Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรรณไม้เมืองไทย

พรรณไม้เมืองไทย

Published by jariya5828.jp, 2021-08-18 06:02:09

Description: พรรณไม้เมืองไทย

Search

Read the Text Version

พ ร ร ณ ไ ม เ มื อ ง ไ ท ย พชื สมนุ ไพร 1 วิทยา ปองอมรกลุ และสนั ติ วัฒฐานะ ͧ¤¡ ÒÃÊǹ¾Ä¡ÉÈÒÊμÏ ¡ÃзÃǧ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒμÔáÅÐʧÔè áÇ´ÅŒÍÁ



หนงั สือชุดพรรณไมเมืองไทย พชื สมุนไพร 1 ͧ¤¡ ÒÃÊǹ¾Ä¡ÉÈÒÊμÏ ¡ÃзÃǧ·Ã¾Ñ ÂҡøÃÃÁªÒμáÔ ÅÐʧÔè áÇ´ÅÍŒ Á

จัดพิมพโ ดย องคการสวนพฤกษศาสตร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม www.qsbg.org ขอมลู ทางบรรณานุกรม วิทยา ปองอมรกุล และสนั ติ วฒั ฐานะ หนงั สอื ชุดพรรณไมเมืองไทย : พืชสมนุ ไพร 1. - เชียงใหม: องคก ารสวนพฤกษศาสตร, 2553. 112 หนา 1. พชื สมนุ ไพร I. ชือ่ เรือ่ ง ISBN 978-974-286-828-4 คณะผูจดั ทำ บรรณาธิการอำนวยการ: ดร.กอ งกานดา ชยามฤต หวั หนาคณะบรรณาธกิ าร: ดร.ปรชั ญา ศรสี งา คณะบรรณาธกิ าร: สมควร สขุ เอีย่ ม จิดาภา ระววี รรณ ออกแบบและพิมพ: หจก.วนิดาการพมิ พ จัดพมิ พแ ละจดั จำหนาย องคการสวนพฤกษศาสตร แมรมิ เชียงใหม โทร. 053-841234 (1025, 1045) พิมพครั้งท่ี 1 : กันยายน 2553 จำนวน 1,300 เลม

The Botanical Garden Organization Ministry of Natural Resources and Environment คำนำ องคการสวนพฤกษศาสตร เปนหนวยงานทางวิชาการ หนวยงานหนึ่งของประเทศ ท่ีมีความมุงมั่นในการใหบริการ ทางวิชาการดานพืช เพ่ือใหเยาวชนและประชาชนทั่วไปรูจัก ทรัพยากรพืชของประเทศกันมากข้ึน อันจะสงผลใหเกิดความรัก และหวงแหนทรัพยากรของชาติรวมถงึ อนุรักษใหค งอยสู บื ไป หนงั สอื พชื สมนุ ไพร 1 เลม นี้ เปน หนงึ่ ในหนงั สอื ชดุ พรรณไม เมอื งไทย ทจ่ี ดั ทำขน้ึ อยา งตอ เนอ่ื งเปน เลม ท่ี 4 เพอ่ื เผยแพรค วามรู เก่ียวกับทรัพยากรพืชสูสาธารณะ โดยเน้ือหาจะประกอบดวย ขอมูลลักษณะทางพฤกษศาสตร แหลงที่พบ และสรรพคุณของ พชื สมุนไพร จำนวน 50 ชนิด องคก ารสวนพฤกษศาสตร หวงั เปน อยางย่งิ วา หนังสือชดุ นี้ จะเปน ประโยชน และมสี ว นในการสรา งความตระหนกั ถงึ ความสำคญั ในการอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมตอไป (ดร.กองกานดา ชยามฤต) ผูอำนวยการองคก ารสวนพฤกษศาสตร กนั ยายน 2553

พชื สมนุ ไพร 4 • พรรณไมเ มอื งไทย

สารบญั 6 มะกายคดั 61 บทนำ 11 มะคำดคี วาย 63 กระเจยี๊ บ 13 มะเฟอง 65 กอมขม 15 มะระขน้ี ก 67 กาสะลองคำ 17 มะรมุ 69 กำลงั ชางเผอื ก 19 มะหลอด 71 ขยนั 21 รัก 73 คำฝอย 22 รางจดื 75 คำรอก 23 ละหุง 77 แคหางคา ง 25 ล้ินงเู หา 79 เจตมูลเพลงิ ขาว 27 วานธรณีสาร 81 เจตมูลเพลิงแดง 29 วา นนำ้ 83 ชองระอา 31 สบดู ำ 85 ชา เรือด 33 สะเลยี มหอม 87 ชมุ เหด็ เทศ 35 สีฟนคนทา 89 ซอ 37 เสยี้ วดอกขาว 91 ดองดงึ 39 หญาใตใบ 93 ตองแตก 41 หนวดเสือ 95 ตะไครตน 43 หนมุ านนั่งแทน 97 ตะลิงปลิง 45 หอมไก 99 ตาลเหลือง 47 หอ มชา ง 101 ทะโล 49 เหงือกปลาหมอ 103 ทับทมิ 51 ฮอม 105 น้ำนมราชสหี  53 ดรรชนชี อื่ ไทย 106 เนระพูสไี ทย 55 ดรรชนีชื่อวทิ ยาศาสตร 109 เปาเลือด 56 ช่ือสามัญ และชอื่ วงศ พญายอ 57 บรรณานกุ รม 111 พระจนั ทรค รงึ่ ซกี 59 พชื สมุนไพร • 5 เพชรสงั ฆาต

บทนำ สมนุ ไพร คอื ยาทไ่ี ดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หมอพ้ืนบานชาวไทยใหญ จงั หวัดแมฮ อ งสอน หรือแรธาตุ ซึ่งไมไดผสม ปรุง หรือแปรสภาพ ใชพ ชื สมนุ ไพรรักษาโรคใหก ับผูปวย ซ่ึงพืชสมุนไพรน้ันโดยท่ัวไปหมายถึง ชิ้นสวน ในพน้ื ที่หางไกลสถานพยาบาล ตางๆ ของพชื เชน ราก ใบ ดอก หรอื ผล ทน่ี ำมา ตากแหงหรือใชสดเพื่อใชเปนยา พืชสมุนไพร บางชนิด เปนพืชท่ีเราคุนเคยและนำมาใชเปน อาหาร เครือ่ งเทศ หรอื รับประทานเปนผกั ผลไม สมุนไพรหลายชนิดถูกแปรรูป เพื่อความสะดวก ในการใช อาทิ ยาชง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล รวมทั้งผลิตภัณฑจากสมุนไพร เชน แชมพู สบู และครีมทาผวิ เปนตน ภูมิปญญาการใชสมุนไพรของคนไทยมี มานานนับพันป เปนสวนหน่ึงของการแพทย แผนไทย ซง่ึ มรี ากฐานมาจากการแพทยอ ายรุ เวท ของอินเดีย ท่ีเขามาในประเทศไทยพรอมกับ พทุ ธศาสนา และองคค วามรเู กย่ี วกบั พชื สมนุ ไพร ของคนไทยนไ้ี ดร บั การถา ยทอดจากรนุ บรรพบรุ ษุ มาสูคนรุนปจจุบัน โดยสวนใหญองคความรูนี้ จะถายทอดโดยการบอกตอกันมา และเปนการ สืบทอดกันในครอบครัว อาจมีการบันทึกบาง ไมไ ดบ นั ทกึ บา ง และเปน ทน่ี า เสยี ดายทอ่ี งคค วามรู ดา นการใชป ระโยชนพ ชื สมนุ ไพรกำลงั จะสญู หาย ไปกับหมอพืน้ บาน 6 • พรรณไมเมืองไทย

ในปจ จบุ นั ความนยิ มในการใชพ ชื สมนุ ไพรมเี พม่ิ ขน้ึ เนอ่ื งจาก ผูใชม่ันใจวาสมุนไพรมีผลขางเคียงนอยกวายาแผนปจจุบัน พืช สมนุ ไพรจงึ ถกู นำมาใชใ นการรกั ษา บรรเทาอาการ หรอื เปน อาหาร เสริมสำหรับผูที่ยังไมเจ็บปวย เสริมภูมิตานทาน และปองกันโรค บางชนดิ แตก ารใชพ ชื สมนุ ไพรเปน ยารกั ษาโรคควรใชอ ยา งถกู ตอ ง มเิ ชน นัน้ อาจเปนอันตรายไดเ ชน กนั โดยทวั่ ไปควรใชตามหลักการดงั น้ี ๏ ใชใ หถ ูกตน เนื่องจากพชื หน่ึงชนดิ มชี อื่ เรยี กหลายชอื่ ซึ่ง ขึ้นอยูกับการเรียกช่ือของแตละทองถ่ิน ดังนั้นเม่ือมีผูบอกชื่อพืช ที่เปนยาสมุนไพรควรสอบถามใหแนชัดกอนนำมาใชวาเปนพืช ชนิดใด และมลี กั ษณะเดนอยา งไร ๏ ใชใหถูกสวน เน่ืองจากสวนของพืชแตละสวนใหฤทธ์ิ ทางยาทไ่ี มเ ทา กนั หรอื แมแ ตส ว นเดยี วกนั เชน กลว ยดบิ แกท อ งรว ง กลวยสุกเปน ยาระบายออนๆ เปน ตน ๏ ใชใหถูกขนาด ขนาดมีความสำคัญตอผูใช หากใช ในปริมาณที่นอยเกินไปอาจไมไดผล หรือหากใชมากเกินขนาด อาจเปน อนั ตรายได ๏ ใชใหถูกวิธี พืชสมุนไพรบางชนิดตองปงไฟกอนใช บางชนิดใชใบสด หากใชไมถูกวิธีอาจจะทำใหการรักษาไมไดผล หรอื อาจเปน พษิ ได พชื สมุนไพร • 7

๏ ใชใหถูกกับโรค เชน ผูที่ทองผูกตองเลือกพืชสมุนไพร ที่มีฤทธิร์ ะบาย สว นผทู ี่ทอ งรวงตองใหยาที่มีฤทธฝ์ิ าด เปน ตน ๏ ไมค วรใชย าเขม ขน เกนิ ไป เชน ยาทรี่ ะบวุ า ใหต ม ไมค วร นำไปเคี่ยวใหแหง เพราะอาจจะทำใหยาเขมขนเกินไป และอาจ จะเกดิ พิษได ๏ ควรลดขนาดยาเมื่อใชกับเด็ก เพราะในตำรับมักเปน ขนาดยาท่ีใชก บั ผูใ หญ ๏ ไมค วรดดั แปลงยาตำรบั เพอ่ื ความสะดวกแกผ ใู ช ควรใช ตามหลกั ทแ่ี พทยแผนโบราณกำหนด ๏ เม่ือเริ่มใชยาสมุนไพรควรสังเกตอาการ เมื่อมีอาการ ผดิ ปกติควรหยดุ ทันที แลว ปรึกษาแพทยแ ผนปจ จุบนั ๏ ไมควรใชยาสมุนไพรนานเกินความจำเปน หากใช มาระยะหนึ่งอาการไมดีข้ึนควรปรึกษาแพทย และการใชเปน ระยะเวลานานอาจจะทำใหเกดิ พษิ สะสมในรา งกายได ๏ ควรระมัดระวังในเร่ืองความสะอาดของสมุนไพร ตลอดจนเครอ่ื งมอื และเครอ่ื งใชใ นการเตรยี มยา เพราะถา ไมส ะอาด จะทำใหเกิดโรคแทรกซอนข้ึนได สวนสมุนไพรที่ซ้ือจากรานขาย สมุนไพร หากเก็บไวนาน อาจมีราหรือแมลง ไมควรนำมาใช เพราะนอกจากการรักษาจะไมไดผล ยังอาจจะไดรับพิษจากรา และแมลงได ความสับสนเรื่องชือ่ พชื สมนุ ไพร วัตถุประสงคหลักของการเรียกชื่อพืช คือ การสื่อสารถึงพืช แตละชนิด โดยท่ัวไปมักเก่ียวของกับวัฒนธรรมและภูมิปญญา ของแตละทองถิ่น รวมถึงภาษาท่ีใชในการสื่อสารในแตละทองถิ่น ดังนนั้ พชื ชนิดเดยี วกันจึงมชี ื่อเรยี กไดห ลายช่อื เชน กอมขม มีช่ือ เรียกแตกตา งกันไปแตละทอ งถน่ิ คอื ตะพา นกน ดีงูตน ขางขาว หมักกอม มะคา หมาชล ดำ กะลำเพาะตน หงีน้ำ หยนี ้ำใบเล็ก 8 • พรรณไมเมอื งไทย

แตพืชชนิดนี้ มีชื่อวิทยาศาสตรท่ีถูกตองเพียงช่ือเดียว คือ Picrasma javanica Blume (ชือ่ สกลุ ชื่อระบุชนดิ ช่ือผูต้งั ช่อื ) ซ่ึง ชื่อวิทยาศาสตรน้ีตั้งขึ้นมาตามหลักการตั้งช่ือพืชสากล โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหมีการสื่อสารในระดับสากล ดังนั้นแมจะไมใช ชื่อท่ีมาจากภาษาไทย การศึกษาและจดจำชื่อวิทยาศาสตร เปน สิ่งที่เปนประโยชนตอการศึกษาพืชสมุนไพร ที่สามารถสะทอนถึง การจัดจำแนกกลุมพืชท่ีมีลักษณะทางชีววิทยาใกลเคียงกัน เชน พชื ในสกลุ เปลา (Croton) ทเ่ี ปน พชื สมนุ ไพรทใ่ี ชก นั อยา งแพรห ลาย ในประเทศไทยพบถึง 31 ชนิด ซ่ึงแตละชนิดจะมีลักษณะรวม ที่เหมือนกัน คือ ใบและชอดอกจะมีขนรูปดาว หรือหากศึกษา สารเคมที อ่ี ยใู นแตล ะชนดิ มโี อกาสทจ่ี ะมสี ารเคมปี ระเภทเดยี วกนั ท่ีพบในสกุลนี้ ดังน้นั ผสู นใจศึกษาพืชสมนุ ไพร ควรศึกษาเพม่ิ เตมิ ดานพฤกษศาสตร โดยเฉพาะช่ือวิทยาศาสตรของพืชและการ จัดจำแนก อันจะเปนการเพ่ิมพูนความรู และเปนประโยชน แกผสู นใจเปน อยา งมาก สรรพคณุ ของยาสมนุ ไพร การใชประโยชนจากพืชสมุนไพรในแตละทองถิ่น จะเปน ภูมิปญญาเฉพาะของแตละทองถ่ินนั้นๆ พืชบางชนิดนอกจากจะ มีชื่อที่ตางกันแลว การใชประโยชนของแตละทองถิ่นอาจตางกัน ดวย ในขณะที่พืชหลายชนิดนักวิทยาศาสตรไดทำการศึกษา สรรพคุณทางเภสัชวิทยาไวบางแลว แตสำหรับพืชสมุนไพร ในประเทศไทย ยงั มอี กี หลายชนดิ ทย่ี งั ไมไ ดร บั การศกึ ษาสรรพคณุ ทางเภสัชวิทยา ขอมูลสรรพคุณทางยาในหนังสือเลมน้ีเปนการ รวบรวมสรรพคุณทางยาของนักพฤกษศาสตร ท่ีไดสัมภาษณจาก หมอยาพื้นบาน และรวบรวมมาจากหนังสือสมุนไพรท่ีนาเชื่อถือ ท่ีมีการตรวจสอบช่ือวิทยาศาสตรท่ีถูกตอง อยางไรก็ตาม พืช ท่ีกลาวในหนังสือเลมนี้ยังอาจมีสรรพคุณดานอ่ืนๆ เพิ่มเติมจาก ทก่ี ลาวไวอกี พืชสมุนไพร • 9

10 • พรรณไมเมอื งไทย

กระเจย๊ี บ Hibiscus sabdariffa L. กระเจี๊ยบแดง กระเจีย๊ บเปร้ยี ว ผักเกง็ เคง็ สม เก็งเค็ง สม ตะเลงเครง สมปู วงศ MALVACEAE ไมล มลกุ สงู ถึง 2 เมตร ลำตนคอนขา งเกล้ยี ง ใบ เดย่ี ว ออก สลบั กวางและยาว 8-15 ซม. แผน ใบคอ นขางเกลี้ยง กา นใบยาว ถงึ 10 ซม. ดอก เดย่ี ว ออกทซ่ี อกใบ เสน ผา นศนู ยก ลาง 3-5 ซม. กลีบเล้ียงสีแดง กลีบดอกสีเหลืองออน หรือชมพูออน ตรงกลาง สมี ว งแดง ผล เปนผลแหง แตก รูปไข กวาง 1.8 ซม. ยาว 2 ซม. ปลายแหลม มีขน หรือเกล้ียง มกี ลีบเลยี้ งสีแดงฉ่ำน้ำหมุ ไว เมล็ด ขนาด 4-5 มม. พืชปลูกทัว่ ไปในเขตรอ น ขยายพนั ธุโดยเมล็ด ใบและยอดออ น แกไ อ เมล็ด บำรงุ ธาตุ ขับปส สาวะ พชื สมุนไพร • 11

12 • พรรณไมเมอื งไทย

กอมขม Picrasma javanica Blume ตะพา นกน ดงี ูตน ขางขาว หมกั กอม มะคา หมาชล ดำ กะลำเพาะตน หงีน้ำ หยนี ำ้ ใบเล็ก วงศ SIMAROUBACEAE ไมต น สงู ถงึ 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอย 2-3 คู รูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 2-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ขอบใบเรียบ หรอื เปน คลื่นเล็กนอย ปลายใบเรียวแหลม ดอก ออก เปน ชอ แยกเพศ กลบี ดอกสขี าว ผล ลกั ษณะเปน พู 1-4 พู เมื่อสกุ สีดำหรอื นำ้ เงินคล้ำ พบในอินเดีย ถึงเวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยมักพบตามปา ดิบแลง โดยเฉพาะ บริเวณริมลำหวย ขยายพนั ธุโ ดยเมลด็ เปลอื ก รสขม ตม น้ำด่ืมแกไขมาลาเรยี และ แกไขทกุ ประเภท พชื สมนุ ไพร • 13

14 • พรรณไมเมอื งไทย

กาสะลองคำ Radermachera ignea (Kurz) Steenis กากี แคะเปา ะ สำเภาหลามตน จางจืด สะเภา ออ ยชา ง วงศ BIGNONIACEAE ไมต น สงู 6-15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ช้ัน ใบยอย 3-4 คู รูปไขแกมรูปใบหอก หรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กวาง 2-4.6 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอก ออกเปนกระจุกตามกิ่ง กลีบเลย้ี งเชื่อมเปนหลอด ยาว 1.5-2.2 ซม. กลีบดอกสสี ม เปน หลอด ยาว 4.4-7 ซม. ปลายแยกเปนแฉก เกสรเพศผู 4 อัน ผล เปน ฝก แหง แตก ยาว 32-45 ซม. พบในจีนและอินโดจีน ในประเทศไทยพบตามภูเขาหินปูน และปาดิบแลง ขยายพันธโุ ดยเมลด็ ตน ตมน้ำดื่มแกทองเสีย ใบ ตำค้ันน้ำ ทาหรือพอกรักษา แผลสด แผลถลอก หา มเลือด นิยมปลกู เปนไมประดับ พชื สมนุ ไพร • 15

16 • พรรณไมเมอื งไทย

กำลังชา งเผอื ก Hiptage benghalensis (L.) Kurz พญาชางเผือก วงศ MALPIGHIACEAE ไมเ ถา เนอ้ื แขง็ ใบ เดยี่ ว รปู รี รปู ไข หรอื ไขก ลบั กวา ง 3-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. มตี อ ม 2 ตอ ม ทโ่ี คนใบ ผวิ ใบดา นลา งมขี นหนาแนน ดอก ออกเปนชอสีขาวแตมเหลือง กลีบเลี้ยงมักมีตอม 1 ตอม กลีบดอกขอบเปน ชายครยุ เกสรเพศผูยาวถงึ 12 มม. ผล มปี ก พบในอินเดีย ถึงอินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทย พบตามภเู ขาหนิ ปูน และปาเบญจพรรณ ลำตน บำรุงกำหนัด เปนยาอายุวัฒนะ เจริญอาหาร แก ออ นเพลยี ขบั ลม จกุ เสยี ด แนนเฟอ พืชสมนุ ไพร • 17

18 • พรรณไมเมอื งไทย

ขยนั Bauhinia strychnifolia Craib เครอื ขยนั เถาขยัน สยาน หญานางแดง วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE) ไมเถา เนอ้ื แขง็ มมี อื เกาะ ใบ เดี่ยว รปู ไข หรอื รูปขอบขนาน กวาง 3-7 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบมน หรือเวารูปหัวใจ ปลายใบเรียวแหลม หรือเปนติ่งหนาม ดอก ออกเปนชอแบบ กระจะที่ปลายยอด ยาวถึง 1 เมตร สีแดง กลีบเลี้ยงรูปถวย ปลายแยก 5 แฉก กลบี ดอกรปู ไขกลับ เกสรเพศผทู ส่ี มบรู ณ 3 อัน ผล เปนฝกแบน ยาว 16 ซม. เมล็ด 8-9 เมล็ด พชื เฉพาะถน่ิ ของประเทศไทย พบในปา เตง็ รงั และปา เบญจพรรณ ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขยายพันธุโดย เมล็ด รากและลำตน เขายาบำรุงโลหิต สำหรับสตรีหลังคลอด ขณะอยูไฟ และชว ยใหม ดลูกเขา อเู รว็ พชื สมุนไพร • 19

20 • พรรณไมเมอื งไทย

คำฝอย Carthamus tinctorius L. ดอกคำ คำ คำยอง ช่อื สามัญ Safflower วงศ ASTERACEAE (COMPOSITAE) ไมลมลกุ ใบ เดี่ยว เรยี งสลบั รปู ใบหอกแกมขอบขนาน หรอื รูปรี กวาง 1-5 ซม. ยาว 3-15 ซม. ไมมีกานใบ หรือมีสั้นมาก ขอบใบหยักเปนฟนเล่ือย ปลายใบแหลม ดอก ออกเปนกระจุก ท่ีปลายยอด ดอกยอยจำนวนมาก สีเหลือง เมอ่ื แกสีสม ผล เปน ผลแหงเมล็ดลอน รูปไขกลับ ยาว 6-8 มม. เปลือกคอนขางแข็ง สงี าชาง ปลายตดั มี 4 สนั พืชพื้นเมืองของเอเชยี ใต ในประเทศไทยเปน พชื ปลูก ดอก บำรุงโลหิต บำรุงประสาท บำรุงหัวใจ บำรุงน้ำเหลือง ขับปสสาวะ เกสร บำรุงโลหิต ขับระดู เมล็ด ขับเสมหะ แกโรค ผิวหนงั นำ้ มนั จากเมลด็ แกอ มั พาต ลดไขมนั ในเสน เลือด พชื สมุนไพร • 21

คำรอก Ellipanthus tomentosus Kurz หำฟาน ตานกกดนอ ย กะโรงแดง หมาตายทากลาก ประดงเลอื ด จันนกกด ชางนา ว อนุ ข้ไี ก วงศ CONNARACEAE ไมพ มุ หรอื ไมต น ใบ เดย่ี ว รปู รี หรอื รปู ใบหอก กวา ง 3-6 ซม. ยาว 6-15 ซม. ทอ งใบมขี นโดยเฉพาะทเี่ สน ใบ ดอก ออกเปน ชอ แบบกลมุ แนน หรอื แบบชอ กระจะ สีขาว หรือสีครีม ดานนอกมีขนประปราย ดานในมีขนแนน ผล เปนผลแหงแตก มีขนสนี ้ำตาล พบในพมา อินโดจีน และมาเลเซยี ในประเทศไทยพบทางภาคเหนอื กิ่งและลำตน ตมด่ืมแกปวดทองเกร็ง แกทองอืดทองเฟอ ชวยเจริญอาหาร ผสมสมุนไพรอื่น ตมน้ำดื่มแกหืด เปลือกตนและแกน ตมน้ำดื่มแกไตพิการ (มีปสสาวะขนุ ขน เหลอื งหรือแดง มักมอี าการแนน ทอง ทานอาหารไมได) 22 • พรรณไมเ มืองไทย

แคหางคา ง Markhamia stipulata Seem. แคหวั หมู แคหมู แคปุม หมู แคขน แคอาว แคยอดดำ วงศ BIGNONIACEAE ไมต น สงู 5-10 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอ ย 4-8 คู รปู ขอบขนาน รปู รี หรือรูปไขแกมขอบขนาน ดอก ออกเปนชอแบบชอกระจะ กานดอกมีขนสีทอง ปกคลมุ หนาแนน กลบี เลย้ี งโคนเชอ่ื มเปน หลอดปลายแยก ดา นนอกมขี นปยุ ปกคลมุ หนาแนน กลีบดอกรูประฆัง ยาวถึง 7 ซม. ผล เปนฝกกลมยาว แหงแตก กวาง 2.2-2.8 ซม. ยาว 45-70 ซม. เมลด็ กวาง 0.8 ซม. ยาว 3.5 ซม. กระจายพันธุในพมา และลาว ในประเทศไทยพบตามปาเบญจพรรณ และ ปา ดบิ แลง ขยายพันธุโ ดยเมลด็ เปลอื กตน ตม นำ้ ดมื่ แกท อ งอดื ทอ งเฟอ เมลด็ แกโ รคชกั บำรงุ โลหติ ขบั เสมหะ ใบ ตม อาบ หรอื ตำคน้ั นำ้ ทาหรอื พอก แกโ รคผวิ หนงั ผนื่ คนั หดู รกั ษาแผลสด แผล ถลอก แผลไฟไหม และนำ้ รอ นลวก หา มเลอื ด ราก ตน เปลอื ก และผล ตม นำ้ อาบ บรรเทาอาการปวดตามรา งกาย ปวดหลงั ดอกออ น ลวกเปน ผกั จม้ิ นำ้ พรกิ พชื สมนุ ไพร • 23

24 • พรรณไมเมอื งไทย

เจตมูลเพลงิ ขาว Plumbago zeylanica L. ปดปวขาว วงศ PLUMBAGINACEAE ไมพ ุม ลำตน เกล้ยี ง ใบ เดี่ยว รูปไข กวา งถงึ 7.5 ซม. ยาวถึง 16 ซม. ดอก ออกเปน ชอ ยาวถงึ 30 ซม. มักจะแตกแขนง แกน กลางชอ และใบประดบั มกั มขี นตอ มสีเขยี วปกคลุม กลบี ดอกสขี าว เชื่อมเปนหลอดทโี่ คน ยาวถงึ 2.2 ซม. ปลายแยกเปน แฉก รูปไข ผล เปนผลแหงแตก รูปขอบขนาน ปลายแหลม มเี มล็ดเดียว พบในเขตรอ นของซกี โลกตะวนั ออก ในประเทศไทยนยิ มปลกู ตามบานเรอื น รากและลำตน แกรดิ สดี วงทวาร เขายาบำรุงธาตุ บำรุงโลหติ รกั ษาโรคทางเดินปส สาวะ นว่ิ ไขม าลาเรยี ขบั ประจำเดือน บำรุง รางกาย ทำใหอาเจียน ใบ ตำคั้นน้ำ หรือพอกรักษาแผลสด หามเลือด ฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา สารสกัดจากรากมีฤทธ์ิบีบมดลูก ทำใหหนูแทง และมีฤทธ์ิตานเช้ือแบคทีเรียและเช้ือรา สาร plumbagin จากรากมฤี ทธต์ิ า นเซลลม ะเร็ง ลดไขมันในเลือด และ ยบั ย้งั เชื้อแบคทเี รยี พชื สมนุ ไพร • 25

26 • พรรณไมเมอื งไทย

เจตมลู เพลงิ แดง Plumbago indica L. ปด ปว แดง วงศ PLUMBAGINACEAE ไมพุม รากอวบ ใบ เดีย่ ว รูปขอบขนานแกมรี กวา งถึง 7 ซม. ยาวถงึ 15 ซม. แผน ใบเกล้ียง ดอก ออกเปนชอ ยาวถงึ 25 ซม. กลบี ดอกสแี ดง โคนเช่อื มเปน หลอด ยาวถงึ 3.5 ซม. ปลายแยก เปน แฉก รูปไขกลับ ผล เปนผลแหงแตก พบในเขตรอนของซีกโลกตะวันออก ในประเทศไทยพบตาม ธรรมชาตบิ างพื้นท่ี เชน ปาเบญจพรรณ ราก ชว ยยอ ย และเจรญิ อาหาร บำรงุ ธาตุ ขบั ลม กระจายลม รักษารดิ สีดวงทวาร แกค ดุ ทะราด รักษาฝ ลำตน ขบั ประจำเดือน แกปวดทอง ใบ ขับเสมหะ ดอก รักษาโรคตา ชวยยอยอาหาร ขับลม พชื สมนุ ไพร • 27

28 • พรรณไมเมอื งไทย

ชองระอา Securidaca inappendiculata Hassk. มะเขือแจเ ครือ จองละอาง จงุ อาง เถามวก เถาโมก รางจดื สกุน วงศ POLYGALACEAE ไมเ ถาขนาดใหญ มเี นอื้ ไม ใบ เดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนาน รปู ไข หรอื รปู ไขก ลบั กวา ง 2-6 ซม. ยาว 4-14 ซม. แผนใบเกลยี้ ง หรอื มขี นเล็กนอ ย ดอก ออกเปนชอ ยาว 5-30 ซม. มีขนปกคลมุ กลบี ดอกสชี มพอู อ น ผล มปี ก เดย่ี ว กวา ง 25 มม. ยาว 85 มม. เมล็ดรูปรี กระจายพันธุในอินเดีย จีน และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต มักพบตามริมลำหวยหรือ พ้นื ทีเ่ ปด ท้งั ในปาดบิ และปาผลดั ใบ ทง้ั ตน ตม หรอื ดองเหลา เปน ยาแกป วดหลงั ปวดเอว ลำตน เขายาดองเหลาเพื่อบำรุงกำลัง หรอื บำรุงกำหนดั พืชสมนุ ไพร • 29

30 • พรรณไมเมอื งไทย

ชา เรอื ด Caesalpinia mimosoides Lam. หนามปยู า ผกั ปยู า ทะเนาซอง ผักกาดหญา ผกั ขะยา ผกั คายา วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE) ไมพ มุ หรอื ไมพุมรอเลอ้ื ย มีขนสาก และหนาม ใบ ประกอบ แบบขนนก 2 ชน้ั ใบยอ ยออกตรงขา ม รปู ขอบขนาน กวา ง 4 มม. ยาว 10 มม. กานใบส้ันมาก ดอก สีเหลือง ออกเปนชอแบบ ชอ กระจะทีป่ ลายยอด ผล เปน ฝก ลักษณะคลา ยถุง สว นโคนแคบ สวนปลายมน หรือมจี ะงอย เมล็ดมี 2 เมลด็ รปู ขอบขนาน กวา ง ประมาณ 7 มม. ยาว 10 มม. พบในอินเดีย จีน และอินโดจีน ในประเทศไทยพบตาม ปาเบญจพรรณ ยอดออน เคี้ยวกินสด แกลม วิงเวียน หนามืด รับประทาน เปนผกั สด ลวกจมิ้ น้ำพริก หรอื แกง พืชสมนุ ไพร • 31

32 • พรรณไมเมอื งไทย

ชมุ เหด็ เทศ Senna alata (L.) Roxb. ข้ีคาก หมากกะลงิ เทศ ลับมืนหลวง ชุมเหด็ ใหญ วงศ FABACEAE (LEGUMINOSAE) ไมพมุ สงู 1-5 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอ ย 8-20 คู รูปขอบขนานแกมรี กวาง 3-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายมน ดอก สีเหลือง ออกเปนชอที่ซอกใบ กลีบเล้ียงรูปขอบขนาน กลบี ดอกรปู ไขแ กมรปู ไต หรอื รปู ชอ น ยาว 2 ซม. ผล เปน ฝก แบน และหนา เกล้ียง กวาง 1.5-2 ซม. ยาว 10-15 ซม. มีครีบตาม ขอบ เมลด็ แบน กวาง 5-8 มม. ยาว 7-10 มม. ถน่ิ กำเนดิ อเมรกิ าใต ในประเทศไทยพบขน้ึ ทว่ั ประเทศ บรเิ วณ พน้ื ที่ช้นื แฉะ ใบสด ตำแชเหลา ใชทาวันละ 2-3 คร้ัง รักษากลากเกลื้อน ใบและดอก เปนยาระบาย พืชสมนุ ไพร • 33

34 • พรรณไมเมอื งไทย

ซอ Gmelina arborea Roxb. เฝง แกม อน ชอ งแมว แตงขาว ทองแมว เปานก สันปลาชอน วงศ LAMIACEAE (LABIATAE) ไมตน สูงถึง 20 เมตร ใบ เด่ียว ออกตรงขาม รูปไข กวาง 11-18 ซม. ยาว 12-21 ซม. โคนใบรปู หวั ใจ ปลายใบเรียวแหลม ดอก สีเหลืองมีแตมสีน้ำตาล ออกเปนชอ ยาว 7-12 ซม. บาน เต็มทกี่ วาง 3-5 ซม. ปลายมี 5 แฉก ขนาดไมเ ทา กนั ผล รปู ไข กวาง 1.5 ซม. ยาว 2 ซม. ผวิ เกลี้ยง เปลือกตน ตมอาบแกคัน แกโรคผิวหนัง ผ่ืนคัน แกหูด ตำผสมผลสีฟน คนทา พอกเทา หรือตมแชเ ทา แกโรคนำ้ กดั เทา พชื สมุนไพร • 35

36 • พรรณไมเมอื งไทย

ดองดึง Gloriosa superba L. กา มปู คมขวาน บอ งขวาน หวั ขวาน ดาวดงึ ส วา นกา มปู พันมหา มะขาโกง ชื่อสามัญ Climbing lily วงศ COLCHICACEAE ไมเถาลมลุก ยาวประมาณ 2 เมตร ใบ เดยี่ ว เรียงสลบั และ มมี ือเกาะทป่ี ลาย กวาง 1.5-4 ซม. ยาว 8-17.5 ซม. ดอก เดีย่ ว กลีบดอกรูปขอบขนานแคบ ขอบยน กวาง 0.7-1.5 ซม. ยาว 5-7 ซม. สเี ขยี ว หรอื สีเหลือง ตอมากลายเปน สีแดงเมื่อแก กานชู เกสรเพศผู ยาว 2-5.5 ซม. ผล เปนผลแหงแตก กวาง 1.5-2 ซม. ยาว 4-10 ซม. พบในเขตรอนของแอฟริกา และเอเชีย ในประเทศไทย พบทางภาคเหนือตามปาเบญจพรรณ หัวใตดินและเมล็ด แกโรคปวดขอ ฆาเซลลมะเร็งบางชนิด แกโรคเรื้อน รักษาบาดแผล แกเสมหะ แกแมลงสัตวกัดตอย หัวใตดนิ ไมค วรรับประทานมาก หรือควรใชอยางถูกวิธี เนอ่ื งจาก มสี ารประกอบอลั คาลอยด เมอ่ื รบั ประทานจะมีพษิ พชื สมุนไพร • 37

38 • พรรณไมเมอื งไทย

ตองแตก Baliospermum solanifolium (Burm.) Suresh ชอ่ื พอง Baliospermum montanum (Willd.) Müll.Arg. ลองปอม ถอนดี นองปอ ม ทนดี วงศ EUPHORBIACEAE ไมพ มุ สงู ถงึ 2 เมตร ใบ เดย่ี ว รปู ไข หรอื รปู ขอบขนาน กวา ง 3-10 ซม. ยาว 8-12 ซม. ขอบใบจักเปนฟน เล่อื ย หยกั มน หรือ เวาเปนแฉก 3-5 แฉก ดอก ออกเปนชอ แยกเพศ ผล เปนผล แหงแตก กลบี เล้ียงติดคงทน พบในอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทย พบทว่ั ไปตามปา เบญจพรรณ และปา ดิบแลง ขยายพนั ธโุ ดยเมล็ด รากและเปลือก เปนยาถาย ยาระบาย ขับลม ขับเสมหะ แกพ ยาธิ แกลมจกุ เสยี ด แกไข ตน บำรุงน้ำดี เปลอื ก แกฟกบวม ใบ แกห ืด ถอนพิษไข พชื สมุนไพร • 39

40 • พรรณไมเมอื งไทย

ตะไครตน Litsea cubeba (Lour.) Pers. จะไคต น ตะไคร วงศ LAURACEAE ไมพ มุ สงู ถงึ 10 เมตร ใบ เดย่ี ว ออกสลบั รปู ขอบขนาน กวา ง 1-2.5 ซม. ยาว 3-7 ซม. ดอก ออกเปนชอแบบซี่รมที่ซอกใบ บรเิ วณปลายกงิ่ แยกเพศ กลบี รวม 5-6 กลบี ยาว 1.5-2.5 มม. ผล เปน ผลสดแบบเมลด็ เดยี วแขง็ รปู ไข กวา ง 5 มม. ยาว 6-7 มม. มตี อมน้ำมันท่ีผวิ ประเทศไทยพบตามปา ดบิ เขา และปาดบิ แลง ราก ขบั ลมในลำไส แกปสสาวะพกิ าร เปลือกตน ขบั ลม ฤทธ์ิ ทางเภสชั วทิ ยา ยบั ยง้ั เชอ้ื แบคทเี รยี เชอ้ื รา ยบั ยง้ั การเตน ผดิ จงั หวะ ของหัวใจ ผล ใชป ระกอบอาหาร พชื สมุนไพร • 41

42 • พรรณไมเมอื งไทย

ตะลิงปลงิ Averrhoa bilimbi L. หลิงปลงิ บลมี งิ วงศ OXALIDACEAE ไมพุม หรือไมตน สูงถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก ใบยอย 7-19 คู มักจะออกเปนกระจุกที่ปลาย ใบยอยกวางถึง 4 ซม. ยาวถงึ 12 ซม. ทองใบมขี นนุมปกคลุม ดอก ออกเปนชอ ตามลำตน กลบี ดอกกวา ง 3-4 มม. ยาว 10-20 มม. ผล เปน ผลสด มีหลายเมล็ด ลักษณะคอนขางมน หรือมีพูเล็กนอย กวางถึง 5 ซม. ยาวถงึ 10 ซม. พชื ปลกู ในประเทศไทย ทย่ี งั ไมท ราบถน่ิ กำเนดิ แนช ดั สนั นษิ ฐาน วามาจากทางดานตะวันออกของมาเลเซีย แตนักพฤกษศาสตร ไดเก็บตัวอยางคร้งั แรกจากประเทศศรีลังกา ผล แกเสมหะเหนยี ว ฟอกโลหิต รับประทานเปนผลไมสด มี รสเปร้ยี วมาก ฝานแลว นำไปแชนำ้ ปลา หรือจ้มิ เกลือ ราก แกพ ิษ รอนใน กระหายน้ำ พชื สมนุ ไพร • 43

44 • พรรณไมเมอื งไทย

ตาลเหลือง Ochna integerrima (Lour.) Merr. แงง ชา งนา ว ตานนกกรด กระโดงแดง กำลงั ชา งสาร ชางโนม ฝนกระแจะ วงศ OCHNACEAE ไมพ มุ หรอื ไมต น ขนาดเลก็ สงู ถงึ 12 เมตร ใบ เดย่ี ว รปู ขอบ ขนาน หรอื รูปใบหอก กวาง 2-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบหยัก ดอก ออกเปนชอ บานเต็มท่ีกวาง 2-3.5 ซม. ฐานรองดอกนูน และขยายเลก็ นอยเม่อื ติดผล กลบี เล้ียง 5 กลบี รปู ไข หรือรูปไข แกมขอบขนาน กลีบดอก 5-6 กลีบ หรือมากถึง 10 กลบี รปู ไข กลบั ผล เปน ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง พบในอินเดีย ถึงอินโดจีน และมาเลเซีย ในประเทศไทย พบเกือบทว่ั ประเทศ ตามปา ผลดั ใบ ทค่ี วามสงู 0-1,200 เมตร จาก ระดับนำ้ ทะเล ราก ขบั พยาธิ แกน ำ้ เหลอื งเสยี เปลอื ก แกป วดตา แกต าเคอื ง เนื้อไม แกกระษัย ขับพิษเสมหะและโลหิต แกปวดเม่ือย รักษา ตับ แกปวดทอง คลายอาการเกร็งของกลามเนื้อทอง และรักษา โรคท่ีเกี่ยวกบั ทางเดินปส สาวะ พืชสมนุ ไพร • 45

46 • พรรณไมเมอื งไทย

ทะโล Schima wallichii (DC.) Korth. กรรโชก กาโซ สารภปี า คายโซ จำปาดง พระราม บุนนาค พงั ตาน พนั ตนั มังตาน หมูพี วงศ THEACEAE ไมต น สงู 10-25 เมตร ใบ เดย่ี ว รปู ขอบขนาน หรอื รปู ใบหอก แกมรี กวา ง 3-6 ซม. ยาว 7-20 ซม. ดอก ออกเปน ชอ ขนาดเลก็ บานเตม็ ที่กวาง 3-4 ซม. กลบี เลี้ยงรูปไต มีขนเลก็ นอ ย กลีบดอก รูปไขปลายมน ผล เปนผลแหงแตก รูปคอนขางกลม เสนผาน- ศนู ยก ลาง 2-3.5 ซม. พบทางตะวันออกของอินเดีย ถึงมาเลเซีย ในประเทศไทย พบทั่วประเทศตามปาไผ ปาดิบแลง และปาดิบเขา ท่ีความสูง 0-2,500 เมตร จากระดบั นำ้ ทะเล ดอกแหง แชห รอื ชงใหส ตรคี ลอดบตุ รใหม ดม่ื ตา งนำ้ แกข ดั เบา ชกั ลมบา หมู ตน และกง่ิ ออ น แกค ลน่ื ไส หยอดหแู กป วด พืชสมุนไพร • 47

48 • พรรณไมเมอื งไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook