Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คฤหัสถ์บรรลุธรรม

คฤหัสถ์บรรลุธรรม

Published by jariya5828.jp, 2022-07-03 04:03:51

Description: คฤหัสถ์บรรลุธรรม

Search

Read the Text Version

หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 1

สารบัญั ๑ ที่่ม� าของปัญั หา ๑ ๒ ขีีณาสวภาวปััญหา หรืือคิิหิอิ รหัตั ตปัญั หา: ๔ ความเป็็นมา และสารััตถะ ๓ ประเด็็นปัญั หาว่่า คฤหััสถ์บ์ รรลุพุ ระอรหััตผล: บวชทำ�ำ ไม ทำ�ำ ไมต้อ้ งบวช ๑๑ ๔ เพราะเหตุุใด? ถ้า้ คฤหัสั ถ์์บรรลุพุ ระอรหััตผลแล้ว้ ไม่บ่ วช ๓๗ จะต้้องนิพิ พานหรืือตาย ๕ เพราะสาเหตุใุ ด? พระนาคเสน จึงึ ต้อ้ งกล่่าวว่่า ๕๘ “คฤหััสถ์บ์ รรลุุ พระอรหััตผล ต้อ้ งบวชในวันั นั้้น� ถ้้าไม่บ่ วช จะต้อ้ งตายภายในวันั นั้้�น” ๖ สรุุปและวิเิ คราะห์์ ๖๗ 2 ผู้้บ� รรลุุอรหัันต์์

๑ ประเด็น็ ที่ม่� าของปััญหา คำ�ำ กล่า่ วที่ว่� ่า่ “คฤหัสั ถ์๑์ ที่บ�่ รรลุธุ รรมเป็น็ พระอรหันั ต์ ์ คฤหัสั ถ์ผ์ ู้�้นั้น� ย่อ่ มมีีคติเิ ป็น็ ๒ เท่า่ นั้้น� ไม่เ่ ป็น็ อื่น� คือื ต้อ้ งบวช๒ หรือื ไม่ก่ ็ต็ ้อ้ งปรินิ ิพิ พานใน วัันนั้้น� ๓ นั่่�นแหละ ไม่่ล่่วงวันั นั้้�นไปได้้เลย”๔ ตามที่�่ปรากฏในมิลิ ินิ ทปััญหานั้้น� ได้ท้ ำำ�ให้เ้ กิิดคำำ�ถามว่่า “ทำ�ำ ไม? ต้อ้ งบวชในวันั นั้้น� เท่่านั้้�น” และ “ถ้้าไม่บ่ วช ทำ�ำ ไม? คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผลจึงึ ต้อ้ งตายในวันั นั้้น� เช่น่ กันั ” โดยเฉพาะ อย่า่ งยิ่ง� การนำ�ำ เสนอเหตุผุ ลขึ้น� มารองรับั ข้อ้ เท็จ็ จริงิ ดังั กล่า่ วว่า่ “เพศคฤหัสั ถ์์ ไม่ส่ งบ มีีภููมิิหยาบ ต่ำ��ำ ช้้า และมีีกำ�ำ ลัังทราม” ฉะนั้้น� “เพศคฤหััสถ์จ์ ึึงไม่่ อาจจะรองรับั สภาวะของพระอรหัตั ผล” ก็ท็ ำ�ำ ให้ถ้ ููกตั้ง� คำ�ำ ถามเช่น่ เดีียวกันั ว่า่ “เป็น็ ไปได้้ หรืือเป็็นไปไม่่ได้้” และ “สมเหตุสุ มผล” หรืือไม่่? หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 1

กลุ่�มพระเถระที่่�เห็็นด้้วยกัับการให้้เหตุุผลในลัักษณะดัังกล่่าวนั้้�น ประกอบไปด้ว้ ยพระพุทุ ธโฆษาจารย์๕์ พระธัมั มปาลเถระ๖ พระอภิธิ รรมาจารย์๗์ และพระพรหมโมลีี (วิิลาส ญาณวีีโร)๘ แต่่ในขณะที่่�พุทุ ธทาสภิิกขุุได้้ออกมา ชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ การอ้า้ งเหตุผุ ลในลักั ษณะดังั กล่า่ วนั้้น� เป็น็ ประดุจุ “การอนุมุ าน” เท่า่ นั้้น� ๙ ซึ่ง�่ ในความเป็น็ จริงิ แล้ว้ มันั เป็น็ ไปไม่ไ่ ด้ ้ ซึ่ง�่ สอดรับั กับั ปราณีี สำำ�เริงิ ราชย์์ที่ม่� องว่า่ เป็็น “อนุุมานปััญหา”๑๐ แต่่ในขณะเดีียวกันั นัักวิิชาการด้้าน พุทุ ธศาสนาบางท่่านก็็มองว่่า การให้เ้ หตุผุ ลในลักั ษณะดัังกล่า่ วดููประหนึ่่�งว่า่ “ไม่ส่ มเหตุสุ มผล”๑๑ ซึ่�ง่ งานวิิจัยั บางชิ้น� ก็ร็ ะบุุเอาไว้ค้ ่อ่ นข้า้ งจะไม่เ่ ห็็นด้้วย กับั การให้เ้ หตุผุ ลในลักั ษณะดังั กล่า่ วเช่น่ กันั ว่า่ “คฤหัสั ถ์เ์ ป็น็ พระอรหันั ต์แ์ ล้ว้ ต้อ้ งบวช แต่่ไม่น่ ่่าจะตายทันั ทีี”๑๒ 2 ผู้้บ� รรลุุอรหัันต์์

การให้้เหตุุผลดัังกล่่าว ค่่อนข้้างจะสวนทางกัับหลัักการเดิิม และดูู ประหนึ่่�งว่่าจะไม่่เห็็นด้้วยกัับการให้้เหตุุผลของพระนาคเสน และกลุ่�มพระ เถระที่เ�่ ห็น็ ด้ว้ ย ประเด็น็ ที่น�่ ่า่ สนใจก็ค็ ือื ว่า่ ข้อ้ มููลที่เ�่ กี่ย�่ วกับั การให้เ้ หตุผุ ลของ พระนาคเสนดังั กล่่าวนั้้�น “ไม่่ถููกต้้อง ปราศจากข้้อเท็็จจริิง และไม่ส่ มเหตุุ สมผล” หรือื ว่า่ “ข้อ้ มููลดังั กล่า่ วนั้้�นเต็ม็ ไปด้้วยข้อ้ เท็จ็ จริงิ ” ซึ่่�งพระนาคเสน ได้พ้ ยายามอย่่างยิ่�งที่่จ� ะให้้เหตุผุ ล ซึ่ง�่ การให้เ้ หตุุผล อาจจะสอดรับั กับั บริบิ ท สังั คมสมััยนั้้น� จึงึ ทำำ�ให้พ้ ระยามิลิ ิินท์ย์ อมรัับได้ ้ แต่่เมื่�อถึงึ จุุดเปลี่่ย� นแห่่งยุคุ สมัยั จึึงทำำ�ให้บ้ างท่่านยอมรัับไม่ไ่ ด้เ้ กี่�่ยวกับั การให้้เหตุุผลเช่่นนั้้�น หรือื ว่า่ ใน ความเป็็นจริิงแล้้ว เราควรตีีความ หรืือให้้เหตุุผลในลัักษณะใด จึึงจะทำ�ำ ให้้ เกิิดการยอมรัับได้้มากยิ่�งขึ้น� อย่่างไรก็็ตาม ผู้้�เขีียนจะเริ่�มต้้นด้้วยการนำำ�เสนอประเด็็นที่�่ว่่าด้้วย ข้้อเท็็จจริิงตามที่่�ปรากฏในคััมภีีร์์มิิลิินทปััญหาก่่อน เพื่่�อให้้เกิิดความเข้้าใจ เกี่�่ยวกัับความเป็็นมาและสารััตถะโดยละเอีียด หลัังจากนั้้�นจึึงจะนำ�ำ ข้้อมููลนี้้� ไปเป็น็ ฐานในการวิเิ คราะห์ใ์ นประเด็น็ ต่่างๆ ต่่อไป หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 3

๒ ขีีณาสวภาวปััญหา หรือื คิหิ ิิอรหัตั ตปััญหา: ความเป็็นมา และสารัตั ถะ เมื่�อวิิเคราะห์์ถึึงที่่�มาของประโยคคำำ�พููดที่�่ว่่า “คฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุธรรม เป็็นพระอรหันั ต์์คฤหัสั ถ์ผ์ ู้้�นั้น� ย่อ่ มมีีคติิเป็็น ๒ เท่่านั้้�น ไม่เ่ ป็น็ อื่น� คืือ ต้้อง บวช หรืือไม่่ก็็ต้้องปรินิ ิิพพานในวันั นั้้น� นั่่�นแหละ ไม่่ล่ว่ งวันั นั้้น� ไปได้เ้ ลย” มีี ปััญหาในแง่่ของที่่�มาเป็็น ๒ นััยด้้วยกััน กล่่าวคืือ เอกสารบางเล่่มอ้้างว่่า พระนาคเสนเป็็นผู้�้กล่่าวประโยคนั้้�น๑๓ แต่่บางเล่่มก็็อ้้างว่่า ลููกศิิษย์์ หรืือ ประชาชนที่เ�่ กี่�่ยวข้้องกัับท่า่ นเป็็นผู้�ก้ ล่า่ ว๑๔ 4 ผู้้บ� รรลุุอรหัันต์์

อย่่างไรก็็ตาม เมื่�อผู้�้เขีียนได้้พิิจารณาจากเนื้้�อความในลัักษณะดััง กล่่าวนี้้� กลัับพบว่่า มีีการกล่่าวถึึงใน “เสฏฐธััมมปััญหา”๑๕ ปณามิิตวรรค อันั เป็น็ ประเด็็นปััญหา หรือื วรรคที่่�ถููกนำ�ำ เสนอก่่อน “ขีีณาสวภาวปัญั หา” ๑๖ หรือื “คิหิ ิอิ รหัตั ตปัญั หา” ๑๗ ซึ่ง่� ในเสฏฐธัมั มปัญั หา๑๘ นั้้น� ท่า่ นได้ช้ี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ถึงึ คุุณค่่าและความสำ�ำ คััญของพระภิิกษุแุ ละสามเณรทั้้ง� ในเชิิง “สารัตั ถะ” และ “รููปแบบ” ด้้วยเหตุุนี้้� อุุบาสกที่่�เป็็นพระโสดาบัันจึึงควรกราบไหว้้ ลุุกรัับ พระภิิกษุุซึ่�่งมีีฐานะเป็็นเพีียง “ปุุถุุชน” เหตุุผลที่�่อุุบาสกคฤหััสถ์์ต้้องทำำ�เช่่น นั้้�นก็็เพราะ “ความที่่ภ� ููมิิของภิกิ ษุเุ ป็น็ ของใหญ่่ ความที่ภ�่ ููมิิของภิิกษุเุ ป็น็ ของ ไพบููลย์ ์ ไม่ม่ ีีภููมิอิื่�นเสมอนั้้�น ถ้้าอุุบาสกโสดาบัันกระทำำ�ให้แ้ จ้ง้ ซึ่่�งพระอรหัตั ผล คติิทั้้ง� หลาย ๒ อย่่างเท่า่ นั้้น� คืือ ต้อ้ งปริินิิพพานในวันั นั้้�น หรือื ต้อ้ งเข้า้ ถึงึ ความเป็น็ ภิกิ ษุใุ นวันั นั้้น� จึงึ จะได้้ เพราะว่า่ บรรพชานี้้เ� ป็น็ ของใหญ่่ เป็น็ ของ บริสิ ุทุ ธิ์์� เป็็นของถึงึ ซึ่่�งความเป็น็ ของสููง คือื ภููมิขิ องภิิกษุ”ุ หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 5

ฉะนั้้น� จากการศึึกษาเกี่�ย่ วกับั ประโยคข้า้ งต้้น จะพบว่่า มีีที่�ม่ าใน ๒ จุุด กล่่าวคืือใน “เสฏฐธััมมปััญหา” และ “ขีีณาสวภาวปััญหา” ซึ่ง่� ที่�ม่ า นั้้น� พระนาคเสนเป็น็ ผู้ก�้ ล่า่ ว มิใิ ช่ส่ านุศุ ิษิ ย์ด์ ังั ที่ต่� ำ�ำ ราบางเล่ม่ อ้า้ ง แต่ป่ ระเด็น็ สำ�ำ คััญก็็คือื ปัญั หาทั้้�งสองข้้อนั้้�นมีีความสัมั พัันธ์์กัันอย่่างไร? จากการศึึกษาพบว่่า ใน “เสฏฐธััมมปััญหา” พระยามิิลิินท์์ ยอมรัับเหตุุผล และแสดงความชื่�นชมที่�่พระนาคเสนสามารถแก้้ปััญหาโดย การพยายามจะชี้�ให้้เห็็นถึึงคุุณค่่าและความสำ�ำ คััญของพระภิิกษุุทั้้�งในเชิิง “สารััตถะ” และ “รููปแบบ” และก็็ยอมรัับว่่า “ภููมิิของภิิกษุุเป็็นของใหญ่ ่ ความที่ภ�่ ููมิิของภิิกษุุเป็็นของไพบููลย์ ์ ไม่ม่ ีีภููมิิอื่�นเสมอนั้้�น ถ้้าอุุบาสกโสดาบััน กระทำ�ำ ให้แ้ จ้ง้ ซึ่ง�่ พระอรหัตั ผล คติทิั้้ง� หลาย ๒ อย่า่ งเท่า่ นั้้น� คือื ต้อ้ งปรินิ ิพิ พาน ในวันั นั้้น� หรือื ต้อ้ งเข้า้ ถึงึ ความเป็น็ ภิกิ ษุใุ นวันั นั้้น� จึงึ จะได้้ เพราะว่า่ บรรพชานี้้� เป็น็ ของใหญ่่ เป็น็ ของบริสิ ุทุ ธิ์์ � เป็น็ ของถึงึ ซึ่ง่� ความเป็น็ ของสููง คือื ภููมิขิ องภิกิ ษุ”ุ 6 ผู้้บ� รรลุุอรหัันต์์

ใน “ขีีณาสวภาวปััญหา” หรือื “คิหิ ิิอรหััตตปััญหา” พระยามิลิ ินิ ท์์ กลัับได้้นำำ�ประเด็็นตามที่ป�่ รากฏใน “เสฏฐธัมั มปัญั หา” ในประเด็็นที่ว่� ่่า “ถ้า้ อุุบาสกโสดาบัันกระทำ�ำ ให้้แจ้้งซึ่่ง� พระอรหััตผล คติิทั้้ง� ๒ อย่่างเท่่านั้้�น คือื ต้้องนิพิ พานในวัันนั้้�น หรือื ต้้องเข้า้ ถึึงความเป็็นภิิกษุใุ นวัันนั้้�นจึึงจะได้”้ มาตั้ง� ประเด็็นใหม่ว่ ่่า “คฤหััสถ์์ที่่บ� รรลุธุ รรมเป็็นพระอรหัันต์์ คฤหัสั ถ์์ผู้้�นั้น� ย่่อมมีีคติิเป็น็ ๒ เท่า่ นั้้น� ไม่่เป็น็ อื่น� คืือ ต้อ้ งบวช หรืือไม่ก่ ็็ต้้องปริินิิพพานในวันั นั้้น� ไม่่ล่ว่ งวัันนั้้น� ไปได้้เลย” หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 7

หลังั จากนั้้�น จึึงได้ถ้ ามพระนาคเสนว่่า “ถ้า้ ในวัันนั้้น� ไม่อ่ าจได้้อาจารย์์ หรือื อุุปัชั ฌาย์์ หรืือบาตร และจีีวร ท่า่ นผู้�้เป็น็ พระอรหัันต์น์ ั้้น� จะบวชเอง หรือื ล่ว่ งเลยวัันนั้้น� ไป พระอรหัันต์ผ์ ู้�้มีฤทธิ์์�รููปใดรููปหนึ่่�งพึงึ มาบวชให้้ จะได้ห้ รือื ไม่?่ หรืือล่ว่ งเลยวัันนั้้�นไปแล้ว้ จึึงจะปริินิิพพาน จะได้้หรือื ไม่่?” พระนาคเสนตอบว่า่ “ขอถวายพระพร พระอรหัันต์์นั้้�นไม่อ่ าจบวชเองได้ ้ เมื่อ� บวชเองแล้้วก็็ย่่อมถึึงความเป็น็ ไถยสัังวาส (ปลอมบวช) ทั้้�งไม่่อาจล่ว่ งเลยวัันนั้้น� ไปได้้ จะมีีพระอรหัันต์ร์ ููปอื่่�นมาก็็ตาม ไม่่มีีก็ต็ าม ท่า่ นจะต้อ้ งปริินิพิ พานในวัันนั้้น� แน่น่ อน” พระยามิิลินิ ท์ไ์ ด้้แย้ง้ ว่า่ “พระคุุณเจ้้า ถ้า้ อย่า่ งนั้้�น พระอรหััตผลย่อ่ มเป็น็ เหตุคุ ร่่าชีีวิติ คือื เป็น็ เหตุใุ ห้บ้ ุุคคลผู้�บ้ รรลุุต้้องเป็น็ ผู้้�สิ้�นชีีวิิต” 8 ผู้้�บรรลุุอรหัันต์์

พระนาคเสนตอบว่า่ “ขอถวายพระพร เพศคฤหััสถ์์ไม่่สงบ เพราะความที่่เ� มื่�อเป็็นเพศไม่ส่ งบ เป็น็ เพศที่่�ทรามกำ�ำ ลังั คฤหััสถ์์ที่่บ� รรลุธุ รรมเป็็นพระอรหัันต์จ์ ึงึ ต้อ้ งบวช ในวันั นั้้น� นั่่�นเทีียว หรือื ไม่่ก็็ต้อ้ งนิพิ พานในวันั นั้้�น ข้อ้ นี้้� หาใช่่โทษของพระอรหััตผลไม่ ่ ความเป็็นเพศทรามกำ�ำ ลัังนี้้� เป็็นโทษของเพศคฤหััสถ์น์ ั่่น� เทีียว” หลัังจากนั้้น� พระนาคเสนจึงึ ได้้ยกอุปุ มา๑๙ มาหลายประเด็น็ เพื่่�อที่�่จะชี้ใ� ห้เ้ ห็็นว่า่ “เพศคฤหััสถ์น์ ั้้�นมีีกำำ�ลัังทราม จึึงไม่ส่ ามารถรองรัับพระอรหััตผลได้”้ หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรืือ 9

จากข้อ้ เท็จ็ จริงิ ที่พ่� ระนาคเสนได้ส้ นทนากับั พระยามิลิ ินิ ท์ ์ พร้อ้ มทั้้ง� การอ้้างเหตุุผลเพื่่�อยืืนยัันข้้อเท็็จจริิงนั้้�น ได้้ทำำ�ให้้เกิิดการตั้้�งถามในประเด็็น หลัักๆ คือื ประเด็็นปััญหาที่่ว� ่า่ “คฤหัสั ถ์บ์ รรลุุพระอรหัตั ผล: บวช… ทำำ�ไม?ทำำ�ไม? ต้อ้ งบวช” ประเด็น็ ปัญั หาที่่ว� ่า่ “ถ้า้ คฤหััสถ์บ์ รรลุุพระอรหัตั ผลแล้้วไม่่บวชจะต้้องนิพิ พานหรืือตาย” และ วิิเคราะห์์แรงจููงใจ เกี่่�ยวกับั การให้เ้ หตุผุ ล (โดยอ้อ้ ม) ในประเด็็นที่ว�่ ่่า เพราะสาเหตุุใด? พระนาคเสน จึงึ ต้้องกล่่าวว่่า “คฤหัสั ถ์บ์ รรลุพุ ระอรหัตั ผล ต้อ้ งบวชในวัันนั้้น� ถ้า้ ไม่บ่ วช จะต้อ้ งตายภายในวันั นั้้น� ” ประเด็น็ ทั้้�ง ๓ นั้้�น ผู้เ�้ ขีียนจะนำ�ำ เสนอโดยลำำ�ดับั ดังั ต่อ่ ไปนี้้� 1 ผู้บบ�รรลุออรหันนต์

๓ ประเด็็นปัญั หาว่า่ คฤหัสั ถ์์บรรลุพุ ระอรหััตผล: บวชทำำ�ไม ทำำ�ไมต้้องบวช จากการนำำ�เสนอภาพรวมที่่�เกี่่�ยวกัับเนื้้�อหาในเบื้้�องต้้น ทำำ�ให้้เกิิด คำำ�ถามว่่า เมื่�อคฤหััสถ์์ได้้บรรลุุพระอรหััตผลแล้้ว มีีเหตุุผลใด? ที่�่จะต้้อง บรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ และภิิกษุุณีี ซึ่่�งเหตุุผลที่�่พระนาคเสน พยายามที่�่จะชี้�นำ�ำ ในคราวตอบคำำ�ถามก็็คืือ “เพราะเพศคฤหััสถ์์นั้้�นกำำ�ลัังต่ำ��ำ และอ่อ่ น อีีกทั้้�งเต็็มไปด้ว้ ยความไม่ส่ งบ แต่่เพศแห่่งสมณะนั้้�นเป็็นเพศที่ย�่ิ่�ง ใหญ่ ่ สููงส่ง่ จัดั ได้ว้ ่า่ เป็น็ อุดุ มเพศ และเหมาะแก่ก่ ารรองรับั คุณุ ธรรมขั้น� สููงสุดุ ซึ่ง�่ ได้แ้ ก่่ พระอรหััตผล” หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 1

นอกจากนี้้ � พระพุทุ ธโฆษาจารย์์๒๐ พระธัมั มปาลเถระ๒๑ พระคัมั ภีีร์์ สายอภิธิ รรม๒๒ และพระพรหมโมลีี (วิลิ าส ญาณวีีโร)๒๓ ได้ส้ นับั สนุนุ แนวคิดิ และการให้้เหตุุผลในลัักษณะดัังกล่่าว ซึ่�่งสิ่�งที่่�สามารถจะยืืนยัันสมมติิฐาน ของพระเถระรุ่�นหลัังๆ ได้้นั้้�นก็็คืือ การมองว่่า สมณเพศนั้้�นเป็็นเพศสููงสุุด และพระพุุทธเจ้้า พระปััจเจกพุุทธเจ้้า พระอนุุพุุทธเจ้้า และพระอริิยสาวก ล้้วนดำำ�รงตนอยู่�บนสถานะของความเป็น็ พระภิิกษุุทั้้ง� สิ้น� ฉะนั้้น� จึงึ มีีความชอบธรรมที่�่จะอนุุมาน (Inference) ด้้วย “เหตุุ ผลเชิิงประจัักษ์์” ว่่า คฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุพระอรหััตผลจึึงมีีความ“จำ�ำ เป็็น” อย่่างยิ่�งที่�่จะต้้องดำ�ำ รงตนให้้สอดคล้้องกัับบุุคคลเหล่่านั้้�น ซึ่�่งอาจจะเป็็น ความสอดคล้้องในแง่่ของ “รููปแบบ” และ “สารััตถะ” ของบุุคคลที่่�ได้้ชื่�อ ว่่าเป็็น “พระอรหัันต์์” ดัังที่่�จะเห็็นได้้จากการที่�่นัักคิิดกลุ่�มนี้้�พยายามจะนำ�ำ กรณีีของส่ว่ นนางเขมาเถรีี๒๔ พระยสะ และอุุคคเสนเสฏฐีีบุุตร๒๕ ซึ่ง่� เลือื ก บรรพชาอุุปสมบทเป็็นภิิกษุุณีี และพระภิิกษุุตามลำำ�ดัับ ภายหลัังที่�่ได้้บรรลุุ พระอรหัตั ผลมาเป็็นการกล่่าวอ้้างยันั (Claims) 1 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

การกล่า่ วอ้า้ งยืนื ยันั ในลักั ษณะดังั กล่า่ ว ก็อ็ าจจะเกิดิ การถููกตั้ง� คำ�ำ ถาม แย้้งว่่า จำำ�เป็็นหรืือไม่่? ที่่�คฤหััสถ์์จะต้้องมีีความสอดคล้้องกัับพระพุุทธเจ้้า และพระอริิยสาวกทั้้�งหลายทั้้�งในแง่่ของ “รููปแบบ” และ “สารััตถะ” จะ เป็น็ ไปหรือื ไม่?่ ที่�ค่ ฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผลจะมีีความสอดคล้อ้ งในแง่ข่ อง “สารัตั ถะ” (Substance)๒๖ เท่่านั้้น� แต่อ่ าจจะไม่ส่ อดคล้้องกัันในแง่ข่ อง “รููปแบบ” (Form) ภายนอก เช่่น ไม่่ต้้องโกนผม หรืือมีีศรีีษะโล้้น (มุณุ ฑกภาโว) และ ไม่ต่ ้อ้ งนุ่�งเหลือื ห่่มเหลืือง (ภััณฑกภาโว) หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 1

อย่า่ งไรก็ต็ าม จากภาพรวมของการให้เ้ หตุผุ ลของพระนาคเสน และ พระเถระที่�่เห็็นด้้วยกัับท่่าน ทำำ�ให้้พบว่่า พระอรหััตผล “ไม่่จำำ�เป็็น” และ “ไม่่ผููกขาด” สำำ�หรัับ “เพศ” ทุุกเพศสามารถบรรลุไุ ด้ไ้ ม่ว่ ่า่ จะเป็็นหีีนเพศ ซึ่�ง่ ได้แ้ ก่่ผู้ห้� ญิิง และผู้้�ชาย หรือื อุุดมเพศซึ่ง่� ได้้แก่่พระภิิกษุุ สามเณร ภิกิ ษุณุ ีี และสามเณรีี แต่่ภายหลังั ที่่บ� รรลุุพระอรหัตั ผลแล้้ว คุณุ ค่า่ ภายในซึ่ง�่ ได้แ้ ก่่ “พระอรหััตผล” นั้้�น จะเป็น็ สิ่�ง “จำ�ำ เป็็น” หรือื “ผููกขาด” หรือื “สิ่ง� สงวน” สำ�ำ หรับั บุคุ คลที่่ไ� ด้ช้ื่�อว่่า เป็็นภิกิ ษุุ สามเณร ภิกิ ษุุณีี สามเณรีีเท่า่ นั้้�น แต่่ไม่่ สามารถที่�่จะรองรัับ หรืือสนองตอบต่่อเพศคฤหััสถ์์ ปััญหาที่�่จะตามมาก็็คืือ การนำ�ำ ประเด็็นเรื่�อง “เพศคฤหััสถ์”์ มายืืนยันั ข้้ออ้้างข้า้ งต้น้ นั้้�น อาจทำ�ำ ให้้ เกิิดการถามแย้้งเพิ่่�มเติิมว่่า มีีหลัักฐานอื่�นมาสนัับสนุุนหรืือไม่่? หรืือว่่า ข้้อ อ้้างดังั กล่่าวเป็น็ การสรุุปเกินิ ความเป็็นจริิงหรืือไม่?่ 1 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

อย่า่ งไรก็ต็ าม เพื่่อ� ที่จ�่ ะพิสิ ููจน์ข์ ้อ้ เท็จ็ จริงิ ดังั กล่า่ ว ผู้เ้� ขีียนได้ว้ ิเิ คราะห์์ หลัักฐานตามที่่�ปรากฏอยู่�ในคััมภีีร์์พระไตรปิิฏกจะพบคำ�ำ ว่่า “คฤหััสถ์์นั้้�น มีีกำ�ำ ลัังต่ำ�ำ� และเป็็นเพศที่่�คัับแคบ” หลายจุุดด้้วยกััน เช่่น “ฆราวาสนั้้�นคัับ แคบ เป็น็ ที่ม�่ าของธุุลีี…”๒๗ แต่ถ่ ึงึ กระนั้้น� เราไม่่สามารถแสวงหาที่�่มาของ ถ้อ้ ยคำ�ำ เพื่่อ� นำ�ำ มายืืนยันั “ข้อ้ สรุปุ ” ของพระนาคเสนและพระเถระเหล่่านั้้น� ในประเด็น็ ที่ว่� ่า่ “สมณเพศเท่า่ นั้้น� เป็น็ เพศที่เ�่ หมาะแก่ก่ ารรองรับั คุณุ ธรรมชั้น� สููงสุดุ ในทางพระพุทุ ธศาสนา” แต่เ่ รากลับั พบชุดุ ของถ้อ้ ยคำ�ำ ดังั กล่า่ วปรากฏ อยู่�ในคัมั ภีีร์ม์ ิลิ ิินทปััญหา คััมภีีร์อ์ รรถกถา ฎีีกา และคััมภีีร์ร์ุ่�นหลััง หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรืือ 1

นอกจากนั้้น� คัมั ภีีร์์พระไตรปิิฎก คััมภีีร์์อรรถกถา และฏีีกา ไม่่ได้้ กล่่าวอ้้างว่่า มีีคฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุพระอรหััตผลแล้้วยัังดำำ�รงตนเป็็นคฤหััสถ์์ได้้ เกิิน ๑ วััน และไม่่ตาย หากแต่่มีีการกล่่าวถึึงบ้้างก็็จะมุ่�งประเด็็นไปที่�่การ พยายามที่จ�่ ะบวช หากแต่ไ่ ม่ไ่ ด้บ้ วช นั่่น� ก็ค็ ือื กรณีีของนาย พาหิยิ ะทารุจุ ิยิ ะ ซึ่�่งบรรลุุธรรมเป็็นพระอรหัันต์์ในช่่วงเช้้า และก็็พยายามที่่�จะเสาะหาอััฏฐ บริขิ ารเพื่่�อให้พ้ ระพุุทธเจ้้าประทานการอุุปสมบท แต่ใ่ นขณะที่ก่� ำำ�ลัังเสาะหา จีีวรในช่ว่ งสาย๒๘ นางยัักษ์ซ์ ึ่่�งผููกเวรกัับนายพาหิิยะในภพก่่อนได้้แปลงกาย เป็็นแม่่โคขวิิดนายพาหิิยะทารุุจิิยะตาย๒๙ และสาเหตุุที่�่ทำำ�ให้้นายพาหิิยะ ทารุุจิิยะตายนั้้�น ก็็มิิได้้เกิิดจากสาเหตุุที่�่เขาไม่่สามารถหาจีีวรได้้ภายในหนึ่่�ง วััน หากเกิิดขึ้้�นมาจากกรรมเก่่าที่่�เขาได้้กระทำ�ำ ต่่อนางยัักษ์์ในภพก่่อน และ ประเด็็นที่�่น่่าสนใจก็็คืือ เขาตายในช่่วงสายซึ่�่งเป็็นช่่วงที่�่พระพุุทธเจ้้าเสด็็จ กลัับมาจากการบิิณฑบาต 1 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

ฉะนั้้น� ประเด็น็ นี้้จ� ึงึ ตอบได้ว้ ่า่ เขาไม่ไ่ ด้ด้ ำำ�รงตนเป็น็ คฤหัสั ถ์เ์ กินิ ๑ วันั อันั เป็น็ ข้อ้ กำ�ำ หนดดังั ที่ป�่ รากฏในคัมั ภีีร์ม์ ิลิ ินิ ทปัญั หา ถึงึ กระนั้้น� ก็ม็ ีีการกล่า่ ว ถึงึ คฤหัสั ถ์อ์ ีีกสองท่า่ น กล่า่ วคือื อุตุ ติยิ คฤหบดีี และเสตุมุ าณพเอาไว้ว้ ่า่ ได้บ้ รรลุุ ธรรมในขณะที่เ�่ ป็น็ คฤหัสั ถ์เ์ ช่น่ เดีียวกันั ๓๐ แต่ห่ ลักั ฐานที่ ่� ปรากฏนั้้น� มิไิ ด้ก้ ล่า่ ว ว่า่ หลังั บรรลุอุ รหัตั ผลแล้ว้ ได้บ้ วชหรือื ไม่?่ ส่ว่ นคฤหัสั ถ์ท์ ่า่ นอื่น� ๆ ตามที่ป�่ รากฏ ในคััมภีีร์์ว่่าได้้บรรลุุพระอรหััตผล คืือ สัันตติิมหาอำำ�มาตย์์๓๑ และพระเจ้้า สุทุ โธทนะ๓๒ ได้เ้ ลือื กที่จ�่ ะนิพิ พานหรือื ตายในทันั ทีีที่บ่� รรลุอุ รหัตั ผลแล้ว้ ส่ว่ น นางเขมาเถรีี พระยสะ และอุคุ คเสฏฐีีบุตุ ร ก็เ็ ลือื กที่จ�่ ะบรรพชาอุปุ สมบทเป็น็ ภิิกษุุณีี และพระภิิกษุตุ ามลำำ�ดัับ ภายหลัังที่่ไ� ด้บ้ รรลุุพระอรหัตั ผล หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 1

ฉะนั้้�น เมื่�อกล่่าวโดยสรุุปแล้้ว จากการศึึกษาคััมภีีร์์ต่่างๆ เกี่่�ยวกัับ ที่่�มาของประเด็็นที่่�ว่่าคฤหััสถ์์บรรลุุพระอรหััตผลแล้้วต้้องบวชภายในวัันนั้้�น และคฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุพระอรหััตผลแล้้วยัังสามารถดำำ�รงตนเป็็นคฤหััสถ์์ได้้เกิิน ๑ วััน และไม่่ตาย พบว่า่ ไม่ม่ ีีกรณีีใด หรือื หลักั ฐานใดที่่ก� ล่า่ วถึึง หรือื กล่า่ ว พาดพิงิ ถึงึ ประเด็น็ นี้้จ� นสามารถนำำ�มาเป็น็ ข้อ้ มููลในการวิเิ คราะห์แ์ ละตีีความได้้ แต่่ถ้า้ ถามว่่า เมื่อ� ไม่่มีีคััมภีีร์์ชั้น� ต้้นที่่�สามารถจะยืนื ยันั สิ่ง� ที่พ�่ ระนาคเสน และ พระเถระรุ่�นหลังั ได้น้ ำ�ำ เสนอประเด็น็ เหล่า่ นั้้น� เอาไว้้ และประเด็น็ ที่พ�่ ระเถระรุ่�น หลังั ๆ ได้พ้ ยายามที่จ�่ ะนำ�ำ กรณีีศึกึ ษามายืนื ยันั ข้อ้ อ้า้ งตามที่ต�่ นเชื่อ� ถือื เพื่่อ� ให้้ เกิดิ ความสมเหตุสุ มผลนั้้น� ได้ท้ ำ�ำ ให้เ้ กิดิ คำำ�ถามตามมาว่า่ การอนุมุ านของท่า่ น เหล่า่ นั้้น� เป็น็ การอนุมุ านเกินิ เลยข้อ้ เท็จ็ จริงิ จากหลักั คำำ�สอนของพระพุทุ ธเจ้า้ หรือื ไม่?่ เพราะว่่าเหตุผุ ลที่พ�่ ระเถระเหล่า่ นั้้น� นำ�ำ มาอ้้าง นอกจากจะนำ�ำ ข้อ้ เท็็จจริิงเชิิงประจัักษ์์มาอ้้างว่่า พระพุุทธเจ้้า และเหล่่าอริิยสาวกดำ�ำ รงชีีวิิต อยู่�ได้้เพราะเป็็นสมณเพศแล้้ว ผู้้�เขีียนมองว่่ายัังไม่่มีีเหตุุผลอื่�นซึ่�่งมีีน้ำ��ำ หนััก เพีียงพอที่�่จะสามารถพิิสููจน์์และยืืนยัันข้้อเท็็จจริิงดัังกล่่าวได้้อย่่างชััดเจนว่่า “เพราะเหตุุใด? คฤหัสั ถ์์ที่่บ� รรลุพุ ระอรหัตั ผลจึงึ ต้้องบวช” 1 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

อย่า่ งไรก็ต็ าม เมื่อ� เราไม่ส่ ามารถแสวงหาเครื่่อ� งมือื ที่ส�่ ามารถยืนื ยันั ใน ประเด็น็ ที่ว่� ่า่ “คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผลจะต้อ้ งบรรพชาอุปุ สมบทในวันั นั้้น� เท่่านั้้�น” ได้้ สิ่่�งที่น�่ ่่าวิเิ คราะห์์ก็ค็ ือื ว่า่ มีีชุุดความคิิดใด หรือื การอ้า้ งเหตุผุ ลใด ที่ส่� ามารถเป็็นข้้อมููลเชิงิ เอกสารชั้้น� ต้น้ ซึ่่�งมีีน้ำ��ำ หนักั เพีียงพอในการนำ�ำ มาเป็น็ พยานแวดล้้อมเพื่่�อชี้�ให้้เราได้้ประจัักษ์์ชััดว่่า “เป็็นไปได้้” (Probability) ที่่� “คฤหัสั ถ์์บรรลุพุ ระอรหัตั ผลแล้ว้ ‘น่่าจะ’ ทำำ�ให้เ้ ขาบรรพชาอุปุ สมบทเป็็น พระภิกิ ษุ”ุ หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 1

จากการศึึกษาวิิเคราะห์ห์ ลักั คำำ�สอน หรืือพุุทธพจน์ท์ ี่่ส� ามารถทำ�ำ ให้้ ตอบคำ�ำ ถามประเด็น็ ดังั กล่า่ วนั้้น� ผู้เ�้ ขีียนเห็น็ ว่า่ ชุดุ ของการให้เ้ หตุผุ ลที่ด่� ีีที่ส�่ ุดุ ชุดุ หนึ่่ง� ซึ่ง่� น่า่ จะมีีน้ำ��ำ หนักั เพีียงพอต่อ่ การตอบปัญั หาดังั กล่า่ วก็ค็ ือื ประเด็น็ ที่่� ว่า่ ด้ว้ ย “หลักั อภัพั พฐานะ” และ ประเด็น็ ที่ว่� ่า่ ด้ว้ ย “หลักั ฐานะ และอฐานะ” ๑) ประเด็็นที่�่ว่่าด้้วยอภััพพฐานะ คำ�ำ ว่า่ “อภัพั พฐานะ” หมายถึงึ “ฐานะที่่�เป็็นไปไม่ไ่ ด้้ หรือื สิ่�งที่เ�่ ป็็น ไปไม่่ได้้” หรืือ “ฐานะที่่�ไม่่สมควร” ซึ่�ง่ หากจะวิิเคราะห์์จากคััมภีีร์ก์ ็็คือื ๓๓ (๑) ภิกิ ษุขุ ีีณาสพไม่่สามารถที่จ�่ ะแกล้้งปลงสัตั ว์์จากชีีวิิต (๒) ภิกิ ษุขุ ีีณาสพไม่ส่ ามารถที่จ�่ ะลักั ทรัพั ย์ ์ อันั เป็น็ ส่ว่ นแห่ง่ ความเป็น็ ขโมย (๓) ภิิกษุขุ ีีณาสพไม่่สามารถที่่จ� ะเสพเมถุุนธรรม (๔) ภิกิ ษุขุ ีีณาสพไม่่สามารถที่�จ่ ะพููดเท็็จทั้้ง� ที่�่รู้�้ (๕) ภิกิ ษุขุ ีีณาสพไม่ส่ ามารถที่จ่� ะกระทำ�ำ การสั่่ง� สมบริโิ ภคกามเหมือื น เมื่�อครั้้�งยัังเป็็นคฤหัสั ถ์อ์ ยู่� 2 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

จากหลัักฐานตามที่ป่� รากฏข้้างบนนี้้� ได้ช้ี้�ให้้เห็็นความจริงิ ที่ช่� ััดเจน ประการหนึ่่�งก็็คืือ เมื่�อบุุคคลผู้้�ได้้ชื่�อว่่าเป็็นพระภิิกษุุขีีณาสพ หรืือคฤหััสถ์์ ขีีณาสพ ซึ่�ง่ มีีแง่่มุุม “เชิิงสารััตถะ” ที่ส�่ อดรัับกััน กล่่าวคือื ปราศจากอวิิชชา ตัณั หา อุปุ าทานทั้้�งมวล จึึง “เป็็นไปไม่่ได้้” ที่่�กลุ่�มบุคุ คลทั้้�งสอง จะหวนกลัับ ไปเสพเมถุนุ ธรรม หรือื ดำ�ำ เนินิ ชีีวิติ โดยการบริโิ ภคกามเช่น่ เดีียวกับั พฤติกิ รรม ที่่เ� คยกระทำ�ำ หรืือแสดงออกในคราวเป็น็ คฤหััสถ์์ สาเหตุทุ ี่่�เป็็นเช่่นนี้้�ก็เ็ พราะ ว่่าสภาพจิิตได้้หลุุดพ้้นจากการครอบงำ�� หรืือความปรารถนาความสุุขในเชิิง โลกิิยะ ซึ่่ง� ได้้ชื่อ� ว่า่ เป็็น “กามสุขุ ” และสภาพจิติ ได้้เข้า้ ไปลิ้้ม� รสสุุขที่�่เกิิดจาก การหลุดุ พ้น้ จากกิเิ ลส ซึ่ง�่ ได้ช้ื่อ� ว่า่ เป็น็ “วิมิ ุตุ ติสิ ุขุ ” แทน ซึ่ง�่ ความสุขุ ประเภท นี้้�ถืือได้้ว่่าเป็็นความสุุขอย่่างยิ่�ง (ปรมััง สุุขััง) อัันเป็็นความสุุขแท้้จริิงโดยไม่่ ต้้องอาศััยการปรุุงแต่่งทางจิิต ฉะนั้้�น จึึงเป็็นไปไม่่ได้้ หรืือไม่่มีีโอกาสที่่�จะ เป็็นไปได้้ที่่�คฤหััสถ์์ที่่�บรรลุุพระอรหััตผลจะย้้อนกลัับไปสััมผััสกัับวิิถีีชีีวิิตของ คฤหััสถ์เ์ ช่่นเดิมิ อีีก หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 2

ประเด็น็ ปัญั หาที่เ่� กิดิ ขึ้้น� ก็ค็ ือื ว่า่ หากเรายอมรับั ได้ว้ ่า่ คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ�่ รรลุุ พระอรหััตผลไม่่สามารถทำำ�สิ่่ง� ต่่อไปนี้้�ได้อ้ ย่า่ งแน่น่ อน กล่่าวคือื ไม่จ่ งใจปลง สััตว์์จากชีีวิิต ไม่ล่ ักั ทรัพั ย์์ ไม่่เสพเมถุุน ไม่พ่ ููดเท็จ็ และไม่บ่ ริิโภคกาม ดัังที่ไ�่ ด้้ กล่า่ วข้า้ งต้น้ แต่จ่ ะเป็น็ ไปได้ห้ รือื ไม่ว่ ่า่ เขาสามารถทำำ�สิ่่ง� อื่น� ๆ หรือื กิจิ กรรม อื่น� ได้น้ อกจากที่�่ได้ก้ ล่า่ วแล้้ว คััมภีีร์ก์ ถาวััตถุุได้พ้ ยายามที่�่จะอุดุ ช่อ่ งโหว่่ใน ประเด็็นนี้้�เช่่นเดีียวกััน โดยได้้ชี้�ให้้เห็็นเพิ่่�มเติิมว่่า๓๔ “ไม่่พึึงกล่่าวว่่า พระ อรหัันต์เ์ สพเมถุุนธรรม พึึงยังั เมถุุนธรรมให้้เกิิดขึ้้�น พึึงนอนที่น่� อนอันั เบีียด เสีียดด้้วยบุุตร พึึงใช้้ผ้้ากาสิิกและจุุรณจัันทน์์ พึึงทััดทรงดอกไม้้ของหอม และเครื่่�องลููบไล้้ พึึงยินิ ดีีเงินิ ทอง พึงึ รับั แพะ แกะ ไก่ ่ สุุกร พึึงรับั ช้้าง วัวั ม้้า ลา พึึงรับั นกกระทา นกคุ่�ม และหางนกยููง พึึงทรงเกี้�ยว (เครื่่อ� งประดัับมวย ผม) มีีขั้้ว� อัันเหลือื ง พึงึ ทรงผ้า้ ขาว มีีชายยาว เป็น็ ผู้้�ครองเรืือนตลอดชีีวิติ ” 2 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

จากหลักั ฐานข้า้ งบนที่ไ�่ ด้ย้ กมานำำ�เสนอนั้้น� ได้ก้ ลายเป็น็ สิ่ง� ที่พ�่ ยายาม จะตอกย้ำำ��มากยิ่�งขึ้�นว่่า เมื่อ� คฤหััสถ์ท์ ี่ไ่� ด้บ้ รรลุุพระอรหัตั ผลแล้้ว ย่อ่ มเป็็น ประเด็็นที่�่เป็็นไปไม่่ได้้ที่่�เขาไปเกี่�่ยวข้้องกัับพฤติิกรรม หรืือวิิถีีชีีวิิตที่�่เคย แสดงออก หรืือแนวทางที่�่คฤหััสถ์์ทั่่�วไปในสัังคมโลกพากัันดำำ�เนิินชีีวิิตหรืือ ปฏิบิ ััติกิ ัันในแต่่ละวันั ซึ่�่งเป็็นที่น�่ ่่าสนใจว่่า พระพุทุ ธเจ้า้ ได้ท้ รงชี้ใ� ห้้บิดิ าของ พระยสะเมื่อ� ครั้้ง� ที่บ�่ รรลุธุ รรมในขณะเป็น็ คฤหัสั ถ์ไ์ ด้ท้ ราบว่า่ “คหบดีี ยสกุลุ บุุตรได้้เห็็นธรรมด้้วยญาณทััสสนะ ได้้รู้้�แจ้้งแล้้ว จิิตพ้้นแล้้วจากอาสวะทั้้�ง หลาย ยสกุลุ บุตุ รไม่ค่ วรจะกลับั ไปเป็น็ คฤหัสั ถ์ท์ ี่บ�่ ริโิ ภคกาม ประดุจุ ดังั ที่เ่� คย ประพฤติิในเมื่�อครั้้�งที่�่ยังั เป็น็ คฤหัสั ถ์์” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 2

๒) ประเด็น็ ที่�่ว่า่ ด้้วยฐานะ และอฐานะ คำ�ำ ว่า่ “ฐานะ และอฐานะ” นี้้� ปรากฏชัดั อยู่�ใน “ทสพลญาณข้้อที่�่ ๑๐”ซึ่ง่� มีีเนื้้อ� หาที่ว�่ ่า่ “ฐานาฐานญาณ” ซึ่ง่� หมายความว่า่ “พระปรีีชากำ�ำ หนด ฐานะ คืือสิ่ง� ที่่เ� ป็็นไปได้้ เช่น่ ทำำ�ดีีได้ด้ ีี ทำ�ำ ชั่่ว� ได้้ชั่�ว และอฐานะ คือื สิ่่ง� ที่�เ่ ป็็น ไปไม่่ได้้ เช่่น ทำ�ำ ดีีได้ช้ั่�ว ทำำ�ชั่่�วได้ด้ ีี”๓๕ คำ�ำ ว่่า “ฐานะ” และ “อฐานะ” ซึ่�่งหมายถึึง “ความเป็็นไปได้้ และ เป็น็ ไปไม่ไ่ ด้”้ นี้้ � ถือื ได้ว้ ่า่ เป็น็ แนวคิดิ ที่ใ่� ช้พ้ ิสิ ููจน์ค์ วามจริงิ ซึ่ง่� พระพุทุ ธเจ้า้ ก็ไ็ ด้้ ทรงใช้้แนวคิิดนี้้�พิสิ ููจน์ว์ ่่า “อะไรที่เ่� ป็็นไปได้้ หรืือเป็น็ ไปไม่่ได้”้ โดยพระองค์์ ได้้พยายามที่�่จะชี้ �ให้้เห็็นถึึงความจริิงบางประการที่�่เกี่�่ยวกัับแง่่มุุมดัังต่่อไปนี้้� กล่่าวคืือ 2 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

“ภิกิ ษุทุั้้ง� หลาย ข้อ้ ที่บ�่ ุคุ คลผู้้�ถึงึ พร้อ้ มด้ว้ ยทิฐิ ิ ิ จะพึงึ ยึดึ ถือื สังั ขารไรๆ โดยความเป็็นภาพเที่�่ยง… เป็น็ สุขุ …เป็น็ ตััวตนนั้้น� มิใิ ช่ฐ่ านะ มิิใช่่โอกาสที่่�จะ มีีได้้ แต่่ข้อ้ ที่ป�่ ุุถุุชนจะพึึงยึดึ ถืือสัังขารไรๆ โดยความเป็น็ ภาพเที่่�ยง… เป็็นสุุข …เป็น็ ตััวตนนั้้�น เป็็นฐานะที่จ�่ ะมีีได้้ ข้้อที่�่บุคุ คลผู้�้ ถึงึ พร้้อมด้้วยทิฐิ ิ ิ จะพึงึ ฆ่่ามารดา… บิดิ า…พระอรหัันต์์ นั้้น� มิใิ ช่ฐ่ านะ มิใิ ช่โ่ อกาสที่จ�่ ะมีีได้ ้ แต่ข่ ้อ้ ที่ป�่ ุถุ ุชุ นจะพึงึ ฆ่า่ มารดา…บิดิ า…พระ อรหัันต์์นั้้น� เป็็นฐานะที่จ่� ะมีีได้…้ ข้้อที่�่วิิบากอัันน่่าปรารถนา น่่าใคร่่ น่่าพอใจ แห่่งกายทุุจริิต… วจีี ทุุจริิต… มโนทุุจริิต… จะพึงึ เกิิดขึ้้น� นั้้น� มิิใช่ฐ่ านะ มิิใช่โ่ อกาสที่จ่� ะมีีได้้ แต่่ข้อ้ ที่ว่� ิบิ ากอันั ไม่น่ ่า่ ปรารถนา ไม่น่ ่า่ ใคร่่ ไม่น่ ่า่ พอใจ แห่ง่ กายทุจุ ริติ … วจีีทุจุ ริติ … มโนทุุจริิต จะพึึงเกิดิ ขึ้้น� ได้้นั้้�น เป็็นฐานะที่จ�่ ะมีีได้้… หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 2

ข้อ้ ที่บ่� ุคุ คลผู้�้ มีีความเพีียบพร้อ้ มด้ว้ ยกายทุจุ ริติ …วจีีทุจุ ริติ …มโนทุจุ ริติ … เมื่อ� กายแตกตายไป พึึงเข้า้ ถึึงสุคุ ติิ โลก สวรรค์์นั้้น� มิิใช่ฐ่ านะ มิใิ ช่่โอกาสที่�่ จะมีีได้ ้ แต่่ข้้อที่บ�่ ุคุ คลผู้�เ้ พีียบพร้อ้ มด้้วยกายทุจุ ริติ … วจีีทุุจริติ … มโนทุุจริิต เมื่�อแตกกายตายไป พึงึ เข้า้ ถึงึ อบาย ทุคุ ติิ วินิ ิบิ าต นรกนั้้น� เป็น็ ฐานะที่�่จะมีี ได้…้ ”๓๖ จากพุทุ ธพจน์ท์ ี่อ่� ้า้ งถึงึ ความเป็น็ ไปได้แ้ ละเป็น็ ไปไม่ไ่ ด้ข้ ้า้ งต้น้ นั้้น� เรา น่่าจะสามารถสร้้างตรรกะที่่�สามารถยืืนยัันความเป็็นไปได้้ และเป็็นไปไม่่ได้้ ของแง่ม่ ุมุ ที่เ่� กี่ย่� วกับั ประเด็น็ “คฤหััสถ์์บรรลุุพระอรหัตั ผล” ได้ด้ ัังนี้้ว� ่า่ 2 ผู้บบ�รรลุออรหันนต์

“ข้อ้ ที่ค�่ ฤหัสั ถ์บ์ รรลุพุ ระอรหัตั ผลจะบรรพชาอุปุ สมบทเป็น็ พระภิกิ ษุุ ภายหลัังได้้บรรลุุพระอรหััตผลนั้้�นเป็็นสิ่�งที่�่เป็็นไปได้้ แต่่ข้้อที่�่คฤหััสถ์์บรรลุุ พระอรหัตั ผล จะไม่่ยอมบรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุ ุ ภายหลัังได้บ้ รรลุุ พระอรหััตผลนั้้�น หากแต่่ยัังใช้้ชีีวิิตประดุุจปุุถุุชนทั่่�วไปที่่�บริิโภคกาม และ ครองเรืือนนั้้�น เป็็นสิ่�งที่่�เป็็นไปไม่่ได้้ ไม่่ใช่่ฐานะ และมิิใช่่โอกาสที่่�คฤหััสถ์์ผู้้� บรรลุุพระอรหััตผลจะทำ�ำ ได้้” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 2

ประเด็็นเกี่่ย� วกัับแง่่มุุมที่่�แสดงถึึง “สิ่ง� ที่เ�่ ป็็นไปไม่่ได้้” สิ่่ง� ที่่�น่่าสนใจ อีีกมิติ ิิหนึ่่�งซึ่�ง่ พระพุุทธเจ้้าได้้ทรงชี้ใ� ห้้เห็็นก็็คือื “ภิกิ ษุทุ ั้้ง� หลาย พระราชามหาอำำ�มาตย์ข์ องพระราชา มิติ ร สหาย หรือื ญาติสิ าโลหิติ จะพึึงเชื้อ� เชิิญภิกิ ษุผุ ู้�้เจริญิ ผู้้�กระทำำ�ให้ม้ ากซึ่�่งอริิยมรรคอัันประกอบด้ว้ ยองค์์ ๘ ด้้วยโภคะทั้้ง� หลาย เพื่่อ� นำำ�ไปตามใจว่า่ บุุรุษุ ผู้เ�้ จริญิ เชิิญท่่านมาเถิดิ ท่่านจะนุ่�งห่่มผ้้ากาสายะเหล่า่ นี้้ท� ำำ�ไม ท่่านจะเป็น็ คนโล้น้ ถืือกระเบื้้�องเที่่�ยวไปทำ�ำ ไม ท่า่ นจงสึึกมาบริิโภค และกระทำ�ำ บุญุ เถิิด ภิิกษุุผู้้�เจริิญ ผู้ก�้ ระทำำ�ให้ม้ ากซึ่่�งอริยิ มรรคอันั ประกอบด้้วยองค์์ ๘ นั้้�น จัักลาสิิกขาออกมาเป็็นคฤหััสถ์ ์ ข้อ้ นี้้ม� ิิใช่่ฐานะที่�จ่ ะมีีได้้ ข้้อนั้้น� เพราะเหตุุไร เพราะว่า่ จิิตที่่�น้อ้ มไปในวิิเวก โน้้มไปในวิเิ วก โอนไปในวิเิ วก ตลอดกาลนานนั้้น� จัักสึึกออกมาเป็น็ คฤหััสถ์์ ข้อ้ นี้้ม� ิิใช่่ฐานะ ที่่จ� ะมีีได้”้ ๓๗ 2 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

การพิจิ ารณาประเด็น็ ที่ว�่ ่า่ ด้ว้ ยเกณฑ์ต์ ัดั สินิ ความจริงิ ของ “สิ่ง� ที่เ�่ ป็น็ ไปไม่่ได้้ หรืือมิิใช่่โอกาสที่่�จะเป็็นไปได้้ และความเป็็นไปได้้” ดัังกล่่าวข้้าง ต้้นที่่พ� ระพุุทธเจ้า้ ได้้ใช้ต้ ัดั สิิน อ้า้ งอิงิ และยืนื ยันั ข้อ้ มููลบางอย่า่ งนั้้น� น่า่ จะ เป็็นเครื่่อ� งมือื สำ�ำ คัญั ในการทำ�ำ ให้้เราได้ใ้ ช้้เป็็น “มาตรวัดั ” ว่่า เพราะเหตุใุ ด? คฤหััสถ์์จึึงต้้องบวชเป็็นสมณะในพระพุุทธศาสนาเมื่ �อได้้บรรลุุพระอรหััตผล แล้้ว อย่่างไรก็็ตาม บางท่่านได้้ตั้�งข้้อสัังเกตเพิ่่�มเติิมว่่า สาเหตุุสำำ�คััญ ประการหนึ่่ง� ที่�ท่ ำ�ำ ให้ค้ ฤหัสั ถ์์ที่�่บรรลุุพระอรหััตผลต้อ้ งบวชก็็เพราะว่า่ เพื่่�อให้้ เกิิดความสะดวกสบาย ความเหมาะสม ความสมควรแก่ก่ ารดำ�ำ รงอยู่่� ทั้้�งนี้้� ก็เ็ พราะว่า่ รููปแบบชีีวิติ ของบรรพชิติ เป็น็ รููปแบบที่�เ่ หมาะสม๓๘ ซึ่�่งเหตุผุ ลที่�่ ท่า่ นนำ�ำ มายืนื ยันั สมมติฐิ านของท่า่ นก็ค็ ือื ประเด็น็ ว่า่ ด้ว้ ยชีีวิติ ความเป็น็ สมณะ นั้้น� เอื้อ� ต่อ่ การไม่เ่ ข้า้ ไปเกี่ย�่ วข้อ้ งกับั กิเิ ลส มีีความสัปั ปายะแก่ก่ ารได้ร้ ับั ปัจั จัยั ๔ และ บุคุ คลที่เ�่ ป็น็ พระอรหัันต์์นั้้น� ควรค่่าแก่ก่ ารได้ร้ ับั การสัักการะบููชา๓๙ หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรือื 2

การให้เ้ หตุผุ ลในลักั ษณะนี้้� อาจจะทำำ�ให้เ้ กิดิ คำำ�ถามได้ว้ ่า่ ในเมื่อ� ท่า่ น หมดกิเิ ลสแล้ว้ ทำำ�ไมจะต้อ้ งมีีการดำำ�รงอยู่�ในสถานที่ท่� ี่เ่� อื้อ� ต่อ่ การไม่เ่ กี่ย�่ วข้อ้ ง ด้้วยกิเิ ลส ในความเป็น็ จริิงแล้้ว บุุคคลที่�ไ่ ด้ช้ื่�อว่่าเป็็นพระอรหัันต์น์ ั้้�น เป็น็ ผู้้� อยู่�เหนืือกุุศล และอกุุศลแล้้วมิิใช่่หรืือ เพราะเหตุุใดจึึงต้้องไปเกรงกลััวต่่อ อำ�ำ นาจของกิิเลส นอกจากนั้้�นแล้้ว การดำ�ำ เนิินชีีวิิตของสมณะนั้้�นจำ�ำ เป็็นต้้องพึ่่�งพา ปััจจััย ๔ แต่่นั่่�นก็็มิิได้้ถืือว่่าเป็็นประเด็็นสำ�ำ คััญที่่�ท่่านจะต้้องให้้ความสนใจ มากนักั หรืือเป็น็ แรงจููงใจสำำ�คัญั ให้้ท่า่ นต้อ้ งเลือื กบวชเป็็นสมณะ ในขณะ เดีียวกันั การมองว่่า พระอรหัันต์์นั้้�นควรค่า่ แก่่การได้้รับั การบููชา ก็็ไม่น่ ่า่ จะ เป็็นทางเลือื กที่ต�่ ้้องทำำ�ให้้ท่า่ นตัดั สินิ ใจบวช เพราะโดยปรกติิแล้้ว สภาวะ ของความเป็น็ พระอรหันั ต์น์ ั้้น� ก็ข็ ้า้ มพ้น้ สิ่ง� เหล่า่ นั้้น� อยู่�แล้ว้ ฉะนั้้น� การมองใน ลักั ษณะดังั กล่า่ ว เป็น็ การตัดั สินิ หรือื มองบนฐานคิิดของบุคุ คลทั่่ว� ไปที่อ�่ ยู่�ใน สังั คม หากแต่ม่ ิิใช่ม่ โนทัศั น์แ์ ละชีีวทััศน์์ของคฤหััสถ์์ที่�บ่ รรลุุพระอรหัตั ผล 3 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

ในขณะที่่ � ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ ์ ดร.วัชั ระ งามจิิตรเจริญิ พยายามที่่� จะมองว่า่ ๔๐ การที่ค�่ ฤหัสั ถ์์ที่่�บรรลุพุ ระอรหััตผลจะต้อ้ งบวชนั้้�น เป็น็ “การ หวัังผลในเชิิงกุุศโลบาย” เพราะว่่าการบวชนั้้�นจะเป็็น “รููปแบบ” ที่�่ใช้้เป็็น “เกราะ” สำ�ำ หรัับป้้องกัันไม่่ให้้ “บุุคคลอื่�น” ต้้องได้้รัับผลแห่่งอกุุศลกรรม อัันเนื่่อ� งมาจากการแสดงออกในทางที่่�ไม่เ่ หมาะสม โดยท่่านได้ย้ กตัวั อย่า่ ง กรณีีของพระลกุณุ ฑก- ภัทั ทิยิ เถระ แม้จ้ ะบรรลุพุ ระอรหัตั ผลแล้ว้ แต่ม่ ีีรููปร่า่ ง ประดุจุ สามเณรจึงึ ถููกพระภิกิ ษุรุ ููปอื่่น� ใช้ม้ ือื เคาะศีีรษะ ฉะนั้้น� ท่า่ นจึงึ สรุปุ ว่า่ “รููปแบบ” ของนัักบวชอาจจะทำ�ำ ให้้การดำ�ำ รงชีีวิิตในสัังคมของท่่านนั้้�นเป็็น ไปในทิศิ ทางที่ด�่ ีีต่อ่ ตััวท่่านเองและผู้้�อื่�นในสังั คมด้ว้ ย ผู้เ�้ ขีียนเห็น็ ว่่า การให้้ เหตุผุ ลของอาจารย์ว์ ััชระนั้้น� อาจจะพอรับั ได้ใ้ นอีีกระดับั หนึ่่ง� แต่่ถึึงกระนั้้น� ก็็ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ คำ�ำ ถามเช่น่ เดีียวกันั การที่่ค� ฤหััสถ์ท์ ี่่�บรรลุุพระอรหััตผลต้อ้ งบวช นั้้น� มีีความสำำ�คัญั เพีียงแค่่ “รููปแบบ” เท่า่ นั้้�นหรืือ? หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 3

อย่่างไรก็ต็ าม หากมีีการเลืือกที่่จ� ะบรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิกิ ษุ ุ นอกเหนือื จากการที่จ่� ะให้เ้ หตุผุ ลหรือื อ้า้ งว่า่ “เพราะเพศคฤหัสั ถ์ม์ ีีกำ�ำ ลังั อ่อ่ น จึงึ ต้อ้ งบวช” หรือื “อรหัตั ผลเป็น็ สิ่ง� ประเสริฐิ ไม่ค่ ู่่�ควรแก๋เ๋ พศฆราวาส ซึ่ง่� เป็น็ เพศที่ต่�ั้�งอยู่�ในฐานะแค่่ศีีล ๕ เท่่านั้้น� ”๔๑ ผู้เ�้ ขีียนเห็น็ ว่่า จุดุ สำำ�คัญั ของการ บวชอีีกนัยั หนึ่่ง� นั้้น� น่า่ จะมุ่�งไปที่ก�่ ารทำำ�ประโยชน์ใ์ ห้ค้ รบทั้้ง� สามด้า้ นมากกว่า่ กล่า่ วคืือ ประโยชน์ต์ น ประโยชน์ผ์ ู้้�อื่น� และประโยชน์ต์ นและผู้�้อื่�น เพราะ เมื่ �อวิิเคราะห์์ถึึงประโยชน์์ตนนั้้�น ก็็ถืือได้้ว่่าคฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุพระอรหััตผลได้้ ทำำ�สำ�ำ เร็จ็ แล้้ว นั่่น� ก็็คืือการที่่�ได้บ้ รรลุุธรรมชั้น� สููงในทางพระพุทุ ธศาสนา เป็น็ อเสขบุุคคลที่จ่� บกระบวนการของการปฏิิบััติิตนตามกรอบของมรรค ๘ แล้ว้ ฉะนั้้น� สิ่่�งที่่จ� ะต้้องทำำ�ต่อ่ ไปก็็คือื หากจะต้อ้ งบรรพชาอุปุ สมบทนั้้น� สิ่ง� ที่ถ�่ ืือได้้ว่า่ เป็น็ จุุดมุ่่�งหมายสำ�ำ คัญั ก็ค็ ืือ การเดินิ ตามมรรควิถิ ีีที่�่พระพุทุ ธเจ้้า ได้ป้ ระกาศในเหตุกุ ารณ์ท์ ี่พ่� ระองค์ไ์ ด้ส้ ่ง่ พระอรหันั ต์์ ๖๐ รููป ไปประกาศพระ ศาสนาว่่า 3 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

“ภิกิ ษุุทั้้�งหลาย เราพ้้นแล้้วจากบ่่วงทั้้�งปวง ทั้้ง� ที่เ�่ ป็็นของทิิพย์์ ทั้้ง� ที่เ่� ป็็นของมนุษุ ย์์ แม้พ้ วกเธอก็็พ้้นแล้้วจากบ่่วงทั้้�งปวง ทั้้ง� ที่่�เป็็นของทิิพย์์ ทั้้ง� ที่่�เป็็นของมนุษุ ย์์ เธอทั้้ง� หลายจงเที่่ย� วจาริิกไป เพื่่�อประโยชน์์เกื้อ� กููลแก่่ชนหมู่�มาก เพื่่อ� ความสุุขแก่ช่ นหมู่�มาก เพื่่อ� อนุเุ คราะห์โ์ ลก เพื่่�อประโยชน์์ เพื่่�อเกื้�อกููล เพื่่อ� ความสุุขแก่่เทวดาและมนุุษย์ท์ ั้้�งหลาย อย่่าได้้ไปในทางเดีียวกััน ๒ รููป หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 3

จงแสดงธรรม งามในเบื้้�องต้น้ งามในท่่ามกลาง งามในที่ส่� ุดุ จงประกาศพรหมจรรย์ ์ พร้้อมทั้้�งอรรถะ พร้อ้ มทั้้ง� พยัญั ชนะ บริสิ ุทุ ธิ์์บ� ริิบููรณ์ส์ิ้น� เชิิง สัตั ว์ท์ ั้้ง� หลายผู้้�มีีธุุลีีในจักั ษุนุ ้อ้ ย มีีอยู่่� เพราะไม่่ได้ฟ้ ัังธรรมย่อ่ มเสื่�อมรอบ ผู้�้รู้�ทั่ว� ถึึงซึ่ง�่ ธรรมจัักมีี แม้้เราก็็จักั ไปยังั อุุรุเุ วลาเสนานิิคม… ๔๒ 3 ผู้บ�รบ รลุอรอ หันนต์

จากพุุทธพจน์ข์ ้้างบนนั้้�น ทำ�ำ ให้เ้ ราได้้เห็น็ ว่่า คฤหััสถ์์ได้ท้ ำำ�กิจิ หรือื ภาระหน้า้ ที่ข่� องตัวั เองจบบริบิ ููรณ์์ หรือื สิ้น� สุดุ ภารกิจิ ในการเอาชนะความทุกุ ข์์ ได้อ้ ย่า่ งยั่ง� ยืนื แล้ว้ หากว่า่ ตัวั เองมีีความพร้อ้ มในแง่ข่ อง “สังั ขาร” และความ พร้อ้ มในแง่ข่ อง “กรรมเก่า่ ” ที่ส่� ามารถทำ�ำ ให้ต้ ัวั เองดำำ�รงชีีวิติ อยู่�ได้๔้ ๓ หน้า้ ที่่� ควรจะทำำ�ต่อ่ ไปก็ค็ ือื การได้ใ้ ช้เ้ วลา และโอกาสที่ย�่ ังั คงมีีอยู่�นั้น� ทำำ�หน้า้ ที่เ่� พื่่อ� ผู้้� อื่น� ในสังั คมด้ว้ ยการชี้้ใ� ห้ป้ ระชาชนทั่่ว� ไปได้ม้ องเห็น็ ถึงึ คุณุ ค่า่ แห่ง่ ความสะอาด สงบ และสว่า่ ง เพื่่อ� ที่เ�่ ขาเหล่า่ นั้้น� จะได้เ้ สาะแสวงหาความสุขุ ที่แ�่ ท้จ้ ริงิ ด้ว้ ยตัวั เองต่่อไป หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 3

สรุุปแล้ว้ “แนวคิิดความเป็็นไปได้้ หรือื เป็็นไปไม่่ได้”้ น่า่ จะเป็็นชุุด ของการให้้เหตุผุ ลที่�ผ่ ู้เ�้ ขีียนมองว่า่ เป็น็ “ทางเลืือกที่่�ดีีที่่�สุุดทางหนึ่่ง� ” ที่พ่� อจะ นำ�ำ มาอธิิบายประเด็็น “คฤหััสถ์์บรรลุุพระอรหััตผลน่่าจะบรรพชาอุุปสมบท เป็น็ พระภิกิ ษุ ุ มากกว่า่ การเลือื กที่ด�่ ำ�ำ รงตนอยู่�ในเพศคฤหัสั ถ์”์ ในขณะที่ก่� าร มุ่�งประเด็น็ ไปที่�่ “เพศคฤหัสั ถ์เ์ ป็น็ เพศทราม มีีกำ�ำ ลังั อ่อ่ น จึงึ ไม่ส่ ามารถรองรับั พระอรหัตั ผล” นั้้น� เป็น็ การให้เ้ หตุผุ ลที่ข�่ าดคัมั ภีีร์ช์ั้น� ปฐมภููมิมิ ารองรับั และ ดููประหนึ่่�งว่่าจะเป็น็ การให้เ้ หตุุผลมุ่�งเน้น้ ไปที่่� “ปัญั หาเรื่�องเพศ” มากกว่่าที่�่ จะประเด็็นเรื่อ� ง “จิิตภาพ” หรืือ “คุุณค่่าภายในควบคู่่�กัันไปด้้วย” 3 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

๔ เพราะเหตุุใด? ถ้า้ คฤหััสถ์์บรรลุพุ ระอรหัตั ผลแล้้วไม่บ่ วช จะต้้องนิพิ พานหรืือตาย ประเด็น็ ที่น�่ ่า่ สนใจอีีกประการหนึ่่ง� ก็ค็ ือื “ถ้า้ คฤหัสั ถ์บ์ รรลุพุ ระอรหัตั ผลแล้ว้ ไม่บ่ วชจะต้อ้ งตายในวันั นั้้น� ” คำำ�ถามที่เ่� กิดิ ขึ้้น� ก็ค็ ือื ว่า่ “ทำำ�ไม?คฤหัสั ถ์์ คนนั้้น� จะต้อ้ งนิพิ พานหรือื ตายในวันั นั้้น� ” ในกรณีีนี้้ � พระนาคเสนได้พ้ ยายาม ที่่�จะให้้เหตุุผลว่่า “เพศคฤหััสถ์ไ์ ม่่สงบ เพราะความที่เ่� ป็น็ เพศไม่่สงบ ก็็เป็น็ เพศที่�่ทรามกำำ�ลััง หรืืออ่่อนกำ�ำ ลััง คฤหััสถ์์ที่�่บรรลุุธรรมเป็็นพระอรหัันต์์จึึง ต้อ้ งบวชในวัันนั้้�น หรืือไม่่ก็ต็ ้้องนิิพพานในวันั นั้้�น” และให้ไ้ ด้้เหตุุผลเพิ่่�มเติิม ว่า่ “ข้้อนี้้� (สาเหตุุที่�เ่ ป็น็ เช่น่ นี้้)� หาใช่่โทษของพระอรหัตั ผลไม่่ ความเป็็นเพศ มีีกำ�ำ ลัังทรามนี้้ � เป็น็ โทษของเพศคฤหััสถ์น์ ั่่�นเทีียว” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริิงหรืือ 3

ฉะนั้้น� เพื่่อ� ที่จ่� ะทำ�ำ ให้ก้ ารให้เ้ หตุผุ ลของท่า่ นมีีความชอบธรรม หรือื มีี น้ำำ��หนักั มากยิ่ง� ขึ้น� จึงึ ได้เ้ สริมิ ด้ว้ ยอุปุ มาอุปุ มัยั ดังั ตัวั อย่า่ งที่ว�่ ่า่ “เปรีียบเหมือื น ว่า่ บุุรุษุ ผู้�้ อ่่อนแอ ทรามกำำ�ลังั มีีชาติกิ ำ�ำ เนิดิ ต่ำ��ำ ทราม มีีบุญุ น้้อย ได้ร้ ัับราช สมบััติิที่�่แสนยิ่�งใหญ่่ ก็็ย่่อมตกไป พลาดไป ถอยกลัับไป มิิอาจจะรองรัับ อิสิ สริยิ ฐานะได้้ ฉัันใด คฤหััสถ์ผ์ ู้บ�้ รรลุคุ วามเป็น็ พระอรหัตั ผล ก็็ย่่อมไม่อ่ าจ รองรัับความเป็็นพระอรหััตผลโดยเพศนั้้�น เพราะเหตุุนั้้�น จึึงต้้องบวชในวััน นั้้�น หรืือไม่ก่ ็็นิพิ พานในวัันนั้้น� ฉันั นั้้น� เหมือื นกััน” 3 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

ประเด็็นที่่�น่่าศึกึ ษาก็็คืือ ในการให้้เหตุุผลของท่า่ นนั้้�น มัักมุ่�งเน้้นไป ที่�่จุุดใหญ่่จุุดเดีียว คือื ประเด็น็ ของคำำ�ว่่า “เพศ” จะเห็น็ ว่่าท่า่ นพยายามจะ ย้ำ�ำ�ว่า่ “เพศคฤหััสถ์ไ์ ม่ส่ งบ” และ “เพศคฤหััสถ์ท์ รามกำ�ำ ลััง” ฉะนั้้�น “เพศ คฤหััสถ์์จึึงไม่่อาจจะรองรัับสภาวะของพระอรหััตผล” ด้้วยเหตุุนี้้� จึึงทำำ�ให้้ เกิดิ ประเด็น็ คำำ�ถามตามมาว่า่ การให้เ้ หตุผุ ลที่ม�ุ่่�งเน้น้ ไปที่ป�่ ระเด็น็ เรื่อ� ง “เพศ” เป็น็ ด้้านหลักั นั้้�น “สมเหตุุสมผลหรือื ไม่่?” หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริิงหรือื 3

จากกรณีีดัังกล่า่ วนี้้� ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์ ์ ดร.วัชั ระ งามจิติ รเจริญิ ได้้ วิิพากษ์ใ์ นประเด็น็ นี้้ว� ่่า๔๔ “ไม่่สมเหตุสุ มผล” (Invalidity) เนื่่อ� งจากเป็็นการ ให้เ้ หตุผุ ลที่ม่�ุ่�งเน้น้ และให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั ประเด็น็ เรื่อ� ง “เพศ” มากจนเกินิ ไป ซึ่�่งท่่านมองว่่าหากจะตีีความตาม “ตััวอัักษร” อาจจะทำ�ำ ให้้เกิิดปััญหาได้้ เพราะตัวั ที่บ�่ รรลุธุ รรมนั้้น� คือื “สภาพจิติ ” โดยท่า่ นมองว่า่ จะเป็น็ ไปได้ห้ รือื ไม่่หากจะมีีการตีีความของคำ�ำ ว่่า “ตาย” นั้้�นเสีียใหม่่ ซึ่่�งอาจจะหมายถึึง “กิเิ ลสตาย” หรืือ “ตายจากความเป็น็ เพศของคฤหััสถ์”์ ซึ่่�งการให้เ้ หตุผุ ล ของอาจารย์์วััชระนั้้�น น่่าสนใจว่่า เป็็นการอธิิบายโดยยืืนอยู่�บนฐานของมิิติิ ของ “กาย” และ “จิิต” ซึ่�่งอาจจะครอบคลุุมมากกว่่าการให้้เหตุุผลในมิิติิ ของ “กาย” อัันมุ่�งเน้้นประเด็็นเรื่อ� งเพศมากจนเกิินไป 4 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

พระมหานริินทร์์ สุุธรรม มีีทััศนะค่่อนข้้างจะสอดรัับอาจารย์์วััชระ ว่่า “คฤหัสั ถ์เ์ ป็็นพระอรหัันต์์แล้้วต้อ้ งบวช แต่ไ่ ม่น่ ่า่ จะตายทันั ทีี หากไม่ไ่ ด้้ บวชในวัันนั้้�น เพราะการเป็น็ พระอรหัันต์์เป็น็ เรื่�องของการเปลี่่ย� นแปลงจิิต หากกรรมเก่า่ ยังั ไม่ม่ าตัดั รอนทันั ทีีทันั ใดเหมือื นพระพาหิยิ ะ และหากกายยังั สมบููรณ์์อยู่่� ก็็น่่าจะดำ�ำ รงอยู่�ได้้จนกว่่าจะเตรีียมการณ์์บวช และออกไปบวช ได้ส้ ำ�ำ เร็จ็ ”๔๕ หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 4

น่่าสัังเกตว่่าทั้้�งสองท่่านดัังกล่่าวนั้้�น มีีทััศนะโดยการให้้น้ำ�ำ�หนัักไป ที่�่ “การเปลี่่ย� นแปลงทางจิติ ” หรือื “คุณุ ค่่าทางจิติ ” มากกว่่าประเด็น็ เรื่�อง กาย หรืือประเด็น็ เรื่อ� งเพศ ซึ่�่งการตั้้ง� ข้้อสังั เกตในลักั ษณะนี้้�ค่อ่ นข้า้ งจะสอด รัับการกัับประเด็็นที่�่พระพุุทธเจ้้าตรััสเรีียกสัันตติิมหาอำำ�มาตย์์ว่่า “สมณะ” “พราหมณ์์” และ “ภิิกษุุ”๔๖ และตรััสเรีียกพาหิิยะทารุุจิิยะว่่า “เพื่่�อน สพรหมจารีีของพระภิิกษุุทั้้�งหลาย”๔๗ ประเด็น็ ที่่�น่า่ สนใจก็ค็ ือื แม้้ว่า่ ท่่าน ทั้้�งสองจะยัังไม่่ได้้บรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุก็็ตาม แต่่พระองค์์ก็็ได้้ชี้� ให้พ้ ระภิกิ ษุทุ ั้้ง� หลายได้เ้ รีียกเช่น่ นั้้น� ซึ่ง�่ การแสดงออกในลักั ษณะนี้้ � ย่อ่ มทำ�ำ ให้้ เราได้เ้ ห็็นว่่า พระองค์น์ ั้้�นก็ท็ รงให้้ความสำำ�คััญแก่่คุณุ ค่่าภายในเช่่นเดีียวกััน 4 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์

อย่า่ งไรก็็ตาม พระพุุทธโฆษาจารย์์ แม้จ้ ะเห็็นด้้วยกัับการนำ�ำ เสนอ เหตุผุ ลของพระนาคเสน แต่อ่ าจจะมองว่า่ ลำำ�พังั เพีียงการการนำำ�เสนอเหตุผุ ล และอุุปมาอุุปมััยของพระนาคเสนอาจจะไม่่ค่่อยมีีน้ำำ��หนัักมากนััก เพราะ ขาดกรณีีศึกึ ษา ด้ว้ ยเหตุนุ ี้้�ท่า่ นจึงึ ได้้นำำ�เสนอ “กรณีีเขมาศึึกษา” เพื่่�อนำ�ำ มา ตอกย้ำ�ำ�และอ้า้ งอิงิ ว่า่ “หลังั จากที่น�่ างได้ฟ้ ังั ธรรมะจากพระพุทุ ธเจ้า้ จึงึ ได้บ้ รรลุุ เป็็นพระอรหันั ต์์” พระศาสดาจึงึ ได้ต้ รัสั กับั พระเจ้า้ พิิมพิิสารว่า่ “มหาบพิิตร พระนางเขมาจะบวชหรืือปรินิ ิพิ พาน จึงึ ควร?” พระเจ้า้ พิมิ พิิสารจึึงตรััสตอบ ว่า่ “โปรดให้้พระนางบวชเถิิด อย่า่ ให้น้ างปริินิพิ พานเลย”๔๘ หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรืือ 4

จากการนำ�ำ เสนอของพระพุุทธโฆษาจารย์์นั้้�น มีีประเด็็นที่�่น่่าตั้�งข้้อ สังั เกตใน ๔ ประเด็็นหลัักๆ ต่อ่ ไปนี้้ � คือื ๑) ข้้อมููลที่�่พระพุทุ ธโฆษาจารย์ก์ ล่่าวอ้้างถึงึ นั้้�น เมื่อ� วิเิ คราะห์จ์ าก คัมั ภีีร์ช์ั้น� บาลีี หรืือคััมภีีร์์ชั้น� ต้้นแล้้ว ปรากฏว่า่ “มิไิ ด้ม้ ีี” พระพุทุ ธดำ�ำ รััสใน ลัักษณะนั้้�น และไม่่ปรากฏคำ�ำ กล่่าวเหล่่านั้้�นเลยในพระพระไตรปิิฎก ๔๕ เล่่มที่่�เป็็นคััมภีีร์์ชั้�นบาลีี คำ�ำ กล่่าวทั้้�งหมดที่�่อ้้างว่่าพระพุุทธเจ้้าได้้ตรััสนั้้�น ก็็มิิได้้มีีปรากฏในคััมภีีร์์มิิลิินทปััญหาที่่�พระพุุทธโฆษาจารย์์ได้้รัับอิิทธิิพลมา แต่ป่ ระการใด ๒) หากเหตุุผลข้อ้ ที่�่ ๑) เป็็นไปได้้ กล่่าวคืือ ประโยคที่ม่� ีีการสนทนา ระหว่่างพระพุุทธเจ้้าและพระเจ้้าพิิมพิิสารรวมไปถึึงพระนางเขมานั้้�นไม่่ได้้ มีีเค้้าลางที่�่พระพุุทธเจ้้าได้้ตรััส นั่่�นก็็หมายความว่่า พระพุุทธโฆษาจารย์์ได้้ พยายามที่�่จะนำ�ำ พระพุุทธเจ้้ามาเป็็นฐานในการสร้้างความเชื่�อมั่�นให้้แก่่งาน เขีียนของตััวท่่านเองโดยการแต่่งคััมภีีร์์ขึ้ �นมาว่่าพระองค์์ได้้ตรััสประโยคดััง กล่่าว 4 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

๓) ข้้อมููลในการนำำ�เสนอของพระพุุทธโฆษาจารย์์ที่�่ว่่า “นางเขมา บรรลุพุ ระอรหัตั ผลในวัันนั้้น� และก็ไ็ ด้้บวชในวัันนั้้น� ” มิไิ ด้้มีีความสอดคล้อ้ ง กัับนััยที่่�ปรากฏในคััมภีีร์์อปทานที่่�ชี้�ให้้เห็็นว่่า “เมื่�อนางได้้ฟัังพระธรรมจาก พระพุุทธเจ้า้ แล้้ว ได้ต้ั้�งอยู่�ในโสดาปััตติิมรรค สกทาคามิิมรรค และอนาคา มิมิ รรค จึึงได้ข้ อให้้พระราชาอนุญุ าตการบรรพชาอุปุ สมบท หลังั จากที่ไ่� ด้้ บวชเป็็นระยะเวลา ๗ เดืือน จึึงบรรลุุพระอรหััตผล”๔๙ เมื่ �อเป็็นเช่่นนี้้�จึึง ทำำ�ให้้เกิิดคำ�ำ ถามว่า่ “กรณีีเขมาศึกึ ษา” ของท่า่ นยัังจะสามารถอ้า้ งอิงิ ได้้หรือื ไม่?่ ๔) การอ้้างว่่า ถ้้านางเขมาไม่่บวชจะต้้องนิิพพานนั้้�น เมื่�อกล่่าว โดยสรุุปพระนางก็็มิิได้้ตาย และไม่่ได้้มีีตััวอย่่างจากแหล่่งข้้อมููลแห่่งใดเลย ที่่�คฤหััสถ์์ซึ่่�งบรรลุุพระอรหััตผลแล้้วไม่่บวชจะต้้องตาย ซึ่่�งหากเป็็นเช่่นนั้้�น ข้อ้ มููลดังั กล่า่ วอาจจะเป็น็ ไปไม่ไ่ ด้ใ้ นทางปฏิบิ ัตั ิิ แต่เ่ กิดิ จากการ “อนุมุ าน หรือื การ “คาดคะเน” ของพระพุทุ ธโฆษาจารย์เ์ องว่า่ “ถ้า้ ไม่บ่ วชแล้ว้ จะต้อ้ งตาย” หากไม่่บวชจะต้้องตายจริงิ หรือื 4

ด้ว้ ยเหตุนุี้้จ� ึงึ ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ ประเด็น็ ใหม่ท่ ี่จ่� ะต้อ้ งนำำ�มาถกเถีียงกันั ก็ค็ ือื คำ�ำ ว่่า “อนุุมาน” หรือื “คาดคะเน” (Inference) ซึ่่�งในความจริิงแล้้วมันั “เป็็น ไปไม่ไ่ ด้้ และไม่ไ่ ด้อ้ ยู่�ในสถานะที่จ�่ ะเป็น็ ไปได้”้ ที่ค่� ฤหัสั ถ์ท์ ี่บ่� รรลุพุ ระอรหัตั ผล แล้้วจะต้้องตาย ซึ่่ง� เหตุุผลทั้้�งหมดนั้้�น เกิิดจากการที่�่พระนาคเสน และพระ พุุทธโฆษาจารย์อ์ นุมุ าน หรือื คาดเดาเองหรือื ไม่่? ในประเด็น็ นี้้ � พุทุ ธทาสภิกิ ขุไุ ด้ว้ ิเิ คราะห์เ์ อาไว้อ้ ย่า่ งน่า่ สนใจว่า่ “มันั เป็น็ เพีียงแค่่การอนุุมานเท่่านั้้�น”๕๐ โดยได้ช้ี้ใ� ห้้เห็็นว่่า “ควรพิิจารณาโดย มุ่�งเน้้นไปที่�่ความหมายของเพศฆราวาส และเพศบรรพชิิตว่่า เพศฆราวาส ต้้องหมายถึึงการหนาแน่่น หมัักหมมอยู่่�กัับโลกีีย์์เช่่นคนที่่�เป็็นฆราวาสจริิงๆ ทำ�ำ กััน และเพศบรรพชิิตต้้องหมายถึงึ เพศที่่ส� ละเรื่อ� งโลกีีย์์ออกไปจริิงๆ มิิใช่่ ถืือเอาเพีียงโกนผม ห่่มผ้า้ เหลืือง” ท่า่ นย้ำ�ำ� ในประเด็็นนี้้� “ถ้้าพระอรหัันต์์จะ ต้้องอยู่ �ในเพศที่่�เป็็นอย่่างฆราวาสในความหมายที่�่เป็็นฆราวาสจริิงๆ ก็็ต้้อง ตายจริิงๆ” 4 ผู้บบ�รรลุอรอ หันตน ์

ประเด็น็ ที่่�น่่าสนใจก็ค็ ือื การใช้อ้ ุปุ มาอุุปมัยั เพื่่�อยืืนยัันการให้้เหตุผุ ล ของท่่านพุุทธทาสในประเด็็นเดีียวกัันนี้้� ค่่อนข้้างจะมีีความแตกกัันอย่่าง ชัดั เจนกับั พระนาคเสน “อุปุ มาเหมือื นปลาน้ำ��ำ จืดื ต้อ้ งตาย เมื่อ� ไปอยู่�ในน้ำ��ำ เค็ม็ เพศฆราวาสเหมือื นน้ำ�ำ�เค็ม็ เพศบรรพชิติ เหมือื นน้ำ��ำ จืดื พระอรหันั ต์ท์ ี่เ่� คยเป็น็ ฆราวาสเหมือื นปลาที่เ่� คยอยู่�ในน้ำ�ำ�เค็ม็ แต่เ่ มื่อ� วันั หนึ่่ง� เกิดิ การเปลี่ย�่ นแปลงที่�่ ต้้องเป็็นตรงกันั ข้้ามกันั กายก็็ต้้องมาอยู่�ในภาวะใหม่่ เหมือื นปลาต้อ้ งมาอยู่� ในน้ำำ�� จืืด หากยังั อยู่�ในภาวะเก่า่ หรือื ยังั อยู่�ในน้ำ��ำ เค็ม็ ก็ต็ ้อ้ งตายไป” และได้้ ย้ำำ��เพิ่่ม� เติมิ อีีกว่า่ “พระอรหัันต์ไ์ ม่เ่ คยอยู่� และอยู่�ไม่ไ่ ด้ใ้ นเพศฆราวาส ส่่วน ใจของพระอรหันั ต์์แม้จ้ ะให้อ้ ยู่่�ก็เ็ ท่า่ กับั ไม่่อยู่่� เพราะความที่ใ�่ จไม่ย่ ืดื ถือื สิ่�งใด ไม่่มีีใครจะเปลี่�่ยนใจท่่านให้้เป็็นฆราวาสได้้ หากจะมีีการบัังคัับให้้ท่่านอยู่� อย่่างฆราวาส จึึงเท่่ากัับจัับท่่านมาขัังคุุก หนัักเข้้าก็ต็ ้้องตายไปโดยส่่วนกาย หรือื สังั ขารธรรม” หากไม่บ่ วชจะต้้องตายจริงิ หรือื 4

จากนัยั ดัังกล่า่ วนั้้น� ทำ�ำ ให้้ท่า่ นสรุุปว่่า “เป็็นเพีียงการอนุมุ าน ไม่ม่ ีี การตาย เพราะเหตุนุี้้ � เพราะพระอรหันั ต์ไ์ ม่เ่ คยอยู่�ในเพศฆราวาส และไม่เ่ คย มีีใครมาบังั คับั หรือื จับั พระอรหันั ต์ใ์ ห้อ้ ยู่�ในเพศฆราวาสได้ ้ สมมติวิ ่า่ หากจะมีี ใครบังั คับั ให้ท้ ่า่ นอยู่�ในเพศฆราวาส ก็ต็ ้อ้ งอนุมุ านแบบเป็น็ การสมมติวิ ่า่ ท่า่ น ก็ต็ ้อ้ งตายจริงิ ๆ” ซึ่ง่� การตั้้ง� ข้อ้ สังั เกตในลักั ษณะนี้้ข� องพุทุ ธทาสภิกิ ขุนุ ั้้น� ค่อ่ น ข้า้ งจะสอดรับั กับั ทฤษฏีีการยืนื ยันั ความจริงิ ของพระพุทุ ธเจ้า้ ในประเด็น็ ที่่�ว่า่ อะไรคือื สิ่�งที่่� “เป็น็ ไปได้้ และเป็็นไปไม่่ได้้” แต่่ประเด็็นที่่�น่่าสนใจอีีกประการหนึ่่�งก็็คืือ การนำำ�อุุปมาอุุปมััยมา เป็น็ เครื่่อ� งมือื ในการสนับั สนุนุ การให้เ้ หตุผุ ลของพุทุ ธทาสภิิกขุคุ ่อ่ นข้า้ งจะไม่่ ค่อ่ ยให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั ประเด็น็ เรื่อ� ง “เพศ”ว่า่ มีีส่ว่ นสำ�ำ คัญั ต่อ่ การนิพิ พานหรือื ตายหรือื ดำ�ำ รงอยู่�ของคฤหัสั ถ์ท์ ี่บ�่ รรลุพุ ระอรหัตั ผผลมากนักั แต่พ่ ยายามที่จ่� ะ เน้น้ หนัักไปที่�่ “ความเป็น็ ไปได้้ และเป็็นไปไม่่ได้”้ เกี่ย่� วกัับเมื่อ� ฆราวาส และ บรรพชิิตจะต้อ้ งดำำ�รงอยู่�ในอีีกสภาพหนึ่่ง� 4 ผู้บบ�รรลุอรอ หันนต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook