Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลายโศก

คลายโศก

Published by jariya5828.jp, 2022-08-25 02:54:23

Description: คลายโศก

Search

Read the Text Version

คลายโศก บรรณาธกิ าร : ปองกมล สรุ ตั น บทเรียนชมุ ชนคนทาำ งาน โครงการจดั การความรู สุขภาวะระยะทาย เลม 7

คลายโศก บรรณาธิการ ปองกมล สรุ ัตน์ จัดพมิ พ์โดย โครงการจัดการความรู้ สขุ ภาวะระยะท้าย Pal2Know ร่วมกบั สมาคมบริบาลผปู้ ่วยระยะทา้ ย THAPS สนบั สนุนโดย ส�ำ นักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ภาพปก เอกภพ สิทธิวรรณธนะ รปู เลม่ พัชรินทร์ โพธิท์ อง หนว่ ยผลิตต�ำ ราคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ (สงวนลขิ สทิ ธติ์ ามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537)

ค�ำ นำ� Pal2Know โครงการจัดการความรู้สุขภาวะระยะท้ายในชุดโครงการสร้างเสริมสุข ภาวะในช่วงท้ายของชีวิตของสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย (THAPS) โดยการสนับสนุน ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส่งเสริมการสร้างชุมชนคน ทำ�งานหรือนักปฏิบัติ (CoP) ประกอบด้วย ผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้าย บุคลากรสุขภาพ และ ภาคประชาชนมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุข ภาวะระยะทา้ ยผ่านการเขยี นบันทกึ บน Facebook และ GotoKnow.org โดยมีผปู้ ระสานงาน (CoP facilitator) เปน็ ผู้นำ�ในการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ตามหัวข้อต่างๆ กอ่ นสรปุ เปน็ ชดุ ความรู้ เพื่อเผยแพร่แก่สาธารณะ หนังสือถอดบทเรียนหัวข้อ คลายโศก เป็นการสรุปแนวทางคลายความเศร้าโศกจาก การสญู เสยี โดยถอดบทเรยี นจากบนั ทึก 17 เรื่อง ของแพทย์ พยาบาล ผู้ดแู ล และบคุ คล ทวั่ ไป จำ�นวน 10 ทา่ นในชมุ ชนออนไลน์ Pal2Know ระหวา่ งเดอื นธนั วาคม 2558 - กมุ ภาพนั ธ์ 2559 คณะทำ�งานหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมการบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย และครอบครัว หากสนใจข้อมูลเพ่ิมเติมท่านสามารถติดตามกิจกรรมของ Pal2Know และ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอ่ื สงั คมไดท้ ่ี https://www.facebook.com/pal2know หรอื http://www.gotoknow.org/posts/554364 คณะท�ำ งาน สิงหาคม 2559



สารบัญ การคลายความโศกเศราจากการสญู เสีย หนา้ 1 บันทึกตน เรอ� ง สุปราณี คุณกติ ติ ความสวา่ ง..ขางเทยี นดบั 41 ถอดบทเรียนจากกิจกรรมการดแู ลเพ�อใหพน ผ่าน พว.สุธีรา พิมพร์ ส 41 ระยะเศราโศกจากการสญู เสยี พว.สุธรี า พิมพ์รส ตามรอย grief คุณตาดม 44 ไดเ วลาตดิ ตามถามข่าว เปน เพ�อนใจยามเหงา พว.สธุ ีรา พิมพ์รส 46 ใหครอบครัวสญู เสีย พว.สุธีรา พมิ พ์รส จดหมายจากเเม่นอ งเต พว.สธุ รี า พิมพ์รส 49 รําลกึ ถงึ นองผจู ากไป พว.สุธรี า พิมพร์ ส 52 รําลึกถงึ นองผูจากไป (memorial service) พว.สุธรี า พิมพ์รส 54 ฟาหลงั ฝน..ของรนิ รงั สิมา บุณยภูมิ 56 กว่าจะกา วผา่ นมาไดถึงวนั น้ี พว.กานดาวศรี ตลุ าธรรมกิจ 59 รอ งไห. ...จนขาวเลียนาํ้ ตา พว.กานดาวศรี ตลุ าธรรมกจิ 61 วนั ตายของลกู คือวนั ท่พี ่อและแมจ่ ะกระโดดตึก 63 65

การดแู ลเพ�อใหพน ผ่านระยะเศรา โศก พว.เบญจมาส วงศ์มณวี รรณ หนา้ จากการสญู เสยี ทพญ.วิสาขา ไผ่งาม การเยียวยาตนเอง พว.รตกิ ร พรอนวุ งศ์ 67 คาํ พดู ประโยคเดยี ว มนตศ์ กั ดิ์ ชัยวีระเดช 69 เขียนถึงเแม่ อภิชญา วรพันธ์ 71 ทางใคร ก็ทางคนนนั้ ชญานศิ ใจซอ่ื กลุ 74 เพราะเราเปนผูฝกหดั (กับความตาย) 78 80 คนตนเร�อง โครงการจัดการความรู สขุ ภาวะระยะทา ย 83 85

กจาากรคกลาราสยญูควเาสมียโศกเศรา การถอดบทเรยี นจากบนั ทกึ ประสบการณท์ าำ งานและชวี ติ จรงิ เกยี่ วกบั การคลายความรู้สกึ โศกเศรา้ จากการสูญเสยี จากผู้เขยี น 10 ทา่ น จาำ นวน 17 บันทึก พบว่ามีแนวทางการเยียวยาหลากหลาย ตามสถานการณ์และ บริบทชวี ติ สว่ นตัวของแตล่ ะครอบครัว โดยสามารถสรปุ เปน็ 3 ปจ จยั คอื ปจ จัยจากผสู้ ูญเสีย ปจจัยจากบคุ ลากร และปจ จัยจากระบบบรกิ ารสุขภาพ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1. ปจ จัยจากผสู ูญเสียและคนรอบขาง ดานความคิด 1.1 การยอมรับว่าความตายเปน็ ความจรงิ ของชีวติ 1.2 การคดิ ถงึ บคุ คลอนื่ ในครอบครวั หรอื ชวี ติ ดา้ นอน่ื ทต่ี อ้ งดแู ล 1.3 การระลกึ ถึงผู้จากไปดว้ ยความรู้สกึ ที่ดี 1.4 การเหน็ แงม่ ุมเชงิ บวก 1.5 การไดท้ บทวนขอ้ คดิ จากมมุ มองชวี ิต ดา นจติ ใจ 1.6 การระบายความรู้สกึ ภายใน 1.7 การมสี ติ

1.8 การหาทยี่ ดึ เหน่ียวทางจิตใจ 1.9 การให้กำาลังใจตวั เอง ดา นการไดร บั การสนับสนนุ ทางสงั คม 1.10 ครอบครัวและคนรอบข้างให้กาำ ลังใจ 1.11 การมสี มาชิกใหม่ในครอบครัว 1.12 การใหก้ าำ ลังใจกนั ระหวา่ งผู้ดูแลหรอื ผู้มปี ระสบการณ์สญู เสยี 1.13 การชว่ ยเหลอื จากคนรอบข้าง ดานการปฏิบัติตวั 1.14 การฝก ฝนเตรียมพรอ้ มตอ่ การจากไป 1.15 การได้ดูแลผ้จู ากไปอย่างดีทส่ี ุดแลว้ 1.16 การอยู่กับปจ จบุ นั 1.17 การใหเ้ วลาตวั เอง 1.18 การหนั กลับมาดแู ลตนเอง 1.19 การทาำ กิจกรรมอน่ื ๆ 1.20 การใช้ชวี ติ ใหด้ ีเพื่อคนท่จี ากไป 1.21 การใชช้ วี ติ อย่างมคี ณุ ค่า ได้ทำาประโยชน์ต่อผคู้ นรอบขา้ ง 2. ปจ จัยจากบุคลากรสขุ ภาพ ดานการวางแผน 2.1 การเตรยี มครอบครวั ให้พรอ้ มรบั ความสญู เสีย ดานการประเมนิ 2.2 การประเมนิ การรับมอื ของครอบครัวต่อการสูญเสยี 2.3 การประเมนิ การปรบั ตวั ของครอบครวั เปน็ ระยะ 2.4 การประเมินจังหวะเหมาะสมของการเยยี วยา ดา นวิธีการดูแลเยียวยา 2.5 การสง่ มอบความทรงจำาที่ดรี ะหว่างการดูแล 2.6 การรบั ฟง เปดโอกาสใหร้ ะบายความร้สู กึ 2.7 การให้กาำ ลงั ใจ 2 โครงการจัดการความรู สุขภาวะระยะทาย เลม 7

















































ผมรูสึกแยมาก แตถาผมเปนอะไรไปอีกคนลูกชายคนเล็กจะทําอยางไร” แสดงวาผูสูญเสียปรับ ตวั ได การประเมินจากแบบประเมิน เชน่ บนั ทกึ เร่ือง จดหมายจากเเมน่ องเต ของ พว.สุธีรา พิมพร์ ส หนา 52 ญาติส่งแบบ ประเมนิ ปลายเปด ใชว้ ธิ เี ขยี นบรรยาย มาพรอ้ มกบั จดหมายขอบคณุ ทมี สขุ ภาพ ซงึ่ เปน็ เครอื่ งมอื เกบ็ ขอ้ มลู เชงิ รายละเอยี ดทที่ ำาใหญ้ าตไิ ด้ตอบข้อเท็จจรงิ อยา่ งเป็นอิสระ มากกวา่ ใช้เกณฑต์ ัวเลขอย่างเดยี ว 2.3 การประเมนิ การปรบั ตวั ของครอบครวั เปนระยะ การประเมินการปรับตัวของครอบครัวผู้เสียชีวิตควรมีความต่อเน่ืองเพื่อติดตามการเปลี่ยน แปลงและช่วยเหลือได้สอดรบั กบั สถานการณ์ เช่น การติดตามคณุ ตาและครอบครัวที่ทุกข์ใจกับการสูญเสียหลาน จากบันทกึ เรื่อง ตามรอย grief คุณตาดม ของ พว.สธุ รี า พิมพ์รส หนา 46 เราติดตามครอบครัวอยางตอ เนอ� ง ชวงเดอื นเเรกคุณแมมารวมกิจกรรมราํ ลกึ ถงึ นอ งผูจากไป ที่เราจัดกิจกรรมกลุมเพ�อนชวยเพ�อนผูสูญเสียในชวงเชา และชวงบายพาครอบครัวไปทําบุญท่ี ตึกสงฆแ ละตดิ ตามถามขา วทางโทรศัพทในเดือนท่ี 2 เดือนท่ี 6 และเดือนท่ี 12 คอื ตามจนครบ 1 ป ลา สุดคณุ พอ คณุ เเมเ เละนองของนองนงิ้ 2 คน ไดยายไปอยทู ก่ี รุงเทพฯ สว นคุณตากย็ งั ใช ชีวติ อยูท่จี ังหวัดมหาสารคามกับคณุ ยาย และเรมิ่ ทาํ ใจไดแ ลว เช่นเดียวกับ บันทึกเร่ือง การดูแลเพ�อใหพนผ่านระยะเศราโศกจากการสูญเสีย ของ พว.เบญจมาส วงศม์ ณีวรรณ หนา 67 บุคลากรได้สรุปว่าการติดตามต่อเน่ืองเป็นสิง่ สำาคญั สำาหรับการ เยยี วยาผสู้ ญู เสีย โทรศัพทต ดิ ตามหลงั จากจากผปู ว ยเสียชีวติ ณ 1 อาทิตย 1 เดือน เพ�อติดตามการปรับตวั 2.4 การประเมนิ จงั หวะเหมาะสมของการเยียวยา การเข้าไปเยียวยาครอบครัวควรอาศัยจังหวะท่ีเหมาะสม บ้างจำาเป็นเร่งด่วน บ้างต้องรอให้ ผสู้ ญู เสียมีความพร้อม ข้ึนอย่กู ับเง่อื นไขของวิธกี ารนน้ั ๆ ความสมัครใจของผสู้ ูญเสีย และบรบิ ทแวดลอ้ ม คลายโศก 27


































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook