ้าตาลปนเทา ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ หูใบรวมรูป สามเหล่ียมปลายแหลม ใบเรยี งตรงขา ม รปู ไข ยาว 15–50 ซม. แผนใบเกล้ยี ง ชอดอกแบบชอกระจกุ แนน ออกเดี่ยว ๆ ตามปลายกิ่ง ทรงกลม เสน ผา นศูนยกลาง 3.5–5 ซม. ดอก ยอยขนาดเล็ก สีเหลือง มีกลิ่นหอม กลบี เลีย้ งเชื่อมติดกันเปน หลอดส้ัน ๆ ปลายจกั ต้นื ๆ 5 จกั กลบี ดอก 5 กลบี ตดิ กนั เปน หลอดยาว ปลายกลบี หยกั มน 5 กลบี แผข ยายออก เกสรเพศผู 5 อนั เกสรเพศเมยี ยน่ื เลยหลอดกลบี ดอก สีขาว ผลมเี นอื้ อมุ นํา้ เกดิ จากวงกลีบเล้ียงของแตล ะดอกเช่อื มตดิ กัน ทรงกลม เสน ผา นศนู ยกลาง 3.5–5 ซม. ผลยอ ยแตกออก 4 ซกี เมลด็ ขนาดเล็ก จาํ นวนมาก เขตการกระจายพันธุ อินเดีย ศรีลังกา พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ปาปว นิวกินี ออสเตรเลีย การกระจายพนั ธุและนเิ วศวิทยาในประเทศไทย ขึน้ ตามชายปาดบิ ชืน้ ปา ดบิ เขาระดบั ตาํ่ ปาดบิ แลง และปา ผลดั ใบผสม ท่วั ทุกภาคของประเทศ มักข้นึ ใกลล าํ ธารหรือรอ งหวย พื้นทีน่ าํ้ ทว มขังตามฤดูหรือยาวนาน ระดบั ความสงู จนถงึ ประมาณ 1,200 ม. ออกดอกเดือนมีนาคม–กันยายน ผลแกเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม ประโยชน เนือ้ ไมล ะเอยี ด สเี หลอื งออ น เน้ือออ น ไสตบแตงไดงา ย ความทนทานนอ ย ใชก อสรา งในรม ใชทาํ ไมอดั กลอ ง หรือเยื่อกระดาษ ผลเปน อาหารนกและสัตวข นาดเล็ก ชว ยในการกระจายพนั ธุ ดอกมนี า้ํ มนั หอมระเหย ผล และชอ ดอกรับประทานได ใบสดใชเล้ยี งสัตว นิยมปลูกเปน ไมสวนปาเนอ่ื งจากโตเรว็ มาก ใหร มเงากับไมอื่นไดด ี การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เน่อื งจากเมลด็ เปน อาหารของนกและสตั วป า ควรเก็บผลแกบ นตน กอนท่ีเมลด็ จะแตก ออก เมล็ดเกบ็ ไดนานประมาณ 6 เดอื น ในภาชนะปด เมลด็ ขนาดเล็กมาก ควรหวา นลงในกระบะทราย และมีดนิ โรย หนา ใหน ํา้ สมํา่ เสมอ ใชเ วลาในการงอก 10–14 วนั กลาออนตองการรม เงา การยายกลา ตองมีอายอุ ยางนอย 2 เดือน ขอแนะนาํ เปนไมเ บกิ นํา โตเรว็ มีรอบตัดฟน ใชเวลาเพยี ง 4–5 ป ตองการแสงมาก ในระยะกลา ไม ควรใหร ม เงาและดแู ลเรอ่ื งวชั พชื เหมาะสาํ หรบั การปลกู ฟน ฟปู า ดบิ แลง ปา ผลดั ใบผสม ปา ดบิ เขา และปา ชายนาํ้ ทง้ั ในเขตตน นาํ้ หรอื ทร่ี าบลมุ นาํ้ ทว มถงึ เพอ่ื ปอ งกนั การพงั ทลาย และการกดั เซาะชายตลง่ิ ตน ทม่ี อี ายุ 10–15 ป มักเกดิ การหกั โคนไดงา ย ซึ่งเปน การเปดชองแสงและปลดปลอ ยธาตอุ าหารใหแกไมโตชา ตอ ไป ขอ มลู เพมิ่ เตมิ ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ก. (ราชบณั ฑติ ยสถาน 2538); PROSEA No. 5 (1) (1993) 19

กระทมุ นา Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil. วงศ RUBIACEAE ชือ่ อื่น กระทุมดง (กาญจนบรุ ี); กระทุมนา, กระทุม น้ํา (กลาง); ตมุ แซะ, ตมุ นอ ย, ตมุ นาํ้ (เหนอื ); ถม พาย (เลย); โทมนอ ย (เพชรบรู ณ) ลักษณะวิสัย ไมเนื้อออน โตเร็ว ผลัดใบ ขนาดเล็กถึง กลาง สงู ไดป ระมาณ 15 ม. เรือนยอดเปน พมุ กลม โปรง เปลือก คอ นขางเรยี บ สีขาว ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั หใู บรว ม มสี นั กลาง ใบเรยี งตรงขา ม รปู ไขห รอื รปู รี ยาว 5–12 ซม. ปลายใบมน โคน ใบเวา เลก็ นอ ย แผน ใบดา นลา งมขี นประปราย ดอกออกเปน ชอ กระจุกแนน ทรงกลม เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 ซม. สเี หลอื งออ น ออกตามปลายกิ่ง ใบประดบั ขนาดใหญลักษณะ คลา ยใบติดชว งลา งของชอ ดอกขนาดเลก็ ดอกกลิน่ หอม ไมมี กา นดอก กลบี เลยี้ งเปน ถว ย ขอบตดั กลบี ดอกตดิ กนั เปน หลอด ยาว ปลายแยกเปน 5 แฉก เกสรเพศผู 5 อัน รังไขอ ยูใ ตวงกลีบ ยอดเกสรเพศเมยี ย่นื พน ปากหลอดกลบี ดอก ผลแบบผลแหง แตก ตดิ เปนกลุม ทรงกลม เมล็ดขนาดเลก็ จาํ นวนมาก เขตการกระจายพันธุ จีนตอนใต พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขน้ึ ใน พ้ืนท่ีราบลุมน้ําทวมถึงท้ังในปาดิบและปาผลัดใบ พบมากในท่ีโลงตามทุงนา หรือปาบึงน้ําจืด ทั่วทุกภาคของประเทศ ระดับความสูงไมเกนิ 500 ม. ผลแกเ ดอื นกันยายน–ตุลาคม ประโยชน ไมเ นือ้ ออ น ใชก อ สรา งในรม ทําเปนไมฟ น ใบตําใชแ กโ รคทอ งรวง การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เมลด็ ขนาดเล็ก วิธกี ารเพาะแบบเดยี วกับขวา วหรือกระทุม ขอ แนะนาํ ไมโตเรว็ ชอบแสงแดดจัด ทนตอ น้าํ ทว มไดมากกวา 2 เดือน เหมาะสําหรบั การฟน ฟปู า ชายนํ้า หรอื ปา บงึ นา้ํ จืด คนั ดนิ กั้นน้ํา เพื่อปอ งกันการพงั ทะลายของตล่ิง คลา ย ๆ จิกนา ขอมูลเพ่มิ เติม อนุกรมวธิ านพชื อักษร ก. (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2538) 20

กระบาก Anisoptera costata Korth. วงศ DIPTEROCARPACEAE ชอื่ อน่ื บาก, กระบากขาว (ทวั่ ไป); ตะบาก (ลาํ ปาง); กระบากโคก (เพชรบรู ณ) , ประดกิ (สุรินทร) ; พนอง (ภาคตะวันออก) ลกั ษณะวสิ ยั ไมเนือ้ แขง็ ปานกลาง โตคอนขา งเร็ว ไมผ ลัดใบ ขนาดใหญ สูง ไดประมาณ 50 ม. ลําตนตรง มีพูพอน เปลือกเปน รองตนื้ ตามยาว เปลอื กในหนา เรียงเปน ช้นั สีเหลือง ชนั ใส กระพ้ีออ น ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรทีส่ ําคัญ หูใบยาวประมาณ 1 ซม. รวงงาย ใบรูป ขอบขนาน ยาว 7–25 ซม. แผนใบดานลางมขี นรูปดาวและเกลด็ สีเขยี วเทาอม เหลืองหนาแนนหรือประปราย เสนแขนงใบเรียงจรดกันใกลขอบใบ เสนใบ ยอ ยแบบขนั้ บนั ได ชอ ดอกออกตามซอกใบ ดอกสขี าว มี 5 กลบี เกสรเพศผู 20–40 อนั กา นชูอบั เรณูสนั้ ปลายอับเรณูมรี ยางครูปเสนดา ย ยาว 2–4 เทา ของความยาว อบั เรณู รงั ไขม ีฐานกานยอดเกสรเพศเมยี รปู ทรงกระบอก มขี นรปู ดาว กา นเกสร เพศเมยี แยก 3 แฉก ผลมหี ลอดกลบี เลยี้ งแนบติดกับเมล็ด คอนขางกลม เสน ผา นศนู ยก ลาง 1–1.5 ซม. ปก ยาว 2 ปก ยาว 9–15 ซม. ปกสน้ั 3 ปก ยาว 1–2 ซม. เมลด็ มขี นสั้นนมุ ปลายมตี ิ่งแหลม เขตการกระจายพนั ธุ พมา ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปนส การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ข้ึนในปาดิบแลง ปา ผลดั ใบผสมในระดับสูง และปาดิบช้ืน กระจายทุกภาคของประเทศ บางคร้ังพบเปน กลมุ หนาแนน โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน จนถึงระดบั ความ สูงประมาณ 1,000 ม. ผลแกชวงเดือนเมษายน–พฤษภาคม การสืบพันธุตาม ธรรมชาติคอนขา งตํ่าเน่ืองจากผลถกู ทําลายโดยแมลง หรอื ผลมกั รว งกอนแก ประโยชน เนอ้ื ไมใ ชใ นการกอ สรา งในรม ทไ่ี มต อ งการความคงทนและแขง็ แรง มากนัก เชนเดียวกับไมหลายชนิดในวงศยาง แตเน้ือไมเล่ือยและตบแตงไดยากกวา เนื้อไมออนกวาไมสัก ชันของไม กระบากไมนยิ มใช การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด เมล็ดควรเปน เมลด็ ที่เกบ็ ใหม ๆ จากบนตน ควรตรวจดูความสมบูรณ ไมถกู แมลงเจาะ ทําลาย หา มนาํ ไปตากแดด เมลด็ มีอายุสัน้ ไมควรเกบ็ ไวน านเกิน 3 วนั นาํ เมลด็ แชน ํา้ 6–8 ชัว่ โมง เพ่มิ อตั ราการงอกได ขอแนะนาํ เปนไมท ีโ่ ตคอ นขา งเรว็ กลาไมต องการรม เงา ไมหนมุ ชอบแสงและเจรญิ เตบิ โตอยา ง รวดเร็ว เหมาะสาํ หรับการปลกู ฟนฟูสภาพปา ดิบแลงทง้ั ในระดบั ตํ่าและระดับสงู เปน ไมใ หญท ีใ่ หค วามชุมชน้ื รมรนื่ แกปาไดด ี ระบบรากลึกแขง็ แรง สามารถปลูกผสมผสานกับไมโตชา หลายชนดิ ของปา ดิบแลง เชน จําปปา ยมหอม กฤษณา และไมใ นวงศย าง เชน ยางปาย ยางแดง พันจํา ตะเคยี นหิน กระบากดาํ ขอมูลเพิ่มเติม พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2542); PROSEA No. 5 (1) (1993); Dipterocarpaceae of Thailand with special reference to silvicultural ecology (Smitinand & Santisuk, 1981) 21

กฤษณา Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte วงศ THYMELAEACEAE ช่อื อ่ืน ไมห อม (ภาคตะวันออก) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือแข็ง แตโตคอนขางเร็ว ไมผลัดใบ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สูงไดป ระมาณ 30 ม. เปลือกเรยี บ สี นาํ้ ตาลเทา เปลือกในบางสีขาว มเี สน ใยเหนยี ว ก่งิ ออ นมีขนส้นั หนานมุ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รอื รูปไขก ลบั ยาว 6–12 ซม. แผน ใบหนา ฉกี แลวมีเสน ใยบางสี ขาว ชอดอกแบบชอกระจุก ออกตามซอกใบหรอื ปลายกิง่ กลีบ เลี้ยง 5 กลบี มีขนสนั้ หนานมุ กลบี ดอกลดรูปเปนเกล็ด มี 10 กลบี สีเขยี ว มีขนยาวหา ง ๆ เกสรเพศผู 10 อนั ผลแบบผล แหงแตกกลางพู ทรงรี ยาว 2.5–3.5 ซม. โคนผลมกี ลบี เลยี้ ง ขนาดใหญ มี 1-2 เมลด็ เมล็ดมหี างยาวแหลม เขตการกระจายพนั ธุ ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายหาง ๆ ในปาดิบแลงใกลชายนํ้า ทางภาคกลาง ภาคเหนอื และปา ดบิ ช้นื ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใต ระดบั ความสงู 100–1,000 ม. ออกดอกเดอื นกมุ ภาพนั ธ– พฤษภาคม ติดผลเดือนกรกฎาคม–กนั ยายน ประโยชน เนอื้ ไมแ ข็งแรง ทนปลวก ใชก อ สราง ทาํ เคร่ืองเรือน เครอ่ื งมอื ดานการเกษตร เรอื กอสรา ง เน้อื ไมมี กล่นิ หอมเมอื่ มเี ชื้อราชนดิ Cystosphaera mangiferae Died. นาํ มาเผาไฟเพอื่ อบหองใหม กี ลน่ิ หอม กลัน่ เปน นา้ํ มันหอม ระเหย ผงไมห อมใชผ สมยาพนื้ บานของหลายประเทศ ใชผสมของเครือ่ งสําอางและรักษาโรคผวิ หนงั เปลอื กตน ใหเสนใย ใชท ําเชอื ก ถุงยาม และกระดาษ สามารถปลูกใหร ม เงาใหสวนชา กาแฟ ไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด และเพาะเลีย้ งเน้ือเยือ่ เมล็ดควรเก็บผลแกท ีย่ ังไมแ ตก ผึง่ ใหแหง จนแตกอาออก และ นาํ เมลด็ ไปเพาะทนั ที ถา จะเกบ็ เมลด็ ไวค วรปอกเอาเยอ่ื หมุ เลด็ ออก เกบ็ ในอณุ หภมู ติ าํ่ แตอ ตั ราการงอกจะคอ ย ๆ ลดลง ขอ แนะนํา ไมโ ตคอนขางเรว็ ชอบข้นึ ตามชายปา หรอื ใกลช ายนาํ้ ในพนื้ ท่ปี าดิบชน้ื สามารถขึ้นได กลางแจง กลา ไมต อ งการรม เงา ดนิ ลึก เหมาะสาํ หรบั ปลกู ผสมผสานกับไมโ ตเร็วและโตชา หลายชนิดในพ้ืนท่ี ตน นํา้ หรอื ตามรองหว ยในปาดิบแลง หรือปา ผลัดใบผสมท่คี อนขางมีความช้ืนสูง ขอมูลเพิม่ เติม อนุกรมวธิ านพืชอักษร ก (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2538); ตนไมเมอื งเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of Thailand Vol. 6 (3) (1997) 22

กลวยฤ ษี Diospyros glandulosa Lace วงศ EBENACEAE ช่ืออ่นื จนั ปา (เชียงใหม) ; มะเขอื เถ่อื น (เลย) ลกั ษณะวิสยั ไมเ นื้อแขง็ ปานกลาง โตคอ นขา งเรว็ ไม ผลดั ใบ ขนาดเล็ก สูงไมเกนิ 15 ม. เปลือกสีน้าํ ตาลคอนขาง เรยี บหรือแตกเปน สะเกด็ ขนาดเล็ก ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ี่สําคัญ ใบเรียงเวยี น รปู ขอบขนานหรอื รปู ไขก ลบั ยาว 8–14 ซม. แผน ใบคอ นขา งหนา ดา นลา งมขี นหนาแนน ดอกเพศผแู ละดอกเพศเมียอยูต า ง ตน สีขาวหรอื ชมพู กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยา งละ 4 กลบี กลบี เลย้ี งมขี นคลา ยไหม กลบี ดอกรปู คนโท มขี นตาม แนวกลางแฉก ดอกเพศผูอ อกเปนชอกระจกุ สัน้ ๆ เกสรเพศผู 14–30 อัน ดอกเพศเมียออกเดยี่ ว ๆ ดอกมีขนาดใหญกวา ดอกเพศผู กลบี เลีย้ งตดิ ทน ผลแบบผลมเี นอื้ หน่ึงถงึ หลายเมล็ด กลมแปน กลบี เลีย้ งขยายใหญ ปลายกลบี กางออก หรอื แนบผล เอนโดสเปรมเรยี บ เขตการกระจายพนั ธุ อนิ เดีย พมา ลาว เวยี ดนาม ไทย การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ ในปาดิบแลงและปาดบิ เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื และภาคตะวนั ออก โดยเฉพาะตามชายปา และทโ่ี ลง ในปา เสอื่ มโทรม ระดบั ความสงู 700–1,500 ม. ออกดอก เดือนมีนาคม–พฤษภาคม เปนผลเดอื นกนั ยายน–ธันวาคม ประโยชน เน้อื ไมใชท าํ เครอ่ื งเรือน ผลออนใชยอมผา แห อวน ผลสุกรับประทานได นยิ มใชเ ปน ตน ตอสําหรับ ปลกู พลบั (Diospyros kaki Thunb.) ในพ้ืนทส่ี ูง การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด ควรเก็บผลแกท ่ีมสี ีเหลือง แกะเน้อื ออก แชนํา้ ประมาณ 12 ชัว่ โมง กอนนาํ ไปเพาะ อัตราการงอกสูงกวารอยละ 80 ขอแนะนํา เปน ไมโตคอนขา งเร็ว ชอบแสง เหมาะสําหรบั ฟนฟสู ภาพปา ตนน้ําในพน้ื ท่สี ูง โดยเฉพาะ ปลูกผสมผสานกับกอชนดิ ตางๆ รวมท้งั สนสามใบ ขอ มลู เพม่ิ เตมิ อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ก. (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546); ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of Thailand 2 (4) (1981) 23

กะอวม Acronychia pedunculata (L.) Miq. วงศ RUTACEAE ช่ืออ่ืน กระเบื้องถวย, มะยมปา, ยอมผาระนาบ (ภาค กลาง); กรงิ , เปลา ขลบิ ทอง (ปราจนี บรุ )ี ; มะงนั (ชลบรุ ,ี ปราจนี บรุ )ี ลักษณะวิสัย ไมเน้ือออน โตเร็ว ไมผลัดใบ ขนาดเล็ก สูงไมเกิน 10 ม. แตกก่งิ ตํ่าระเกะระกะ เรือนยอดเปน พมุ กลม ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงตรงขาม สลบั ต้งั ฉาก รปู รหี รือรูปขอบขนาน ยาว 5–18 ซม. ปลายใบมน แผน ใบมตี อมน้ํามนั โปรงแสง กล่ินคลายใบสม ชอ ดอกออก ตามซอกใบใกลปลายก่งิ ยาว 4–10 ซม. ดอกขนาดเล็กสีขาวอม เหลอื ง ดอกบานเสน ผานศูนยก ลาง 1-1.4 ซม. กลบี เล้ยี งเปน แผนกลม 4 กลบี ขนาดเล็ก กลบี ดอก 4 กลบี แยกกนั เกสร เพศผู 8 อนั รงั ไขมีขนหนาแนน จานฐานดอกหยกั 8 พู ผล แบบมเี นอ้ื หนงึ่ ถงึ หลายเมลด็ ทรงกลม เสน ผา นศนู ยก ลาง 1–1.2 ซม. ปลายเปน ต่ิง มี 4 เมลด็ เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย ศรีลงั กา พมา จนี ตอนใต ไตห วัน ลาว กัมพชู า เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซยี การกระจายพนั ธใุ นประเทศไทย ขน้ึ กระจายตามชาย ปา ดิบแลง ปาผลัดใบผสม ปา ดิบชน้ื และปา ดิบเขา ทว่ั ทุกภาค ของประเทศ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 1,500 ม. ออกดอกชวงเดือนกรกฎาคม–กันยายน ผลแกเดือนกันยายน– มกราคม ประโยชน เนอื้ ไมส เี หลอื ง เมอ่ื เผามกี ลนิ่ หอม ใบออ นใชเ ปน เครอื่ งปรงุ รส ใบหอม มกี ลนิ่ นาํ้ มนั หอมระเหย เปลอื ก ใชแ กอ าการคัน รากใชเบอ่ื ปลา ผลสุกรบั ประทานได และเปนอาหารสัตวปา การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เพาะงา ย อตั ราการงอกสงู ขอ แนะนํา เปน ไมเ บกิ นาํ โตเรว็ ทนแลง และไฟปา ได สามารถปกคลมุ วชั พชื ไดด ี ชว ยเพม่ิ ความชมุ ชน้ื และลดการเกดิ ไฟปา เหมาะสําหรบั ปลกู เปนไมช้นั รอง ผสมผสานกบั ไมโตเร็วหรอื โตชาหลายชนดิ ชวยลดการ ชะลางพงั ทลายของหนา ดิน ขอ มูลเพม่ิ เติม อนกุ รมวิธานพชื อกั ษร ก (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2538); ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543) 24

กานเหลอื ง Nauclea orientalis (L.) L. วงศ RUBIACEAE ชื่ออืน่ กระทุม คลอง, กระทมุ นาํ้ (ภาคกลาง); ตะก,ู สะแก เหลอื ง (ภาคกลาง); ตุมขกั , ตุมคํา (ภาคเหนอื ); ตมุ ดง (ลาํ ปาง, บุรรี มั ย); ตุม เหลอื ง (แมฮ องสอน) ลักษณะวิสัย ไมเ น้อื ออน โตเรว็ ไมผ ลัดใบ ขนาดกลาง ถงึ ขนาดใหญ อาจสงู ไดถ งึ 30 ม. ลาํ ตน เปลาตรง แตกกงิ่ ตา่ํ เรอื น ยอดเปน พมุ แนน เปลือกแตกเปน รองลกึ ตามยาว สีเทาเขม ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ีสําคัญ หูใบรูปไขกลับ ขนาดใหญ ยาว 1–2.5 ซม. ใบเรยี งตรงกันขา มสลบั ตงั้ ฉาก รปู รี รูปไขก วา ง หรือรปู หัวใจ ยาว 8–25 ซม. ใบดา นลา งมีขน ส้นั นมุ ชอ ดอกแบบชอ กระจกุ แนน ออกเดีย่ ว ๆ ตามปลาย กง่ิ ทรงกลม เสน ผา นศนู ยก ลาง 3–5 ซม. ดอกยอ ยสเี หลอื งขนาด เล็กจาํ นวนมาก กลิ่นหอม กลีบเล้ยี งขนาดเลก็ 5 กลบี กลบี ดอก ตดิ กันเปน หลอดยาว ปลายแยกเปน 5 แฉก เกสรเพศผู 5 อนั กา นชอู บั เรณสู น้ั มาก ตดิ ใกลป ากหลอดกลบี ดอก ยอดเกสรเพศ เมียยนื่ พนปากหลอดกลบี ดอก เหน็ ชัดเจน ผลยอยรปู รี เบ้ียว ระหวา งผลมีเยอ่ื บาง ๆ เมล็ดขนาดเลก็ จํานวนมาก การกระจายพันธุ ศรลี ังกา จีนตอนใต พมา เวยี ดนามตอนใต ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ออสเตรเลียตอนเหนือ การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ ตามชายนา้ํ ทโี่ ลง แจง ทง้ั ในปา ผลดั ใบและปา ดบิ โดยเฉพาะ ในปา ผลดั ใบผสม ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ ระดบั ความสูงจนถึงประมาณ 850 ม. ประโยชน เนื้อไมคอ นขา งออ น สเี หลืองเขม อมสมหรือนา้ํ ตาล ตกแตง งา ย ความทนทานนอ ย ใชกอ สรางท่ีอยู ในรม เปน ไมบ ผุ นงั ทสี่ วยงาม ทาํ เครอื่ งเรอื นและหบี ใสข อง ใบมสี รรพคณุ ใชร กั ษาแผล แมลงสตั วก ดั ตอ ย และแกป วดทอ ง ผลรสขม รับประทานได การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดมีขนาดเล็กมาก มีวิธีการเพาะเชนเดียวกับกระทุม แตไมควรใหน้ํามากเกินไป เมล็ดใชเ วลางอก 3–6 สัปดาห ขอแนะนาํ ลกั ษณะการปลูกคลา ยกบั กระทมุ แตกา นเหลืองมกั จะขึน้ เฉพาะพื้นท่ีปาชายนา้ํ ตาม แนวตลิง่ และที่โลงแจง ควรปลูกตามขางตลิง่ ท่ีกวางพอจะมแี สงแดดสอ งเตม็ ท่ี ขน้ึ ไดด ที ัง้ บนดินปนทราย ดินเหนยี ว ดินตะกอนอดั แนน และดนิ เลน ขอมลู เพิม่ เตมิ อนุกรมวธิ านพชื อกั ษร ก. (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2538) 25

กําลงั เสือโครง Betula alnoides Buch.-Ham. ex D. Don วงศ BETULACEAE ชื่ออืน่ กําลังพญาเสือโครง (เชียงใหม) ลกั ษณะวสิ ัย ไมเนอ้ื ไมแ ข็งปานกลาง โตเร็ว ไมผ ลดั ใบหรือผลดั ใบ ในชว งสนั้ ๆ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ อาจโตไดก วา 40 ม. เปลอื กสนี าํ้ ตาล อมเทาหรอื คอ นขา งดาํ มชี อ งอากาศประปราย เปลอื กในมกี ลนิ่ คลา ยการบรู ลอกเปนแผนบาง ๆ คลายกระดาษ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท่สี ําคญั หูใบขนาดเลก็ รว งงา ย ใบเรยี ง เวียน รูปไขห รอื รปู ใบหอก ยาว 6.5–13.5 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบ ตัด ขอบใบจกั ฟน เลื่อย 2–3 ชนั้ ไมสมํ่าเสมอ แผน ใบบาง เหนียว ดา น ลา งใบมตี อมเปนจดุ เลก็ ๆ สีนํา้ ตาลออ นจํานวนมาก ดอกแยกเพศอยู บนตนเดียวกัน ไมมีกลีบดอก ชอดอกเพศผแู บบชอ หางกระรอก ออก ตามซอกใบ มี 2–5 ชอ กลีบเล้ียง 4 กลบี เกสรเพศผู 2 อนั ชอดอกเพศเมยี แบบชอ กระจะ มี 3–5 ชอ ใบประดับยอย 2 อนั ไมม ีกลีบเล้ยี ง ผลแบบ ผลเปลอื กแขง็ เมล็ดลอ น แบน มีปกบาง ๆ เขตการกระจายพันธุ อนิ เดยี ภฏู าน เนปาล จีน พมา เวยี ดนาม ไทย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายใน ปาดิบเขา ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับความสูง 800–1,800 ม. ออกดอกเดือนตุลาคม–มีนาคม ติดผลเดือนเมษายน– สงิ หาคม ประโยชน เน้อื ไมสนี ํ้าตาลออน มลี ายสวยงาม ใชใ นการกอ สราง ทําพื้น เครื่องเรือน ดามเครื่องมือ ลังไม ไมอัด เปลือกมีกล่ินหอมคลาย การบรู ใชทาํ กระดาษ ตมเปนยาบาํ รงุ รางกาย เจรญิ อาหาร แกปวดเม่อื ย ตามรางกาย แกพิษงู บดละเอยี ดใชผสมแปงทาํ เปนขนมปงหรอื เคก การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เก็บผลแกที่มีสีน้ําตาลที่เมล็ดเริ่มรวง นําไปเพาะทันทใี นทมี่ แี สงรําไร อตั ราการงอกคอ นขา งสงู ขอแนะนํา ไมโ ตเรว็ ตองการแสงมาก และทนไฟ ปองกนั การพังทะลายของหนา ดินไดดี เหมาะสําหรบั ฟนฟสู ภาพปาดบิ เขา พืน้ ทีต่ น นํ้าในระดับสงู ปลกู ผสมผสานกับสนสามใบ และกอ ชนิดตา ง ๆ การปลกู ควรใชก ลาคา งป กลา ไม ตอ งการรม เงาในระยะแรก ขอ มลู เพม่ิ เตมิ อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ก. (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546); ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of China Vol. 4 (1999) 26

กมุ นาํ้ Crateva magna (Lour.) DC. วงศ CAPPARACEAE ชือ่ อนื่ กมุ (ภาคตะวันออกเฉยี งใต) ลักษณะวิสัย ไมเ น้ือออน โตเรว็ ผลดั ใบชวงสนั้ ๆ ขนาด เล็กหรือขนาดกลาง สูงไดประมาณ 20 ม. ลําตนมักคดงอ แตกกิง่ ตาํ่ เปลือกเรียบ สเี ทา มีชองอากาศกระจายทั่วไป ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั ไมม หี ใู บ ใบประกอบ มีสามใบยอย ใบยอยรูปใบหอกหรือรปู ขอบขนาน ยาว 4.5–18 ซม. ใบยอ ยดา นขา งโคนใบเบยี้ วเลก็ นอ ย แผน ใบดา นลา งมนี วล ใบแหงสีน้ําตาลแดง ชอดอกออกที่ปลายก่ิง ดอกสีขาวแลว คอ ย ๆ เปลย่ี นเปนสเี หลอื ง กลบี เลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวน อยา งละ 4 กลบี กลบี ดอกคอ นขา งกลม โคนกลบี เปน เสน คลา ย กา น เกสรเพศผู 15–25 อนั สมี ว ง ผลแบบผลมเี นอ้ื หนง่ึ ถงึ หลาย เมลด็ ขนาดใหญ เปลอื กหนา กา นยาว เนอื้ เปน ปยุ เมลด็ จาํ นวน มาก สนี ํ้าตาลเขม รปู เกือกมา เขตการกระจายพันธุ จนี ตอนใต อินเดีย พมา ลาว ไทย มาเลเซีย อินโดนเี ซยี การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้น กระจายตามทีร่ าบลมุ และชายนาํ้ ทว่ั ทกุ ภาค จนถงึ ระดับความ สงู ประมาณ 700 ม. ออกดอกเดือนธนั วาคม–เมษายน เปนผล เดือนเมษายน–กนั ยายน ประโยชน ไมเ นอ้ื ออ น ใชใ นงานแกะสลกั ทาํ เครอ่ื งดนตรี เปลอื กและรากใชเ ปน ยาบาํ รงุ กาํ ลงั สตรี ระงบั พษิ ทผ่ี วิ หนงั แกไ ข ขบั นํ้าเหลอื งเสยี ใบออน ดอกและผลออ น รบั ประทานเปนผักสด ใบแกมีพษิ มีฤทธ์ติ อ ระบบไหลเวียนของโลหิต ทาํ ให อาเจียน หายใจลําบาก กลามเนือ้ ออ นเปลี้ย กระตกุ มึนงง ไมรูสกึ ตวั ชักกอนจะหมดสติ ถา ไดร บั ปรมิ าณมากจะเกิด อาการรนุ แรงภายใน 10–15 นาที ใชป ริมาณนอ ยเปน ยาระบาย การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ปกชาํ ตอนกิง่ เมลด็ เพาะงา ย ในธรรมชาตเิ มล็ดและตนกลา ของกมุ นาํ้ มกั จะขึ้นบนดิน ปนทรายทชี่ ุมชื้น กลางแจง หลังฤดูนํ้าหลาก ขอแนะนาํ เปน ไมโตเร็ว ตอ งการแสงแดดและความช้ืนมาก ระบบรากแผก วา งและลึก เหมาะ สาํ หรบั ปลูกตามตลิ่งชายน้าํ ในแนวสูงกวาระดบั นา้ํ ปกติในฤดฝู น ปลกู ไดดีท้ังริมหวยในพน้ื ท่ตี นน้ํา และแมน าํ้ สายหลกั ลดการกัดเซาะของตลิ่งไดดี ทนตอ นํา้ ทว มขัง ขอ มลู เพม่ิ เตมิ อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ก. (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546); ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of Thailand Vol. 5 (3) (1991) 27

ขวา ว Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale วงศ RUBIACEAE ชื่ออืน่ กระทุมขวา ว (ตาก); กระทุมดง, กระทุมแดง (กาญจนบุร)ี ; กวา ว, ควา ว (ภาคกลาง, ภาคเหนอื ); ตองแดงเหลอื ง, ตะเพยี นทอง (ลาํ ปาง); ตองเหลอื ง, คานควาย, ตมุ ควาย (เชยี งใหม) ; ตมุ กวา ว (เหนอื ); ตมุ กา นแดง, เฝา (เพชรบรู ณ) ลักษณะวสิ ยั ไมเนือ้ แข็งปานกลาง โตเร็ว ผลัดใบ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 30 ม. ลาํ ตน ตรง บางครง้ั มพี พู อนทโ่ี คน เรอื นยอด เปน พมุ กลม โปรง เปลอื กคอ นขา งเรยี บ หนา หรือแตกเปน สะเกด็ สีเทา อมเขียวออ น ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ีสาํ คัญ หูใบระหวางกา นใบประกบ ติดกนั เปน คูท ี่ยอด มสี ันกลาง ยาว 1–2 ซม. รว งงาย ทิง้ รอยแผลชดั เจน ใบเรยี งตรงขาม รปู ไขหรอื รปู หัวใจ แผน ใบดา นบนมขี นสาก ดานลาง มีขนส้ันนุม ชอดอกแบบกระจุกแนน ชอเด่ียว ออกเปนกระจุกตาม ซอกใบ มี 2–10 ชอ ชอเสนผา นศนู ยก ลางประมาณ 1 ซม. ดอกยอ ยขนาด เลก็ สเี หลอื ง จาํ นวนมาก กลน่ิ หอมออ น ๆ กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมจี าํ นวน อยา งละ 5 กลบี เกสรเพศผู 5 อนั ยอดเกสรเพศเมียยืน่ พน หลอดกลีบ ดอก ผลแบบผลแหง แตก ติดเปน กลมุ ทรงกลม แยกเปน 4 สว น ผวิ แขง็ เมลด็ ขนาดเลก็ มปี ก บาง แคบ ๆ เขตการกระจายพนั ธุ จนี ตอนใต อนิ เดยี ศรลี งั กา พมา ลาว กมั พชู า เวียดนาม ไทย คาบสมทุ รมลายูตอนบน การกระจายพนั ธุและนเิ วศวิทยาในประเทศไทย ขึน้ ตามปา ผลัดใบผสมโดยเฉพาะท่มี ีไมสกั ปาเต็งรัง หรือตาม ชายปาดบิ แลง ทั่วทกุ ภาคของประเทศ จนถงึ ระดับความสูงประมาณ 800 ม. ประโยชน เนอ้ื ไมแข็งปานกลาง นํา้ หนกั คอ นขางมาก สเี หลอื งออน เน้อื ละเอียด ไสตบแตงงาย ควรอาบนํ้ายา นยิ มใชท าํ พน้ื ฝา กรอบประตหู นา ตาง เครือ่ งเรอื น ลงั ใสข อง แกะสลกั ดา มเครอ่ื งมอื เกษตรกรรม ของเลน และไมอดั นิยมใชในทองถิ่น ใบและรากใชป รงุ ยา การขยายพันธุ เพาะเมลด็ เมล็ดขนาดเล็กและมีจํานวนมากกวา 10 ลา น เมลด็ ตอ น้ําหนัก 1 กโิ ลกรัม ควรเก็บ ผลทแี่ กแตย ังไมแ ตกเพื่อไมใหเมลด็ แพรก ระจาย เมลด็ เก็บไวไดนานไมเ กนิ 1 ป ควรนาํ เมลด็ แชน ํา้ ประมาณ 12 ช่ัวโมง กอนนําไปเพาะ ควรเพาะในกระบะทราย แลวโรยดินคลุมอีกชน้ั หนง่ึ รดนํ้าพอชมุ สมา่ํ เสมอ การยา ยกลาลงถงุ ควรมอี ายุ 2–3 เดอื น ขอแนะนาํ เปน ไมเบิกนาํ และโตเร็วของปา ผลัดใบผสม และปาดบิ แลง ตอ งการแสงมาก ทนแลงและ ไฟปา ไดด ี แตช อบพนื้ ทีท่ ด่ี ินลึก การระบายนาํ้ ดี ตน จะสงู ใหญ ไมเหมาะสาํ หรบั การปลูกใหร มเงากับพชื เกษตร เนื่องจากใบมพี ิษ และรากแผก ระจายหนาแนน ขอ มลู เพม่ิ เตมิ อนกุ รมวธิ านพชื อกั ษร ข. (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2538); ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); PROSEA No. 5 (3) (1998) 28

จาํ ปาปา Magnolia baillonii Pierre วงศ MAGNOLIACEAE ชอื่ อน่ื จมุ ป (ภาคเหนอื ); จาํ ปา (จนั ทบรุ ี); จําปป า (ภาค ตะวนั ออก) ลกั ษณะวสิ ัย ไมเนอ้ื ออ น โตเรว็ ไมผลัดใบ ขนาดกลาง ถงึ ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 40 ม. เรอื นยอดกลม คอ นขา งโปรง เปลอื กแตกเปน รอ งต้นื สีเทาปนนํ้าตาล ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี ําคญั ปลายกง่ิ และหใู บ มีขนส้ันนุมสีนํ้าตาล มีรอยแผลของหูใบที่หลุดรวง ใบเรียง เวียน รูปรหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 8–22 ซม. แผนใบดา นลางมี ขนหนาแนน กานใบยาว 3–5 ซม. ดอกออกเดยี่ ว ๆ ตามซอก ใบ กลบี ดอกสขี าวครมี มี 12–18 กลีบ ยาว 2–2.5 ซม. มีกล่ิน หอม ผลกลมุ ทรงรี ยาว 5–8 ซม. เปลอื กขรุขระ เมล็ดคอ นขา ง กลม แกม ีสแี ดงสด เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย (อัสสมั ) จีนตอนใต พมา กมั พูชา เวยี ดนาม ไทย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ กระจายในปาดิบเขา และปาดบิ แลง ในระดับสูง โดยเฉพาะ ตามใกลรอ งหว ย ทางภาคเหนือ ระดบั ความสูง 500–1,300 ม. ผลแกเดือนสิงหาคม–กนั ยายน ประโยชน เน้อื ไมแข็งปานกลาง คอนขา งออน ตา นทานปลวกและแมลงไดไ มด ีนกั เนือ้ สีสวยงาม เหมาะตองาน แกะสลัก ทําประตหู นาตา ง เฟอรน ิเจอร พมุ ใบดก ดอกหอม ปลูกเปน ไมประดบั ไดดี การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด โดยการเกบ็ เมล็ดท่หี ลนจากตนใหม ๆ หรือเก็บเมล็ดจากตน โดยเลอื กผลท่ีแกจ ัดเหน็ เมลด็ สแี ดงสด ถาตกถงึ พนื้ มักถกู แมลงเจาะ นํามาผ่งึ ในที่รม 1–2 วนั จนผลแตก แลว แกะเมลด็ นําไปเพาะ ควรคลุกยา ฆา เชอื้ ราและแมลงกอ น ใชถุงพลาสตกิ คลมุ รกั ษาความช้นื เมลด็ จะงอกภายในเวลา 45–60 วนั เมล็ดมีอายสุ ้ันเพยี ง 2–3 สปั ดาห กลาไมควรนาํ ออกตงั้ กลางแจง กอ นนาํ ไปปลกู ขอแนะนํา เปน ไมเบิกนํา โตเร็ว แตชว งแรกโตคอนขา งชา ตองการแสงและความชืน้ คอนขา งมาก ไมท นไฟ ทรงพมุ หนาแนนใหร ม เงาไมอ ่นื ไดดี และปองกันการชะลางของหนาดิน เหมาะสําหรบั ปลกู ฟน ฟู ปาดบิ แลง ระดับสงู และปา ดบิ เขา โดยเฉพาะพื้นทีต่ น นํ้า โดยปลูกรวมกับไมโตชา ชนดิ อน่ื ๆ ไดห ลายชนดิ ขอ มลู เพ่ิมเติม จาํ ปาปา (กรมปา ไม, 2553); พรรณไมตนของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรป า ไม, 2542); ตนไม เมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); แมกโนเลยี เมอื งไทย (ปย ะ, 2545); Flora of Thailand Vol. 2 (3) (1981) 29

จิกนา Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. วงศ LECYTHIDACEAE ชอ่ื อืน่ กระโดนทุง, กระโดนนาํ้ (ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ); จิกน้ํา, จิก (ภาค กลาง); ปยุ สาย, ลาํ ไพ (อุตรดิตถ) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือออน โตเร็ว ไมผลัดใบ ขนาดเลก็ สูงไดประมาณ 15 ม. แตกก่ิงตํ่าแผกวาง คอนขางกลม เปลือก หนา ขรุขระหรือแตกเปนรองตื้นตามยาว สีนํ้าตาลเทา แตกหนอ ไดด ี ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ีสําคัญ ใบเรียงเวียน รูปไขกลับ ยาว 7–20 ซม. ปลายใบมนและหยักเปนติ่งแหลม โคนใบ สอบเรียว ขอบใบจักซ่ีฟน กานใบยาว 0.8–1 ซม. ชอ ดอกยาว 20–60 ซม. หอ ยลง ดอกสีแดงเขม มีกลิ่นหอม มกั รวงในตอน เชา กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 4 กลบี กลบี ดอกสแี ดง ยาว 0.6–1 ซม. มวนงอกลับ เกสรเพศผจู าํ นวน มาก สีแดงเขม โคนสชี มพู เช่อื มตดิ กันท่ีโคน ยาวกวา กลีบดอก รังไขอ ยใู ตว งกลีบ ผลแบบผลสดมหี ลายเมล็ด ขนาด ใหญ มสี ันตามยาว 4 สัน เมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก เขตการกระจายพนั ธุ อฟั กานสิ ถาน อนิ เดีย เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ออสเตรเลีย การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นตามท่ีราบนํ้าทวมถึง โดยเฉพาะปาบึงนํ้าจืด และตาม ชายน้ําท่ีโลงแจงที่มีชั้นดินลึก ทั่วทุกภาคของประเทศ ระดับความสูงจนถึงประมาณ 300 ม. ออกดอกเดือนมีนาคม– พฤษภาคม ผลแกเ ดอื นพฤษภาคม–มิถนุ ายน ประโยชน ยอดออ นและดอกออ น รบั ประทานเปนผักสด รากใชเปน ยาระบาย เปลือกใชชะลา งบาดแผล และ เบ่ือปลา ใบแกทอ งรวง เมล็ดเปนยาขบั ลมแกรอนใน ทรงพมุ กลมสวยงาม ดอกหอม นยิ มปลูกแตงสวนรมิ นาํ้ การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เมล็ดมีอายสุ ั้น ควรรบี เพาะทนั ที ขอแนะนาํ เปน ไมเบิกนําของปาบงึ นํา้ จืด และพ้นื ที่ชายน้ํา ชอบแสงแดดจัด เปนไมท ่ที นน้ําทว ม แชข งั หรอื จมอยใู ตน้าํ ไดน านมากกวา 2 เดือน มรี ะบบรากหนาแนน และแขง็ แรงสามารถแตกหนอจากรากไดดี จนขน้ึ เปน กอแนน เหมาะสําหรบั ปลูกฟนฟพู น้ื ท่ีปาบึงนาํ้ จืด ปาชายนา้ํ หรอื คันดนิ กั้นนํ้าทว ม เพือ่ ปอ งกนั การ พังทลายของตลิง่ และชวยเสริมความแข็งแรงใหก บั แนวคันดนิ ขอ มลู เพ่ิมเตมิ Kew Bulletin 50 (4) (1955) 30

เฉยี งพรานางแอ Carallia brachiata (Lour.) Merr. วงศ RHIZOPHORACEAE ชื่ออ่ืน กวางลา มา (ตราด); แก็ก, วงคด, องคต (ลําปาง); ตอ ไส, สนั พรานางแอ (ภาคกลาง); นกขอ, สมปอง (เชียงใหม); บงคด (แพร); สฟี นนางแอ (ภาคเหนอื ); โองนั่ง (อุตรดิตถ) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือออน โตเร็ว ไมผลัดใบ ขนาดเล็กถึงขนาด กลาง สงู ไดป ระมาณ 20 ม. เปลอื กคอ นขางเรยี บ หรอื ขรขุ ระเลก็ นอ ย สีนาํ้ ตาลปนเทา เปลอื กในสีเหลืองคลา้ํ ลักษณะทางพฤกษศาสตรทีส่ าํ คญั หใู บรว ม รปู ใบหอก ปลาย เรียวแหลม ยาว 1–2.5 ซม. รวงงา ย ใบเรยี งตรงขามสลับต้ังฉาก แผน ใบมีจุดสีนํ้าตาลกระจาย ดอกออกเปนชอกระจุกส้ัน ๆ ตามซอกใบ กลบี ดอกและกลบี เลยี้ งมจี าํ นวนอยา งละ 5–8 กลบี กลบี เลย้ี งตดิ ทน ยาว เทา ๆ กลีบดอก กลบี ดอกสเี ขียวออน แยกกัน เกสรเพศผมู จี าํ นวน เปน 2 เทาของจํานวนกลีบดอก ยาวไมเทากัน อันสั้นติดตรงขาม กลีบเล้ียง อันยาวติดตรงขามกลีบดอก จานฐานดอกเปนวง ผลสด เนอื้ ฉาํ่ นา้ํ ทรงกลม เสนผานศนู ยก ลาง 0.5–1 ซม. ผิวเกลี้ยง สุกสแี ดง มี 1–5 เมล็ด เมล็ดรูปไต เขตการกระจายพันธุ มาดากสั การ ศรีลังกา อินเดีย พมา ลาว กมั พูชา เวียดนาม ไทย มาเลเซยี อินโดนเี ซีย ออสเตรเลยี ทางตอนบน การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขน้ึ กระจายใน ปาผลัดใบผสม ปาดิบแลง ปาบึงนาํ้ จดื และปา ดิบช้นื ในปาผลดั ใบผสม มักพบใกลแหลงนํ้า ระดบั ความสงู ถึงประมาณ 1,300 ม. ออกดอกเดอื น มกราคม–กมุ ภาพันธ ผลแกเดือนมีนาคม–มถิ นุ ายน ประโยชน เนื้อไมออน คอนขางแข็ง ใชกอสราง เฟอรนิเจอร ไมแบบ เครื่องดนตรี หรอื ไมคา้ํ ยนั ทาํ ไมฟนและถานใหค วามรอนสูง ผล รสหวาน รับประทานได และเปน อาหารสตั วป า ชวยดึงดดู นกไดดี การขยายพันธุ เพาะเมล็ด เมล็ดควรเก็บแลวนําไปเพาะทนั ที โดยทาํ การลา งเอาเน้ือทฉี่ าํ่ นา้ํ ออกกอน หามนาํ ไป ผ่งึ แดด หากจาํ เปน ตอ งขนสงไปไกล ๆ กค็ วรใสภาชนะทโี่ ปรง อากาศถา ยเทไดด ี การเก็บเมลด็ ควรเฝา สงั เกตชวงเวลาให ดี เพราะเฉียงพรานางแอมกั จะผลติ เมล็ดจาํ นวนมากเกอื บทกุ ป แลวสุกรวงหลนใตตน พรอ ม ๆ กันในชว งเวลาส้ัน ขอ แนะนํา เปนไมเบกิ นํา โตเรว็ ชอบขึ้นในทโ่ี ลงแจง หรือชายปา ปกติมกั พบขึ้นตามชายนํ้า แต สามารถขึ้นไดบนพ้ืนทลี่ าดชันเล็กนอ ย เหมาะสําหรับปลกู ฟนฟสู ภาพปา เสือ่ มโทรมทใี่ กลแหลง นํ้า ปลูกผสม ผสานกับไมโ ตชาและโตเรว็ ไดห ลายชนดิ โดยไมปาชายนํ้า และไมว งศยาง ขอ มูลเพมิ่ เติม ตนไมเมอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); PROSEA 5 (3) (1998); Flora of Thailand Vol. 2 (1) (1970) 31

ซอ Gmelina arborea Roxb. วงศ LAMIACEAE (LABIATAE) ชอ่ื อนื่ ชอ งแมว (ภาคกลาง); แตง ขาว (เชยี งใหม) , เปา นก (อุตรดิตถ); เฝง (เพชรบุรี, ภาคเหนือ); มาเหล็ก (กาญจนบุร)ี ; สันปลาชอ น (สโุ ขทัย) ลกั ษณะวิสยั ไมเ นอ้ื ออนหรือแขง็ ปานกลาง โตเร็ว ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงไดประมาณ 25 ม. เปลอื กเรียบ ลอ นเปนแผนเลก็ นอ ย สนี ํา้ ตาลออน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งตรงขา ม สลบั ตง้ั ฉาก รปู ไข ยาว 7–20 ซม. โคนใบคลา ยรปู หวั ใจ แผน ใบดา นลา งมีนวลและขนสัน้ นุม มตี อมใกลโ คน เสน แขนง ใบออกจากโคนใบ 1 คู ชอ ดอกออกตามปลายกงิ่ ยาว 7–15 ซม. กลบี เล้ียงตดิ ทน กลีบดอกรูปปากแตรโปง ดานเดยี ว ยาว 2–4 ซม. สีสมคล้าํ กลบี ลางกลีบกลางดา นในมสี เี หลอื ง แซม เกสรเพศผูส ้ัน 2 อนั ยาว 2 อัน รังไขเกลีย้ ง ผลแบบ ผลผนงั ช้นั ในแข็ง ทรงรี ยาว 2–3 ซม. สุกสเี หลือง มีกลนิ่ เหมน็ เพ่อื ดึงดดู นกและคา งคาวในการชว ยแพรกระจายพนั ธุ เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย ปากสี ถาน ศรีลังกา เนปาล บังคลาเทศ ภูฏาน พมา จนี ตอนใต ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย การกระจายพันธแุ ละนิเวศวิทยาในประเทศไทย ข้นึ ท่ัวไปในปาผลดั ใบผสม ปาดบิ แลง ปาดบิ เขา และปา ดิบ ชนื้ ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ ระดบั ความสูงจนถึงประมาณ 1,500 ม. ดอกออกเดือนเมษายน–พฤษภาคม ติดผลเดอื น พฤษภาคม–สงิ หาคม ประโยชน เนือ้ ไมแข็งปานกลาง ใชในการกอ สรางท่ีไมตอ งการความแข็งแรงมากนัก เนอ้ื ไมส ขี าวนวล ใชทําเคร่อื ง เรอื น เครอ่ื งดนตรี ของเลน เดก็ นยิ มปลกู เปน ไมส วนปา ในหลายประเทศทง้ั ในทวปี เอเชยี แอฟรกิ า และอเมรกิ าใต สาํ หรบั ใชเปนไมฟ น และปลกู เปนไมใหรมเงาใหพ ืชเกษตร ใบและผลใชเล้ยี งสัตว การขยายพันธุ เพาะเมล็ด โดยเก็บจากโคนตน หรือบนตน ไมควรเกบ็ เมล็ดทเ่ี ปล่ียนเปน สีดําแลว ลางเปลือกออก แชน าํ้ 1–2 วนั หรอื แชน าํ้ และผง่ึ ใหแ หง สลบั กนั ประมาณ 7 วนั เมลด็ ใชเ วลางอก 30–45 วนั อตั ราการงอกประมาณรอ ยละ 60–80 เมลด็ แหงสามารถเกบ็ ไวไดนาน ขอ แนะนาํ เปน ไมเบกิ นํา โตเรว็ ชอบแสงแดดจดั ขึน้ บนพื้นท่ดี นิ ลึกหรอื มีความชืน้ ปานกลาง เหมาะสําหรบั การฟน ฟูสภาพปาผลดั ใบผสมช้นื ปาดบิ แลง และปาดิบเขาระดบั ต่าํ แตไ มเ หมาะสําหรับพน้ื ที่ ราบลุมนํา้ ทวมถงึ สามารถปลูกผสมผสานกบั ไมโ ตชา และโตเรว็ ในปา ผลดั ใบผสมไดห ลายชนดิ ขอควรระวงั แมลงเขา เจาะทําลายไดงา ย ขอ มลู เพิม่ เตมิ ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); PROSEA 5 (1) (1993); Flora of China Vol. 17 (1994) 32

ตองแตบ Macaranga denticulata (Blume) Müll. Arg. วงศ EUPHORBIACEAE ชอื่ อนื่ กะหลาํ ปา ง, สลาปา ง (ตราด); ตองเตา (ภาคเหนอื ); เตาแมว , ปอขแ้ี ฮด (เชียงใหม) ; ปอหมัน (แพร) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือออน โตเร็ว ไมผลัดใบ ขนาดเล็ก สงู ไดป ระมาณ 10 ม. ทรงพมุ กลมเตย้ี และแผอ อกขา งไดด ี กง่ิ กา น เปน สนั มขี ยุ สเี ทาแกมเหลอื งหนาแนน ทัว่ ไป ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูป สามเหล่ียมเกือบกลม ยาวไดประมาณ 15 ซม. กานใบติดลึก จากโคนใบ ประมาณ 1 ซม มตี อ มเล็กๆ หลายตอ มบริเวณ รอยตอ กา นใบ ขอบใบจักซ่ฟี น แผน ใบดานลางมีขุยหรือขนสน้ั นุม ใบแกเ กลีย้ ง ดอกเพศผูและดอกเพศเมียอยตู า งตน ไมม ี กลบี ดอก ชอ ดอกเพศผขู นาดเลก็ ดอกเรยี งซอ นกันแนน กลีบ เลยี้ ง 3 กลบี เกสรเพศผมู ปี ระมาณ 15 อนั ชอดอกเพศเมียเปน ชอแนน ผลแบบผลแหง แตก แยกเปน 3 พู มี 1 ผลตอ 1 กลมุ ชอดอก ผลแหงมตี อ มเปน ตมุ เลก็ ๆ สเี ขม ทั่วไป เมลด็ สีดาํ เขตการกระจายพันธุ อินเดยี เนปาล พมา ศรีลงั กา จีน ลาว ไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขน้ึ ตาม ชายปา หรอื ปา เสอ่ื มโทรมในปา ผลดั ใบผสม ปา ดบิ แลง ปา ดบิ ชน้ื และปา ดบิ เขาทว่ั ประเทศ จนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 1,300 ม. ผลแกป ระมาณเดือนสิงหาคม–ตลุ าคม ประโยชน เนอ้ื ไมอ อ น ใชใ นงานกอ สรา งชว่ั คราว ตกแตง ภายใน หบี ไม ไมแ บบ กา นไมข ีด ไมฟน ในประเทศฟลปิ ปน สใช ทาํ รองเทาไม การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ แกะเยอ่ื หมุ เมลด็ ออกและแชน าํ้ 12–24 ชว่ั โมง กอ นนาํ ไปเพาะ อตั ราการงอกประมาณ รอยละ 90 เมลด็ ใชเวลางอก 18–39 วัน ขอ แนะนํา เปนไมเบิกนํา ชอบแสงแดดจัด ความช้นื ปานกลาง ปลูกงาย โตเร็ว ติดผลใหเมล็ด รวดเร็วและมจี ํานวนมาก เหมาะสําหรบั ฟน ฟสู ภาพปาทัง้ ในที่ราบลุม จนถงึ ปา ดิบเขา สามารถแผเรือนยอด ปกคลมุ วชั พชื ไดอ ยางรวดเรว็ เพราะคอ นขางเปน พมุ เตย้ี และอายุสนั้ คอนขางส้นั ขอมลู เพิม่ เตมิ ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543); PROSEA No. 5 (3) (1998); Flora of Thailand 8 (2) (2007) 33

ตะเคยี นทอง Hopea odorata Roxb. วงศ DIPTEROCARPACEAE ช่อื อื่น เคียน, ตะเคยี น, ตะเคยี นใหญ (ทัว่ ไป); จะเคียน (ภาคเหนือ); แคน (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ) ลกั ษณะวิสัย ไมเนือ้ แข็ง โตคอ นขา งเร็ว ไมผ ลดั ใบ ขนาด กลางถงึ ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 45 ม. ลาํ ตน เปลาตรง มพี พู อน ท่ีโคน เปลือกหนาสีนํ้าตาลดํา แตกเปนรองตามยาว หรือลอก เปน สะเกด็ เปลือกในหนา สเี หลอื งขุน มรี ิว้ สีชมพู ใหชนั สขี าว ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ีสําคัญ หูใบขนาดเล็ก ใบ โคงคลายรูปเคียว ยาว 5–14 ซม. ดานลางมักมีตอมที่ซอก ระหวางเสนกลางใบกับเสนแขนงใบ เสนใบยอยแบบข้ัน บนั ได ชอ ดอกยาว 3–10 ซม. แตกแขนงดา นเดยี ว ดอกขนาดเลก็ มีกลนิ่ หอม กลีบบดิ เวียน ขอบเปน ชายครุย เกสรเพศผู 15 อนั ปลายอับเรณูเปนระยางค รังไขมีฐานกานยอดเกสรเพศเมีย ผลมปี ก ยาว 2 ปก ยาว 3–6 ซม. ปก สน้ั 3 ปก ยาว 0.5–0.7 ซม. เมล็ดมีเกล็ดเปนขุย ปลายเปน ตงิ่ แหลม เขตการกระจายพันธุ อนิ เดีย บงั คลาเทศ พมา ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม ไทย คาบสมุทรมลายู การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวิทยาในประเทศไทย ขึ้นกระจายในปาดิบแลง ปา ดบิ ชื้น และปาบุง-ปาทาม ตาม ริมลําธารปา ผลัดใบผสม และในทีร่ าบลุมใกลแมนํา้ ทวั่ ประเทศ ระดับความสงู ไมเ กิน 600 ม. ไมพ บขึ้นเปนกลุมหนาแนน เปนบริเวณกวา ง ออกดอกเดอื นกมุ ภาพนั ธ–มีนาคมหรือตนเดอื นเมษายน ผลแกเ ดือนพฤษภาคม–กรกฎาคม หรือเลย ไปจนถงึ เดือนพฤศจิกายน สวนมากจะออกดอกติดผลในรอบประมาณ 2–3 ป ประโยชน เน้ือไมแข็ง ทนทาน สเี ขมเมือ่ โดนอากาศ นยิ มใชทาํ เรอื ขุด ทาํ ไมห มอนรถไฟ เครอ่ื งเรือน และการ กอสรางท่ีตองการความแข็งแรง ชัน นาํ ไปผสมนาํ้ มนั ใชยาแนวเรอื หรอื เคลอื บเงา มสี รรพคุณทางสมุนไพรรักษาแผลสด เปลอื กใชเค้ยี วกบั หมาก แกปวดฟน นิยมปลูกเปน พชื สวนปา ใหรม เงาแกพืชเกษตรอนื่ ๆ การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ปก ชาํ เมลด็ ทร่ี ว งใหม ๆ หรอื เมลด็ แกบ นตน มอี ตั ราการงอกสงู เมลด็ เกบ็ ไวท อ่ี ณุ หภมู ิ ประมาณ 15 องศาเซลเซยี ส ไดไมเกิน 2 สัปดาห เด็ดปก ทง้ิ กอ นนาํ ไปเพาะ แชน าํ้ ไว 8–12 ชว่ั โมง เมล็ดงอกใชเวลา 1–4 สปั ดาห การปลูกโดยเปลือยรากมอี ัตราการรอดตายสูง แตตอ งตัดแตง รากกอน ขอแนะนาํ เปนไมเนือ้ แข็ง เจรญิ เตบิ โตคอนขางเร็ว คลายยางนา ชว งเปนกลา ไมชอบแสง ชอบขึ้น ใกลชายนํ้าและมีระบบรากแขง็ แรงหนาแนน กวา ยางนา ทนตอนาํ้ ทว มขงั เปน เวลานานมากกวา 1 เดอื น เหมาะ สมตอการปลกู เพอ่ื รกั ษาตล่งิ หรือปลูกในพน้ื ที่ราบลุมน้ําทว มถึง สาํ หรบั ในพ้ืนท่รี มิ หว ยในเขตตน น้ําอาจพบตน ตะเคียนทองขน้ึ อยไู ดบ างเลก็ นอย แตส วนใหญแลวไมใชพนื้ ท่ที เ่ี หมาะสมทจี่ ะปลกู ตะเคยี นทองใหไดผลดี ขอ มูลเพิ่มเตมิ ตะเคยี นทอง (กรมปา ไม, 2553); พรรณไมต น ของประเทศไทย (สว นพฤกษศาสตรป าไม, 2542); ตน ไมเมอื งเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); PROSEA No. 5 (1) (1993) 34

ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Wall. ex Guillem. & Perr. วงศ COMBRETACEAE ชอื่ อืน่ หมากเปยก (นครราชสมี า); เบน (พจิ ิตร, ประจวบครี ขี ันธ); เหว (ภาคเหนอื ); เอ็นมอญ (เลย) ลกั ษณะวสิ ยั ไมเ นอื้ แขง็ ปานกลาง โตคอ นขา งเรว็ ผลดั ใบชว งสน้ั ๆ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 40 ม. เรือนยอดโปรง ลาํ ตน เปลาตรง เปลือกสนี ํา้ ตาล เทาถงึ สเี ทาดํา แตกเปน รองตามยาว ตนเล็กมกี ิ่งท่ลี ดรปู คลา ยหนาม ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบเรยี งตรง ขามหรือเกือบตรงขาม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3.5–8.5 ซม. มีตอมหน่ึงคทู ่เี สน ใบใกลโ คนใบ แผนใบ เหนยี ว ดา นลา งสเี ขยี วเทา มขี นสั้นนุมหรอื ขนคลา ย ไหมปกคลมุ ชอ ดอกแบบชอ กระจกุ แนน ออกตามซอก ใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองออน มีกล่ินหอมออน ๆ ผลแบบผลแหงแตก ตดิ เปน กลมุ ทรงกลม ๆ คลา ยหนาม รอบ เสน ผาศนู ยก ลาง 1–2 ซม. สนี ํ้าตาล เขตการกระจายพันธุ อนิ เดยี บังคลาเทศ พมา จนี ตอนใต ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม ไทย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขน้ึ ตามปา ผลดั ใบผสมและปา ดบิ แลง ใกลล าํ ธาร ตามทล่ี าดชนั บนสนั เขา โดยเฉพาะทเ่ี ปน หนิ ปูน ระดบั ความสงู ไมเ กิน 1,000 ม. พบเกือบทั่วประเทศ ยกเวนทางภาคใต ผลใิ บใหม พรอ มออกดอกชวงเดือนมนี าคม–เมษายน ผลแกเดือนกันยายน–พฤศจกิ ายน ผลิตเมล็ดจาํ นวนมาก มกี ารสบื พันธุตาม ธรรมชาติดี ประโยชน เน้ือไมแ ขง็ ปานกลาง สีขาวเทา เหมาะสําหรับงานเฟอรนิเจอรภายใน ทาํ กลองหรอื ลงั การขยายพันธุ เพาะเมลด็ เมลด็ ควรมอี ายไุ มเ กนิ 1 ป ปก ชาํ การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื ไดผ ลดี สาํ หรบั การใชเ หงา ปลกู กลาควรมอี ายุเกิน 2 ป ขอแนะนาํ เปน ไมเ บิกนาํ ทนแลง และทนไฟ เรอื นยอดคอนขา งโปรง เหมาะสําหรบั ฟนฟสู ภาพปา ผลัดใบผสมหรือปา ดบิ แลง ทีแ่ หงแลง และพืน้ ท่ที ี่มีชัน้ ดนิ คอนขางลึก การระบายนาํ้ ดี สามารถปลูกผสมผสาน กับไมโ ตเร็วและโตชา ไดห ลายชนดิ ของปาผลดั ใบผสม โดยเฉพาะสัก ขอมูลเพมิ่ เตมิ พรรณไมต นของประเทศไทย (สว นพฤกษศาสตรปา ไม, 2542); ตน ไมเ มืองเหนอื (ไซมอน และ คณะ, 2543); Kew Bulletin 3 (4) (1979) 35

ตะแบกนา Lagerstroemia floribunda Jack วงศ LYTHRACEAE ช่อื อ่นื ตะแบกไข (ราชบุร)ี ; ตะแบก, ตะแบกนํา้ , ตะแบกแดง (ภาค กลาง); เปอยดอง, เปอยนา, (ภาคเหนือ); เปอยหางคาง (แพร) ลักษณะวิสัย ไมเนื้อแข็งปานกลาง โตคอนขางชาในระยะแรก ผลัดใบชว งสน้ั ๆ หรอื ตลอดฤดแู ลง ขนาดเลก็ หรอื กลาง สงู ไดป ระมาณ 30 ม. มีพพู อน แตกกงิ่ ต่าํ แผก วา ง เปลอื กแตกลอนเปน หลุมตน้ื สีขาว เนอ้ื ไมสีนํา้ ตาลแดง แตกหนอไดด ี ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั ใบเรยี งตรงขามหรอื เกอื บ ตรงขาม รปู ขอบขนานหรือรูปใบหอก แผน ใบเกลยี้ ง ใบออ นสีน้ําตาล แดง ชอ ดอกขนาดใหญ ออกตามปลายกง่ิ ดอกจาํ นวนมาก กลบี เล้ียง รปู ถวยมีจีบเปน คล่นื 6 จีบ มีขนหนาแนน สนี ํ้าตาลออ น ปลายแยก 6 กลีบ กลบี ดอก 5 กลบี เสนผานศนู ยกลาง 3–3.5 ซม. แผนกลีบยน สีมวงปนชมพูหรือสีขาว เกสรเพศผูจํานวนมาก ผลแบบผลแหงแตก มี 6 ซีก ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดขนาดเลก็ จํานวนมาก ปลายมปี ก เขตการกระจายพันธุ กัมพชู า เวยี ดนาม ไทย มาเลเซยี การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ข้ึนกระจาย ทว่ั ไปในปาผลัดใบผสม ปาดิบแลง ปา บึงน้ําจืด และที่ราบลุมน้ําทว มถงึ หรือตามทองไรทองนา ท่ัวทุกภาคของประเทศ ระดับความสูงจนถึง ประมาณ 700 ม. ออกดอกแทบตลอดทั้งป ผลแกเดือนมนี าคม–เมษายน ประโยชน เนอื้ ไมล ะเอยี ด คอ นขา งแขง็ ใจกลางมกั เปน โพรง ใชก อ สรา ง เสา กระดานพน้ื และเครอื่ งมอื การเกษตร ออกดอกดก สวยงาม นยิ มปลกู เปน ไมป ระดบั ขา งถนนหรอื สวนสาธารณะ เปลอื ก แกบ ดิ ทอ งรว ง เนอ้ื ไม ขบั โลหติ ระดสู ตรี บาํ รุงโลหติ ใบ แกไข ดอก บํารงุ ตับและหวั ใจ การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด เพาะงา ย อตั ราการงอกสูง ขอแนะนาํ เปนไมเ บิกนํา โตเรว็ ชอบแสงแดดจัด โตชา ในระยะกลา ไม เหมาะสาํ หรบั ปลกู ฟน ฟู สภาพปา ผลดั ใบผสม ปา ดิบแลง ปา บึงน้าํ จดื และทีร่ าบลุม ท่ัวไป แตสามารถข้ึนไดในพ้นื ทีล่ าดชัน ปอ งกนั การพงั ทลายของตลิ่ง ทนทานตอน้าํ ทวมไดน านกวา 2 เดอื น ทนแลง และไฟปา ไดดี สามารถปลูกรว มกบั ไมใ น ปาชายน้ําไดดี เชน จกิ นา ตะเคียนทอง ยางนา และสนนุ เปน ตน ขอ มูลเพิ่มเตมิ ตนไมเมืองเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); A revision of Lagerstroemia (Furtado, 1969) 36

ทองเดือนหา Erythrina stricta Roxb. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE) ชอ่ื อืน่ ทองเหลือง (ภาคเหนอื ); ทองหลางปา (เชยี งใหม); ทองหนาม (เลย) ลกั ษณะวิสยั ไมเนือ้ ออ น โตเร็ว ผลัดใบ ขนาดกลางถึง ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 25 ม. เปลอื กแตกเปน รอ งลกึ ตามยาว หนาคลายไมก อ ก สนี าํ้ ตาลปนสม ตน และก่ิงมีหนามทว่ั ไป ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท สี่ าํ คญั ใบประกอบแบบขน นกมี 3 ใบยอ ย ใบยอ ยรปู ไขก วา ง ปลายใบแหลม โคนใบตดั มน ชอ ดอกแบบชอ กระจะ ออกตามปลายกงิ่ กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กนั คลายกาบ สีมว งแก กลีบดอก 5 กลีบ รูปดอกถั่ว กลีบบนมี ขนาดใหญส แี ดงสดหรอื สสี ม ผลเปน ฝก รปู ทรงกระบอก แหง แลว แตก เมล็ดรูปไต เขตการกระจายพนั ธุ เนปาล พมา ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม ไทย มาเลเซีย อนิ โดนเี ซีย ฟล ปิ ปนส การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ ทวั่ ไปในปา ดบิ ชนื้ ปา ดบิ แลง ปา ดบิ เขา และปา ผลดั ใบผสม หรือตามเขาหนิ ปนู โดยเฉพาะปา เสอื่ มโทรม ปา ไผ หรอื ชายน้าํ ระดับความสงู 350–1,700 ม. ออกดอกเดอื นมกราคม– มีนาคม ฝก แกจดั ประมาณเดอื นพฤษภาคม ประโยชน เนอ้ื ไมใ ชทาํ ฟน รากตมดืม่ บํารงุ กาํ ลัง มีดอกสีแดงสดสวยงามสามารถปลูกประดับได และเปนท่ีดงึ ดดู นกและแมลงกินนา้ํ หวาน ใบออ นรับประทานเปนผกั สดคลายใบทองหลาง ฝก ใชเ ล้ียงสตั ว การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เก็บฝก สีนา้ํ ตาล ทิง้ ไวใ หแ หง และแตกออก นําเมล็ดแชในนาํ้ นาน 12 ชวั่ โมง กอ นนาํ ไปเพาะในทีแ่ สงรําไร อัตราการงอกประมาณรอ ยละ 70 เมลด็ มีอายุไมนาน จึงควรรบี เพาะ ขอแนะนาํ เปนไมเบกิ นาํ โตเร็ว ทนทานตอไฟปา และความแหง แลงไดด ี ชอบแสงแดดจดั ชวย ปรบั ปรงุ คณุ ภาพดิน รากลกึ เหมาะสาํ หรับการปลูกฟน ฟสู ภาพลุม นาํ้ และพน้ื ทีต่ นน้ําทง้ั ในระดบั ต่าํ และใน ระดับสูง สามารถปลูกผสมผสานกบั ไมโตชาไดห ลากหลายชนดิ รวมทัง้ กอ ตา งๆ และสักซ่ึงมีระบบรากต้ืน ขอ มลู เพม่ิ เตมิ ตน ไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และคณะ, 2543), เมลด็ และกลา ไมย นื ตน : เพอ่ื การฟน ฟปู า ในภาคเหนอื ของประเทศไทย (มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, 2543) 37

ทะโล Schima wallichii (DC.) Korth. วงศ THEACEAE ชื่ออน่ื กรรโชก (ภาคตะวันออก); กาโซ (นครพนม); คาย, ทะโล, สารภปี า (ภาคเหนอื ); คายโซ, จําปาดง, พระราม (เลย, หนองคาย); มงั ตาน (ภาคใต) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือแข็งปานกลาง โตเร็ว ไมผลัดใบ ตนขนาดใหญ สูงไดป ระมาณ 45 ม. ลาํ ตน เปลาตรง มพี ูพอน เปลอื กแตกเปน สะเกด็ เปลอื กในสนี าํ้ ตาลแดง มผี ลกึ แรใ ส คายมอื เนอ้ื ไมส ีนํา้ ตาลแดง ลักษณะทางพฤกษศาสตรที่สําคัญ ใบเรียงเวียน รูปรี หรอื รูปขอบขนาน ยาว 6–13 ซม. ขอบใบจกั หรอื เกือบเรียบ ใบออ นสนี า้ํ ตาลแดง ดอกออกเดย่ี ว ๆ ตามซอกใบ ออกหนา แนน ชว งปลายก่ิง กลบี เล้ียง 5 กลบี ขนาดไมเ ทากนั ติดทน กลบี ดอก 5 กลบี สขี าว เชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คน เกสรเพศผจู าํ นวนมาก ผลแบบผลแหง แตก มี 5 ซกี เมลด็ จาํ นวนมาก ขนาดเลก็ มปี ก การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ขึ้น กระจายเปน บรเิ วณกวา ง ในปา ดบิ ชนื้ ปา เตง็ รงั และปา ดบิ เขาสงู ตลอดจนพ้ืนท่ีปา เส่ือมโทรมหรือทุงหญาเปดโลง จากชายทะเล จนถงึ ระดบั ความสงู 2,500 ม. ออกดอกแทบตลอดทั้งป ผลแกเ ดือนมนี าคม–เมษายน เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย เนปาล จีนตอนใต พมา ลาว เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ปาปวนวิ กนิ ี ประโยชน เน้ือไมแ ขง็ ใชในการกอ สรา ง ทําไมอัด ไมพ้นื เพดาน สะพาน ตอ เรือ เคร่ืองมือทางเกษตรกรรม หบี ไม เสา เครอ่ื งกลงึ แตไ มเ หมาะใชท าํ ไมฟ น เนอ่ื งจากเปลอื กทาํ ใหค นั ได เปลอื กมสี ารอลั คาลอยดใ ชเ บอื่ ปลา ใบเปน อาหาร สตั ว ใบดอก ปลกู ใหร ม เงาใหพืชเกษตรไดดี การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เกบ็ ผลแกกอ นแตก แลวผง่ึ ใหแ หง ใหเ มล็ดหลดุ ออกจากผล ประมาณ 2 สปั ดาห นําไป เพาะไดเลย หรอื นําเมล็ดไปแชน า้ํ 12 ช่ัวโมง เพาะในทแี่ สงราํ ไร เมล็ดทีแ่ กจ ัดมีอตั ราการงอกรอ ยละ 90 เมลด็ ใชเวลา งอก 10–12 วนั เกบ็ ไวไดน านประมาณ 6 เดือน ขอแนะนํา ไมเบกิ นาํ โตเรว็ ขึน้ ในทีโ่ ลงแจง ทนไฟ ข้ึนไดท ุกสภาพพ้นื ท่ี โดยเฉพาะพนื้ ท่ที ่ดี ินถกู ชะลา งพงั ทลาย หรือเปน ดินปนทราย ดนิ เหนยี วปนลูกรงั เหมาะกับการปลูกพนื้ ฟูปา ในเขตตนน้ําอยางยิง่ โดย ปลกู เปนไมพ่ีเล้ียงใหไ มโ ตชา ไดหลากหลายชนิดของแทบทกุ สภาพปา ใบดก ชว ยลดการกดั เซาะพงั ทลายของ หนา ดนิ ไดดี ปลกู งา ย อัตราการรอดตายสงู เกือบรอ ยละ 100 สัตวเลย้ี งไมช อบ ขอมูลเพิม่ เตมิ พรรณไมตน ของประเทศไทย (สว นพฤกษศาสตรป าไม, 2542); ตนไมเ มอื งเหนอื (ไซมอน และ คณะ, 2543); PROSEA No. 5 (3): 136; Flora of Thailand Vol. 2 (2) (1972) 38

ทิ้งถอน Albizia procera (Roxb.) Benth. วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE) ชือ่ อน่ื ถอน (ภาคกลาง); สว น (เชียงใหม, เลย) ลักษณะวิสัย ไมเนื้อแข็งปานกลาง โตเร็ว ผลัดใบ ตน ขนาดกลาง สงู ไดประมาณ 20 ม. ลําตนเปลาตรงหรอื บิดงอ เรือนยอดโปรง เปลอื กเรียบ สีขาวปนเทา ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ีสําคัญ ใบประกอบแบบ ขนนกสองชนั้ แขนงยอ ย 2–5 คู เรยี งตรงขา ม มตี อมท่กี า นใบ ใบยอ ยมี 5–11 คู เรยี งตรงขา ม รปู คลา ยสเ่ี หลย่ี มขา วหลามตดั ปลายใบมนหรือเวา ตืน้ มีติ่งแหลมเล็ก ๆ โคนใบเบีย้ ว แผน ใบดานลางมีนวล ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามซอกใบ ใกลป ลายกงิ่ ชอ ดอกยอ ยแบบกระจกุ แนน ดอกสขี าว กลบี เลย้ี ง เชอ่ื มตดิ กนั เปนหลอด ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกเชือ่ มตดิ กัน รูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรเพศผจู ํานวนมาก ผลเปนฝก แบนบาง รปู ขอบขนาน หวั ทา ยแหลม ยาว 7–17 ซม. แหงแลว แตก เมลด็ แบน มี 6–12 เมลด็ เขตการกระจายพันธุ อินเดยี เนปาล จีนตอนใต พมา ลาว กมั พูชา เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย ปาปว นิวกนิ ี ออสเตรเลีย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขนึ้ ในปา ผลดั ใบผสม ทางภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวันออก และภาคตะวนั ตกเฉียงใต และปา ละเมาะในพ้ืนที่ราบลมุ ภาคกลางท่ัวไป ระดบั ความสูงไมเกนิ 800 ม. ดอกออกประมาณเดือนพฤษภาคม ผลแกป ระมาณเดอื นธนั วาคม เกบ็ ไดจนถึงเดอื นกมุ ภาพันธปถ ัดไป ประโยชน เนื้อไมมีลวดลายสวยงาม เหนยี ว ทนทาน ใชใ นการกอ สรา ง กะบะรถ เรอื ถังไม เคร่ืองแกะสลกั เครอื่ ง มือกสิกรรม เครื่องเรือน ทาํ ไมฟ น เปลอื กใหน าํ้ ฝาดสําหรับฟอกหนัง ใบใชเ ลย้ี งสตั ว รากและเปลือกมีสรรพคุณตา นเซลล มะเรง็ ไดด ี เปลอื กและใบสามารถใชค วบคมุ แมลงศตั รพู ชื ได ในแอฟรกิ า นยิ มปลกู ใหร ม เงาแกพ ชื การเกษตร เชน ชา กาแฟ การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ ควรเกบ็ ฝก แกบ นตน เมล็ดใหมม อี ตั ราการงอกสูงเกือบรอยละ 100 งอกเรว็ เมล็ดเกบ็ ไวไ ดนานหลายป เมลด็ เกา กอ นเพาะใหนาํ ไปแชนํา้ รอ น 5 วินาที แลวนําออกแชน า้ํ เย็นทนั ที สามารถปลกู โดยตรงจาก เมลด็ ไดผ ลดี ขอแนะนํา เปน ไมเบิกนาํ โตเรว็ เปน พืชตระกลู ถ่วั ท่ชี ว ยปรบั ปรุงดิน ขึ้นไดด ีในที่คอ นขา งชนื้ หรอื ชายนา้ํ เหมาะสาํ หรบั ปลกู ในพ้นื ท่ีตนนา้ํ ลําธารรวมกบั ไมโ ตชา หลายชนดิ ของปา ผสมผลดั ใบ โดยเฉพาะปาที่ เส่ือมโทรม มีเรือนยอดคอ นขา งโปรง จึงไมบดบังแสงไมโตชาอ่นื ๆ มากนกั ขอ มลู เพ่มิ เตมิ ไมท่ีมีคาทางเศรษฐกิจของไทย ตอนที่ 3 (กรมปา ไม, 2526); PROSEA No. 5 (3) (1998); Flora of Thailand Vol. 4 (2) (1985) 39

นองขาว Alstonia glaucescens (K. Schum.) Monach. วงศ APOCYNACEAE ช่อื อนื่ ตนี เปด เขา (ทัว่ ไป) ลกั ษณะวิสัย ไมเ น้อื ออน โตเร็ว ไมผลดั ใบ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ ลาํ ตน เปลาตรง เปลอื กแตก เปนรองเลก็ นอ ย มีพพู อน กิ่งมชี องอากาศหนาแนน ลักษณะทางพฤกษศาสตรท ่ีสําคญั ทุกสว น มยี างสขี าวขนุ ใบเรยี งเปน วงรอบ 3–4 ใบ รปู ขอบ ขนาน ยาว 5–14 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบ สอบเรียว เสนแขนงใบจํานวนมากเรียงขนานกัน กานใบมเี กล็ดท่ีซอกกา นใบ ชอ ดอกแบบชอซร่ี ม ยาว 2–4 ซม. กลบี เลย้ี ง 5 กลีบ กลบี ดอก 5 กลีบ สีขาว กลีบดอกมวนกลับ มขี นกาํ มะหยห่ี นาแนน เกสรเพศผู 5 อัน ผลเปน ฝก แตกแนวเดียว รูปขอบ ขนาน ยาว 12–20 ซม. เมลด็ จาํ นวนมาก มกี ระจกุ ขน หมายเหตุ เดมิ ใชช อ่ื พฤกษศาสตรว า Alstonia rostrata C. E. C. Fisch. มาอยา งยาวนาน ปจ จุบัน เปน ชอื่ พอ ง เขตการกระจายพนั ธุ พมา จนี เวยี ดนาม ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซีย การกระจายพนั ธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขน้ึ กระจายตามปา ดบิ เขา ปา ดบิ ชน้ื และปา ดบิ แลง โดยเฉพาะ ปา เสอ่ื มโทรม ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ จนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 1,300 ม. แตม กั จะพบทร่ี ะดบั ความสงู ตง้ั แต 700 ม. ข้ึนไป ดอกออกเดอื นกุมภาพนั ธ–เมษายน ฝก แกเ ดอื นธนั วาคม–กุมภาพันธ ประโยชน เนือ้ ไมใ ชใ นการกอ สรางในรม ทาํ โลงศพ ไสใ นไมอ ดั เครือ่ งใชต า ง ๆ น้ําหมักจากใบใชลางแผล เปลือก มีรสขม มฤี ทธ์ฆิ าเชือ้ ทรงตน คลายสตั บรรณ ปลูกเปน ไมประดับไดดี การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ เกบ็ ฝกแกบ นตนนํามาตากแดดใหแ ตกอาออก ควรรีบเพาะทนั ที ไมควรเก็บเกนิ 1 เดอื น อัตราการงอกจะสูง และยังสามารถใชวธิ ีปกชาํ และตอนก่งิ ไดผ ลดี ขอ แนะนาํ เปนไมเบกิ นาํ ตอ งการแสงมาก เหมาะสาํ หรับปลกู ในพ้นื ท่ีโลง แจง ใกลช ายนํ้า ในพน้ื ปาดบิ แลง และปา ดบิ เขา ผสมผสานกบั ไมในวงศย าง เชน ยางแดง ยางปาย กระบาก ไมว งศจ าํ ป วงศชา และ วงศอบเชย เปน ตน ขอ มูลเพมิ่ เตมิ Flora of Thailand Vol. 7 (1) (1999) 40

นางพญาเสือโครง Prunus cerasoides D. Don วงศ ROSACEAE ช่ืออื่น ฉวีวรรณ, ชมพูภูพิงค (ภาคเหนือ) ลักษณะวิสัย ไมเน้ือออ น โตเรว็ ผลัดใบ ตน ขนาดกลาง สูงไมเ กนิ 20 ม. เปลือกขรุขระหรือลอกเปนแผน มีรอย ควัน่ รอบ สีนาํ้ ตาลอมแดงหรอื สนี า้ํ ตาล อมขาว มชี อ งอากาศกระจายหา ง ๆ ทว่ั ลาํ ตน ลักษณะทางพฤกษศาสตรท่ี สําคญั ใบเรียงเวียน รปู ไขหรือรูปขอบ ขนาน ยาว 5–12 ซม. โคนใบมีตอม ขนาดเล็ก 2–4 ตอม ขอบใบจักฟน เลื่อย ดอกออกเปนชอกระจุกท่ี ตาบริเวณก่ิงขณะผลัดใบ กลีบเล้ียง สีชมพูหรือแดง เช่ือมติดกันเปนหลอด ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกสีชมพู 5 กลีบ เกสรเพศผูมีจํานวนมาก รังไขอยูใตวงกลีบ ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ขนาดเสนผาศูนยก ลาง 1–1.5 ซม. สกุ สแี ดงเขม ผวิ เกลีย้ ง เขตการกระจายพันธุ อนิ เดยี เนปาล ภฏู าน จนี พมา ลาว เวยี ดนาม ไทย การการจายพันธุและนิเวศวทิ ยา ขนึ้ ตามชายปา ดบิ เขาทางภาคเหนือระดบั ความสงู 1,000–1,900 ม. ออกดอก เดอื นธนั วาคม–มกราคม เปน ผลเดอื นเมษายน–พฤษภาคม ประโยชน เนื้อไมอ อ น ใชทําดามเคร่ืองมือการเกษตร ผลสกุ รับประทานได รากตําหรอื บดทาํ เปน ยาพอกแกรอย ฟกชํ้า ปวดตามขอ ตามกลา มเน้อื คน้ั นา้ํ หยอดจมูกแกเ ลือดกาํ เดา แนนจมกู และดืม่ แกไอ ดอกดก สวยงามปลูกเปน ไม ประดับในพ้ืนทีส่ งู ไดด ี การขยายพนั ธุ เพาะเมลด็ แกะเอาเนอ้ื ออก เปลอื กเมล็ดคอ นขางแขง็ ควรกระเทาะกอนนําไปเพาะ เพาะในท่ีมี แสงรําไร เมล็ดงอกใชเวลา 30–60 วนั อตั ราการงอกสงู ประมาณรอยละ 70 โดยเฉพาะเมล็ดใหม ๆ ขอ แนะนาํ เปนไมเ บิกนาํ โตเร็ว ตองการแสงมาก ทนทานตอไฟปา เหมาะสําหรบั ฟน ฟูสภาพปาดบิ เขาในพ้นื ทตี่ น น้ํา ควรปลูกผสมผสานกับไมโตชา เชน มะมุน ทะโล กาํ ลังเสอื โครง และกอชนิดตา ง ๆ ขอมูลเพ่ิมเติม องคความรูเรื่องพืชปาท่ีใชประโยชนทางภาคเหนือของไทย เลม 3 (สุธรรม และคณะ, 2552); ตนไมเ มอื งเหนือ (ไซมอน และคณะ, 2543); Flora of Thaland Vol. 2 (1) (1970) 41

ประดสู ม Bischofia javanica Blume วงศ EUPHORBIACEAE ช่ืออืน่ กระดงั งาดง (สุโขทัย); ดูส ม (กาญจนบุรี, นครราชสีมา); เติม (ภาคเหนือ); ประสมใบเปรี้ยว (อบุ ลราชธาน)ี , ยายตหุ งนั (เลย) ลกั ษณะวสิ ยั ไมเ นอ้ื ออ นหรอื แขง็ ปานกลาง โตเรว็ ไมผ ลดั ใบ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สงู ไดป ระมาณ 40 ม. มีพูพอน เปลอื กแตกลอกเปน แผน สนี า้ํ ตาลเขม เนอ้ื ไม สีขาวหรือสชี มพู มนี าํ้ ยางสแี ดง แกน ไมส แี ดงเขม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท ส่ี าํ คญั ใบประกอบ มี 3 ใบยอย ใบกลางใหญก วาสองใบขา ง ไมม ตี อมท่ี โคน ชอ ดอกแบบชอแยกแขนง ออกหนาแนนตามซอก ใบท่ีปลายก่ิง ดอกเพศผูและดอกเพศเมียอยูตางตน กลีบเลยี้ ง 5 กลบี ไมม ีกลบี ดอกและจานฐานดอก ดอกเพศผขู นาดเล็ก ดอกตูมคลายตมุ สแี ดง ดอกบานสเี หลอื ง เกสร เพศผู 5 อนั ดอกเพศเมยี ขนาดใหญก วา ดอกเพศผเู ลก็ นอ ย ชอ ผลยาวไดป ระมาณ 30 ซม. ผลแบบผลผนงั ชน้ั ในแขง็ กลม ๆ สแี ดงเขม ถงึ สีนํ้าตาล มเี น้ือหมุ เมล็ด เขตการกระจายพนั ธุ อนิ เดยี บงั กลาเทศ จนี ไตห วนั ญป่ี นุ ไทย ลาว มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปน ส ปาปว นวิ กนิ ี ออสเตรเลีย ประเทศหมเู กาะในมหาสมุทรแปซิฟก การกระจายพันธุและนิเวศวิทยาในประเทศไทย ข้ึนกระจายทั่วไปตามชายน้ํา ในปาดิบแลง ปาผลัดใบผสม ปาดิบเขา และพ้ืนทเี่ สอ่ื มโทรม ทกุ ภาคของประเทศ ระดบั ความสงู ไมเกนิ 1,300 ม. ผลแกเ ดือนตุลาคม–กุมภาพนั ธ ประโยชน ไมเ นอ้ื แขง็ ปานกลาง ใชก อ สรา ง เครอ่ื งเรอื น เครอ่ื งมอื เกษตรกรรม ไมแ กะสลกั เผาถา น ทาํ แผน ไมบ าง กระดาษ ไมอดั เปลือกมสี ารแทนนนิ ใชเ คลือบเชอื กและแหใหท นทาน ใหสียอมสีชมพู สนี ้ําตาลแดง ใชยอ มหวายสาน ตะกรา ผลรับประทานและใชทําไวนได เปนอาหารของสัตวเล้ียงลูกดวยนมและนก รากใชปรุงอาหาร นิยมปลูกเปน ไมสวนปา และปลกู เปนรมเงาในไรกาแฟ การขยายพันธุ เพาะเมลด็ ผลแกส นี าํ้ ตาลเขมถงึ มว งเกอื บดํา นําเมล็ดออกจากผลแลว เพาะตืน้ ๆ ในที่มแี สงราํ ไร รดนาํ้ สมาํ่ เสมอ อตั ราการงอกรอ ยละ 40–70 เมล็ดใชเวลางอก 15 วนั จนถงึ เกือบ 5 เดือน เมลด็ มอี ายุ 3–6 เดอื น ขอ แนะนํา เปนไมโตเรว็ ชอบแสงแดดจัด และข้นึ ไดด ตี ามปา ชายน้ํา หรือปา ดบิ เขาระดับตาํ่ เหมาะ สาํ หรบั ปลูกฟนฟูสภาพปา ชายนํา้ ทัง้ ในทร่ี าบลุมและปา ดิบในเขตตนน้ําลาํ ธาร มขี อ ควรคํานงึ คอื กลาออน ตอ งการนาํ้ มาก และควรมกี ารปอ งกนั ไฟอยา งดี ขอมลู เพิม่ เตมิ พรรณไมต น ของประเทศไทย (สวนพฤกษศาสตรป า ไม, 2542); ตน ไมเ มอื งเหนือ (ไซมอน และ คณะ, 2543); PROSEA 5 (2) (1995); Flora of Thailand Vol. 8 (1) (2005); Flora of China Vol. 11 (2008) 42

ปออเี กง Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. วงศ STERCULIACEAE ชอื่ อนื่ กะพงใหญ (ระยอง); คางฮงุ (พษิ ณโุ ลก); ปอกระดา ง, ปอข้แี ฮด (ภาคเหนอื ); ปอขี้ไก (สุโขทัย); ปอขแี้ ตก (นครราชสมี า, สระบรุ ,ี สโุ ขทัย); ปอขีล้ ้นิ (หนองคาย); ปอขีเ้ ลยี ด (เชียงใหม) ; ออ ยชา ง, หมคี ําราม (ปราจีนบุร)ี ลักษณะวิสยั ไมเ นอ้ื ออน โตเรว็ ผลัดใบ ตน ขนาดใหญ สงู ไดประมาณ 30 ม. แตกกิง่ เปนชั้น เปลอื กเรียบ สีนํ้าตาลเทา และมตี ุม กลมนูนคลา ยวงแหวนกระจายทั่วไป ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรทส่ี าํ คญั ใบเดี่ยว เรียงเวยี น แผน ใบรูปไขห รอื รูปหวั ใจ ชอดอกแบบชอแยกแขนง อยูเ หนอื รอยแผลใบ หอ ยลง ยาว 10–15 ซม. ดอกแยกเพศ กลบี เล้ียง 5 กลีบ โคนเช่ือมติดกันเปนรูปถวย สีเขียว ไมมีกลีบดอก เกสร เพศผู 8–10 อัน ผลตดิ เปนกลมุ 5 ผล แตละผลมีปก รูปเรอื รองรบั ยาวประมาณ 5–8 ซม. ผลสดสเี ขยี ว มี 1–2 เมลด็ เมลด็ เปลือกแข็ง เมลด็ รูปไข ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายดานหนึ่ง ของปก เขตการกระจายพนั ธุ อินเดีย ลาว กมั พูชา เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนเี ซีย ฟล ิปปนส การกระจายพันธแุ ละนเิ วศวทิ ยาในประเทศไทย ขึ้นตามปาดบิ ชน้ื ปา ดิบเขา ปาดิบแลง และปาผลดั ใบผสม ท่วั ประเทศ จนถึงระดับความสงู ประมาณ 1,000 ม. ทง้ิ ใบกอนดอกบาน ออกดอกเดือนมกราคม–เมษายน ผลแกช ว ง เดือนมีนาคม–เมษายน ประโยชน ไมเนื้อออน ใชทําไมอัด งานกอสรางชั่วคราว กลองไมขีด รองเทา เปลือกใชทําเชือกอยางหยาบ ใชผ สมกบั สสี ําหรับยอม ทาํ ใหสยี อ มติดเร็วขึ้น การขยายพนั ธุ เพาะเมล็ด กลาไมมีอัตราการรอดตายคอนขา งตาํ่ ขอแนะนํา เปน ไมเ บกิ นํา โตคอ นขางเรว็ ชอบข้นึ ในทโี่ ลง แจง ทนทานตอไฟปา และความแหงแลงได ดี ชอบแสงแดดจัด รากลกึ เหมาะสาํ หรบั การปลูกฟน ฟสู ภาพลมุ นาํ้ และพืน้ ทีต่ น นํา้ ทง้ั ในระดับตา่ํ และในระดับ สงู สามารถปลกู ผสมผสานกบั ไมโตชาของปา ผลัดใบผสม ปาดิบแลง ปาดบิ เขา ปาชายนํ้า หรือเขาหนิ ปนู ได หลากหลายชนดิ รวมทงั้ กอ ตางๆ และสักซงึ่ มรี ะบบรากตนื้ ขอ มูลเพ่ิมเติม Flora of Thailand Vol. 7 (3) (2001); PROSEA No. 5 (2) (1995) 43