Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คฤหัสถ์บรรลุธรรม

คฤหัสถ์บรรลุธรรม

Published by jariya5828.jp, 2022-07-03 04:03:51

Description: คฤหัสถ์บรรลุธรรม

Search

Read the Text Version

จะอย่่างไรก็็ตาม มีีคััมภีีร์์สายอภิิธรรมก็็พยายามที่่�จะตีีความ สนัับสนุุนหลัักการตามที่�่ ปรากฏในคััมภีีร์์มิิลิินทปััญหา และพระพุุทธ โฆษาจารย์์ โดยได้้ยกประเด็็นเรื่�อง “ทฤษฎีีกุุศลอุุปฆาตกกรรม” มาเป็็น ฐานในการสนัับสนุุนข้้อมููลของพระเถระทั้้�งสอง โดยชี้�ให้้เห็็นว่่า “ผู้้�ที่�่เป็็น ฆราวาสแล้ว้ ได้้สำำ�เร็็จเป็็นพระอรหันั ต์ ์ แต่ไ่ ม่่ได้้บวชในวัันนั้้น� ๕๑ อำำ�นาจแห่ง่ อรหััตตมรรคนั้้�น จะเป็็นกุุศลอุุปฆาตกกรรม ตััดนามรููปที่�่เป็็นกุุศลวิิบาก คือื ทำำ�ให้ผ้ ู้้�นั้น� สิ้�นชีีวิิตลงภายในวัันนั้้น� นั่่น� เอง ทั้้�งนี้้�ก็เ็ พราะว่่า คุุณของอรหััต ตมรรค อรหัตั ตผลนั้้น� เป็น็ สิ่ง� อัันประเสริฐิ ไม่ค่ ู่่�ควรกับั เพศฆราวาส ซึ่ง�่ เป็น็ เพศที่ต�่ั้�งอยู่�ในฐานะแค่่ศีีล ๕ เท่่านั้้น� ”๕๒ หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 4

น่่าสัังเกตว่่าอุุปมาอุุปมััยที่่�อภิิธรรมาจารย์์ได้้นำ�ำ มาสนัับสนุุนแนว ความคิิดค่่อนข้้างจะแตกต่่างจากคััมภีีร์์มิิลิินทปััญหา โดยท่่านได้้ให้้เหตุุผล ว่า่ “เปรีียบเหมือื น น้ำำ��มันั ของราชสีีห์ท์ ี่�จ่ ะต้้องรองรับั ด้้วยภาชนะที่เ�่ ป็็นทอง อย่า่ งเดีียวเท่่านั้้�น จึึงจะสามารถตั้�งอยู่�ได้้ ถ้า้ รองรัับด้้วยภาชนะอื่น� ๆ แล้ว้ น้ำ��ำ มัันราชสีีห์์นั้้�นจะแห่่งหายไปหมด ฉัันใด คุุณอัันพิิเศษของอรหััตตมรรค อรหััตตผลก็็เช่่นเดีียวกััน ผู้�้ที่�่สำำ�เร็็จอรหััตตมรรค อรหััตตผลในเพศที่่�เป็็น ฆราวาสก็็ไม่่สามารถจะรองรับั อรหัตั ตมรรค อรหััตตผลนั้้�นไว้ไ้ ด้้ จะต้อ้ งสิ้�น สุดุ ภายในวัันนั้้�นเอง ต่่อมาเมื่ �อผู้�้นั้�นบวชเป็็นพระภิิกษุุแล้้ว จึึงจะดำำ�รงชีีวิิต ต่่อไปได้ ้ ฉันั นั้้�น” 5 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

ประเด็น็ ที่พ่� ระอภิธิ รรมาจารย์น์ ำ�ำ “หลักั การกุศุ ลอุปุ ฆาตกกรรม” มา เป็น็ ฐานในการสนับั สนุนุ ข้อ้ มููลดังั กล่า่ วนั้้น� ผู้เ�้ ขีียนจะไม่พ่ ยายามตั้ง� ข้อ้ สังั เกต ประเด็น็ ที่เ�่ กี่ย�่ วกับั เรื่อ� ง “กรรม” เพราะเป็น็ ประเด็น็ ที่ว�่ ่า่ ด้ว้ ยเรื่อ� ง “อจินิ ไตย” แต่ป่ ระเด็น็ ที่ค�่ วรค่า่ แก่ก่ ารตั้้ง� ข้อ้ สังั เกตเกี่ย�่ วกับั คัมั ภีีร์ส์ ายอภิธิ รรมที่พ่� ระอภิิ ธรรมาจารย์์ได้้ยกเหตุุผลมาอ้้างว่่า “คุุณของอรหััตตมรรค อรหััตตผลนั้้�น เป็็นสิ่ง� อันั ประเสริิฐ ไม่่คู่่�ควรกัับเพศฆราวาส ซึ่่ง� เป็็นเพศที่่ต�ั้ง� อยู่�ในฐานะแค่่ ศีีล ๕ เท่า่ นั้้น� ” ซึ่่ง� ประเด็็นที่ว่� ่่าไม่ค่ ู่่�ควรนี้้ก� ็็ได้ร้ ับั การตอกย้ำ��ำ จากพระพรหม โมลีี (วิิลาส ญาณวีีโร) ซึ่�่งกล่่าวว่่า “พระอรหััตคุุณ เป็็นคุุณวิิเศษสููงส่่งยิ่�ง มีีอานุุภาพใหญ่่หลวงหนัักหนา ฆราวาสวิิสััยคืือเพศคฤหััสถ์์นั้้�น เป็็นภููมิิอััน หยาบและต่ำ��ำ ช้้านััก ไม่่สามารถที่�่จัักทรงอรหััตคุุณอัันประเสริิฐสููงสุุดไว้้ได้้ ถ้้าไม่่บรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุสงฆ์์ในพระพุุทธศาสนาแล้้ว ท่่านผู้�้ มีี จิติ ผ่่องแผ้ว้ บริิสุทุ ธิ์์�ได้ส้ ำ�ำ เร็จ็ เป็็นพระอรหัันต อริยิ บุคุ คลนั้้น� ท่า่ นก็็จำำ�ต้อ้ งรีีบ ดัับขัันธ์์เข้้าสู่่�ปริินิิพพานบรมสุุขอัันเป็็นการล่่วงพ้้นจากมุุขมณฑลแห่่งพญา มัจั จุุราชเป็็นแน่แ่ ท้”้ ๕๓ หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรือื 5

จากเนื้้�อหาเกี่�่ยวกัับการให้้เหตุุผลข้้างต้้นของพระอภิิธรรมาจารย์์ และพระพรหมโมลีีนั้้�นได้้สะท้้อนให้้เราได้้มองเห็็นถึึงความ “ไม่่คู่่�ควร” ใน สองประเด็็น คือื ๑) แนวคิิดหนึ่่�งมุ่�งประเด็็นเรื่�อง “เพศ” ว่่ามีีจุุดด้้อยในแง่่ของ “ กำำ�ลัังทางกายภาพ” ซึ่�่งเหตุผุ ลที่ใ�่ ห้ก้ ็็คืือ การมองว่่า “เพศคฤหััสถ์์” มีี “ภููมิิ หยาบ” และ “ต่ำ�ำ�ช้า้ ” จึงึ ทำำ�ให้้ “เพศคฤหััสถ์”์ ไม่่สามารถรองรับั พระอรหััต ผลซึ่ง�่ เป็น็ คุณุ อันั ประเสริฐิ และยิ่ง� ใหญ่เ่ อาไว้ไ้ ด้ ้ จึงึ ทำำ�ให้ต้ ้อ้ งตาย 5 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

ประเด็็นนี้้�อาจจะถููกตั้�งคำ�ำ ถามได้้ว่่า การให้้เหตุุผลในลัักษณะดััง กล่่าวนั้้�น เป็็นการให้้ค่่าต่่อเพศคฤหััสถ์์ใน “เชิิงลบ” มากจนเกิินไปหรืือไม่่? เพราะในความเป็็นจริิงแล้้วพระพุุทธศาสนามุ่ �งเน้้นที่�่จะให้้ความสำำ�คััญต่่อ “คุณุ ค่า่ ภายใน” มากกว่า่ ที่จ�่ ะวัดั กันั ที่�่ “คุณุ ค่า่ ภายนอก” หรือื ชีีวิติ จะดำำ�รง อยู่�ได้้หรือื ไม่ไ่ ด้น้ ั้้�น “คุุณค่่าภายนอก” จะเป็น็ เกณฑ์์ตััดสินิ ๒) แนวคิิดหนึ่่�งมุ่�งประเด็็นเรื่�อง “เพศ” ว่่ามีีจุุดด้้อยในแง่่ของ “กำำ�ลังั ของข้อ้ ปฏิบิ ััติทิ างสิกิ ขาบท” หรืือ “ศีีล ๕” จึึงทำำ�ให้้ “เพศคฤหััสถ์์” ไม่่สามารถรองรัับพระอรหััตผลซึ่�่งเป็็นคุุณอัันประเสริิฐ และยิ่�งใหญ่่เอาไว้้ได้้ และทำำ�ให้ต้ ้อ้ งตาย หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 5

ประเด็น็ นี้้� อาจจะถููกตั้ง� คำ�ำ ถามได้ว้ ่า่ คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผลนั้้น� เขาได้ก้ ้า้ วข้า้ มบัันไดสามขั้�น กล่่าวคือื ศีีล สมาธิิ และปัญั ญา เป็น็ ที่่เ� รีียบร้้อย แล้ว้ ซึ่ง่� ไตรสิกิ ขานั้้น� เป็น็ ประดุจุ แพข้า้ มฟาก และแพก็ไ็ ด้ท้ ำ�ำ หน้า้ ที่ข�่ องตนเอง สมบููรณ์โ์ ดยการส่ง่ ผู้โ้� ดยสารให้ถ้ ึงึ ฝั่ง่� เรีียบร้อ้ ยแล้ว้ จึงึ เป็น็ เรื่อ� งที่ไ�่ ร้ป้ ระโยชน์์ หากจะแบกหรือื ใช้้แพนั้้น� ต่่อไป คฤหัสั ถ์ท์ ี่�่บรรลุพุ ระอรหัตั ผลก็เ็ ช่่นกันั เมื่�อ เขาไม่่ได้้ใช้้แพแล้้ว ไยต้อ้ งพููดถึงึ แพอีีก ดังั ที่พ่� ระอภิธิ รรมาจารย์์ซึ่่ง� พยายาม จะให้เ้ หตุุผลว่่า พระอรหันั ต์ไ์ ม่ค่ ู่่�ควรกัับเพศคฤหัสั ถ์์ซึ่่ง� เป็็นที่ต�่ั้�งแค่่ “ศีีล ๕” เท่่านั้้�น ซึ่่�งการให้้เหตุุผลในลัักษณะนี้้� ทำ�ำ ให้้เกิิดการตั้้�งคำำ�ถามว่่า มีีเหตุุผล อะไร? ที่จ่� ะต้อ้ งย้้อนกลัับไปพููดถึงึ ศีีล ๕ อีีกครั้้�ง ก็็ในเมื่�อเขาได้ก้ ้้าวพ้น้ ศีีล ๕ แล้ว้ นอกจากนี้้แ� ล้ว้ สภาพจิติ ของเขาในขณะนั้้น� มิไิ ด้ต้ั้ง� อยู่�ในสถานะของศีีล ๕ อีีกต่อ่ ไป สรุปุ ก็ค็ ือื พระอภิธิ รรมาจารย์พ์ ยายามอย่า่ งยิ่ง� ที่จ�่ ะนำำ�เอาประเด็น็ เรื่�อง “เพศคฤหััสถ์”์ ไปผููกติิดอยู่่�กับั “ศีีล ๕“ ทั้้ง� ที่ใ�่ นความเป็็นจริงิ แล้้ว ใน ขณะนั้้น� สภาพจิติ ของคฤหัสั ถ์ค์ นนั้้น� ได้ข้ ้า้ มพ้น้ ประเด็น็ ที่ว่� ่า่ ด้ว้ ย “ศีีล ๕“ ไป แล้้ว 5 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

อย่่างไรก็็ตาม เมื่อ� กล่า่ วโดยสรุปุ แล้้ว การให้้เหตุผุ ลว่า่ “ถ้้าคฤหััสถ์์ บรรลุพุ ระอรหัตั ผลต้อ้ งบวช ถ้้าไม่่บวชต้้องตายในวันั นั้้น� ” ของพระนาคเสน และพระเถระทั้้ง� หลายที่เ�่ ห็น็ สอดคล้อ้ งกับั ท่า่ นนั้้น� ก็ไ็ ม่ส่ ามารถที่จ่� ะหลีีกหนีี การตั้้ง� ข้อ้ สังั เกตจากนักั วิชิ าการทางพระพุทุ ธศาสนาในยุคุ หลังั ๆ ว่า่ เป็น็ การ ให้้เหตุุผลที่�่ “ไม่่สมเหตุุสมผล” (Invalidity) และนอกจากนั้้น� แล้้ว พุุทธทาส ภิกิ ขุกุ ็ย็ ังั มองว่า่ เป็น็ “การคาดเดา หรือื การอนุมุ าน” ที่�่ “สรุปุ เกินิ ข้อ้ เท็จ็ จริงิ ” (Inductive Inference) เพราะในความเป็็นจริงิ แล้้วมัันเป็น็ ไปไม่่ได้ใ้ นทาง ปฏิบิ ัตั ิ ิ ซึ่ง�่ การตั้้ง� ข้อ้ สังั เกตในลักั ษณะนี้้ก� ็ส็ อดรับั กับั การตั้้ง� ข้อ้ สังั เกตที่ผ่� ู้เ�้ ขีียน ได้น้ ำำ�เอาไว้้ในเบื้้�องต้น้ แล้ว้ ว่่า ตราบใดที่่�เรายังั ยืืนยััน และยึึดติดิ กัับ “การให้้ เหตุผุ ลชุดุ เดิมิ ” อันั เป็น็ กระบวนทัศั น์์ (Paradigm) ของการให้เ้ หตุผุ ลแบบเก่า่ ก็็จะทำำ�ให้้นัักคิิดรุ่่�นหลัังๆ ยอมรัับไม่่ได้้ และนอกจากนั้้�นแล้้ว ยัังแสวงหา “การให้้เหตุผุ ลชุุดใหม่”่ เพื่่อ� ตอบอธิบิ ายและตอบคำำ�ถามดัังกล่า่ วต่่อไป หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 5

อย่่างไรก็็ตาม ถ้า้ หากจะมีีการอ้้างว่่า พระนาคเสนเป็น็ พระอรหันั ต์์ ที่่�มีี “อััชฌััตติิกญาณ” (Intuition) ซึ่่�งข้้อเท็็จจริงิ ที่�่ท่า่ นทราบ หรืือเหตุุผลที่่� ท่า่ นนำ�ำ เสนอนั้้น� เป็น็ การนำ�ำ เสนอเหตุผุ ลบนฐานของการบรรลุธุ รรมขั้น� สููงสุดุ ฉะนั้้น� ท่า่ นย่อ่ มประจักั ษ์ช์ ัดั ว่า่ เมื่อ� คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ�่ รรลุพุ ระอรหัตั ผลต้อ้ งมีีคติเิ ป็น็ สองอย่า่ งแน่น่ อน และเป็น็ คติทิ ี่จ่� ะต้อ้ งเกิดิ ขึ้้น� ในวันั นั้้น� เท่า่ นั้้น� ผู้เ�้ ขีียนมองว่า่ การอ้า้ งเหตุผุ ลในลักั ษณะนี้้ � อาจจะทำ�ำ ให้บ้ างกลุ่�มยอมรับั ได้ ้ และกลุ่�มนี้้อ� าจ จะมองว่า่ การให้เ้ หตุผุ ลในลักั ษณะดังั กล่า่ วนั้้น� เป็น็ การให้เ้ หตุผุ ลที่ส�่ มเหตุผุ ล สม และไม่่ควรที่�จ่ ะไปโต้แ้ ย้ง้ ด้ว้ ยเหตุุผลใดๆ ทั้้�งสิ้�น 5 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

แต่ผ่ ู้�เ้ ขีียนเห็็นว่่า ข้้ออ้้างที่ว�่ ่า่ “พระนาคเสนเป็็นพระอรหัันต์์ ฉะนั้้�น ท่่านย่่อมรู้้�ข้้อเท็็จจริิงต่่างๆ อย่่างตลอดสาย ทุุกคนไม่่ควรแย้้ง หรืือตั้�งข้้อ สังั เกต” ไม่่ใช่่เป็็นการ “ให้้เหตุุผล” หากแต่เ่ ป็น็ การนำ�ำ เสนอข้้อเท็จ็ จริงิ ใน ส่ว่ นของผู้ท้� ี่เ่� ชื่อ� มั่น� ในการบรรลุพุ ระอรหัตั ผลของพระนาคเสน ซึ่ง�่ ไม่ม่ ีีเหตุผุ ล อัันใดที่�่เราจะต้้องมาถกเถีียงว่่าข้้อเท็็จจริิงดัังกล่่าวว่่าสมเหตุุสมผลหรืือไม่่? เพราะอย่่างน้้อยที่่�สุุดเราก็็ไม่่สามารถที่�่จะพิิสููจน์์ได้้ว่่าท่่านเป็็นพระอรหัันต์์ หรืือไม่่? แต่่เมื่ �อใดก็็ตามที่่�ท่่านได้้ก้้าวล่่วงไปสู่่�การกระบวนการของการให้้ เหตุผุ ล หรือื ยกอุุปมาต่า่ งๆ ขึ้้น� มาเพื่่อ� ยืนื ยันั ข้อ้ เท็จ็ จริงิ ในสิ่ง� ที่ท่� ่า่ นนำ�ำ เสนอ เมื่อ� นั้้น� ทุกุ คนก็ม็ ีีสิทิ ธิโิ ดยชอบธรรมในการที่จ่� ะตั้ง� ข้อ้ สังั เกต (ตามหลักั กาลาม สููตร) ว่่า ข้้ออ้า้ งของท่า่ น สมเหตุุสมผลหรืือไม่่? สรุุปเกิินข้อ้ เท็็จจริงิ หรือื ไม่่? มีีแง่่มุุมที่น�่ ่า่ เชื่อ� ถือื เพีียงใด? และหลัังจากนั้้�น ทุุกคนก็็สามารถที่�่จะแสวงหา หรือื สร้า้ งการให้เ้ หตุผุ ลชุดุ ใหม่ข่ึ้น� มาเพื่่อ� หาทางออกให้แ้ ก่ป่ ัญั หาดังั กล่า่ ว ดังั ที่่�นักั คิดิ หลายๆ ท่่าน รวมถึึงผู้้�เขีียนได้น้ ำำ�เสนอแล้้วในเบื้้�องต้้น หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรือื 5

๕ เพราะสาเหตุใุ ด? พระนาคเสน จึึงต้้องกล่่าวว่า่ “คฤหัสั ถ์บ์ รรลุุ พระอรหัตั ผล ต้้องบวชในวันั นั้้�น ถ้้าไม่บ่ วช จะต้อ้ งตายภายในวันั นั้้น� ” เมื่�อวิิเคราะห์์เหตุผุ ล และแรงจููงใจ (ทางอ้อ้ ม) ในการให้้เหตุุผลต่อ่ ประเด็น็ ที่�่ว่า่ “คฤหััสถ์บ์ รรลุพุ ระอรหััตผล ต้อ้ งบวชในวัันนั้้น� ถ้้าไม่บ่ วช จะ ต้้องตายภายในวัันนั้้�น” จะพบว่่า การให้้เหตุุผลของพระนาคเสนที่�่มุ่�งเน้้น เรื่อ� ง “เพศ” เป็น็ สำำ�คัญั ผู้เ้� ขีียนไม่ค่ ิดิ ว่า่ เป็น็ การให้เ้ หตุผุ ลที่ ่� “ไร้เ้ หตุผุ ล” หรือื “ฟังั ไม่ข่ึ้น� ” หรือื “ยอมรับั ไม่ไ่ ด้”้ แต่ผ่ ู้เ�้ ขีียนกำ�ำ ลังั จะวิเิ คราะห์ใ์ นลำำ�ดับั ต่อ่ ไป ว่า่ เพราะสาเหตุุอันั ใด? ที่ท�่ ำำ�ให้ท้ ่่านให้้เหตุุผลในลัักษณะนี้้� ทั้้�งๆ ที่่�สามารถ ตีีความ และให้เ้ หตุผุ ลได้ห้ ลายแนวทางมากกว่า่ ที่จ่� ะมุ่�งเน้น้ เรื่อ� ง “ความอ่อ่ น ด้้อยทางกายภาพ” ฉะนั้้�น เมื่อ� วิเิ คราะห์เ์ หตุผุ ลและแรงจููงใจ “ทางอ้อ้ ม”นั้้น� น่า่ จะประกอบไปด้ว้ ยประเด็็นหลัักต่อ่ ไปนี้้� 5 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

๑) เหตุุผลในเชิิงยกย่่องรููปแบบ และสารััตถะของพระภิิกษุุใน พระพุทุ ธศาสนา เมื่�อวิเิ คราะห์์จากบริบิ ทของการนำำ�เสนอใน “เสฏฐธััมมปัญั หา” จะ พบว่า่ ท่า่ นได้ช้ี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ถึงึ คุณุ ค่า่ และความสำำ�คัญั ของพระภิกิ ษุวุ ่า่ “ความที่่�ภููมิิ ของภิกิ ษุเุ ป็น็ ของใหญ่ ่ ความที่ภ�่ ููมิขิ องภิกิ ษุเุ ป็น็ ของไพบููลย์ ์ ไม่ม่ ีีภููมิอิื่น� เสมอ นั้้�น ถ้้าอุุบาสกโสดาบัันกระทำ�ำ ให้้แจ้้งซึ่�่งพระอรหัันต์์ คติิทั้้�งหลาย ๒ อย่่าง เท่่านั้้น� คือื ต้้องนิพิ พานในวัันนั้้น� หรือื ต้้องเข้้าถึงึ ความเป็น็ ภิิกษุใุ นวันั นั้้น� จึึง จะได้้ เพราะว่่าบรรพชานี้้�เป็็นของใหญ่่ เป็็นของบริิสุุทธิ์์� เป็็นของถึึงซึ่่�งความ เป็็นของสููง คืือ ภููมิขิ องภิิกษุุ” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 5

การนำำ�เสนอแง่ม่ ุมุ ในลักั ษณะนี้้� พระนาคเสนต้อ้ งการที่จ�่ ะชี้ใ� ห้พ้ ระยา มิิลิินท์์ได้้เห็็นว่่า พระพุุทธศาสนามิิได้้ยกย่่องธรรมอัันประเสริิญที่่�ดำ�ำ รงอยู่� ภายในจิติ ของพระภิกิ ษุุ เช่น่ ความประพฤติทิ ี่ด�่ ีีงาม ความอดทน ความสำ�ำ รวม ในอิินทรีีย์์ ๖ ความอยู่�ในที่อ่� ัันสงััด เป็น็ ต้น้ อัันจัดั ได้ว้ ่่าเป็็นการยกย่อ่ งเชิงิ “สารััตถะ” เท่า่ นั้้�น หากแต่่ยกย่่องเชิิดชููในเชิงิ “รููปแบบ” ของพระภิกิ ษุุ ด้ว้ ย เช่น่ รููปแบบของความเป็็นผู้้�มีีศีีรษะโล้น้ และนุ่�งห่ม่ ผ้า้ เหลืือง เพราะ รููปแบบเหล่่านี้้� จะทำ�ำ ให้้พระภิิกษุุสามารถที่�่จะให้้การบวชแก่่บุุคคลอื่�นได้้ สามารถปฏิิบััติิตามสิิกขาบทที่่�มากมาย อีีกทั้้�งเป็็นเพศสมณะที่�่ถููกต้้องตาม พุทุ ธประสงค์์ การที่�พ่ ระภิกิ ษุุอุุดมไปด้ว้ ย “สารััตถะ” และ “รููปแบบ” ดังั กล่่าวนั้้�น อุุบาสกที่เ�่ ป็น็ พระโสดาบันั จึึงควรกราบไหว้ ้ ลุุกรับั พระภิิกษุุซึ่�ง่ มีี ฐานะเป็น็ เพีียง “ปุถุ ุุชน” 6 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

การให้้เหตุุผลในลัักษณะนี้้�ของพระนาคเสนนั้้�น ไม่่สามารถที่�่จะ ตีีความเป็น็ นััยอื่น� ได้เ้ ลย นอกจากการพยายามที่�่จะยกย่อ่ ง และให้้คุณุ ค่า่ แก่่ พระภิกิ ษุใุ นพระพุทุ ธศาสนา ทั้้ง� ในแง่ข่ อง “สารัตั ถะ” และ “รููปแบบ” เพราะ หากจะศึึกษาบริิบทในสมััยนั้้�นจะพบว่่า มีีนัักบวชหลายศาสนา และหลาก หลายลััทธิิด้้วยกััน จนทำำ�ให้้พระยามิิลิินท์์อาจจะไม่่เข้้าใจถึึงความแตกต่่าง ระหว่า่ งพระภิิกษุใุ นพระพุทุ ธศาสนาและศาสนาอื่�น ฉะนั้้น� ก่อ่ นที่จ�่ ะจบบท สรุปุ อันั ถือื ได้ว้ ่า่ เป็น็ “หัวั ใจ” ของการนำ�ำ เสนอ พระนาคเสนจึงึ ได้ช้ี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ “สมณเพศ” นั้้น� มีีคุณุ ค่า่ มากเพีียงใด เพราะหากคฤหัสั ถ์์บรรลุพุ ระอรหััตผล แล้ว้ ยังั ต้อ้ งอุปุ สมบท เพราะหากไม่อ่ ุปุ สมบทแล้ว้ สิ่ง� ที่ไ�่ ม่ส่ ามารถหลีีกเลี่ย่� งได้้ ก็็คือื การปริินิพิ พาน หรืือตาย หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 6

๒) เหตุุผลในเชิิงจิติ วิิทยา การให้เ้ หตุผุ ลของพระนาคเสนดังั ที่ไ่� ด้ก้ ล่า่ วในข้อ้ ที่่� ๑) นั้้น� ถือื ได้ว้ ่า่ เป็น็ การสร้า้ ง “สงครามทางจิติ วิทิ ยามวลชน” แก่พ่ ระยามิลิ ินิ ท์ ์ เสนาธิกิ าร และเหล่่าอำ�ำ มาตย์์ พร้้อมทั้้ง� ทหารผู้�้ ติิดตาม และประชาชนในสมัยั นั้้�น โดย เฉพาะอย่า่ งยิ่ง� ประเด็น็ ที่ว�่ ่า่ ด้ว้ ยความเป็น็ นักั บวชในพระพุทุ ธศาสนา การนำ�ำ เสนอเช่น่ นั้้น� นอกจากจะเป็น็ การสร้า้ ง “คุณุ ค่า่ เพิ่่ม� ” ให้แ้ ก่ส่ มณเพศ หรือื การ บวชเป็น็ พระภิกิ ษุใุ นพระพุทุ ธศาสนาแล้ว้ ยังั เป็น็ การสร้า้ งแรงจููงใจให้แ้ ก่ท่ ุกุ คนที่ไ�่ ด้ฟ้ ังั การสนทนาธรรมว่า่ การบวชเป็น็ สมณเพศนั้้น� มีีคุณุ ค่า่ เพีียงใด ไม่่ ว่า่ จะเป็็นคุุณค่่าในเชิงิ “รููปแบบ” และ “สารััตถะ” อัันจะทำ�ำ ให้้ประชาชน ทั่่�วไปได้้หัันมาสนใจพระพุุทธศาสนา และบรรพชาอุุปสมบทเพื่่�อที่่�จะศึึกษา หลักั ธรรมคำำ�สอนกัันมากยิ่�งขึ้น� 6 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

ในขณะเดีียวกันั ก็เ็ ป็น็ การสร้า้ งความสนใจของประชาชนที่ไ�่ ม่ส่ นใจ พระพุุทธศาสนา หรืือลัังเลในพระพุุทธ พระธรรม และพระสงฆ์์ ได้้หัันมา สนใจมากยิ่ง� ขึ้�น ซึ่่�งเป็็นการให้เ้ หตุผุ ลที่่�ค่อ่ นข้้างจะสอดรัับกัับพุทุ ธพจน์์ที่ว่� ่่า “ฆราวาสนั้้น� คัับแคบ เป็็นที่�่มาของธุลุ ีี บรรพชาเป็น็ ทางโปร่ง่ การที่บ่� ุุคคล ผู้้�ครองเรืือนจะประพฤติิพรหมจรรย์์ให้้บริิบููรณ์์โดยส่่วนเดีียวดุุจสัังข์์ขัดั มิิใช่่ ทำำ�ได้ง้ ่่าย” หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรืือ 6

๓) เหตุุผลในเชิงิ สังั คมวิิทยา วิิเคราะห์์จากบริิบทของสัังคมอิินเดีียในสมััยนั้้�นจะพบว่่า มีีการให้้ คุุณค่า่ ต่อ่ การจััดการชีีวิติ แบบอาศรม ๔ อย่่างสููง กล่่าวคือื ๕๔ เริ่�มต้้นชีีวิติ ด้ว้ ยการศึกึ ษาเล่่าเรีียนศิิลปวิทิ ยา ศึกึ ษากิิริยิ ามารยาทต่่างๆ และทำ�ำ ตนให้้ บริิสุุทธิ์์�ไม่่มีีมลทิิน ไม่่เกี่�ย่ วข้อ้ งกับั เรื่�องเพศ (พรหมจารีี) หลัังจากนั้้�น จึงึ เป็น็ ช่ว่ งของการนำ�ำ เอาวิชิ าความรู้�ท้ ี่ไ�่ ด้จ้ ากการศึกึ ษาไปสู่่�ภาคของการปฏิบิ ััติเิ พื่่อ� ให้ไ้ ด้ม้ าซึ่ง่� กามคุณุ อันั เป็น็ การสร้า้ งครอบครัวั เพื่่อ� ทำ�ำ ให้ช้ ีีวิติ คู่�แบบฆราวาสให้้ สมบููรณ์ม์ ากยิ่ง� ขึ้น� (คฤหัสั ถ์)์ หลังั จากนั้้น� จึงึ ปลีีกวิเิ วกเพื่่อ� ศึกึ ษาตัวั เอง ศึกึ ษา ธรรมะ (วนปรัสั ถ์์) โดยขั้น� สุดุ ท้้ายของชีีวิิตนั้้น� ก็ค็ ือื การปลีีกหนีีออกจากชีีวิิต ฆราวาส ออกบวชเป็น็ นักั บวชอย่า่ งสมบููรณ์แ์ บบ เพื่่อ� มุ่�งไปสู่่�เป้า้ หมายสุดุ ท้า้ ย ของชีีวิติ (สันั ยาสีี) 6 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

ประเด็็นที่�่น่่าสนใจเป็น็ อย่า่ งยิ่ง� ก็็คืือ การที่�ช่ าวอินิ เดีียมองว่า่ การที่�่ มนุษุ ย์จ์ ะสามารถบรรลุโุ มกษะได้น้ั้้น� ต้อ้ งอาศัยั รููปแบบ หรือื วิถิ ีีชีีวิติ แบบ “สันั ยาสีี” เท่่านั้้�น กล่่าวคืือต้้องออกจากเรืือนเพื่่�อไปบวชเป็็นนัักบวชอย่่างเต็็ม รููปแบบ โดยมองว่่าวิถิ ีีชีีวิิตเช่น่ นี้้�จะทำ�ำ ให้เ้ อื้อ� ต่่อการบรรลุโุ มกษะได้ง้ ่่าย ซึ่�่ง พระพุทุ ธเจ้า้ ก็ไ็ ด้ร้ ููปแบบ และแนวคิดิ เช่น่ นี้้ม� าจากศาสนาพราหมณ์ ์ ซึ่ง่� ทำำ�ให้้ นัักคิดิ บางท่า่ นยืืนยันั ว่่า๕๕ “พระภิิกษุใุ นพระพุุทธศาสนา หรือื พระพุทุ ธเจ้้า ได้ร้ ับั อิทิ ธิพิ ลมาจากพวกสันั ยาสีีซึ่ง�่ เป็น็ หนึ่่ง� ในขั้น� ตอนการใช้ช้ ีีวิติ ตามแนวคิดิ เรื่อ� งอาศรม ๔ ของพราหมณ์์” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 6

การตั้้�งข้้อสัังเกตดัังกล่่าวเป็็นประเด็็นที่่�ค่่อนข้้างจะสอดรัับกัับการที่่� พระนาคเสนได้้พยายามชี้ �ให้้เห็็นถึึงคุุณค่่าของพระภิิกษุุในพระพุุทธศาสนา ว่า่ “ความที่ภ่� ููมิิของภิิกษุเุ ป็็นของใหญ่่ ความที่�่ภููมิขิ องภิิกษุเุ ป็็นของไพบููลย์์ ไม่ม่ ีีภููมิอิื่น� เสมอนั้้น� ” และยังั ชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ คนในสังั คมได้ห้ ันั มาเห็น็ คุณุ ค่า่ ของภิกิ ษุุ มากขึ้น� ทั้้ง� ในประเด็น็ ที่�่ว่า่ ด้ว้ ย “รููปแบบ” และ “สารัตั ถะ” ดังั ที่ไ่� ด้ก้ ล่า่ วแล้ว้ ในเบื้้�องต้้น ในขณะเดีียวกันั ก็ไ็ ด้พ้ ยายามตอกย้ำำ��ให้เ้ ห็น็ ว่า่ “เพศคฤหัสั ถ์ไ์ ม่ส่ งบ เพราะความที่เ�่ ป็น็ เพศไม่ส่ งบ ก็เ็ ป็น็ เพศที่ท�่ รามกำำ�ลังั หรือื อ่อ่ นกำำ�ลังั ” แต่ใ่ น ขณะเดีียวกันั “สมณเพศ” นั้้น� เป็น็ เพศที่ส่� ููงส่ง่ จนทำำ�ให้อ้ ุบุ าสก หรือื คฤหัสั ถ์ท์ ี่�่ บรรลุโุ สดาบันั ยังั ต้อ้ งกราบไหว้ ้ ลุกุ รับั แม้ก้ ระทั่่ง� พระภิกิ ษุแุ ละสามเณรที่เ�่ ป็น็ ปุุถุุชน 6 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

๖ สรุุปและวิเิ คราะห์์ จุุดประสงค์์หลัักของการเขีียนงานชิ้�นนี้้� ก็็เพื่่�อที่�่จะแสวงหาคำ�ำ ตอบ จากข้อ้ เท็็จจริิงที่พ�่ ระ นาคเสนได้น้ ำำ�เสนอว่่า “คฤหััสถ์์ที่่�บรรลุุพระอรหััตผล นั้้�น มีีคติิเป็็น ๒ กล่่าวคืือ ต้้องบวชในวันั นั้้�น หรือื ถ้้าไม่่บวชก็ต็ ้อ้ งตายในวััน นั้้�น” ซึ่่�งท่่านได้พ้ ยายามที่่�จะยกประเด็น็ เรื่อ� ง “เพศคฤหััสถ์ม์ ีีความไม่ส่ งบ มีี กำำ�ลัังทราม จึึงไม่ส่ ามารถที่่�จะรองรับั พระอรหัตั ผลซึ่่ง� คุุณวิิเศษที่ส่� ููงกว่า่ ” มา เป็น็ เครื่่อ� งมือื ในการสนับั สนุนุ ข้อ้ เท็จ็ จริงิ ของท่า่ น โดยผู้เ�้ ขีียนได้ต้ั้ง� สังั เกตต่อ่ ข้้อเท็จ็ จริิง และการยกเหตุุผลมาสนัับสนุนุ ว่่า “เป็็นไปได้้ หรืือเป็็นไปไม่ไ่ ด้้” และ “สมเหตุสุ มผล” หรืือไม่?่ หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรืือ 6

ดัังที่ไ�่ ด้้กล่่าวแล้ว้ ในเบื้้อ� งต้้นว่า่ มีีนัักคิดิ ทางศาสนา ๒ กลุ่�มออกมา แสดงความเห็็นด้้วย และค่่อนข้้างจะไม่เ่ ห็น็ ด้้วยกับั การให้้เหตุุผลในลัักษณะ ดัังกล่่าวของพระนาคเสน ซึ่่�งกลุ่�มที่�่เห็็นด้้วยนั้้�นประกอบด้้วยพระพุุทธ โฆษาจารย์์ พระธััมมปาลเถระ พระอภิิธรรมาจารย์์ และพระพรหมโมลีี (วิิลาส ญาณวีีโร) ซึ่่�งประเด็็นหลัักที่่�นัักคิิดกลุ่�มนี้้�ยกเหตุุผลมาสนัับสนุุนก็็คืือ เป็็นประเด็็นที่่�ค่่อนข้้างจะคล้้ายคลึึงกัับพระนาคเสน โดยมองประเด็็นเรื่�อง “เพศคฤหััสถ์์” ไม่่คู่่�ควร หรืือไม่่เหมาะในการที่�่จะรองรัับ “ความเป็็นพระ อรหัตั ผล” เพราะพระอรหันั ต์ม์ ีีภููมิทิ ี่ส่� ููงกว่า่ ส่ว่ นคฤหัสั ถ์ม์ ีีภููมิทิ ี่ต�่ ่ำำ��ช้า้ ฉะนั้้น� เมื่�อไม่ส่ ามารถบวชได้้ จึงึ ต้้องตายในวัันนั้้�นเท่า่ นั้้น� 6 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

ผศ.ดร.วััชระ งามจิิตรเจริิญ และพระมหานริินทร์์ สุุธรรมค่่อนข้้าง จะไม่่เห็็นด้ว้ ยกับั การให้เ้ หตุุผลในลัักษณะดัังกล่่าว โดยบอกว่่า “ไม่่สมเหตุุ สมผล” เพราะเห็็นว่่า พระพุทุ ธศาสนาให้้น้ำำ��หนัักกัับ “การเปลี่่�ยนแปลงทาง จิติ ” หรือื “คุณุ ค่่าทางจิิต” มากกว่่าประเด็็นเรื่�องกาย หรือื ประเด็็นเรื่อ� งเพศ ฉะนั้้น� คฤหััสถ์ท์ ี่�่บรรลุุพระอรหััตผลอาจจะไม่่ตายในวันั นั้้�น อาจจะมีีชีีวิติ อยู่� จนกว่่าตััวเองพร้้อมที่่�จะบวช ซึ่่�งให้้เหตุุผลในลัักษณะนี้้ค� ่่อนข้้างจะยืดื หยุ่�น มากกว่่า ในขณะที่พ่� ุุทธทาสภิกิ ขุกุ ับั ปราณีี สำำ�เริิงราชย์์ไม่ไ่ ด้้วิิพากษ์ว์ ่า่ การให้้ เหตุผุ ลของพระ นาคเสนอย่า่ งเด่่นชััดว่่า สมเหตุุสมผลหรืือไม่?่ แต่่ได้้ตั้ง� ข้อ้ สังั เกตว่า่ การอ้า้ งเหตุผุ ลในลักั ษณะดังั กล่า่ วนั้้น� เป็น็ ประดุจุ “การอนุมุ าน” หรือื “คาดคะเน” เท่า่ นั้้�น ซึ่ง�่ ในความเป็น็ จริงิ แล้ว้ “มันั เป็็นสิ่�งที่่เ� ป็็นไปไม่่ ได้”้ ในทางปฏิิบัตั ิิ หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 6

จากประเด็น็ ข้อ้ ถกเถีียงถึงึ ความ “สมเหตุสุ มผล” และ “ความเป็น็ ไป ได้้ หรืือเป็็นไปไม่ไ่ ด้”้ ของนัักคิิดดัังที่ไ่� ด้้กล่า่ วแล้ว้ ในเบื้้อ� งต้้นนั้้�น สิ่่ง� ที่�่ผู้�เ้ ขีียน ต้อ้ งการที่จ่� ะ “ประดิษิ ฐ์ว์ าทกรรม” ขึ้้น� มาเพื่่อ� อธิบิ ายเหตุผุ ลในงานชิ้น� นี้้ก� ็ค็ ือื “ทฤษฎีีทางเลือื กที่เ่� ป็็นไปได้”้ ฉะนั้้�น ประเด็น็ ข้้อถกเถีียงที่�่ว่่า “เพศคฤหััสถ์์ มีีกำำ�ลัังทราม หรือื ต่ำำ�� จึึงต้อ้ งบวช ในวัันนั้้�น ถ้า้ ไม่่บวชในวัันนั้้น� จะต้อ้ งตายใน วัันนั้้น� ” และ “ทำำ�ไม? ต้้องบวช ถ้้าไม่บ่ วช ทำ�ำ ไม? จะต้อ้ งตาย” จะกลาย เป็็นประเด็็นที่่�ชััดเจนมากยิ่�งขึ้�น ถ้้าเราได้้นำำ� “ทฤษฎีีทางเลืือกที่่�เป็็นไปได้้” มาอธิิบาย 7 ผู้บบ�รรลุออรหันนต์

ผู้เ้� ขีียนเห็น็ ว่า่ “คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผล จะบวช หรือื จะตายใน วันั นั้้น� หรือื วันั ไหนๆ” ขึ้้น� อยู่่�กับั “การเลือื ก” ซึ่ง�่ เป็น็ การเลือื กที่เ่� ต็ม็ เปี่ย�่ มไป ด้้วย “ความพร้้อมของเหตุปุ ัจั จััย” อันั เป็็นความพร้้อมที่ย�่ ืืนอยู่�บนฐานของ ตัวั แปรในหลายๆ ด้า้ น เช่น่ คุณุ ค่า่ ภายในพร้อ้ มหรือื ไม่?่ สังั ขารพร้อ้ มหรือื ไม่?่ กรรมที่่�สร้้างมาพร้้อมที่่�จะให้้ดำ�ำ รงอยู่่�ต่่อไปได้้หรืือไม่่? การที่�่เขาเลืือกจะอยู่� หรือื ตายนั้้�น จะยืนื อยู่�บนฐานของความเป็น็ ได้ข้ องเหตุุปััจจัยั ชุดุ ดังั กล่า่ วเป็น็ ตัวั กำ�ำ หนด ไม่ไ่ ด้ข้ึ้น� อยู่่�กับั เหตุปุ ัจั จัยั อย่า่ งใดอย่า่ งหนึ่่ง� เป็น็ ตัวั กำำ�หนดแต่เ่ พีียง ประการเดีียวเท่่านั้้น� หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 7

ดังั จะเห็น็ ได้จ้ ากการเลือื กของนางเขมา พระยสะ และอุคุ คเสนเสฏฐีี บุตุ ร ทำำ�ไม? การเลืือกของท่่านจึึงเป็็นไปได้ ้ เหตุุผลก็็เพราะว่่า ทั้้�งสองท่า่ นมีี ความพร้้อมทั้้ง� ในแง่่ของกายภาพ จิติ ภาพ และอดีีตกรรม แต่ก่ ารเลืือกของ นายทารุุจิิยะกลัับเป็็นสิ่�งที่�่เป็็นไปไม่่ได้้ เหตุุผลก็็เพราะว่่าขาดองค์์ประกอบ ของอดีีตกรรม แม้้ว่่าความพร้้อมในแง่่ของกายภาพ และจิิตภาพจะพร้้อม ก็ต็ าม ในขณะที่่�สัันตติมิ หาอำ�ำ มาตย์์ และพระเจ้้าสุทุ โธทนะมีีความพร้้อมใน แง่ข่ องจิิตภาพ แต่ส่ ัังขารไม่เ่ อื้�อที่�จ่ ะเลืือกเส้้นทางของการบวชได้ ้ ฉะนั้้น� ผู้�้ เขีียนจึงึ อยากจะสรุปุ ว่่า เกณฑ์ท์ ี่่�จะชี้ว� ััดว่่า “จะบวช หรืือจะตาย” นั้้�น ขึ้้�น อยู่่�กับั “การเลืือก” แต่่การเลือื กนั้้�น ต้้องเป็็นการเลือื กที่�่ “เป็น็ ไปได้้” และ การเลืือกที่�่เป็็นไปได้้นั้้�น จะต้้องสอดรัับกัับ “ตััวแปรแห่่งเหตุุปััจจััย” ซึ่่�ง ตัวั แปรแห่ง่ เหตุุปััจจัยั นี่�เ่ องจะเป็็น “คำ�ำ ตอบสุดุ ท้้าย” ของ “การเลืือกที่่เ� ป็น็ ไปได้้ หรือื เป็น็ ไปไม่ไ่ ด้้” 7 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

อย่่างไรก็็ตาม การให้้เหตุุผล หรืือการใช้้อุุปมามายืืนยัันข้้อมููลชั้�น ต้น้ ไม่ว่ ่่าจะเป็น็ การให้เ้ หตุผุ ลว่า่ คฤหัสั ถ์์มีีกำำ�ลัังทราม หรือื เป็น็ หีีนเพศ ซึ่ง�่ มีีความอ่่อนทั้้�งในแง่่ของเพศ และองค์ธ์ รรมกล่า่ วคือื ศีีล ๕ ผู้้�เขีียนเห็น็ ว่่า การให้เ้ หตุผุ ลในลักั ษณะนี้้� อาจจะ “สมเหตุุสมผล” และ “ยอมรัับได้”้ ใน สมััยนั้้�น แต่่เมื่�อถึึงจุุดเปลี่่�ยนแห่่งยุุคสมััย การให้้เหตุุผลในลัักษณะเช่่นนี้้� อาจจะทำ�ำ ให้้เกิิดการตั้้�งคำ�ำ ถามว่่า “เพีียงพอหรืือไม่่? ที่่�จะทำ�ำ ให้้ประชาชน ทั่่ว� ไปได้เ้ ข้า้ ใจ” และโดยเฉพาะอย่า่ งยิ่ง� เมื่อ� นำำ� “ทฤษฎีีความไม่ส่ มบููรณ์”์ ๕๖ ของรองศาสตราจารย์์ ดร.สมภาร พรมทามาอธิิบายประเด็็นนี้้ � หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 7

จะพบว่่า ข้้อเท็็จจริิง (Fact) ที่่�พระนาคเสนนำ�ำ มากล่่าวอ้้างอาจ จะสมบููรณ์์ และในขณะเดีียวกััน การให้้เหตุุผลเพื่่�อรองรัับข้้อเท็็จจริิง ดัังกล่่าวของพระนาคเสนอาจจะ “สมบููรณ์์” ในยุุคนั้้�น เพราะการให้้ เหตุุผลในลัักษณะดัังกล่่าวถููกออกแบบมาเพื่่�อตอบคำ�ำ ถามของคนในยุุค นั้้�น ซึ่�่งการตอบ หรืือการให้้เหตุุผลเพีียงเท่่านั้้�นอาจจะทำ�ำ ให้้คนในยุุคนั้้�น ยอมรัับได้้ และที่�่บอกว่่า อาจจะไม่่สมบููรณ์์ในยุุคนี้้� ก็็เพราะว่่าการให้้ เหตุุผลในลัักษณะดัังกล่่าวไม่่ได้้ออกแบบมาเพื่่�อตอบคำำ�ถามของคนยุุคนี้้� จึึงทำำ�ให้้คนในยุุคนี้้�มองว่่าการให้้เหตุุผลดัังกล่่าว “ไม่่สมบููรณ์์” เพีียงพอที่�่ จะตอบคำำ�ถามของคนในยุุคนี้้�ได้้ ดัังที่่�เราจะเห็็นได้้จากการตั้้�งข้้อสัังเกต ของพุุทธทาสภิิกขุุ อาจารย์์วััชระและพระมหานริินทร์์ เป็็นต้้น ฉะนั้้�น เมื่ �อกล่่าวโดยสรุุปแล้้ว ผู้้�เขีียนเข้้าใจว่่า ข้้อเท็็จจริิงที่�่เกี่่�ยวกัับการให้้เหตุุผล บางประการนั้้�น อาจจะ “มีีขีีดจำ�ำ กััด” ในแง่ข่ อง “เงื่อ� นเวลา” แต่ ่ “ไม่่มีี ขีีดจำำ�กัดั ” ในแง่่ของ “ข้อ้ เท็็จจริงิ 7 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

อ้า้ งอิงิ ๑ คำ�ำ ว่่า “คฤหัสั ถ์์” ในบริิบทนี้้� หมายถึงึ “ผู้้�ครองเรืือน” ซึ่�่ง ยัังต้้องเกี่�ย่ วข้้องกัับเรื่�องกามอยู่่� ดัังจะเห็น็ ได้จ้ ากรููปวิิเคราะห์ท์ ี่ว�่ ่่า “ คิหิ ิพิ นฺฺธนานีีติ ิ กามพนฺฺธนานิิ. กามา หิ ิ คิิหีีนํํ พนฺฺธนานิิ” (สุุตฺตฺ นิิ.อ . ๑/๔๔/๘๕, อป.อ.๑/๑๐๐/๒๐๕) ๒ คำ�ำ ว่่า “บวช” ในที่�่นี้้� หมายถึึง บวชเป็็นบรรพชิิตใน พระพุทุ ธศาสนา ซึ่ง่� ได้้แก่่ ภิกิ ษุุ สามเณร ภิิกษุณุ ีี และสามเณรีี ( ม.ฏีี. ๒/๑๘๖/๑๐๘) ๓คำำ�ว่า่ “วััน” นั้้น� นัับตั้ง� แต่อ่ รุณุ รุ่�งของวันั หนึ่่�งไปจนถึึงอรุณุ รุ่�งของอีีกวันั หนึ่่�ง. ๔ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย (แปล), มลิินทปััญหา (กรุุงเทพฯ: มหามกุุฎราชวิทิ ยาลััย, ๒๕๑๕), หน้้า ๓๙๔–๓๙๕. ๕ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ธัมั มปทัฏั ฐกถา อรรถกถาขุทุ ทก นิิกาย คาถาธรรมบท เล่ม่ ที่่� ๑ ภาคที่�่ ๒ ตอนที่�่ ๔, พิิมพ์์ครั้้ง� ที่่� ๔ ( กรุุงเทพฯ: มหามกุุฎราชวิทิ ยาลัยั , ๒๕๔๓), หน้้า ๓๐๑. หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรือื 7

๖ พระธััมมปาลเถระ, มััชฌิิมปััณณาสฏีีกา (กรุุงเทพ: มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, ๒๕๓๐), หน้้า ๑๐๘ –๑๐๙. ๗ มููลนิิธิิสััทธััมมโชติิกะ, ปรมััตถโชติิกะ มหาอภิิธััมมััตถ สัังคหฏีีกาปริิเฉทที่�่ ๕ เล่่ม ๒ กััมมจตุุกกะ-มรณุุปััตติิจตุุกกะ, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓ (กรุุงเทพฯ: ไทยรายวััน กราฟิิค เพลท, ๒๕๔๖), หน้้า 30. ๘พระพรหมโมลีี (วิลิ าส ญาณวโร ป.ธ.๙), วิมิ ุตุ ติริ ัตั นมาลีี เล่ม่ ๑ (กรุงุ เทพฯ: สำำ�นัักพิมิ พ์์ดอกหญ้้า, ๒๕๔๕, หน้า้ ๔๔๗–๔๕๓. ๙ พุทุ ธทาสภิิกขุุ, จดหมายจากสวนโมกข์์ (กรุุงเทพฯ: สำ�ำ นััก พิิมพ์ส์ ุขุ ภาพใจ, ม.ป.ป.), หน้้า ๑๐๙. ๑๐ ขีีณาสวภาวปััญหา ปรากฏอยู่�ใน นิปิ ปปััญจวรรค ซึ่่�งอยู่� ในกััณฑ์์ที่่� ๕ อัันเป็น็ กััณฑ์์ที่�่ว่า่ ด้้วย “อนุุมานปัญั หา” ดููเพิ่่ม� เติิมใน ปรานีี สำ�ำ เริิงราชย์์, มิลิ ินิ ทปััญหา เล่่มที่�่ ๓ (กรุุงเทพฯ: โรงพิมิ พ์์ ชวนพิิมพ์์, ๒๕๔๑). ๑๑สัมั ภาษณ์์ ผศ.ดร.วัชั ระ งามจิติ รเจริญิ , ๒๐ มีีนาคม ๒๕๔๗. 7 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

๑๒ พระมหานริินทร์ ์ สุธุ รรม, “สมณเพศกับั เป้้าหมายสููงสุุด ในพระพุทุ ธศาสนาเถรวาท”, วิิทยานิพิ นธ์์ ศิลิ ปศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาปรัชั ญา มหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่, ๒๕๔๕, หน้า้ ๑๙๐. ๑๓ Wenerable Nagasena, you say…”Bhikkhu Bodhi, The Questions of King Milinda (Candy: Buddhist Publicat- tion Society, ๒๐๐๑), p.๑๑๙. ๑๔ “Wenerable Nagasena, your people say…” T.W. Rhys Davids, The Questions of King Milinda Past II (Delhi: Indological Publishers & Booksellers, ๑๘๙๔), p.๙๖. ๑๕ เรื่�องเดีียวกันั , อ้า้ งแล้ว้ , หน้า้ ๒๖๙–๒๗๓. ๑๖ ปราณีี สำำ�เริิงราชย์์, มิิลิินทปััญหา เล่ม่ ที่่� ๓ (กรุงุ เทพฯ: โรงพิิมพ์์ชวนพิมิ พ์์, ๒๕๔๑), หน้้า ๔๒–๔๓. ๑๗ เรื่�องเดีียวกันั , อ้า้ งแล้ว้ , หน้้า ๓๙๔–๓๙๖. ๑๘ดูู “เสฏฐปัญั หา” โดยละเอีียดในภาคผนวก ก. หน้า้ ๒๖. ๑๙ดููรายละเอีียดของอุปุ มาอุปุ มัยั และ “ขีีณาสวภาวปัญั หา” โดยละเอีียด ในภาคผนวก ข. หน้า้ ๒๘. หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 7

๒๐ ม ห า ม กุุ ฎร า ช วิิ ท ย า ลัั ย , ธัั ม ม ปทัั ฏ ฐ ก ถ า อรรถกถาขุทุ ทกนิกิ าย คาถาธรรมบท เล่่มที่�่ ๑ ภาคที่�่ ๒ ตอนที่่� ๔, อ้้างแล้ว้ , หน้า้ ๓๐๑. ๒๑ พระธััมมปาลเถระ, มััชฌิิมปััณณาสฏีีกา อ้้างแล้้ว, หน้้า ๑๐๘–๑๐๙. ๒๒มููลนิธิ ิสิ ัทั ธัมั มโชติกิ ะ, ปรมัตั ถโชติกิ ะ มหาอภิธิ ัมั มัตั ถสังั คห ฏีีกา ปริิเฉทที่�่ ๕ เล่่ม ๒ กัมั มจตุกุ กะ-มรณุุปััตติจิ ตุกุ กะ, อ้้างแล้้ว, หน้า้ ๓๐. ๒๓พระพรหมโมลีี (วิลิ าส ญาณวโร ป.ธ.๙), วิมิ ุตุ ติริ ัตั นมาลีี เล่ม่ ๑ (กรุเุ ทพฯ: สำำ�นัักพิิมพ์์ดอกหญ้้า, ๒๕๔๕๗, หน้้า ๔๔๗–๔๕๓. ๒๔ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ธััมมปทััฏฐกถาอรรถกถา ขุุททกนิิกาย คาถาธรรมบท เล่่มที่�่ ๑ ภาคที่่� ๒ ตอนที่่� ๔, อ้า้ งแล้้ว, หน้า้ ๓๐๑. ๒๕ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ธััมมปทััฏฐกถา (อฏฺฺฐโม ภาโค) (กรุงุ เทพฯ: มหามกุฏุ ราชวิิทยาลัยั , ๒๕๓๗), หน้า้ ๒๖. ๒๖ สารััตถะ หมายถึึง มีีสภาพจิิตที่�่ปราศจากราคะ โทสะ และโมหะ และมีีสภาพจิิตหลุุดพ้้นไปจากอวิิชชา ตััณหา อุุปาทาน สามารถมองเห็็นถึึงสรรพสิ่�งที่เ�่ กิดิ ขึ้้น� ตามความเป็็นจริงิ 7 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

๒๗ ทีี.สีี. ๙/๕๙/๑๐๒, ม.มูู. ๑๒/๒๓๙/๓๓๒, สํํ.นิ.ิ ๑๖/๒๔๒ /๕๒๓. ๒๘ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, อรรถกถาขุุททกนิิกาย คาถา ธรรมบท เล่่มที่่� ๑ ภาคที่่� ๒ (กรุุงเทพฯ: มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ๒๕๔๓), หน้้า ๔๓๑. ๒๙ ขุุ.อุุ (ไทย). ๒๕/๑๐/๑๘๖. ดููเพิ่่ม� เติิมใน มหามกุฎุ ราช วิทิ ยาลััย, ปรมัตั ถทีีปนีี อรรถกถาขุทุ ทกนิิกาย อุทุ าน เล่่มที่�่ ๑ ภาค ที่่� ๓ (กรุุงเทพฯ: มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ๒๕๓๖), หน้า้ ๑๕๔. ๓๐ อภิิ.ก. ๓๗/๘๖๗/๓๖๐. ๓๑ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, ปรมััตถทีีปนีี อรรถกถาขุุททก นิกิ าย อุุทาน เล่ม่ ที่�่ ๑ ภาคที่�่ ๓ (กรุงุ เทพฯ: มหามกุฎุ ราชวิทิ ยาลััย, ๒๕๔๓), หน้้า ๑๕๖. ๓๒ มหามกุุฎราชวิิทยาลััย, อรรถกถาขุุททกนิิกาย ชาดก เล่ม่ ที่�่ ๓ ภาคที่่� ๑, พิมิ พ์์ครั้้ง� ที่�่ ๔ (กรุงุ เทพฯ: มหามกุฎุ ราชวิทิ ยาลัยั , ๒๕๔๒), หน้า้ ๑๔๖. ๓๓ ทีี.ปา. (ภาษาไทย) ๑๑/๒๘๗/๒๒๖. ๓๔ อภิ.ิ ก. ๓๗/๘๗/๓๖๐. หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรือื 7

๓๕ พระราชวรมุนุ ีี (ประยุทุ ธ์ ์ ปยุตุ ฺโฺ ต), พจนานุกุ รมพุทุ ธศาสน์์ ฉบับั ประมวลศัพั ท์,์ พิมิ พ์ค์ รั้้ง� ที่�่ ๓ (กรุงุ เทพฯ: มหาวิทิ ยาลัยั มหาจุฬุ า ลงกรณราชวิทิ ยาลัยั , ๒๕๒๘), หน้้า ๖๔. ๓๖ องฺ.ฺ เอก. (ภาษาไทย). ๒๐/๑๕๓/-๑๗๓/๓๔–๓๖. ๓๗ สํํ.ม. ๑๙/๒๙๖/๗๗. ๓๘ พระมหานรินิ ทร์ ์ สุุธรรม, “สมณเพศกับั เป้้าหมายสููงสุุด ในพระพุทุ ธศาสนาเถรวาท”, วิิทยานิพิ นธ์ ์ ศิิลปศาสตรมหาบััณฑิติ สาขาปรัชั ญา มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่, ๒๕๔๕, หน้า้ ๑๗๗. ๓๙ เรื่�องเดีียวกััน, หน้้าเดีียวกััน. ๔๐สัมั ภาษณ์์ ผศ.ดร.วัชั ระ งามจิติ รเจริญิ , ๒๐ มีีนาคม ๒๕๔๗. ๔๑ มููลนิิธิิสััทธััมมโชติิกะ, ปรมััตถโชติิกะ มหาอภิิธััมมััตถ สังั คหฏีีกา ปริิเฉทที่�่ ๕ เล่่ม ๒ กัมั มจตุุกกะ-มรณุุปััตติจิ ตุกุ กะ, อ้้าง แล้้ว, หน้า้ 30. ๔๒ วิ.ิ มหา. (ไทย) ๔/๓๒/๔๐. 8 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

๔๓ จากกรณีีศึึกษา นายพาหิยิ ะทารุจุ ิิยะได้บ้ รรลุอุ รหัันต์แ์ ล้้ว แ ล ะ ปร า ร ถ น า ที่�่ จ ะ บ รร พ ช า อุุ ป ส ม บ ท แ ต่่ เ นื่่� อ ง จ า ก มีีกรรมเก่่า จึึงทำำ�ให้้ตััวเองไม่่ได้้มีีโอกาสบวช พระเจ้้าสุุทโธ ทนะ และสัันตติิมหาอำำ�มาตย์์ ต้้องนิิพพานเพราะสัังขารไม่่ อำ�ำ นวย ส่่วนนางเขมา และพระยสะนั้้�นมีีความพร้้อมทั้้�งสอง ด้้าน กล่่าวคืือ สัังขาร และกรรมเก่่าจึึงทำำ�ให้้มีีโอกาสได้้บวช ๔๔ สััมภาษณ์์, ผศ.ดร.วััชระ งามจิิตรเจริิญ, ๒๐ มีีนาคม ๒๕๔๗. ๔๓ จากกรณีีศึกึ ษา นายพาหิยิ ะทารุจุ ิยิ ะได้บ้ รรลุุอรหันั ต์์แล้้ว และปรารถนาที่่�จะบรรพชาอุุปสมบท แต่่เนื่่�องจากมีีกรรมเก่่า จึึง ทำ�ำ ให้้ตััวเองไม่่ได้้มีีโอกาสบวช พระเจ้้าสุุทโธทนะ และสัันตติิมหา อำำ�มาตย์ ์ ต้อ้ งนิพิ พานเพราะสังั ขารไม่อ่ ำำ�นวย ส่ว่ นนางเขมา และพระ ยสะนั้้�นมีีความพร้้อมทั้้ง� สองด้า้ น กล่า่ วคือื สัังขาร และกรรมเก่า่ จึงึ ทำำ�ให้ม้ ีีโอกาสได้้บวช ๔๔ สััมภาษณ์์, ผศ.ดร.วััชระ งามจิิตรเจริิญ, ๒๐ มีีนาคม ๒๕๔๗. หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 8

๔๕ พระมหานรินิ ทร์์ สุธุ รรม, “สมณเพศกับั เป้า้ หมายสููงสุุด ในพระพุทุ ธศาสนาเถรวาท”, วิิทยานิพิ นธ์ ์ ศิลิ ปศาสตรมหาบััณฑิติ สาขาปรััชญา มหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่,่ ๒๕๔๕, หน้า้ ๑๙๐. ๔๖ มหามกุฎุ ราชวิทิ ยาลััย, ธััมมปทัฏั ฐกถา อรรถกถาขุทุ ทก นิกิ าย คาถาธรรมบท เล่่มที่�่ ๑ ภาคที่่� ๒ ตอนที่่� ๓, พิิมพ์ค์ รั้้ง� ที่�่ ๔ (กรุุงเทพฯ: มหามกุุฎราชวิิทยาลัยั ,๒๕๔๓), หน้า้ ๑๒๐. ๔๗ ขุุ.ธมฺฺ. (บาลีี) ๒๕/๑๐/๑๐๓. ๔๘ ม ห า ม กุุ ฎร า ช วิิ ท ย า ลัั ย , ธัั ม ม ปทัั ฏ ฐ ก ถ า อรรถกถาขุทุ ทกนิกิ ายคาถาธรรมบท เล่่มที่�่ ๑ ภาคที่�่ ๒ ตอนที่่� ๔, อ้้างแล้ว้ , หน้้า ๓๐๑. ๔๙ ขุุ.อ. (ภาษาไทย). ๓๓/๓๗๐–๓๗๓๑๔๓๖/๔๓๗. ๕๐ พุุทธทาสภิิกขุุ, จดหมายจากสวนโมกข์์, อ้้างแล้้ว, หน้้า ๑๐๙. ๕๑ คัมั ภีีร์ด์ั้ง� เดิมิ สายอภิธิ รรมนั้้น� ได้ต้ ีีความในประเด็น็ นี้้ว� ่า่ “ ต้อ้ งตายภายใน ๗ วันั ” แต่เ่ มื่อ� ไม่ส่ ามารถที่จ�่ ะหาหลักั ฐานจากคัมั ภีีร์์ ชั้ �นต้้นมาสนัับสนุุนข้้ออ้้างดัังกล่่าวได้้ จึึงได้้เปลี่�่ยนมายอมรัับข้้อมููล ตามที่�ป่ รากฎในคััมภีีร์์อรรถกถาแทน (สััมภาษณ์์ อาจารย์เ์ สรีี อาจ สาคร, อาจารย์์ประจำำ�กองงานพระไตรปิฏิ ก, ๒๐ มีีนาคม ๒๕๔๗) 8 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

๕๒ มููลนิธิ ิสิ ัทั ธัมั มโชติกิ ะ, ปรมัตั ถโชติกิ ะ มหาอภิธิ ัมั มัตั ถสังั คห ฏีีกา ปริเิ ฉทที่�่ ๕ เล่ม่ ๒ กััมมจตุกุ กะ-มรณุปุ ัตั ติจิ ตุกุ กะ, อ้้างแล้้ว, หน้า้ ๓๐. ๕๓ พระพรหมโมลีี (วิลิ าส ญาณวโร ป.ธ.๙), อ้้างแล้ว้ , หน้้า ๔๔๙. ๕๔ เสถีียร พัันธรังั ษีี, ศาสนาเปรีียบเทีียบ, พิมิ พ์ค์ รั้้ง� ที่่� ๗ (กรุงุ เทพฯ: มหาวิทิ ยาลัยั มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย, ๒๕๓๔), หน้้า ๖๖. ๕๕ Tambain, S.J., Buddhism and the spirit cults in North East Thailand (New York: Cambridge University Press, ๑๙๗๐), p. ๖๓. ๕๖ ดููรายละเอีียดเพิ่่�มเติมิ ใน หนังั สือื พิมิ พ์์มติิชน ( ๑๔ กันั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๕) : หน้้า ๕. หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 8

ธรรมหรรษา พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร. พระสงฆ์์ยุุคใหม่่ ผู้�้ซึ่�่งเป็็นนัักคิิดและนัักวิิชาการทางพระพุุทธ ศาสนา ที่่�สามารถบููรณาการความรู้้�ทางพระพุุทธศาสนากัับศาสตร์์ สมััยใหม่่ต่่างๆ เผยแผ่่สู่่�สัังคมได้้อย่่างดีีเยี่�่ยม เป็็นผู้�้เชี่่�ยวชาญ การจััดการความขััดแย้้งโดยพุุทธสัันติิวิิธีี เป็็นพระสงฆ์์ยุุคใหม่่ ที่่�กล้้าเปิิดรัับความรู้�้ใหม่่ๆ ช่่องทางใหม่่ๆ ในการเผยแผ่่ธรรมะและ ใ น อีี ก บ ท บ า ท ห นึ่่� ง ที่�่ เ ป็็ น นัั ก บ ริิ ห า ร ข อ ง ม ห า วิิ ท ย า ลัั ย ม ห า จุุ ฬ า ล ง กรณราชวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยแห่่งคณะสงฆ์์ไทยที่่�นำำ�วิิชาการ ความรู้�้ ทางพระพุุทธศาสนาเผยแผ่่สู่่�สัังคม เป็็นนัักทำำ�งานที่�่มุ่�ง มั่�นตั้�งใจ ได้้รัับมอบหมายให้้เป็็นผู้้�ประสานงานจััดงานประชุุม วิิสาขบููชาโลก ในด้้านวิิชาการท่่านก็็เป็็นอาจารย์์ เป็็นพระสงฆ์์ นัักวิิชาการที่่�บรรยายธรรม บรรยายการจััดการความขััดแย้้ง โดยพุุทธสัันติิวิิธีี ให้้แก่่สถานศึึกษา องค์์กร และแก่่ผู้�้บริิหารต่่างๆ เป็็นตััวแทนนัักวิิชาการทางพระพุุทธศาสนาไปร่่วมประชุุมวิิชาการทั้้�งใน ประเทศและต่่างประเทศอยู่ �เป็็นประจำ�ำ www.facebook.com/HansaPeace Facebook Fanpage : ธรรมหรรษา DhammaHansa 8 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

จัดั พิิมพ์์เผยแผ่่ วิิทยาลััยพุุทธศาสตร์น์ านาชาติิ และหลักั สููตรสันั ติศิ ึึกษา มหาวิิทยาลัยั มหาจุุฬาลงกรณราชวิทิ ยาลััย 035-248-000 ต่่อ 7210, 082-692-5495 [email protected] www.ibsc.mcu.ac.th Graphic by freepik.com หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 8

8 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook