Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรรณไม้เมืองไทย

พรรณไม้เมืองไทย

Published by jariya5828.jp, 2021-08-18 06:02:09

Description: พรรณไม้เมืองไทย

Search

Read the Text Version

ทบั ทิม Punica granatum L. มะเกา ะ พิลา พิลาขาว มะกอ งแกว วงศ PUNICACEAE ไมพุม สูง 1-5 เมตร ก่ิงมักแตกแขนง และมีหนามบริเวณ ซอกใบ ใบ เดยี่ ว ออกตรงขา ม รปู ใบหอก กวา ง 0.6-3 ซม. ยาว 1-9 ซม. ดอก เดยี่ ว ออกตามกง่ิ กา นดอกสน้ั กลบี เลย้ี งปลายแยก เปน แฉก ยาวประมาณ 1.2 ซม. กลบี ดอกรปู ไขก ลบั ยาวประมาณ 2.5 ซม. ปลายมน ผล รปู คอ นขา งกลม เสน ผา นศนู ยก ลาง 5-15 ซม. ถ่ินกำเนิดบริเวณพื้นที่ระหวางเชิงเขาหิมาลัย นำเขามาปลูก ในประเทศไทยเปนไมผ ล เปลอื กผล แกท อ งเสยี รกั ษาแผลเนา เปอ ยเรอ้ื รงั แกโ รคผวิ หนงั เปลือกรากและเปลือกตน ขับพยาธิตัวตืดและพยาธิไสเดือน นำ้ คั้นจากเยอื่ หุม เมลด็ แกเ ลือดออกตามไรฟน พชื สมนุ ไพร • 49

50 • พรรณไมเมอื งไทย

นำ้ นมราชสีห Euphorbia hirta L. หญา นำ้ หมกึ นมราชสหี  ผกั โขมแดง วงศ EUPHORBIACEAE ไมลมลุก สูงถึง 45 ซม. ลำตนตั้งตรง หรือทอดเล้ือย มีขน สีนำ้ ตาลอมเหลอื งปกคลมุ ใบ เด่ยี ว เรยี งสลบั รูปไขแ กมรี กวาง 0.6-1.8 ซม. ยาว 1.2-4 ซม. โคนใบเบย้ี ว ขอบใบจกั เปน ฟน เลอ่ื ย ดอก ออกเปนชอรูปถวย สีเขียว และมีสีแดงปะปน ดอกยอย 20-50 ดอก ผล เปน ผลแหง แตก พบในเขตรอ น และเขตอบอนุ ของโลก สนั นษิ ฐานวา มถี น่ิ กำเนดิ ในอเมรกิ า ในประเทศไทยพบไดท ัว่ ไป โดยเฉพาะพนื้ ท่ีเปด ท้ังตน บำรุงกำลัง บำรุงน้ำนม บำรุงธาตุ ขับปสสาวะ แก ปสสาวะแดง ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กระตุนภูมิคุมกัน เรงใหแผล หายเรว็ ยับยง้ั การเกร็งของกลา มเนือ้ ตา นเช้ือรา ตา นเช้ือบิด พืชสมุนไพร • 51

52 • พรรณไมเมอื งไทย

เนระพสู ีไทย Tacca chantrieri André ดีงูหวา ดีปลาชอน นิลพูสี มังกรดำ มาถอนหลัก วา นพังพอน ชือ่ สามัญ Bat flower วงศ TACCACEAE ไมล ม ลุก มีเหงารูปทรงกระบอก ใบ เดีย่ ว รูปรี รปู ขอบขนาน หรอื รปู ใบหอก กวา ง 6-18 ซม. ยาว 25-60 ซม. ดอก ออกเปน ชอ แตละชอมีดอกยอยมากสุดถึง 25 ดอกยอย ใบประดับ มี 2 คู ออกตรงขามสลับต้ังฉาก ร้ิวประดับรูปเสนดาย 6-25 อัน ยาว 10-25 ซม. ดอกยอ ย กวา ง 0.6-2 ซม. ยาว 1-2.5 ซม. ปลายแยก 6 แฉก ผล เปนผลแหง แตก รูปสามเหล่ียม กวาง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. เมลด็ รปู ไต ยาว 3-4 มม. พบทางตอนใตของจีน อินเดีย บังคลาเทศ อินโดจีน และ มาเลเซยี บรเิ วณปา ดิบเขา ทคี่ วามสูง 50-1,000 เมตร จากระดับ น้ำทะเล ทั้งตน ผสมกับสมุนไพรอื่น ฝนรวมกันกินแกเบ่ือเมา เหงา หรือใบ ตมน้ำด่ืมหรือเค้ียวกิน แกปวดตามรางกาย ปวดทอง อาหารไมย อย อาหารเปนพษิ โรคกระเพาะอาหาร บำรุงรางกาย ใบออน นำมาลนไฟหรอื กนิ เปนผกั สดกบั ลาบ พืชสมุนไพร • 53

54 • พรรณไมเมอื งไทย

เปา เลือด Stephania venosa (Blume) Spreng. เปาเลือดเครือ สบเู ลือด กลิง้ กลางดง บอระเพ็ดยางแดง กระทอมเลอื ด วงศ MENISPERMACEAE ไมเถา มีหัวสะสมอาหาร เถามียางสีแดงบริเวณปลายยอด หรอื ทกี่ า นใบ ใบ เดยี่ ว รปู ไข ขอบใบเวา เลก็ นอ ย กวา ง 7-12 ซม. ยาว 6-11 ซม. กานใบตดิ ใกลโ คนใบ ยาว 5-15 ซม. ดอก ขนาด เลก็ กวาง 4-5 มม. ออกเปน ชอแบบซ่ีรม แยกเพศ ดอกเพศผู มี กลบี เลยี้ ง 6 กลบี รปู ไข หรอื รปู ไขก ลบั กลบี ดอก 3 กลบี รปู ไขก ลบั ชอดอกเพศเมีย มักจะหนาแนน กวา มกี ลีบดอก 2 กลีบ คลายรปู ไต ผล เปนผลแบบเมลด็ เดียวแข็ง รปู ไขก ลบั ยาว 7 มม. พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยพบตาม ปาเบญจพรรณ และภเู ขาหนิ ปนู ทค่ี วามสงู 0-1,500 เมตร จาก ระดับน้ำทะเล ราก บำรุงเสนประสาท แกไข แกหืด แกบิด หัว แกเสมหะ ในลำคอและทรวงอก กระจายลม บำรุงกำลัง เปนยาอายุวัฒนะ บำรงุ กำหนดั ใบ บำรุงธาตุ ฆาพยาธิ พืชสมุนไพร • 55

พญายอ Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau พญาปลอ งทอง พญาปลอ งดำ ผักมนั ไก ผกั ลน้ิ เขยี ด เสลดพงั พอนตัวเมีย วงศ ACANTHACEAE ไมพุมรอเลื้อย ใบ เด่ียว ออกตรงขาม รูปไขแกมขอบขนาน หรือรูปใบหอก กวาง 0.5-1.5 ซม. ยาว 2.5-13 ซม. ดอก ออกเปนชอ ดอกยอ ยจำนวน 5 ดอก ข้ึนไป กลีบเลย้ี งยาว 1 ซม. มีขนแบบตอมปกคลมุ กลีบดอกเช่อื มเปนหลอด ยาว 3.5 ซม. ปลายแยก รูปปากเปด ผล เปนผลแหง แตก พืชปลูก ไมทราบถิ่นกำเนดิ ที่แนช ดั ใบ รักษาแผลไฟไหม น้ำรอนลวก แมลงกัดตอย ผื่นคัน ลดการอักเสบของ เริมในปาก และงูสวดั 56 • พรรณไมเมืองไทย

พระจนั ทรคร่ึงซกี Lobelia chinensis Lour. บัวครง่ึ ซกี วงศ CAMPANULACEAE ไมลม ลกุ อายหุ ลายป ใบ เด่ยี ว เรยี งสลบั รูปใบหอก กวาง 1.2-2.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ขอบใบจักเล็กนอย ดอก เดย่ี ว ออกท่ซี อกใบ กลบี เล้ยี งอยเู หนอื รังไข ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกไมสมมาตร ปลายแยก 5 แฉก ผล เปนผลแหงแตก ยาว 4-6 มม. เมล็ดรปู รี จำนวนมาก พบท่วั ไปในประเทศจีน เปนพืชปลกู ในประเทศไทย ตนสด เปนยาบำรุงปอด แกวัณโรค และแกหืด ชาวจีนนิยมใชตนสดตำผสม กบั เหลา กนิ แกอ าเจียนเปนเลือด แกหืด พืชสมุนไพร • 57

58 • พรรณไมเมอื งไทย

เพชรสังฆาต Cissus quadrangularis L. ข่ันขอ สนั ชะควด สามรอ ยตอ วงศ VITACEAE ไมเถา อวบน้ำ ยาวถึง 8 เมตร ผิวเกล้ียง ลำตนมีสันและ มือเกาะ ใบ เดยี่ ว รปู ไข หรอื สามเหล่ียม ยาว 2-5 ซม. แผนใบ มีตอมโปรงแสง ขอบใบจักหาง ดอก ออกเปนชอแบบกระจุก ท่ีโคนกานใบ กลีบเล้ียงขนาดประมาณ 2 มม. กลีบดอกรูปไข ปลายแหลม โคงเปด เม่ือดอกบาน ยาวประมาณ 2.5 มม. เกสร เพศผู 4 อัน ผล เปนผลสด คอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง 7 มม. เมล็ดมี 1 เมล็ด รปู ไขกลับ ผวิ เกล้ยี ง พบบริเวณเขตรอนในแอฟริกา และเอเซียใต ในประเทศไทย เปนพืชปลกู เถาสด กินวันละ 1 ปลอง จนครบ 3 วัน แกริดสีดวงทวาร แกลกั ปดลกั เปด ประจำเดอื นมาไมปกติ รักษากระดูกแตกและหกั แกหูน้ำหนวก ขับน้ำเหลืองเสีย ราก รักษากระดูกแตกและหัก ใบ รักษาโรคลำไส พชื สมุนไพร • 59

60 • พรรณไมเมอื งไทย

มะกายคัด Mallotus philippensis (Lam.) Müll.Arg. กายคัดหิน ข้ีเน้อื สากกะเบอื ละวา คำแดง คำแสด มะคาย ทองทวย แสด แทงทวย ลายตวั ผู ขี้เตา ชาตรีขาว พลับพลาขเี้ ตา พลากวางใบใหญ ช่อื สามญั Monkey-faced tree วงศ EUPHORBIACEAE ไมตน ขนาดเล็ก สงู ถงึ 15 เมตร กิง่ กา นมขี นรูปดาวและเกล็ด สแี ดง ใบ เดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ไขแ กมรปู รี กวา ง 2.1-10.5 ซม. ยาว 4-22 ซม. ทอ งใบมขี นลักษณะตอ มหรอื เปนเกล็ด เสนใบสามเสน จากโคน ดอก ออกเปน ชอ แยกเพศ ชอ ดอกเพศผู ยาวถงึ 18 ซม. กลบี ดอกขนาด 2-3 มม. ชอ ดอกเพศเมยี ยาวถงึ 20 ซม. กลบี ดอก ขนาด 4 มม. ผล เปนผลแหงแตก กวา ง 6-8 มม. ยาว 8-12 มม. เปนพูเลก็ นอ ย สนี ำ้ ตาลแดง เมลด็ สีดำ กวาง 3.5-3.8 มม. ยาว 4-4.2 มม. กระจายพันธุต้ังแตเอเชียถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบ ทกุ ภาค เปลอื ก บำรุงโลหติ ใบ ขบั ปสสาวะ แกบ ดิ ดอก บำรงุ สมอง บำรงุ โลหติ แกอ าการแสบรอ นตามผวิ หนงั เมลด็ แกล ม ขบั ปส สาวะ บำรงุ โลหติ ฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา ขับพยาธิ ตานเชื้อแบคทีเรีย พืชสมนุ ไพร • 61

62 • พรรณไมเมอื งไทย

มะคำดีควาย Sapindus rarak DC. มะซกั สมปอยเทศ ประคำดคี วาย ชอ่ื สามัญ Soap nut tree วงศ SAPINDACEAE ไมตน สงู ถึง 20 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอ ย 6 คู รูปขอบขนาน กวา ง 3-4 ซม. ยาว 10-12 ซม. โคนใบเบย้ี ว ดอก ออกเปนชอแยกแขนง กลีบเล้ียง 5 กลีบ รูปไข หรือรูปไขแกม ขอบขนาน กวา ง 2-2.5 มม. ยาว 3-5 มม. มขี นปกคลมุ กลบี ดอก 4 กลบี มีรยางคด า นในและมขี นยาวสนี ้ำตาลปกคลมุ ผล รปู ทรง กลม และมีลกั ษณะเปนสันเล็กนอ ย สีแดงเขม ขนาด 1.8-2 ซม. พบในอินเดีย ไตหวัน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ใน ประเทศไทยพบตามปาผลัดใบ และปาดิบแลง ที่ความสูง 150- 1,600 เมตร จากระดบั นำ้ ทะเล ราก แกหืด ไอ เปลือก แกก ระษยั แกพ ษิ ไข แกพ ิษรอน ผล ดับพิษท้ังปวง ดับพิษรอนภายใน แกไข แกหอบหืด รักษาโรค ผิวหนัง รงั แค และชันนะตุ ผลแกนำมาทุบใหม ฟี องสำหรับซักผา เมล็ด รักษาโรคผิวหนงั พชื สมนุ ไพร • 63

64 • พรรณไมเมอื งไทย

มะเฟอง Averrhoa carambola L. ชื่อสามัญ Carambola วงศ OXALIDACEAE ไมต น สงู ถงึ 14 เมตร ปลายกง่ิ มกั จะยอ ยลง ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอย 3-6 คู ใบยอ ย กวา งถงึ 4 ซม. ยาวถงึ 10 ซม. ดอก ออกเปน ชอ ที่ซอกใบ ตามกิ่ง และลำตน กลีบดอกกวาง 2 มม. ยาว 8 มม. ดา นในกลบี ดอกมขี นเลก็ นอ ย ลักษณะเปนตอม ผล เปนผลสด กวาง 6 ซม. ยาว 12.5 ซม. มีสันตามยาว พืชปลกู ทั่วไป ไมทราบถ่นิ กำเนิดท่แี นช ัด ยอดออ น ทานเปน ผกั สดกบั ลาบ โดยเฉพาะ ลาบเน้ือ ใบและราก แกไข ใบ แกผดผื่นคัน แกเลือดออกตามไรฟน แกบิด ลดการอักเสบ ขับระดู ขับปสสาวะ เปลือก แกไข แกทองเสีย ผล ขับเสมหะ ขับปสสาวะ ขับเลือดเสีย รับประทานเปนผลไมสด มีท้ังสายพันธุหวาน และสายพันธุเปรีย้ ว พืชสมนุ ไพร • 65

66 • พรรณไมเมอื งไทย

มะระข้นี ก Momordica charantia L. forma abbreviata (Ser.) W.J. de Wilde & Duyfjes มะหอ ย มะไห ผกั เหย ผกั ไห มะรอ ยรู ชอื่ สามญั Bitter cucumber, Leprosy gourd วงศ CUCURBITACEAE ไมเลือ้ ย ใบ เดี่ยว รปู คอนขางกลม กวา ง 2.5-10 ซม. ขอบ เวาลึก 5-7 แฉก ดอก เดี่ยว แยกเพศ บานเต็มท่กี วาง 2-3.5 ซม. กลีบเล้ยี งรปู ไข กลีบดอกรูปไขก ลับ ดอกเพศเมยี มขี นาดกลบี เลก็ กวา ดอกเพศผู ผล เม่อื แหงจะแตกออกเปน 3 พู รปู รี รปู ไข หรือ รูปขอบขนาน กวาง 2-4 ซม. ยาว 2-11 ซม. มีปุม และมีสัน 8-10 สนั เมล็ดจำนวนมาก พบในเขตรอ นชน้ื ของแอฟรกิ า เอเชยี ออสเตรเลยี และแปซฟิ ก มักพบบริเวณพื้นทเ่ี ปด ราก รักษาริดสดี วงทวาร ฝาดสมาน บำรงุ ธาตุ ลำตน บำรงุ น้ำดี เปนยาระบายออนๆ ใบ แกไข ดับพิษรอน ขับพยาธิ เปน ยาระบายออนๆ ผล แกพิษฝ แกฟกบวม แกอักเสบ บำรุงน้ำดี ขบั พยาธิ แกป ากเปอย ดับพษิ รอ น ชว ยเจริญอาหาร แกไ ข ฤทธ์ิ ทางเภสัชวิทยา พบวา ตา นมะเร็ง ยั้บยั้งการสง เสริมมะเร็ง ยบั ยง้ั อนมุ ลู ออกซิเจน ตานเช้อื แบคทเี รยี และตา นไวรสั พืชสมนุ ไพร • 67

68 • พรรณไมเมอื งไทย

มะรมุ Moringa oleifera Lam. มะคอนกอ ม ผกั อฮี ึม ผกั อฮี มุ ชื่อสามญั Horse radish tree วงศ MORINGACEAE ไมพุม หรือไมตน สูง 3-10 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอย 8-10 คู รูปไข รูปไขกลับ หรือรูปขอบขนาน กวาง 5-12 มม. ยาว 5-20 มม. ปลายมน หรอื เวา ตน้ื ดอก ออกเปน ชอ แบบแยกแขนง ยาว 10-30 ซม. กลีบดอกสีเขียวออน กวาง 5-8 มม. ยาว 10-17 มม. ผล เปน ฝกรูปดาบ หรอื กระบอง ยาว 18-45 ซม. มสี ันหลกั 3 สนั เมลด็ ขนาดประมาณ 10 มม. มีปก ถน่ิ กำเนดิ อนิ เดยี ในประเทศไทยเปน พชื ปลูก เปลือก ขับลมในลำไส พอกแผล หามเลือด ใบ หามเลือด ขับน้ำนม ทำใหนอนหลับ รักษาเลือดออกตามไรฟน ดอก ขับน้ำตา ขับปสสาวะ แกไข กระตุนกำหนัด ผล บำรุงกำลัง ถอนพษิ ไข แกขดั เบา แกโ รคตบั และมา ม เมล็ด แกป วดตามขอ พืชสมุนไพร • 69

70 • พรรณไมเมอื งไทย

มะหลอด Elaeagnus latifolia L. สลอดเถา สมหลอด วงศ ELAEAGNACEAE ไมพุม หรือไมพุมรอเลื้อย ก่ิงออน และชอดอกมีเกล็ดสีเงิน หรือสีน้ำตาลปกคลุม ใบ เด่ียว เรียงสลับ รูปรี กวางถึง 9 ซม. ยาวถงึ 12 ซม. ดอก ออกเปน ชอ กระจกุ ทซ่ี อกใบ 2-15 ดอกตอ ชอ วงกลีบรวม 4 กลีบ ยาว 2-4 มม. เกสรเพศผู 4 อัน ผล เปน ผลสด มเี มลด็ เดยี วแขง็ รปู ไขแ กมขอบขนาน ยาว 2.5-4.5 ซม. พบในพมา มาเลเซีย จีน และชายฝงคาบสมุทรอินเดีย ในประเทศไทยพบตามปาดบิ แลง เนอ้ื ในเมลด็ ผสมเหงาสับปะรด 7 แวน สารสม เทา หัวแมม ือ ตมน้ำด่ืมแกน่ิว ราก ผสมรากสมุนไพรอื่นแชเหลาท่ีทำจาก ขาวเหนียวดำ กินแกปวดกระดูกหัวเขา เดินไมได ดอกและผล กนิ เปน ยาสมาน คมุ ธาตุ ผลสกุ รบั ประทานได รสหวานอมเปรย้ี ว พืชสมนุ ไพร • 71

72 • พรรณไมเมอื งไทย

รกั Calotropis gigantea (L.) Dryander ex W.T. Aiton ดอกรกั ปอเถอื่ น ปานเถ่ือน วงศ ASCLEPIADACEAE ไมพุม สงู 1-5 เมตร มยี างขาว ใบ เดย่ี ว ออกตรงขา ม รปู รี หรอื รูปไขก ลับ กวาง 3-8 ซม. ยาว 6-18 ซม. ดอก ออกเปน ชอ กลบี เลี้ยงปลายแยกเปนแฉก ยาว 3-4 มม. มขี นปกคลมุ เลก็ นอ ย กลบี ดอกขนาด 3-4.5 ซม. สีเขียวออน ขาว หรือมวง ผล เปน ฝก แตกได พบกระจายตั้งแตปากีสถาน เนปาล จนถึงอินเดีย ศรีลังกา ตอนใตของจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบตามท่ีเปด ทว่ั ประเทศ ยางขาวจากตน เปน ยาถา ยอยา งแรง ขบั พยาธิ แกก ลากเกลอ้ื น แกปวดฟน ปวดหู ทาตวั ปลาชอ นปง ไฟใหเด็กกนิ เปนยาฆาพยาธิ ไสเดือน เปลือกตน ขับน้ำเหลืองเสีย ทำใหอาเจียน ดอก ชวย เจริญอาหาร แกไ อ แกหืด พชื สมุนไพร • 73

74 • พรรณไมเมอื งไทย

รางจดื Thunbergia laurifolia Lindl. กำลงั ชา งเผอื ก ขอบชะนาง เครอื เขาเขยี ว ยาเขยี ว คาย รางเยน็ ดหุ วา ทิดพุด นำ้ นอง ยำ่ แย แอดแอ วงศ ACANTHACEAE ไมเล้ือยอายุหลายป ใบ เดี่ยว ออกตรงขาม รูปไข หรอื รปู รี กวา ง 4-11 ซม. ยาว 10-16 ซม. กา นใบยาว 1-6 ซม. ขอบใบ หยักหาง ดอก สีฟาออนอมมวง เสนผานศูนยกลาง 6-8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี 2 กลีบ ประกบกัน กลีบดอกรูปกรวย ปลายแยก เปน 5 แฉก แตละแฉกรปู ไข ผล เปน ผลแหง แตก พบบริเวณรมิ ลำหว ย และพื้นท่ีตามชายปา ราก ผสมกับสมุนไพรอ่ืนตมใหสตรีอยูไฟหลังคลอดดื่ม บำรุงสุขภาพ แกรอนในกระหายน้ำ แกพิษรอน ลำตน แกตับ เคล่ือน ตับทรุด แกรอนในกระหายน้ำ ถอนพิษทั้งปวง ใบ แก น้ำรอนลวก แกไข ทั้งตนขับปสสาวะ ขับระดูขาว แกหนองใน ฤทธทิ์ างเภสัชวิทยา ตา นแบคทีเรยี ตา นไวรสั เฮอรป ส ซมิ เพลกซ แกพ ิษ ลดความดันโลหิต และฆา แมลง พืชสมนุ ไพร • 75

76 • พรรณไมเมอื งไทย

ละหงุ Ricinus communis L. ละหุงแดง มะละหุง มะโหง มะโหงหนิ ชอ่ื สามัญ Castor bean, Castor oil, Palma-christi วงศ EUPHORBIACEAE ไมพ มุ หรอื ไมต น ขนาดเลก็ สงู ถงึ 6 เมตร ใบ เด่ยี ว เรียงสลบั รูปฝา มอื กวาง 6-14 ซม. ขอบเวา ลึกเปนแฉก 5-7 แฉก และจัก แบบฟน เลอ่ื ย กา นใบตดิ ทฐี่ านใบแบบกน ปด ดอก ออกเปน ชอ ตง้ั แยกเพศ ดอกเพศผู กลบี เล้ียงสีเหลอื งอมเขียว เกสรเพศผู สีครีม ขาว หรอื เหลอื งออ น ดอกเพศเมยี กลบี ดอกสเี ขยี ว หรอื แดง รงั ไข มขี นคลา ยพู ผล เปน ผลแหง แตก เสน ผา นศนู ยก ลาง 2-3 ซม. มหี นาม สันนิษฐานวามีถ่ินกำเนิดจากแอฟริกาเหนือ เปนพืชปลูก ทัว่ ไปในเขตรอน ราก แกไขเซื่องซึม ขับน้ำนม ใบ แกอาการกล้ันปสสาวะ ไมอยู ชวยขบั นำ้ นม ขบั ระดู แกไ ขต วั รอน เมล็ด พอกหวั ริดสดี วง รักษาฝ หากรับประทานอาจทำใหตายได น้ำมันจากเมล็ด ที่บีบ โดยไมใชความรอ น เปน ยาระบายสำหรบั เดก็ และผูสูงอายุ ถา บบี โดยใชความรอนจะทำใหมีโปรตีนที่เปนพิษช่ือ ricin ออกมาดวย จึงไมใชเปน ยา พชื สมนุ ไพร • 77

78 • พรรณไมเมอื งไทย

ล้นิ งูเหา Clinacanthus siamensis Bremek. วงศ ACANTHACEAE ไมพุมรอเลื้อย สูง 1-1.5 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงตรงขา ม รปู รี แกมรูปขอบขนาน ยาว 10-18 ซม. ขอบใบเปนคล่ืน ปลายใบ เรยี วแหลม ดอก ออกเปน ชอ ท่ีปลายยอด ดอกยอ ย 12-20 ดอก กลบี ดอกสสี ม แดง ยาว 3-4 ซม. ปลายแยกแบบสองปาก ออกดอก ตลอดป พืชเฉพาะถ่ินของประเทศไทย พบทางภาคตะวันออก แถบ จงั หวัดฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ใบ ตำหรือขยี้ ทาหรือพอก แกพิษรอนอักเสบ แกปวดฝ ถอนพิษแมลงสัตวกัดตอย ราก ตำพอก แกพิษตะขาบ และ แมงปอ ง พืชสมุนไพร • 79

80 • พรรณไมเมอื งไทย

วา นธรณสี าร Phyllanthus pulcher Wall. ex Müll.Arg. ตรงึ บาดาล เสนียด กระทบื ยอด กา งปลาแดง ครีบยอด กา งปลาดนิ ดอกใตใ บ รรุ ี คดทราย กา งปลา วงศ EUPHORBIACEAE ไมพ มุ สงู ถงึ 1.5 เมตร ใบ เดย่ี ว รปู ขอบขนานแกมรปู รี กวา ง 0.6-1.7 ซม. ยาว 0.7-2.8 ซม. ดอก แยกเพศ ดอกเพศผู ขนาด 2-3 มม. กลีบเล้ยี ง 3-4 กลบี รปู สามเหลย่ี มหรือรปู ไข ขอบเปน ชายครุย ดอกเพศเมีย ขนาด 2.2-5 มม. กลีบเล้ียง 5-6 กลีบ รปู สเี่ หล่ียมขาวหลามตดั แกมรปู ไข ขอบเปน ชายครยุ ผล เปน ผล แหงแตก สีเขียวออ นแกมแดง มี 6-8 พู ขนาด 2.5 มม. กา นผล ยาว 1.5-2.2 ซม. พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเทศไทยพบตาม ปา เบญจพรรณ ทค่ี วามสงู 50-100 เมตร จากระดบั น้ำทะเล ใบแหง บดเปนผงผสมพิมเสน กวาดคอเด็กเพ่ือลดไขและ รักษาแผลในปาก ยาภายนอกใชพอกฝ บรรเทาอาการบวมและ คนั ราก แกพ ิษตานซาง ขบั ลมในลำไส ลำตน แกปวดทอ ง แกฝ  อกั เสบ และแกค ัน พืชสมนุ ไพร • 81

82 • พรรณไมเมอื งไทย

วานน้ำ Acorus calamus L. ฮางคาวนำ้ ฮางคาวบา น ผมผา สมชนื่ ฮางคาวผา วงศ ARACEAE ไมล ม ลกุ มเี หงา ใบ เดย่ี ว แผน ใบรปู ใบดาบ กวา ง 0.5-1 ซม. ยาว 40-60 ซม. ดอก ออกเปน ชอ อดั แนน เปน แทง กลม ดอกยอ ย ขนาดเลก็ จำนวนมาก กลีบรวม 6 กลบี รูปสามเหล่ียม กวาง 0.5- 0.8 มม. ยาว 1-2 มม. เรยี งเปนวง 2 วง ผล เปน ผลแบบมเี น้ือ หลายเมล็ด รูปขอบขนานแกมรปู ไขกลบั พบบริเวณพืน้ ท่ชี ืน้ หรอื รมิ ลำหว ย เหงา แกปวดทอง ขับเสมหะ ขับลม รักษาโรคไขขออักเสบ ทำใหอาเจียน แกห อบหืด แกท อ งอืด ทอ งเฟอ แกไ อ แกเจ็บคอ หามกินเกนิ 2 กรัม จะทำใหอาเจยี น ใบ แกหวัด คัดจมูก แกป วด กลามเนื้อตามขอ ตมเปนยาแกไขเด็ก โดยนำผาชุบน้ำเช็ดตัว หรืออาบน้ำใหเด็ก น้ำมันหอมระเหยจากเหงาและราก มีฤทธ์ิลด ความดันโลหิต แตมีรายงานวามีพิษตอตับ และทำใหเกิดมะเร็ง จงึ ควรศึกษาความเปน พษิ เพิม่ เติม พืชสมนุ ไพร • 83

84 • พรรณไมเมอื งไทย

สบูดำ Jatropha curcas L. สบูขาว มะโหงฮั้ว มะโหง หงเทก มะเยา หมักเยา สะลอดดำ สลอดใหญ ชือ่ สามัญ Physic nut วงศ EUPHORBIACEAE ไมพ ุม หรอื ไมต นขนาดเล็ก สูงถงึ 6 เมตร ใบ เดยี่ ว รูปไขมน กวา งและยาว 7-14 ซม. ขอบเรยี บ หรอื เวา 3-5 แฉก ดอก แยกเพศ ออกเปนชอแบบกง่ึ เชิงหลั่น มักจะออกเปน คู ชอ ยาวถึง 10 ซม. ดอกเพศผู ขนาด 6-8 มม. สเี ขียวอมเหลือง มตี อ มทฐี่ าน 5 อัน เกสรเพศผู 10 อัน ดอกเพศเมีย กลีบเล้ียงและกลีบดอก รูปรี กวา ง 2.5 มม. ยาว 6 มม. สเี ขยี วอมเหลอื ง ผล รปู รี กวา ง 2-3 ซม. ยาว 2-3.5 ซม. เมลด็ กวา ง 1 ซม. ยาว 1.7 ซม. ถน่ิ กำเนดิ เขตรอ นของทวปี อเมรกิ า ปจ จบุ นั เปน พชื ปลกู ทว่ั ไป เปลอื กตน ตม นำ้ ดม่ื แกโ รคกระเพาะอาหาร แกท อ งผกู ตม นำ้ อมแกป วดฟน เหงือกอักเสบ แผลในปาก ใบ รักษาแผลสด แผล ถลอก แผลไฟไหมน้ำรอนลวก หามเลือด ใบแหง เขายาพอก แกป วดเมอื่ ยตามขอ แกน และใบ แชน ำ้ ใหเ ดก็ อาบ แกพ ษิ ตานซาง เมลด็ สกัดนำ้ มันเชื้อเพลิงสำหรับเคร่อื งยนต พืชสมุนไพร • 85

86 • พรรณไมเมอื งไทย

สะเลยี มหอม Sauropus thorelii Beille ไครหอม ไคข ม วงศ EUPHORBIACEAE ไมพุม สูงถึง 1.5 เมตร ผิวเกลี้ยง ก่ิงออนมีสันตามยาว 2-4 สนั ใบ เด่ยี ว รูปใบหอก กวา ง 1.2-2.2 ซม. ยาว 2.6-10 ซม. ดอก สแี ดงเขม แยกเพศ อยูบนตน เดียวกนั ออกเปน กระจุกตาม ลำตน ขนาด 6-7.5 มม. พชื ปลกู ทัว่ ไป ใบ ตมน้ำดื่ม หรือเคี้ยวสด รักษาโรคภูมิแพ หอบหืด หวัด เร้ือรัง ไซนัส ใชเปนผักสดกินกับลาบ ดอก รักษาโรคกระเพาะ ความดนั สูง เบาหวาน พืชสมนุ ไพร • 87

88 • พรรณไมเมอื งไทย

สีฟน คนทา Harrisonia perforata (Blanco) Merr. ไมจ้ี หนามจ้ี คนทา วงศ SIMAROUBACEAE ไมพ มุ สูงถึง 15 เมตร ลำตนมหี นาม ใบ ประกอบแบบขนนก แกนกลางใบมปี ก ใบยอ ย 1-15 คู กวา ง 5-15 มม. ยาว 10-20 มม. ดอก ออกเปนชอแบบกระจุกที่ซอกใบใกลปลายกิ่ง กลีบดอก ดา นนอกสมี ว งแดง ดา นในสนี วล ผล คอ นขา งกลม ขนาดประมาณ 2 ซม. พบบริเวณตอนใตของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยมักพบตามปาผลัดใบ ท่ีความสูง 0-900 เมตร จากระดับน้ำทะเล ราก แกไ ข เปลือกราก ตม แกทอ งรวง แกบิด แกพ ษิ แตนตอย ผล ทุบผสมกับเปลือกตนซอ นำไปหมกไฟแลวบีบน้ำทาบริเวณ น้ำกัดเทา หรอื แผลทีเ่ กดิ จากการเสียดสี ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แก แพ และยบั ยัง้ การเจริญเตบิ โตของเชื้อมาลาเรีย พืชสมนุ ไพร • 89

90 • พรรณไมเมอื งไทย

เสีย้ วดอกขาว Bauhinia variegata L. เปยงพะโก นางอ้ัว ชอื่ สามัญ Mountain ebony tree, St.Thomas tree วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE) ไมตน สูงถึง 15 เมตร ใบ เดยี่ ว รูปไข กวา ง 8-14 ซม. ยาว 8-14 ซม. ปลายใบแยกเปน 2 แฉก ดอก ออกเปน ชอ สนั้ ตามกิ่ง บานเต็มทีก่ วาง 8-11 ซม. กลีบเลี้ยงรปู ชอน กลบี ดอกรปู ไขก ลับ โคนเรียว เกสรเพศผู 5 อัน แตละอัน ยาวไมเทากัน ผล เปน ฝกแบน โคงเล็กนอย กวาง 2-2.5 ซม. ยาว 20-30 ซม. เมล็ด 10-25 เมลด็ แบน ขนาด 10-15 มม. พบในอินเดีย พมา ตอนใตของจีน ลาว และตอนเหนือของ เวียดนาม ในประเทศไทยพบมากทางภาคเหนือ โดยเฉพาะ ปา เบญจพรรณ ทคี่ วามสูง 500-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยอดออน ตมด่ืม หรือกินสด แกอาการทองรวง ดอก ลวก เปนผกั จ้มิ นำ้ พรกิ พชื สมุนไพร • 91

92 • พรรณไมเมอื งไทย

หญาใตใบ Phyllanthus urinaria L. มะขามปอ มดิน ลูกใตใบ หมากไขหลัง ไฟเดือนหา วงศ EUPHORBIACEAE ไมลมลุก สูงถึง 60 ซม. ลำตนเกล้ียง ใบ เดย่ี ว รูปขอบขนาน หรือรูปไขแกมรปู ขอบขนาน กวา ง 2-7 มม. ยาว 8-18 มม. ดอก แยกเพศ ดอกเพศผู เปนชอกระจุกกลม 5-7 ดอก ดอก บานเตม็ ท่ขี นาด 0.4-1.2 มม. กลีบเล้ียง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข ดอกเพศเมีย ออกเด่ียว มีขนาดใหญกวาดอกเพศผูเล็กนอย ผล เปน ผลแหง แตก รูปรางคอนขางกลม ขนาด 2-4 มม. ผวิ มปี มุ พบท่ัวไปในเขตรอนช้ืน บริเวณพื้นท่ีเปด ที่ ความสงู 30-1,100 เมตร จากระดบั นำ้ ทะเล ทง้ั ตน ผสมสมนุ ไพรอน่ื เขา ยาตม ดม่ื แกม ะเรง็ มดลูก แกไข ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ทั้งตนชงเปน ยาด่มื ชว ยขบั ปส สาวะ และลดไขในสตั วท ดลอง พชื สมุนไพร • 93

94 • พรรณไมเมอื งไทย

หนวดเสือ Tacca plantaginea (Hance) Drenth ดที ิง ผักคปี๊ า ลิ้นคู วงศ TACCACEAE ไมลมลุก มีเหงาใตดิน ใบ เดี่ยว รูปใบหอก กวาง 3-8 ซม. ยาว 10-35 ซม. ดอก ออกเปน ชอ 1-6 ชอ แตละชอ มีดอกยอ ย 6-20 ดอก ใบประดับ มี 2 คู ริ้วประดับรูปเสนดาย 6-20 อัน ยาวถงึ 8 ซม. ดอกยอย กวาง 0.5-1 ซม. ยาว 1-2 ซม. ปลาย แยก 6 แฉก ผล เปนผลแหงแตก รูปสามเหล่ียม รูปแตร หรือ รูปกรวย กวา ง 0.7 ซม. ยาว 1 ซม. เมล็ดรูปไข หรอื ขอบขนาน กวา ง 0.6-1 มม. ยาว 2-2.5 มม. พบกระจายทางตอนใตของจีน ลาว และเวียดนาม ใน ประเทศไทยพบบรเิ วณรมิ ลำหว ยในปา เบญจพรรณ และปา ดบิ แลง ทีค่ วามสูง 100-600 เมตร จากระดับน้ำทะเล ราก ตากแหง บดเปน ผงปน เปน ลูกกลอน แกรดิ สดี วงทวาร พืชสมุนไพร • 95

96 • พรรณไมเมอื งไทย

หนุมานน่ังแทน Jatropha podagrica Hook.f. วา นเลอื ด หัวละมานนง่ั แทน ช่อื สามญั Gout plant, Tartoga วงศ EUPHORBIACEAE ไมพ มุ สูงถึง 2.5 เมตร ลำตนพองที่โคน ใบ เดีย่ ว รูปไขก วา ง หรือรูปไขกลับ กานใบยาว 10-20 ซม. ติดแผนใบแบบกนปด ขอบใบเวา 3-5 แฉก ดอก แยกเพศ ออกเปนชอก่ึงชอเชิงหลั่น กา นชอ ดอกยาวถงึ 20 ซม. ดอกเพศผู ขนาด 1-1.2 ซม. กลบี เลยี้ ง และกลบี ดอกรปู ไขก วา ง ดอกเพศเมยี ขนาด 1.2-1.4 ซม. กลบี เลย้ี ง รูปรี กลีบดอกยาว 6-7 มม. ผล รูปรี มีสามพู ขนาด 1.5 ซม. ปลายมน แตกทั้งแนวตั้งและแนวนอน เมล็ด รูปรี กวาง 6 มม. ยาว 1.2 มม. พชื ปลูก มีถิ่นกำเนิดจากอเมริกากลาง น้ำยาง ทารกั ษาแผลมดี บาด หามเลือด รักษาฝ เมล็ด มสี าร กลุม phorbol esters ท่ีเปน พษิ เชนเดยี วกบั สบดู ำ สารสกดั จาก เมล็ดมีฤทธ์ติ านเชือ้ รา พชื สมุนไพร • 97

98 • พรรณไมเมอื งไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook