Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore rid annual report2564

rid annual report2564

Published by chuaysong, 2021-10-15 08:19:56

Description: รายงานผลการปฎิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2564 ของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

“เทคโนโลยีดจิทัลกบัการศกึษาในยคุโควด-19” ป‚งบประมาณพ.ศ.2564

1 เอกสารรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาจัดทำข้ึน เพื่อรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการปฏบิ ัติงานในรอบปีที่ผา่ นมา เพื่อใชเ้ ผยแพร่ให้ผู้รับบริการได้รับทราบ ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยงานให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น สามารถแสดงประสิทธิภาพและผลสำเร็จของการปฏิบัติงานในการตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ประเด็น ต่างๆ ทั้งในระดับกระทรวง และระดับสำนักได้อย่างชดั เจน โดยการนำเสนอได้แบ่งเป็นหวั ข้อ นำเสนอเป็นราย โครงการ แต่ละกิจกรรมสำคัญที่ดำเนินงานในลักษณะภาพประกอบการบรรยาย ซึ่งความสำเร็จในการ ดำเนินงานดังกลา่ วเป็นผลมาจากการรว่ มมือในการดำเนนิ งานจากทกุ ภาคส่วนตลอดจนประชาชนผู้เกี่ยวขอ้ ง รวมทั้งยังได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่ง อย่างต่อเนื่องจากคณะผู้บริหารระดับสูงทั้งในระดับ กระทรวงศึกษาธิการและสำนกั งาน กศน. จากคณะผ้บู รหิ ารและบุคลากรศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาทุกทา่ น ในการมีสว่ นร่วมกนั ในการขบั เคลอื่ นการดำเนินงานอยา่ งจริงจัง ทั้งนี้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ช่วงภาวะการระบาดไวรัสโคโรนา (Covid-19) ส่งผลกระทบ การระบบการเรียนการสอนของนักเรียน นักศึกษาทุกสังกัดหน่วยงาน ต้องมีการปรับเรียนการออนไลน์ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษามีผลกระทบด้านการถ่ายทำนอกสถานที่ในบางรายการ และการประสานงานดำเนิน กิจกรรมต่างๆ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาได้ตระหนักถึงสภาพการเรียนการสอนของนักศึกษา กศน. จึงได้จัด รายการติว เพ่อื นกั ศกึ ษา กศน. โดยใช้วธิ ีการสนับสนนุ การเรยี นการสอนผ่านทางสถานวี ทิ ยุโทรทศั น์เพ่ือการศึกษา ETV และสื่อออนไลน์ในรูปแบบเว็บไซต์ ช่อง Youtube ซึ่งเป็นหนึ่งช่องทางที่กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้ ประโยชน์ได้ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานใน ปีต่อไป อีกทั้งยังสามารถเป็นคู่มือสำคัญในการประชาสัมพันธ์ ช่องทางการเข้าถึงสื่อต่างๆ ที่ผลิตโดย ศูนยเ์ ทคโนโลยที างการศกึ ษาและแสวงหาแนวทางในการปรับปรุงพฒั นาประสิทธภิ าพการปฏิบตั ิงาน พร้อม ที่จะตอบสนองความตอ้ งการของผู้รับบริการ ในการเลือกใช้บรกิ ารเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาไดต้ ามศักยภาพ ของแตล่ ะบุคคลในยคุ ดิจทิ ัลอยา่ งแท้จริง วรภร ประสมศรี ผอู้ ำนวยการศนู ย์เทคโนโลยที างการศกึ ษา ตลุ าคม 2564 ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กับการศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

2 ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา วสิ ัยทศั น์ “มงุ่ ส่งเสริมและขยายโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวติ แก่ประชาชน ผา่ นเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาท่ที ันสมัยและมคี ณุ ภาพ” พนั ธกจิ 1. พัฒนาระบบ โครงสรา้ งพื้นฐานสถานวี ทิ ยศุ ึกษา และ สถานวี ิทยโุ ทรทศั น์เพือ่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) 2. บริหารจดั การสถานีวิทยุศกึ ษา และ สถานีวิทยุโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) 3. ดำเนนิ การจัด ผลิต พัฒนาและเผยแพรส่ อื่ เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาท่ีทนั สมยั มคี ุณภาพ ในรปู แบบรายการวิทยุเพื่อการศึกษา รายการโทรทศั น์เพื่อการศกึ ษา สอ่ื การศกึ ษา Online ส่ือการศึกษาเพอ่ื คนพิการและส่อื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในรปู แบบอื่นๆ เพ่อื ตอบสนองความ ตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย 4. ส่งเสริมและดำเนนิ การเกีย่ วกับการวิจัย เพ่ือพัฒนา การผลิต การใช้และการเผยแพร่สอ่ื เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 5. พฒั นาบุคลากรทางเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งผู้ผลติ และผูใ้ ช้ ให้มีความรู้และทักษะในการผลิต และการใช้ส่ือเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับ หรอื สนับสนนุ การ ปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอน่ื ท่เี กี่ยวขอ้ งหรือท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 6. สง่ เสริม สนับสนนุ และพฒั นาหน่วยงานเครอื ขา่ ยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาทั้งในระดบั ชาติและ ระดับท้องถ่ิน 7. บริหารทรัพยากร และขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาเพอื่ ให้บรกิ ารแก่ กลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานเครือขา่ ย 8. ส่งเสรมิ ประชาสมั พนั ธ์ให้มีการใช้ส่อื เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดการ เรียนการสอนและการส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ติ ให้กับกลุม่ เป้าหมาย ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กบั การศกึ ษาในยุคโควิด-19”.......

3 ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทัล กับการศกึ ษาในยุคโควิด-19”.......

4 ด้วยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำใหร้ ูปแบบการศกึ ษาตอ้ งปรับตวั ใชร้ ะบบออนไลน์ ศนู ย์เทคโนโลยที างการศกึ ษาตระหนกั ถงึ ภารกิจหลกั ทีต่ ้องส่งเสรมิ การศกึ ษา ของนักศึกษา กศน. นกั เรยี นในระบบตลอดจนประชาชนท่ัวไปในการใช้สื่อท่ีมคี ุณภาพตามปัจเจกบคุ คล “เทคโนโลยีเปลี่ยน ทมี ศูนย์เทคโนโลยที างการศึกษาตอ้ งพัฒนาให้ทัน” วรภร ประสมศรี ผ้อู ำนวยการศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กับการศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

5 แมส้ ถานการณโ์ ควิด-19 จะเข้ามาเปล่ยี นวิถีชีวติ ของเราในขณะนี้ เราน่าจะมองว่าวกิ ฤตนีค้ ือชว่ งเวลาท่ีท้าทาย “พลังสร้างสรรค์” ของคน ศท. ใหร้ ีบเร่ง ช่วยกนั พัฒนาส่ือการเรียนรู้นอกระบบ ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทัล ออนไลน์ เพอื่ การเรียนรู้สู่การ “เติมเตม็ ” แก่ “ผูข้ าดพรอ่ งทางการศึกษา” โดยถ้วนหน้ากนั สราวธุ กองสทุ ธใ์ิ จ ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะด้านการเผยแพรท่ างการศกึ ษา “การสง่ ต่อขอ้ มูลข่าวสาร และกระบวนการเรยี นรู้ที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาทกั ษะชีวิตดว้ ยเทคโนโลยี ทางการศกึ ษา ทา่ มกลางสงครามโรคโควดิ -19 เปน็ โจทยส์ ำคญั ของ ศท. ในการทำงาน เพราะการปรบั ตวั สกู่ ารเปลี่ยนแปลงท่สี มดลุ ถือเปน็ อาวุธสำคญั ในการตอ่ สชู้ ีวิตของ ประชาชน..” ธนพัชร์ ขุนเทพ รักษาการผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะด้านการผลิตส่ือเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กับการศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

6 บคุ ลากรศนู ย์เทคโนโลยที างการศกึ ษา บคุ ลากรศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา จา้ งเหมาบรกิ าร 25% 39 คน พนกั งานราชการ 10 คน 108 คน 6% ขา้ ราชการ 69% ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กับการศึกษาในยุคโควิด-19”.......

7 งบประมาณประจำปี 2564 งบประมาณรายจ่าย (บาท) ประเภทงบประมาณ ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร จัดสรรเพิม่ / โอน ได้รับจดั สรรสุทธิ ผลการใชจ้ ่าย เปล่ยี นแปลง 3,185,916.13 แผนงาน : บคุ ลากรภาครัฐ 270,071.51 1. งบบุคลากร ค่าตอบแทนพนกั งานราชการ 3,070,320 +115,597 3,185,917 71,082 6,540 2. งบดำเนนิ งาน 3,533,609.64 - คา่ เช่าบ้าน 265,000 +40,000 305,000 65,259,260 - คา่ ประกนั สงั คมพนกั งานราชการ 103,500 +4,500 108,000 16,250,455.52 7,506,683.02 - เงนิ สมทบกองทนุ ทดแทน 6,540 - 6,540 6,917,240 รวม 3,445,360 +160,097 3,605,457 1,371,232.50 แผนงาน : พนื้ ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 455,300 5,729,679.69 1. งบดำเนินงาน รวม 68,511,859 +1,000,000 69,511,859 13,697,872.34 • งานบรหิ าร ศท. รวม 13,177,190 +3,900,000 17,077,190 749,856 44,940 - คา่ ตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 3,612,500 +3,900,000 7,512,500 12,776,940.80 13,503,675.50 - ค่าจา้ งเหมา 6,948,240 - 6,948,240 1,863,840.15 - คา่ เช่าที่ดนิ 2,039,850 - 2,039,850 642,000 - ค่าเช่ารถยนต์ราชการ 576,600 - 576,600 4,314,250 4,314,250 • คา่ สาธารณปู โภค 3,000,000 +3,400,000 6,400,000 20,748,898 • คา่ เชา่ ช่องสญั ญาณดาวเทียม 13,697,873 - 13,697,873 585,718 • ค่าจ้างเชอ่ื มโยงสัญญาณวทิ ยโุ ทรทศั นฯ์ 749,856 - 749,856 19,870,000 293,180 • ค่าเชา่ บริการอินเทอร์เน็ต (รังสติ ) 44,940 - 44,940 93,856,017.64 • งานพฒั นาวิชาการ 13,600,000 - 13,600,000 • โครงการสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบ 21,250,000 -6,300,000 14,950,000 ผ่านทีวสี าธารณะ (ตวิ เข้มเต็มความร)ู้ • โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชวี ติ 2,350,000 - 2,350,000 ด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา • ซ่อมเสายึดสายอากาศระบบ F.M. 642,000 - 642,000 2. งบรายจ่ายอน่ื รวม 4,430,600 - 4,430,000 • โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ 4,430,600 - 4,430,000 และภาษาของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 3. งบลงทุน รวม 21,163,750 - 21,163,750 • ครุภัณฑค์ อมพิวเตอร์ 669,600 - 669,600 • ระบบตัดตอ่ ศท. 20,199,900 - 20,199,900 • ปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์ทางเขา้ ศท. 294,250 - 294,250 งบประมาณประจำปี 2564 รวมทัง้ สิ้น 97,551,569 1,160,097 98,711,666 ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กบั การศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

8 การสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต จดุ ยนื สำคัญของศูนย์เทคโนโลยีทางการศกึ ษา การขยายโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ประชาชน ผ่านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่ทันสมัยและ มีคุณภาพ เป็นวิสัยทัศน์ของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาที่ยึดเป็นหลักปฏิบัติเรื่อยมา ทั้งในสภาวะปกติและ สภาวะการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคน การพัฒนาความรู้ การพัฒนาทักษะ การประกอบอาชีพ โดยใช้สื่อที่ผลิตโดยศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพตนเองที่จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศในหลากหลายด้าน ก่อให้เกิดการฝึกฝนเพิ่มเติมทักษะขึ้นเรื่อยๆ และมีความ คาดหวังให้มีการพัฒนาสังคมให้เป็น “สังคมแห่งการเรียนรู้” รักที่จะเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น เพราะความรู้ไม่ได้มา จากเพียงตำราหรอื การนง่ั ในหอ้ งเรียนเทา่ นน้ั แต่ทกุ สิง่ ทุกอย่างรอบตวั นน้ั เปน็ ความรใู้ ห้เราได้ และเมือ่ เราอยู่ใน สงั คมแห่งการเรยี นรู้ก็จะทำให้ทุกคนเปดิ โลกท่จี ะเรยี นรู้ได้อย่างไม่มที ่สี น้ิ สุด \"ตอนนสี้ ่งิ แวดลอ้ มรอบตวั เดก็ เปลีย่ นหมดแลว้ วธิ ีการเรยี นรู้ วิธีการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ธรรมชาติการเรยี นรเู้ ปลยี่ น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมากขึ้น มันทำให้โจทย์การศึกษาแบบเดิม ที่เน้นการส่งตอ่ ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ ไม่เหมาะกบั เด็กรุ่นน้ี เด็กปัจจบุ ันเติบโตมากบั ทักษะอกี แบบหนึ่งถูกเรียกร้องใหต้ อ้ งมี ทักษะในการหาข้อมูลเอง ทักษะในการตรวจสอบข้อมูล ทักษะที่จะเลือกผลิต เลือกแชร์ข้อมูลด้วยตัวเอง มีกระบวนการคดิ อย่างรอบคอบมากขึน้ ซึ่งอาจจะมคี วามผิดพลาดเกดิ ข้นึ ไดง้ ่าย เพราะอนาคตเด็กมคี วามเสี่ยง มากขึ้นจากเศรษฐกิจที่มีความผันผวนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ดังนั้น การวางแผนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น เด็กต้อง วางแผนอนาคต เอาตัวเองไปผูกกับองค์กรเหมือนสมัยก่อนไม่ได้แล้ว ต้องพึ่งตัวเองมากขึ้นและมีทักษะเป็น ผปู้ ระกอบการ ซึ่งต้องการวธิ คี ิดอกี แบบหน่ึง ทักษะอีกแบบหนึ่ง โจทย์แบบนท้ี ำให้ผสู้ อนต้องเปลี่ยนแปลงและ มองการจัดการศึกษาให้เป็นการจัดโอกาสที่เกิดการเรียนรู้ \" การเรียนด้วยตัวเอง คือนำตัวเองในการเรียนรู้ ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทัล กบั การศึกษาในยุคโควิด-19”.......

9 รู้ว่าสนใจเรื่องอะไร รู้วิธีการหาข้อมูล วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล และกลั่นกรองเป็น มีทักษะเรื่องการคิด การวางแผน และจัดการชีวิตตวั เองได้ ซึ่งจะเป็นวิธีการเรียนรู้ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้และเป็นโจทย์ใหม่ๆ ของการศึกษา ท้ังของไทยและของโลกเพราะฉะน้ัน เมื่อมีโจทยใ์ หม่เข้ามานกั การศึกษาหรือครูกต็ อ้ งเรียนรู้ไปด้วยเชน่ กนั จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ระบาดตลอดทั้งปี พ.ศ. 2564 ส่งผลต่อการ ดำเนินภารกิจของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นอย่างมากที่ต้องอาศัยการประสานการติดต่อกับ บคุ คลภายนอกที่เป็นวิทยากร อาจารย์ทีใ่ หค้ วามรู้ เพ่อื ผลติ สือ่ เทคโนโลยีทางการศกึ ษาในรูปแบบต่าง ๆ อาทิเช่น การผลิตสื่อในสตูดิโอ และการถ่ายทำนอกสถานที่ การผลิตสื่อวิทยุเพื่อการศึกษา การผลิตสื่อเพื่อคนพิการ เนื่องจากรปู แบบการปฏบิ ัติงานต้องปฏิบัติตามแนวทางของศูนยบ์ ริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ทางผู้บริหารศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาและผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ ได้ประชุมหารือเพื่อหาแนวทางปรับเปลย่ี นแก้ไขการปฏิบัตงิ านเพื่อให้ลลุ ว่ งตามวตั ถุประสงค์ของโครงการน้ันๆ และตามเปา้ ประสงคข์ องกรอบแผนการดำเนินงานศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศึกษาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 การศึกษาในสภาวะการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ทุกหน่วยงานสถานศึกษาเน้นรูปแบบ การศึกษาออนไลน์เป็นหลัก ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของแหล่งข้อมูลเนื้อหา เชิงวิชาการและความรู้ทั่วไปที่มีความน่าเชื่อถือ จึงได้มีการบูรณาการนำรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา นำเสนอผ่านช่องทางออนไลน์ อาทิ เว็บไซต์หลัก 4 เว็บไซต์ ช่องทาง Facebook ตามสื่อนั้นๆ และผ่าน ชอ่ งทาง Youtube ทนี่ ำเสนอแยกเปน็ กลุ่มตามความสนใจของผ้รู บั ชมถงึ 3 ชอ่ ง Youtube ด้วยกนั ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

10 จากบริบทดังกล่าว ถือเป็นสิ่งท้าทายที่ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่มี ภารกิจที่ต้องผลิตสื่อในการส่งเสริมการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ พัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายใต้บทบาทและภารกิจให้มีคุณภาพและสามารถนำมาเป็นเครื่องมือสำคัญในการตอบสนองทิศทาง การพัฒนาดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษายังคงมุ่งมั่นผลิต พัฒนารูปแบบ และเนื้อหาของสื่อเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาให้สอดคล้องกับพฤติกรรม ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวติ ของกลุ่มเป้าหมาย ทกุ Generation ครอบคลุมตลอดชว่ งชีวิต ซงึ่ หมายความรวมถึงการตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและ การเรียนรไู้ ด้ตามตอ้ งการโดยสะดวก ทุกที่ ทกุ เวลาบนพน้ื ฐานความคดิ ท่จี ะนำสอื่ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาเป็น เครื่องมือสำคญั ในการช่วยขยายโอกาส ลดความเหล่ือมล้ำทางการศกึ ษา พัฒนาการศึกษาของคนไทยตลอดชว่ งชวี ิต โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ย์เทคโนโลยีทางการศกึ ษาไดด้ ำเนินงานโครงการสำคัญทจ่ี ะชว่ ย ขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานให้ตอบสนองทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาของประเทศไทย จำนวน 3 โครงการ ดังน้ี 1.) โครงการส่งเสริมการศึกษานอกระบบผ่านทีวีสาธารณะ (ติวเข้มเต็มความรู้) เป็นโครงการท่ี ดำเนินงานต่อเนื่อง กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในการรับชมรายการเป็นจำนวนมาก เปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษา กศน. ได้เรียนรู้วิชาหลักจากครูผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถ รวมทั้งเปิดมุมมองวิชาชีพ ทักษะในการ ประกอบอาชีพจากผู้มีประสบการณ์แขนงต่างๆ ให้แก่กลุ่มเป้าหมายผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT) เพื่อเสริมความรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายวัยนักเรียน นักศึกษาที่ขาดโอกาสทางการศึกษา ให้มีโอกาสได้เรียนและมีทางเลือกในการ เรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เป็นการเสริมสร้างโอกาส ลดความเหล่อื มล้ำทางการศึกษา ให้เกดิ ความเท่าเทียมกันทั้งใน เมอื งและชนบท และสามารถเชอ่ื มโยงความรูใ้ หส้ มั พันธก์ บั การดำรงชีวิต ตลอดชว่ งวัย ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล กับการศึกษาในยุคโควิด-19”.......

11 2.) โครงการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นโครงการที่จัดข้ึน เพอ่ื ตอบสนองบริบทการศกึ ษาในยุคสังคมดิจิทัล ที่กลมุ่ เป้าหมายสนใจในการเขา้ ถงึ แหลง่ ความรู้ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ช่องทางผ่านเครือข่ายสากล (Internet) สู่คลังความรู้ไร้ขีดจำกัดได้อย่างรวดเร็ว สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา ศูนย์เทคโนโลยี ทางการศึกษาจึงมุ่งดำเนินกิจกรรมขยายช่องทางเพื่อเพิ่มโอกาสและการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายผ่านทาง เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถตอบสนองบริบทการศึกษาในยุคปัจจุบัน โดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานที่ นอกจากน้ียงั มีการส่งเสริมอาชีพเพื่อการมีงานทำเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตลอดจนการเตรียมการรองรับการเขา้ สู่ สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aging Society) ในปี พ.ศ. 2564 น้ี โดยมีการแนะนำการสร้างอาชีพที่เหมาะสมสำหรับ ผู้สูงอายุ เพื่อสร้างรายได้หลักหรืออาชีพเสริมหรือเป็นกิจกรรมยามว่างที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ ตลอดจน มงุ่ พัฒนาระบบการให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาให้สามารถใช้บริการบนอุปกรณต์ า่ งๆ ได้สะดวกงา่ ยดาย อย่างมีประสทิ ธิภาพสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชีพใหมๆ่ หรอื ต่อยอดเพมิ่ มลู คา่ ให้กับสนิ ค้าเพมิ่ ความหลากหลาย ของอาชีพให้มคี วามน่าสนใจมากข้นึ 3.) โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน เป็นโครงการ ที่นำเสนอเนื้อหาสาระความรู้ด้านภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน สอดแทรกผสมผสานไปกับ การถ่ายทอดเรื่องราวด้านวัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตตามบริบทของประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน ผ่านรายการวิทยุ เพื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา นอกจากนี้ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษายังคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายคน พิการ จึงกำหนดใหม้ ีการผลติ สอ่ื การศกึ ษาเพ่อื คนพกิ ารในรูปแบบรายการวีดิทัศน์เพอ่ื การศกึ ษา สำหรับกลุ่มเป้าหมาย คนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (หูหนวก) เพื่อมุ่งหวังให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เข้าใจในภาษาและบริบทของ อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ดังคำกล่าวที่ว่า “รู้เขา รู้เรา” เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถก้าวเข้าสู่การเป็นพลเมืองอาเซียนได้ อยา่ งสมศักดิศ์ รคี วามเป็นไทย ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กบั การศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

12 นอกจากโครงการสำคัญต่างๆ ข้างต้นแล้ว ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษายังกำหนดแผนงานต่างๆ โดยมุ่งผลติ พฒั นาและเผยแพรส่ อ่ื เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาในรูปแบบต่างๆ ให้มีคณุ ภาพทัง้ รายการวทิ ยเุ พอื่ การศกึ ษา รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา สื่อการศึกษาเพื่อคนพิการ สื่อการศึกษา Online เพื่อสนองตอบเจตนารมณ์ในการ ปฏิรูปการศึกษาให้ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” และเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาและการส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของคนไทยไดอ้ ย่างยง่ั ยนื ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศึกษาในยุคโควิด-19”.......

13 โครงการสำคัญ ปี 2564 โครงการสง่ เสริมการศึกษานอกระบบผา่ นทวี สี าธารณะ แนวคิด / หลักการ รัฐบาลมีนโยบายยกระดบั คุณภาพการศึกษาของประเทศในภาพรวมให้สูงขึ้น ต้องการให้คนไทยไดร้ ับ การศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ดีขึ้น พัฒนาคนในทุกมิติและทุกชว่ งวัย ซึ่งสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับยุทธศาสตร์ พฒั นาการศึกษาของสำนักงาน กศน. ที่มีวสิ ัยทศั น์มงุ่ พัฒนาเพอื่ ใหค้ นไทยไดร้ ับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและมที กั ษะทีจ่ ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 ดังนั้น สำนักงาน กศน. โดยศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งมีภารกิจหลักในการผลิตสื่อเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมุ่งผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาที่มีคุณภาพ มีรายการที่ตอบสนองให้กลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อเผยแพร่ผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) สถานีวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทย (NBT) และสถานีวิทยุโทรทัศน์อื่น ๆ รวมทั้งช่องทางสื่อสมัยใหม่ Social Media ต่างๆ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายยุคดิจิทัล มีเนื้อหาสาระสอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยโดยจากการดำเนินงานที่ผ่านมา สามารถตอบสนองความต้องการของ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล กบั การศกึ ษาในยุคโควดิ -19”.......

14 กลุม่ เป้าหมายแต่ละกล่มุ ได้เป็นอยา่ งดี กล่มุ นักเรยี นในระบบโรงเรียนมีความพงึ พอใจตอ่ รายการประเภทติวเข้ม วิชาตา่ ง ๆ เข้าใจง่ายและมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีดีขน้ึ ภายหลังจากรบั ชมรายการตวิ เข้มในวชิ าท่สี นใจ ทั้งนี้ จากการดำเนินงานโครงการ มุ่งหวังที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้กลุ่มเป้าหมาย ทุกกลุ่มทุกช่วงวัยได้รับความรู้ที่ทันสมัย เกิดความเพลิดเพลิน มีความสุขในการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี ที่ทันสมัยในยุคดิจิทัลได้อย่างสะดวก ทุกที่ ทุกเวลา สามารถตอบสนองบริบทความต้องการและพฤติกรรมการใช้งาน ตามความพรอ้ มของแตล่ ะปัจเจกบคุ คล การแพรภ่ าพออกอากาศ • ทางสถานีวทิ ยุโทรทัศนเ์ พือ่ การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) • ทางเวบ็ ไซต์ www.etvthai.tv ทงั้ ในลกั ษณะรายการสด และรบั ชมย้อนหลัง • สญั ญาณผา่ นดาวเทยี มในระบบ KU-Band และเครือขา่ ยเคเบล้ิ ทวี ที ้องถ่ินท่วั ประเทศ ผลการดำเนนิ งาน 1. ผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศกึ ษาออกอากาศทางสถานี ETV จำนวนรวมทง้ั สิน้ 637 รายการ ประกอบดว้ ย รายการติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้ - รายการตวิ เข้มเติมเตม็ ความรู้ จำนวน 104 รายการ - รายการตวิ เขม้ กศน. ชุดตวิ สอบ N-NET กศน. ม.ปลาย จำนวน 16 รายการ - รายการสารคดสี ่งเสรมิ การศกึ ษา จำนวน 52 รายการ รายการตามหลักสูตรขนั้ พื้นฐาน กศน. จำนวน 17 รายการ - รายการ Maxx Mad Science (ม.ปลาย) - รายการ Match World : เปิดโลกคณติ ศาสตร์ (ประถม) จำนวน 17 รายการ - รายการ วาดวิทย์ (ม.ปลาย) จำนวน 17 รายการ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กับการศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

15 รายการตามหลักสูตรข้ันพน้ื ฐาน สพฐ. จำนวน 17 รายการ - รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ Be Nice Science (ประถม) - รายวชิ าคณิตศาสตร์ Big Math (ประถม) จำนวน 17 รายการ รายการตามช่วงวยั จำนวน 52 รายการ - รายการจีนจำเปน็ จำนวน 52 รายการ - รายการ Creator เปน็ ไดง้ า่ ยจัง จำนวน 52 รายการ - รายการแค่คลิก๊ ชวี ิตกง็ า่ ย จำนวน 36 รายการ - รายการเรียนนอกรวั้ จำนวน 32 รายการ - รายการภาษาอังกฤษ 4 ทกั ษะ จำนวน 26 รายการ - รายการ Animation ขบวนการเด็กดี - รายการ DIY CLUB จำนวน 26 รายการ - รายการ Kid' s จะเลน่ จำนวน 26 รายการ - รายการฟื้นฟูดูเฟริ ม์ ปี 2 จำนวน 26 รายการ - รายการดนตรีไทยวยั ใส จำนวน 26 รายการ - รายการการปฐมพยาบาล จำนวน 26 รายการ 2. จดั พมิ พ์เอกสารประกอบการรับชมรายการ จำนวน 1,000 เล่ม 3. จดั กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ ผ่านช่องทาง Social Network เช่น Youtube Facebook Line 4. จดั กจิ กรรมติวเข้มเติมเตม็ ความรสู้ ญั จร จำนวน 2 ครัง้ ไปยงั สถานศกึ ษาตา่ งๆ เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ รายการและสถานีวิทยุโทรทศั น์เพ่อื การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) ใหเ้ ป็นท่รี จู้ ักกนั อยา่ งกวา้ งขวาง โดยการจดั กจิ กรรมติวเขม้ เตมิ เต็มความรู้สญั จร ดงั นี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 14 - 18 ธนั วาคม 2563 ณ โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวดั ตรัง มีนกั เรียน ม. ปลาย เข้าร่วมกิจกรรม 500 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 22 – 23 ธันวาคม 2563 ณ โรงเรียนห้องสอนศึกษา จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีนกั เรียน ม. ปลาย เขา้ ร่วมกจิ กรรม 500 คน ทงั้ นไี้ ดน้ ำรายการจำนวน 2 รายการ ไปออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุโทรทัศนแ์ หง่ ประเทศไทย กรมประชาสมั พนั ธ์ (NBT) อีกช่องทางหนึง่ ด้วย - รายการ Creator เป็นได้งา่ ยจัง ออกอากาศทกุ วนั อาทิตย์ เวลา 07.00 – 07.30 น. - รายการตวิ เขม้ เตมิ เต็มความรู้ ออกอากาศทุกวนั เสารแ์ ละวันอาทิตย์ 09.05 – 09.55 น. ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กบั การศึกษาในยุคโควดิ -19”.......

16 นกั เรียนท่เี ข้าร่วมกิจกรรมตวิ เข้มเติมเต็มความรู้สญั จร จำนวนร้อยละ 89.22 มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสงู ขน้ึ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กบั การศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

17 โครงการส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ติ ดว้ ยเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา แนวคิด / หลกั การ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีดิจทิ ัลได้เขา้ มามีบทบาทสำคญั เปน็ ส่วนหน่ึงในการดำรงชีวิตประจำวัน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ประกอบกับข้อมูลสถิติและแนวโน้มการใช้งานโทรศัพท์คลื่อนที่สมาร์ทโฟนของคนไทยมีสูงข้ึน อย่างต่อเนื่องกว่า 90% ของจำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่ทั้งหมด มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตผา่ นอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทส่ี มาร์ทโฟน แท็บเลต็ อันเปน็ เครอ่ื งมือสมัยใหมซ่ ึง่ มปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือเพม่ิ ความสะดวกในการเข้าถงึ ข้อมูลอย่างรวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลาอย่างทันเหตุการณ์ อีกทั้งจากข้อมูลการสำรวจการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) เพื่อให้ได้ข้อมูลการมีอุปกรณ์เทคโนโลยีและการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในครัวเรือนของสำนักงานสถิติ แห่งชาติ พบว่า ปจั จบุ นั กลมุ่ ผ้สู งู อายุมีพฤติกรรมท่องอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ นสมาร์ทโฟนมากขึ้น จากขอ้ มลู ดงั กล่าวประกอบกบั นโยบายของสำนักงาน กศน. ทีม่ งุ่ เน้นส่งเสรมิ อาชีพเพือ่ การมงี านทำ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตลอดจนการเตรียมการรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aging Society) ในปี พ.ศ. 2564 นี้ ทำให้ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษามุ่งผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา แนะนำการสร้างอาชีพที่เหมาะสม สำหรับผู้สูงอายุ เพื่อสร้างรายได้หลักหรืออาชีพเสริมหรือเป็นกิจกรรมยามว่างที่เหมาะสมของผู้สูงอายุตลอดจนมุ่ง พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาให้สามารถใชบ้ รกิ ารบนอุปกรณต์ ่างๆ ไดส้ ะดวกงา่ ยดายอยา่ งมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้กลุ่มหมาย สามารถเข้าถึงสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกันทุกพื้นที่ สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดจิ ิทัลเชงิ สรา้ งสรรค์ไดอ้ ยา่ งชาญฉลาดและมปี ระสทิ ธภิ าพ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทลั กบั การศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

18 “เปดิ โลกแหง่ การเรยี นรู้ สคู่ ลงั ความรูไ้ รข้ ดี จำกัด” ผลการดำเนินงาน 1. บรหิ ารจดั การเว็บไซตเ์ พอ่ื สามารถใหบ้ รกิ ารสอื่ การศกึ ษา Online บนอปุ กรณโ์ ทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ สมาร์ทโฟน แทบ็ เลต็ PC ผา่ นเว็บไซต์ทศี่ ูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาเปน็ ผ้รู ับผิดชอบดูแล จำนวน 4 เว็บไซต์ - ให้บรกิ ารรายการโทรทศั น์เพ่ือการศกึ ษาผ่านทาง www.etvthai.tv - ใหบ้ ริการรายการวิทยกุ ระจายเสยี งเพอ่ื การศกึ ษาผา่ นทาง www.moeradiothai.net - ให้บริการสอื่ เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาสำหรบั คนพกิ าร www.braille-cet.in.th - ใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาผ่านเว็บไซต์ ศท. www.cet.go.th 2. ผลติ รายการโทรทัศนร์ ายการวยั เกา๋ เลา่ อาชพี ปี 2 จำนวน 26 รายการแนะนำอาชีพทเ่ี หมาะสม สำหรับผสู้ ูงอายุ 3. ผลิตสอื่ ประชาสัมพนั ธ์/จัดกิจกรรมสง่ เสริมการใช้สอ่ื เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาไม่น้อยกวา่ 6 กิจกรรม - จดั พมิ พ์ตารางออกอากาศ สถานโี ทรทศั น์ ETV พรอ้ มจดั ส่งไปยังกล่มุ เป้าหมายจำนวน 160,000 แผน่ - จดั ทำเอกสารจอแกว้ Magazine TV จำนวน 1,700 เล่ม - จดั พิมพผ์ งั รายการสถานวี ทิ ยุศกึ ษาประจำปี 2564 เพ่อื ใชส้ ำหรับประชาสมั พนั ธ์รายการของสถานี วทิ ยศุ กึ ษา จำนวน 5,000 แผน่ - จดั พิมพ์เอกสารประชาสัมพนั ธ์สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์เพือ่ การศกึ ษากระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) ภาคภาษาไทย - องั กฤษ จำนวน 1,500 เล่ม - จดั พิมพแ์ ผ่นพับแนะนำเว็บไซตข์ องสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ์ พอื่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) จำนวน 2,000 แผน่ - จัดทำจิงเก้ลิ (กราฟิก) สถานวี ิทยุโทรทัศนเ์ พอื่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) จำนวน 1 จงิ เก้ลิ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทัล กับการศึกษาในยุคโควิด-19”.......

19 สำหรับเว็บไซต์ www.etvthai.tv ได้มีการพัฒนาปรับปรุงระบบใหม่ให้ง่ายต่อการใช้งาน จากการ สำรวจการใช้งานส่ือโดยรวมของศนู ย์เทคโนโลยีทางการศกึ ษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไดพ้ บขอ้ ประเด็นปญั หา เกี่ยวกับการเข้าใช้เว็บไซต์ www.etvthai.tv ทางศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาจึงได้มีการปรับหน้าจอใหม่ให้ดู ทันสมัยน่าสนใจ มีการปรับจอแสดงผลแบบ Responsive (ตอบสนองทันที) สามารถรองรับหน้าจอได้หลากหลาย ทงั้ คอมพวิ เตอร์ PC มอื ถือ แท็บเลต็ มกี ารพัฒนาระบบสมคั รสมาชกิ ใหส้ ามารถสมคั รได้ง่าย ผ่าน Facebook และ Gmail และสามารถแสดงผลโดยใช้ไฟล์ MP4 ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เชงิ คุณภาพ กลมุ่ เปา้ หมายได้รับความรู้ผา่ นส่ือเทคโนโลยีดิจทิ ัลที่ทันสมัยอย่างเป็นรูปธรรม สามารถเรียนรู้เพื่อการ ดำรงชีวิตภายใต้บริบทการศึกษาในยุคปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานท่ี ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุสามารถค้นหาอาชีพที่เหมาะสมสำหรับตนเอง มีรายได้เพียงพอและดำรงชีวิตใน สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ไดอ้ ย่างมีความสขุ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทัล กบั การศกึ ษาในยุคโควดิ -19”.......

20 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาของกลุม่ ประเทศอาเซียน แนวคดิ / หลกั การ ปจั จบุ ันประเทศไทยกา้ วเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี นโดยสมบรู ณ์แบบภายใตก้ ฎบตั รอาเซยี น (The ASEAN Charter) ที่มีความเชื่อมโยงและเกิดความร่วมมือด้านต่างๆ ร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นของ ประชาคมอาเซียน รวมทั้งเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีโลก โดยความร่วมมือต่างๆ ในระดับประเทศที่พัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ เกิดการเคลื่อนย้ายทรัพยากรและอื่นๆ อย่างเสรีระหว่างกัน เช่น แรงงาน ฝีมือ สินค้าบริการ การลงทุน เงินทุน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะต้องเตรียมความพร้อมของประชาชน ให้พร้อมเตรียมรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงนี้ ซึ่งสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่มีเป้าหมายเพื่อพฒั นาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัย มี การศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 สามารถแกป้ ัญหา ปรับตัว สื่อสารและทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล มี นิสัยใฝ่เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยข้อมูลจากรายงานการติดตามผลการใช้ส่ือ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาที่ผ่านมา ได้รับความพึงพอใจเป็นอย่างมาก ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ลั กับการศกึ ษาในยุคโควดิ -19”.......

21 จากกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้บริการ อีกทั้งได้รับข้อเสนอแนะให้มีการผลิตสื่อความรู้เกี่ยวกับภาษาอาเซียนอย่าง ต่อเนื่อง พร้อมให้บริการผ่านช่องทางที่หลากหลายและทันสมัย Social Media ต่างๆ ที่ประชาชนสามารถ เข้าถึงแหล่งความรู้ได้ง่าย โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ อันเป็นการสร้างโอกาสให้ตนเองมีศักยภาพ มีทักษะทจ่ี ำเป็นสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานเสรี ทเี่ กดิ ขน้ึ จากสถานการณใ์ นปัจจุบนั ดังนั้น โดยศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาซึ่งมีภารกิจหลักในการผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อส่งเสริมการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมุ่งผลิต สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย มีคุณภาพ ในรูปแบบรายการวิทยุเพื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาและสื่อการศึกษาเพื่อคนพิการที่มีเนื้อหาทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการและสถานการณ์ ในปัจจุบนั โดยนำเสนอเนือ้ หาดา้ นภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศกลุม่ อาเซยี น สอดแทรกเนือ้ หาเชิงบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ASEAN อันเป็นประตูสำคัญในการเปิดโลกกว้างใหก้ ลุม่ เป้าหมาย “รู้เขา รู้เรา” สามารถสือ่ สาร ระหว่างกันกบั ประเทศสมาชกิ เสริมสรา้ งใหป้ ระชาชนคนไทยทกุ ชว่ งวัยเป็นพลเมืองอาเซียนได้อย่างสมศักด์ิศรี ความเปน็ ไทย ผลการดำเนนิ งาน 1. ผลติ รายการโทรทัศน์เพอื่ การศกึ ษาส่งเสรมิ ความรเู้ กี่ยวกับภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน ดงั น้ี 2.1 รายการสะบายดี นี่ลาวเอง จำนวน 26 รายการ 2.2 รายการ English Battle จำนวน 26 รายการ 2.3 รายการ Halo Indonesia จำนวน 26 รายการ 2.4 รายการ มลายู เดีย๋ วรจู้ ัก จำนวน 52 รายการ ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กบั การศกึ ษาในยคุ โควิด-19”.......

22 2. ผลิตรายการวิทยุเพื่อการศึกษาส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมทงั้ ส้ิน 1,372 รายการ แบ่งเปน็ 2 ประเภทรายการ ดงั น้ี 2.1 รายการวิทยุสง่ เสรมิ การสอนภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน จำนวน 524 รายการ 2.2 รายการวิทยุส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี วถิ ขี องชาตอิ าเซียน จำนวน 848 รายการ รวมทง้ั ข่าวสารความเคลอื่ นไหวด้านต่างๆ ของอาเซียน ทัง้ นผ้ี ูร้ บั บรกิ ารสามารถดาวนโ์ หลดเอกสาร ประกอบการรับฟงั รายการภาษาอาเซยี นไดท้ ่ี www.moeradiothai.net 3. ผลติ ส่อื การศึกษาอาเซยี นสำหรับคนพกิ าร ดังนี้ - ผลติ พัฒนารายการโทรทัศน์เพ่อื การศกึ ษามีภาษามอื เพอ่ื สง่ เสริมความรเู้ ก่ยี วกับประชาคม อาเซยี น รายการนทิ านอาเซยี น จำนวน 26 รายการ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กบั การศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

23 กิจกรรมสำคัญ ปี 2563 การผลติ พฒั นาและเผยแพรร่ ายการวิทยุเพอ่ื การศึกษา ในปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาทในสังคมโลกปัจจุบันมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชน สามารถเลือกรบั สื่อและองค์ความร้ตู ่างๆ ได้หลากหลายช่องทางตามความพร้อมของแต่ละบุคคล โดยหลายคน อาจมองวา่ ปจั จบุ ันน้ีส่อื วิทยกุ ระจายเสียงเป็นส่ือที่ล้าสมยั ไม่ได้รบั ความนยิ มเทา่ ใดนกั แต่กย็ งั ไม่อาจปฏิเสธว่า คุณสมบัติที่ดีของรายการวิทยุที่เป็นสื่อราคาถูก สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่าย ครอบคลุมพื้นที่ ได้กว้างขวาง และที่สำคัญคือสื่อวิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อที่ใช้หูในการรับฟังเพียงอย่างเดียว ทำให้ไม่ต้องอาศัย การอ่านออกเขียนได้แต่อย่างใด ซึ่งสื่อวิทยุกระจายเสียงมีทั้งรูปแบบบันเทิง และมีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ ตอ่ ผู้รับฟงั ขึน้ อยกู่ ับปัจเจกบุคคลทจ่ี ะเลอื กรบั สอื่ แขนงนัน้ ตามที่ตวั เองถนดั ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กับการศกึ ษาในยคุ โควิด-19”.......

24 ตลอดระยะเวลากวา่ 60 ปีท่ผี ่านมา สถานีวิทยุศึกษา โดยศูนยเ์ ทคโนโลยที างการศึกษาได้พฒั นาชอ่ งทางเพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งนำเสนอเนื้อหาความรู้ในหลากหลายด้าน ทำให้รายการวิทยุเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญตัวหนึ่งที่จะช่วยลด ความเหล่อื มล้ำทางการศึกษาให้กับกลมุ่ เปา้ หมายท่ีอยใู่ นพ้ืนทีช่ นบทหา่ งไกล โดยปัจจบุ ันศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ได้พัฒนาการใหบ้ รกิ ารรายการวิทยุเพือ่ การศกึ ษาผา่ นทางเครือข่ายสากลท่ี www.moeradiothai.net เพ่ือให้สามารถรบั ฟงั รายการได้ ทุกท่ี ทุกเวลา ผู้รับบริการสามารถเลือกรับฟังรายการได้ทั้งรายการสด (Live Radio) และรับฟังรายการ ย้อนหลัง (Radio on Demand) ได้ไม่เกิน 6 เดือน ซึ่งผู้ฟังสามารถ Download ผังรายการของสถานีวิทยุศึกษา เอกสารประกอบการรับฟังรายการ รวมทั้งสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือรับฟังข้อติชม ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ รายการและสถานี หรือสอบถามขอ้ สงสัยตา่ งๆ จากทีมบรหิ ารงานสถานีวทิ ยศุ ึกษาได้ท่เี ว็บไซตด์ งั กล่าวน้ไี ด้ จากทิศทางการผลิตและพัฒนาแรงงานทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยที่ยึดมั่นบนจุดยืนแนวคิด “การศึกษาเพื่อพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต” ที่มุ่งส่งเสริมการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในแต่ละ ช่วงวัย ตามความพร้อมของปัจเจกบุคคล และส่งเสริมให้แต่ละบุคคลสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานที่ผ่านมากว่า 60 ปีของสถานีวิทยุศึกษา จึงเป็นสิ่งยืนยันได้ว่า การผลิตและเผยแพร่ ให้บริการรายการวิทยุเพื่อการศึกษาผ่านทางสถานีวิทยุศึกษา ก็เป็นอีกช่องทางที่ช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตมาโดยตลอด มีการผลิตรายการวิทยุเพื่อการศึกษาที่มีเนื้อหาสาระที่หลากหลาย สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายทกุ ช่วงวัยไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กับการศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

25 การเผยแพร่ออกอากาศ 1. ทางสถานีวิทยศุ ึกษา ระบบ AM ความถ่ี 1161 kHz และ ระบบ FM ความถี่ 92 MHz ทกุ วันตั้งแต่เวลา 06.00 – 24.00 น. วันละ 18 ชัว่ โมง 2. www.moeradiothai.net ทง้ั รายการสด (Live Radio) และ รายการยอ้ นหลงั (Radio on Demand) ได้ไมเ่ กนิ 6 เดือน 3. สัญญาณดาวเทียม ชอ่ ง R32 ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

26 ผลการดำเนนิ งาน กิจกรรม ผลการดำเนินงาน • จดั และผลิตรายการวทิ ยเุ พอื่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาตามหลักสูตร 58 รายการ - รายการดนตรีไทย 248 รายการ 55 รายการ - รายการกา้ วไปกับการศึกษาไทย 187 รายการ - รายการช่ัวโมงนกั อ่าน 1,324 รายการ 365 รายการ - รายการเก้าสิบสองสนทนา 375 รายการ 470 รายการ • ผลติ รายการวิทยเุ พ่ือสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 643 รายการ - รายการส่งเสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 561 รายการ 365 รายการ - รายการประเภทสง่ เสรมิ อาชพี 933 รายการ 104 รายการ - รายการส่งเสรมิ การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน 261 รายการ - รายการส่งเสรมิ คุณธรรม 52 รายการ 1,566 รายการ - รายการส่งเสริมการอา่ น 416 รายการ 257 รายการ - รายการสง่ เสรมิ อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย 153 รายการ - รายการส่งเสริมเดก็ และเยาวชน 6,570 ชวั่ โมง - รายการสาระบันเทิง • ผลิตรายการวิทยเุ พื่อส่งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร “รวมใจเป็นหนึ่ง” • ผลติ รายการข่าววิทยุเพอ่ื การศกึ ษา - รอบร้วั เสมา (วันจันทร์ - ศกุ ร์) - คยุ กนั วนั อาทิตย์ (วนั อาทิตย์) - ขา่ วตน้ ช่วั โมง (วนั จันทร์ – ศุกร)์ - ข่าวตน้ ช่วั โมง (วันเสาร์ – อาทิตย์) • ผลติ รายการวทิ ยปุ ระเภทสารคดสี ้ันเพ่อื ส่งเสรมิ การศึกษา เชน่ สานรักจากครอบครัว / เทีย่ วทัว่ ไทยไปกับมณฑิกานต์ • ถ่ายทอดเสียงจากกรมประชาสัมพันธผ์ ่านทางสถานีวิทยศุ ึกษา • บริหารจัดการควบคมุ การออกอากาศทางสถานีวิทยุศึกษา และ www.moeradiothai.net ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กับการศกึ ษาในยุคโควิด-19”.......

27 การผลิต พัฒนาและเผยแพร่รายการโทรทัศนเ์ พือ่ การศึกษา สโลแกนสถานี “ETV Thailand เสรมิ ปัญญา พัฒนาความรู้ กา้ วส่สู ากล” จากข้อมูลการเปรียบเทียบรูปแบบการรับชมรายการสดและรายการย้อนหลัง แยกตามเจเนอเรชัน ข้างต้นจะเห็นได้ว่า รูปแบบของการรับชมรายการโทรทัศน์ตามตารางออกอากาศได้รับความนิยมสูงในกลุ่มตั้งแต่ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล กับการศึกษาในยุคโควิด-19”.......

28 ช่วงวัยของกลุ่มเจเนอเรชันเอกซ์ (X) ขึ้นไป อย่างไรก็ตามในส่วนของกลุ่มเจเนอเรชันวาย (Y) และเจเนอเรชันแซด (Z) พบวา่ มีพฤตกิ รรมการรบั ชมโทรทัศน์ตามตารางออกอากาศคูข่ นานไปกับการรับชมแบบยอ้ นหลงั /ตามความตอ้ งการ เพิ่มมากขึ้นซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการแพร่ภาพออกอากาศโทรทัศน์โดยสถานีส่งสัญญาณภาพออกอากาศ จะมีฐานผู้รับชมเป็นคนช่วงวัยตั้งแต่อายุ 42 ปีขึ้นไปซึ่งสอดคล้องกับแนวโน้มของผู้รับสารทั่วโลกที่ระบุว่า โทรทัศน์คือพื้นที่ของประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป สำหรับการรับชมแบบย้อนหลังหรือการรับชมรายการ ตามความตอ้ งการ (ออนดีมานด์) ไม่ว่าจะผ่านเว็บไซต์หรือผ่านแอปพลิเคชันจากทั้งสถานีโทรทศั น์และสื่อสังคม ออนไลน์จะพบว่ากลุ่มเจเนอเรชันแซด (Z) มีสัดส่วนการรับชมย้อนหลังสูงกว่าการรับชมตามตาราง การออกอากาศ ซึ่งสะท้อนถึงพฤติกรรมการเป็นชาวดิจิทัลโดยกำเนิด (Digital Native) โดยที่การรับสาร ของคนรุ่นใหม่มแี นวโน้มรบั ข้อมูลข่าวสารบนแพลตฟอร์มอินเทอรเ์ นต็ สูงข้ึนอยา่ งชดั เจน ปัจจุบันกระแสความนิยมการรับชมรายการผ่านอินเทอร์เน็ต หรือ Over-the-Top (OTT) เพิ่มขึ้น และผู้ให้บริการหลากหลายขึ้น ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ทำให้ พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภคหรือผู้ชมส่วนใหญ่หันมาใช้สื่อออนไลน์มากขึ้นทำให้ สื่อโทรทัศน์มีการปรับตัว โดยขยายแพลตฟอร์มของตัวเองสู่โลกออนไลน์ ซึ่งปัจจุบันบนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย อยา่ งเช่น Netflix , Disney+ YouTube ไดร้ บั ความสนใจจากผู้บรโิ ภคเปน็ อย่างมาก สอ่ื โทรทศั น์ก็เช่นเดยี วกัน ต้องการปรับตัวให้ทันกับเทคโนลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ต้องมีการนำเสนอเนื้อหา (Content) ผา่ นแพลตฟอรม์ โซเชยี ลมีเดยี เพื่อเพิม่ โอกาสและเพม่ิ ช่องทางการรบั ชมรายการโทรทศั น์อกี ชอ่ งทางหน่งึ โทรทัศน์ เป็นสื่อที่มีอิทธพิ ลต่อประชาชนในหลายด้าน อาทิ ความคดิ ความเชื่อ พฤติกรรม และ การใช้ชีวิต การเปลี่ยนไปสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลจึงส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน จากความสามารถ ในการเขา้ ถึงข้อมูลข่าวสารที่หลากหลายมากย่ิงขึ้น ทำใหเ้ กดิ การพัฒนาทางดา้ นความเปน็ อยู่ ความคิด ความเข้าใจ ต่อสังคมภายนอก และมีโอกาสที่จะเลือกในสิ่งที่ตรงกับความต้องการของตนเองมากยิ่งขึ้น กว่า 25 ปี ที่กระทรวงศึกษาธิการดำเนินการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) ขึ้น ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

29 โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 12 สิงหาคม 2537 เรื่อยมา ได้พัฒนาคุณภาพการผลิตและการเผยแพร่ ออกอากาศของสถานีมาอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์ (ผ่านดาวเทียม ระบบ KU-Band) จากสำนักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) มุ่งหวังที่จะนำ โทรทัศนเ์ พ่ือการศกึ ษามาเป็นเคร่ืองมือ ในการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แกก่ ลุ่มเป้าหมายต่างๆ ท่ีหลากหลาย ท่ัวประเทศ ท้งั ประชาชนทัว่ ไป นกั ศึกษานอกระบบโรงเรยี น นักเรียนในระบบโรงเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เด็ก เยาวชนและครอบครัว ผ้ดู อ้ ยโอกาส ผูพ้ กิ ารและผ้เู กย่ี วข้อง เพื่อสง่ เสรมิ ความรู้ สนบั สนนุ การจดั การศึกษา ในทุกมิติ ส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โดยคำนึงถึงการทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมาย รวมทัง้ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการเรียนการสอนให้เท่าเทียมกันระหว่าง เมอื งกบั ชนบท นอกจากการพัฒนาคุณภาพด้านการผลิตและการออกอากาศอย่างต่อเนื่องแล้ว ทางสถานี ETV ได้พัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการโดยการขยายช่องทางการรับชมผ่านช่องทางต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ SmartPhone และแท็บเล็ต ให้สามารถรองรับพฤติกรรมการใช้งานของกลุ่มเป้าหมายรุ่นใหม่ได้ โดยปัจจุบันสถานีได้พัฒนาการให้บริการรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาผ่านทางเครือข่ายสากลที่ www.etvthai.tv เพ่ือใหผ้ ้รู ับบริการสามารถเลือกรับชมรายการไดท้ ั้งรายการสด (Live TV) และรายการย้อนหลงั ตามต้องการ (TV on Demand) อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ชมรายการสามารถ Download ตารางออกอากาศ เอกสาร ประกอบการรับชมรายการ รวมทั้งยังสามารถใช้กระดานถาม-ตอบ สอบถามข้อสงสัยได้โดยตรงกับทีม บรหิ ารงานสถานี ETV ไดโ้ ดยตรง ข่าวสาร สาระทางการศึกษา ก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) ให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง มุ่งหวังให้กลุ่มเป้าหมายทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กบั การศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

30 รับรู้ถึงข้อมูลความเคลื่อนไหวด้านการศึกษาในประเด็นต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยนอกจากการ เผยแพร่ออกอากาศรายการข่าวการศึกษาผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) แล้ว ยังได้พัฒนาช่องทางการเผยแพร่ เพิ่มอีก 1 ช่องทาง คือ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Youtube ซึ่งเป็นช่องทางที่ผู้รับชม สามารถรับชมและ Download ข่าวการศกึ ษาดงั กลา่ วนไี้ ด้ท่ี etvnews thai การเผยแพรอ่ อกอากาศรายการโทรทศั นเ์ พือ่ การศกึ ษา สามารถรับชมรายการของสถานี ETV ไดต้ ้งั แต่เวลา 06.00 – 24.00 น. ทุกวนั วนั ละ 18 ช่วั โมง โดยมีช่องทาง ดงั นี้ 1. ผ่านอปุ กรณช์ ุดรับสญั ญาณผ่านดาวเทยี ม ระบบ KU Band  PSI ชอ่ ง 201  TRUE 371  DTV-HD ทีช่ อ่ ง 201  Good TV ชอ่ ง 185  GMMZ ชอ่ ง 332 2. ผ่านระบบ IPTV (Internet Protocol Television) ท่ี  3BB IPTV ช่อง 99  TOT IPTV ช่อง 551 3. ผา่ นทางเคเบิลทีวที ้องถนิ่ ทว่ั ประเทศ 4. ทางอินเทอรเ์ น็ตท่ี www.etvthai.tv ท้งั ในลกั ษณะรายการสด และรบั ชมย้อนหลงั 5. ทางโทรศพั ท์มอื ถอื สมารท์ โฟนที่ www.etvthai.tv/m ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทลั กบั การศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

31 ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งาน 34 รายการ กจิ กรรม 20 รายการ • จดั และผลติ รายการ “สายใย กศน.” • ผลติ รายการ “พัฒนาครู สกู่ ารสอน” 26 รายการ • ผลติ รายการโทรทัศนเ์ พื่อสง่ เสริมการศกึ ษาตลอดช่วงชวี ติ เชน่ 26 รายการ 26 รายการ - รายการ “สุขพอ ขอปัน” 312 รายการ - รายการ “กศน.ออนไลนพ์ ลัส” - รายการ ปลอ่ ยใจไปกบั ธรรม 2,190 รายการ • ผลิตรายการข่าวโทรทัศน์เพ่อื การศึกษา รายงานขา่ วสารความเคลื่อนไหว และความก้าวหนา้ ทางการศกึ ษาในดา้ นตา่ งๆ 148 รายการ / • ผลิตรายการ “ผปู้ ระกาศแจ้งรายการประจำวัน / รายการค่นั / รายการแทรก / 564 ตอน สปอต / จิงเกลิ สถานี” 8,928 คร้งั • จดั หารายการโทรทศั นจ์ ากหน่วยงานเครือขา่ ย เพื่อออกอากาศ ทางสถานี ETV 6,570 ช่วั โมง 365 รายการ • จัดทำตัววงิ่ ประชาสัมพันธร์ ายการและกจิ กรรมตา่ งๆ ผ่านทางสถานี ETV • ควบคุมการออกอากาศทางสถานี ETV และ www.etvthai.tv • จดั ทำกราฟกิ แจง้ รายการประจำวัน ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กับการศึกษาในยุคโควดิ -19”.......

32 การผลติ พฒั นาและเผยแพร่สอ่ื การศึกษา Online นอกจากการมุ่งเน้นการผลิต พัฒนาเนื้อหาผ่านสื่อที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมแก้ไข ปัญหาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาไทยให้ดีขึ้นแล้ว บทบาทสำคัญอีกประการที่ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ให้ความสำคัญ คือ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย มีโอกาสเข้าถึงการศึกษา อย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ จงึ มงุ่ พฒั นาการใหบ้ ริการผา่ นเครอื ข่ายสากล ที่ www.cet.go.th ซงึ่ เปน็ อีกช่องทางหนึ่ง ที่ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาสามารถให้บริการกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวางและมีประสิทธิภาพ โดยรวบรวมสื่อการศึกษา Online ในรูปแบบของบทเรียน e – Learning ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษานอกระบบ พุทธศักราช 2551 รวมทัง้ หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน นอกจากเว็บไซต์แล้ว ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาได้มีการพัฒนาช่องทางการนำเสนอสื่อ Online บนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียโดยนำเสนอผ่านช่อง Youtube เมื่อปี พ.ศ. 2562 ได้มีการวิเคราะห์ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายจากการสำรวจแล้วนำเนื้อหาที่มีความสนใจนำเสนอผ่านช่อง Youtube ซึ่งปัจจุบันศูนย์เทคโนโลยี ทางการศกึ ษามี content ทีน่ า่ สนใจจดั เปน็ หมวดหมู่ถึง 3 ชอ่ ง Youtube ดว้ ยกนั ดังนี้ • Youtube ช่อง ETV สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา เป็นช่องที่นำเสนอความรู้ เช่น รายการสอน เสริมวิชาสามัญ (กศน.) สื่อเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล สื่อเรียนรู้วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม สื่อส่งเสริมทักษะชีวิต (สุขภาพกาย สุขภาพจิต ธรรมะ ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์) สื่อรายการเด็ก และครอบครวั • Youtube ช่อง ETV ติวเข้มออนไลน์ เป็นช่องที่นำเสนอความรู้ด้านการศึกษา เช่น สื่อการศกึ ษาของ กศน. ระดับ ประถมศกึ ษา ม.ตน้ / ม.ปลาย สอ่ื การเรียนร้วู ชิ าสามัญ • Youtube ช่อง NFE กศน.สอ่ื สร้างอาชีพ สรา้ งรายได้ เปน็ ชอ่ งที่นำเสนอความรดู้ า้ นอาชพี ต่างๆ เชน่ การประกอบอาหาร งานประดษิ ฐ์งานถัตกรรม สารพันอาชพี ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาได้มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร แนะนำสื่อรายการโทรทัศน์ ผ่าน Line official Account และ Facebook Fanpage ช่อง ETV สอื่ ดิจทิ ัลเพ่ือการศึกษา ทัง้ น้ี ยังใหบ้ ริการส่ือการศกึ ษา Offline ในรูปแบบ VCD DVD CD และ MP3 สำหรับผู้สนใจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางมากย่งิ ขึ้น ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทลั กบั การศึกษาในยุคโควดิ -19”.......

33 การดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงาน 1. พัฒนาและจดั การเว็บไซต์ www.cet.go.th 1 เว็บไซต์ 2. บรกิ ารสือ่ การศึกษาในระบบออนไลน์ผา่ นช่อง You tube 3,572 รายการ • You tube ชอ่ ง ETV ส่อื ดิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา 452 รายการ • You tube ช่อง ETV ตวิ เข้มออนไลน์ 396 รายการ • You tube ช่อง NFE กศน. สื่อสรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ 1,208 ข้อความ 3. ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร แนะนำสื่อรายการโทรทัศน์ ผ่าน Line official Account ช่อง ETV สื่อดิจิทัล และ พี่ติวเข้ม ETV Facebook Fanpage ช่อง ETV สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา และ ช่อง ETV ติวเขม้ ออนไลน์ ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กบั การศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

34 การผลิต พัฒนาและเผยแพร่ส่อื การศกึ ษาเพ่ือคนพิการ ศูนยเ์ ทคโนโลยที างการศกึ ษาใหค้ วามสำคัญกับกลุ่มเป้าหมายคนพกิ าร จึงม่งุ เนน้ การสร้างโอกาส ในการเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป โดยผลิต พัฒนาและเผยแพร่สื่อการศึกษาเพื่อคนพิการ และผู้เกี่ยวข้องกับคนพิการทุกประเภท เช่น บุคคลที่มีความบกพร่องทางสายตา บกพร่องทางการได้ยิน บุคคลออทสิ ติก รวมทงั้ บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปัญญา เป็นต้น คนที่บกพร่องทางการได้ยินมีอุปสรรคในการสื่อสาร ด้วยข้อจำกัดทางการได้ยิน การเข้าถึง สื่อโทรทัศน์ที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารที่สามารถมองเป็นภาพเคลื่อนไหวได้ ดังนั้นรายการโทรทัศน์ภาษามือ จึงเป็นช่องทางสื่อสารสำคัญสำหรับคนหูหนวก คนหูตึง และคนที่สูญเสียการได้ยินภายหลัง ให้สามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์ได้ ภาษามือเป็นภาษาหลักของคนพิการทางการได้ยิน คนกลุ่มนี้จำนวนมาก ในประเทศไทยมีปัญหาในการอ่านเขียนภาษาไทย บางครั้งพวกเขาจะอ่านคำบรรยายแทนเสียง (Captions) ไม่ทนั และลา่ มภาษามือท่ีมุมโทรทัศนม์ ีขนาดเล็กเกินไป รายการโทรทัศน์ภาษามือเต็มจอจึงเป็นวิธีท่ีทำให้คนหู หนวกสามารถเข้าใจเนื้อหาของรายการได้ และสามารถเขา้ ถึงข้อมลู ขา่ วสารทางโทรทศั นไ์ ด้ตามสิทธิการเข้าถึง ขอ้ มลู ข่าวสารพ้ืนฐานอย่างเทา่ เทียมกับคนท่ัวไป ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทัล กับการศกึ ษาในยคุ โควิด-19”.......

35 ส่วนสื่อการศึกษาเพื่อคนพิการในฐานะผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ภาษามือได้ทำความเข้าใจ ถึงข้อจำกัดดังกล่าว และเรียนรู้วิธีการสื่อสารเพื่อให้คนพิการทางการได้ยินสามารถเข้าถึงหรือรับรู้และ ใช้ประโยชน์จากรายการโทรทัศน์ จึงนำรายการนิทานอาเซียนมาพัฒนาให้เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจอล่าม ภาษามอื ขนาดใหญ่ Bigsign ซ่งึ เป็นภาษามอื ขนาดใหญ่ครึ่งจอโทรทัศน์ สำหรบั รายการโทรทัศน์ที่มีการบริการ ล่ามภาษามือในลักษณะควบคู่ไปกับจอรายการปกติที่มีเสียงพากย์ เสียงพูดของพิธีกร และมีคำบรรยายตลอดทั้งรายการ การบริการล่ามภาษามอื ที่มีขนาดใหญ่เป็นวิธีที่ทำให้คนที่บกพร่องทางการได้ยนิ สามารถมองเห็นท่าทางภาษามือ ได้ชัดเจนสามารถเข้าใจเนื้อหาของรายการได้ รายการโทรทัศน์ที่มีภาษามือขนาดใหญ่นับว่าเป็นเรื่องใหม่ สำหรับประเทศไทยทที่ ำใหค้ นท่ีบกพรอ่ งทางการได้ยินสามารถรบั ชมรายการโทรทัศนร์ ว่ มกับคนปกตไิ ด้ ซ่ึงถือได้ว่า เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนควรจะได้รับบริการอย่างทั่วถึง ช่วยให้คนพิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร สาระความรู้และความบันเทิง นอกจากนยี้ งั สร้างความตระหนักและตื่นตัวในการรักษาสิทธขิ องตนเองอกี ดว้ ย ประกอบกับคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทศั นแ์ ละกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะที่เป็นหน่วยงานกำกับและดูแลการประกอบกิจการโทรทัศน์ได้ออกประกาศ ได้ออกประกาศ (2560) เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของ กิจการโทรทศั น์กําหนดให้การประกอบกจิ การตอ้ งมีบริการพื้นฐานทที่ าํ ให้คนพกิ ารสามารถเข้าถึงหรือรับรู้และ ใชป้ ระโยชนจ์ ากรายการของกิจการโทรทัศนไ์ ด้อยา่ งเสมอภาคกบั บคุ คลทัว่ ไป โดยกาํ หนดเป็นมาตรการพน้ื ฐาน ให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์สําหรับการให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล ต้องจัดให้มีบริการให้สอดคล้องกับรูปแบบของแต่ละรายการ โดยอย่างน้อยตอ้ งมีสดั ส่วน บริการล่ามภาษามอื อย่างน้อยร้อยละ 5 ของสัดส่วนรายการที่เป็นข่าวสารหรือสาระที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะตามประเภท การประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาต และต้องจัดให้มีเพิ่มขึ้นจนถึงรอ้ ยละ 9 ภายในระยะเวลาที่กําหนด ในภาคผนวก ซงึ่ เมอ่ื รวมเวลาทจ่ี ัดใหม้ ีบริการดังกล่าวตลอดท้งั วันเฉลีย่ แล้วตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่าหกสบิ นาทีต่อวนั ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ลั กบั การศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

36 ผลิต พฒั นา เผยแพร่ส่ือการศกึ ษาเพอื่ คนพกิ าร ดังน้ี การดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งาน 202 รายการ • ผลิตรายการหนังสือเสยี งเพ่อื การศกึ ษาตามหลักสตู ร กศน. เช่น ช่องทางการเข้าสู่อาชพี ช่องทางการขยายอาชีพ พัฒนาอาชพี 4,440 แผน่ ให้มีอยูม่ ีกิน สังคมศกึ ษา เปน็ ต้น 359 แหง่ 5,142 หนา้ เบรลล์ • สำเนาหนงั สือเสียงออกเผยแพร่ • สำเนาส่ือการศกึ ษาเพอ่ื คนพกิ ารไปยังหนว่ ยงานตา่ งๆ เช่น 572 เรอื่ ง • พิสูจน์อักษรเบรลล์เพ่อื จดั ทำหนงั สือเบรลลเ์ พอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 31 บทความ 27 รายการ กลมุ่ เป้าหมายคนพิการ 242,039 คน • ใหบ้ รกิ ารสอื่ การศึกษาเพ่ือคนพิการทาง www.braille-cet.in.th ดงั น้ี • เผยแพร่ขา่ วสารประจำวนั / ข่าวสารดา้ นการศึกษา • จัดทำบทความเผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ • เผยแพรไ่ ฟลห์ นงั สอื เบรลลต์ ามอัธยาศัย / บทความทเี่ ก่ยี วขอ้ ง กบั การศึกษา / เทคโนโลยเี พอื่ คนพกิ าร • มจี ำนวนผรู้ ับบรกิ ารสื่อการศกึ ษาเพอ่ื คนพกิ ารทาง www.braille-cet.in.th ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กบั การศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

37 การพฒั นาบคุ ลากรศนู ยเ์ ทคโนโลยที างการศึกษา ยุคศตวรรษที่ 21 เป็นยุคที่โลกและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โลกทั้งโลกสามารถ เชื่อมโยงเชื่อมต่อกันได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว สามารถรับรู้ข่าวสาร เรื่องราวที่เกิดขึ้นอีกซีกโลกได้อย่าง รวดเร็ว องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั่วโลกก็จำเป็นต้องปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงที่เกิดขึน้ ซึ่งหมายความรวมถึงองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ของไทยเช่นกัน ต้องปรับตัว พัฒนาให้ สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับทิศทางความเจริญกา้ วหน้าตา่ งๆ ของโลก ซงึ่ ผ้ทู ี่จะขบั เคล่ือนการดำเนินงาน ขององคก์ รหรือหน่วยงานใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงนั่นกค็ ือ บคุ ลากร ขององค์กรหรอื หนว่ ยงานน่ันเอง ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นหน่วยงานสำคัญของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ที่มีหน้าที่หลักในการดำเนินงานด้านการผลิต พัฒนาและ เผยแพร่สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียนและ การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลากว่า 38 ปี ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาเล็งเห็นความสำคัญ ของบุคลากร ซึ่งถือเป็นทรัพยากรของหน่วยงานที่มีส่วนสำคัญอย่างมาก ในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของหน่วยงานใหป้ ระสบผลสำเร็จตามเป้าหมายทีไ่ ด้ตง้ั ไว้และเป็นผ้ทู ่พี ฒั นาหน่วยงานให้เจริญก้าวหน้า เกิดการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องเสมอมา ทำให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาจึงจัดสรร งบประมาณสำหรับการพฒั นาบุคลากรเปน็ ประจำทุกปอี ยา่ งต่อเนื่องเร่อื ยมา ในปีงบประมาณ 2564 ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาก็ยังคงดำเนินการจัดสรรงบประมาณ สำหรับการพัฒนาบุคลากร โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทุกคนได้มีโอกาส เข้าถึงความรู้ พัฒนาตนเองให้มีทักษะที่ สามารถนำไปใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน การดำเนินชีวิตประจำวัน และสามารถให้ความช่วยเหลือผู้อื่นได้ กอ่ ใหเ้ กิดสมรรถะในการปฏิบัติงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ นอกจากที่ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษามุ่งพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) แลว้ ยงั เห็นความสำคัญของการเผยแพร่ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ประสบการณว์ ิชาชีพดา้ นเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาที่มภี ายในหนว่ ยงานสู่สาธารณชน รวมท้ังสนบั สนุนใหน้ ิสติ นักศึกษามีโอกาสพฒั นาความรู้และ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเพิ่มเติมจากการศึกษาในสถานศึกษา ก่อนเข้าไปสู่การปฏิบัติงานที่แท้จริง ในอนาคตภายใตช้ ่ือ “โครงการพฒั นาประสบการณว์ ชิ าชพี ด้านเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา” ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ิทลั กับการศึกษาในยุคโควดิ -19”.......

38 กิจกรรม / ผลการดำเนนิ งาน จดั หลักสูตรอบรมให้แกบ่ คุ ลากรภายในหน่วยงาน “เทคนิคการเขียนขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2563 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้เรื่องหลักเกณฑ์และเทคนิคการเขียนขอบเขตรายละเอียดโครงการได้อย่างถูกต้อง และเสริมพัฒนาทักษะการเรียนขอบเขตรายละเอียดโครงการและการร่างขอบเขตงานหรือรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ต้องดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 67 คน จัดส่งบุคลากรศนู ย์เทคโนโลยที างการศกึ ษาเขา้ รับการอบรมกับหน่วยงานเครอื ข่าย จำนวน 2 หลักสตู ร มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 3 คน โดยหลักสูตรที่จัดส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมกับหน่วยงาน เครอื ข่าย ดงั นี้ 1. อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารโครงการศูนยด์ ิจิทัลชุมชนหลกั สูตร การใช้งานโปรแกรมสำนกั งานเพื่อสร้างโอกาส การมงี านทำให้กบั บุคลากรสงั กดั สำนักงาน กศน. รุน่ ท่ี 2 มผี ู้เขา้ รบั การอบรม จำนวน 2 คน 2. อบรมหลักสตู รโซลา่ เซลล์ ผู้เข้ารบั การอบรม จำนวน 1 คน ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กบั การศกึ ษาในยคุ โควดิ -19”.......

39 การวจิ ยั สำรวจและตดิ ตามผลด้านเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษามองเห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูลสารสนเทศ เพราะข้อมูล สารสนเทศที่ถูกต้อง เชื่อถือได้และเป็นปัจจุบัน ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ เพื่อกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนางานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การติดตามผลการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยปีงบประมาณ 2564 เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ ที่เก็บ รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ การติดตามผลการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อดิจิทัล ที่ผลิต พัฒนาและเผยแพร่โดย ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งเผยแพร่ให้บริการกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ( ETV) วิทยุเพื่อการศึกษา สื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน และสื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา โดยศึกษาเกี่ยวกับการให้บริการและการใช้ ปัญหาและข้อเสนอแนะ และแยกประเด็นสำคัญสำหรับความต้องการ เนอ้ื หาของกลุม่ เป้าหมาย เพอ่ื เปน็ ข้อมูลไปใช้ในการผลติ และเผยแพรส่ ่อื เทคโนโลยดี ิจิทลั ของศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา และตอบตัวชว้ี ดั ตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการให้กบั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยการติดตามผลการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2564 มกี ลุ่มตวั อยา่ งดังน้ี กลุ่มที่ 1 (เชิงปริมาณ)กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู กศน.ตำบล คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่าง 5 ภาค จำนวน กศน.อำเภอละ 4 ตำบล ตำบลละ 1 คน รวมทัง้ ส้นิ จำนวน 198 คน กลุม่ ที่ 2 (เชงิ ปรมิ าณ) กลุ่มตวั อย่าง ไดแ้ ก่ นกั ศึกษา กศน. คดั เลอื กโดยการสุ่มตวั อย่าง 5 ภาค คอื จำนวน กศน.อำเภอละ 4 ตำบล ตำบลละ 2 คน รวมทงั้ สิ้น จำนวน 372 คน ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

40 โดยจากการศึกษา มีข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการดำเนินงานดังนี้ สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลที่นิยมใช้ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมากที่สุด ของ กศน.ตำบล คือ สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา (รอ้ ยละ 67.68) รายการโทรทัศน์ ETV (รอ้ ยละ 31.82) การใหบ้ รกิ ารและการใช้สื่อโทรทัศน์เพอื่ การศึกษา ETV ส่วนใหญ่มีชุดรับสัญญาณรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที่ใช้งานได้ คือ ระบบ KU-BAND (ร้อยละ 60.10) มีการ ให้บริการและใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) ได้แก่ รับชมทางโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (ร้อยละ 79.80) มีเนื้อหารายการ ETV ที่รับชมเป็นประจำ ได้แก่ รายการ ติวเข้มเติมเต็มความรู้ (ร้อยละ 65.15) คือรายการเพื่อ ส่งเสริมการศึกษาสายสามัญ (ร้อยละ 53.54) มีความพึงพอใจในการรับชมรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ETV พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก การให้บริการและการใช้วิทยุเพื่อการศึกษา เคยรับฟังทางอินเทอร์เน็ต www.moeradiothai.net (ร้อยละ 18.69) โดยมีการนำรายการวิทยุศึกษาไปใช้ในการส่งเสริมการศึกษานอกระบบ (ร้อยละ 20.20) มีการรับฟังรายการวิทยุทั่วไป ผ่านทางช่องทางโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (ร้อยละ 44.95) ผา่ นทางเครือ่ งรับวิทยุ (ร้อยละ 27.78) มีการรบั ฟงั รายการวทิ ยทุ ่วั ไป ในรปู แบบรับฟังรายการสด (ร้อยละ 46.97) และรับฟังรายการย้อนหลัง (ร้อยละ 45.96) การให้บริการและการใช้สื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน มีการให้บริการสื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ร้อยละ 94.44) มีประเภทสื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนมีให้บริการ ได้แก่ สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา (ร้อยละ 60.10) มีปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการสื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คือ นักศึกษาประชาชนไม่ค่อยให้ความสนใจ (ร้อยละ 44.44) สื่ออาเซียนค่อนข้างเก่า ชำรุด ไม่ทันสมัย (ร้อยละ 42.93) มีความพึงพอใจต่อรายการเพือ่ ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน พบว่าโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก การให้บริการและการใช้สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา ส่วนใหญ่มีความพร้อมด้านโครงข่ายการให้บริการสื่อดิจิทัล โดยมีการติดตั้งโครงข่ายอินเทอร์เน็ต WIFI ความเร็วสูง (ร้อยละ 99.44) ส่วนใหญ่มีความพร้อมด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับให้บริการสื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา คือ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการไม่เพียงพอ (ร้อยละ 42.42) ใช้ส่ือ ดิจิทลั โดยการศึกษาจากโทรศัพท์สมารท์ โฟนหรือแท็บเลต็ ของตนเอง (รอ้ ยละ 75.25) สว่ นใหญใ่ ชบ้ ริการส่ือดิจิทัล เพื่อศึกษาค้นคว้าเนื้อหาความรู้ต่างๆ (ร้อยละ 83.84) ศึกษาบทเรียน Online (ร้อยละ 75.76) ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม (ร้อยละ 69.19) ติดต่อสังคม Online (ร้อยละ 54.55) ศึกษาแนวทางเพื่อประกอบอาชพี (ร้อยละ 43.43) มกี ารนำสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) มาใชใ้ นการส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดแ้ ก่ Line (ร้อยละ 96.97) รองลงมา คือ Facebook (ร้อยละ 92.93) Google Classroom (ร้อยละ 68.69) โดยส่วนใหญ่ ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการและการใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือการศึกษา คือ ไม่มีคอมพิวเตอร์ให้บริการ คอมพิวเตอร์ ไม่เพียงพอ (ร้อยละ 64.65) อุปกรณ์มีให้บริการไมเ่ พียงพอ ไม่เอื้ออำนวยในการให้บริการ และคุณภาพต่ำ (ร้อยละ 51.52) ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจทิ ัล กับการศกึ ษาในยคุ โควิด-19”.......

41 ผลการศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการพฒั นาการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ข้อเสนอแนะในการใช้บริการโทรทศั น์เพื่อการศึกษา ETV พบวา่ ด้านบริหารจัดการ คือ ควรมีการประชาสัมพันธ์สื่อ ETV วิธีการรับชมรายการ ETV ย้อนหลัง และ ช่องทางการเข้าถึงสื่อ ETV ให้มากขึ้นเป็นไปอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง เช่น การจัดอบรมครูในการใช้และเข้าถึง สื่อ ETV เป็นต้น (ร้อยละ 19.18) เวลาตารางในการออกอากาศไม่ตรงกับเวลาที่ลงทะเบียนเรียน (ร้อยละ 9.59) ควรนำเสนอสอ่ื ออนไลนค์ วบคกู่ ับการออกอากาศท่วั ไป (รอ้ ยละ 5.48) ด้านคุณภาพรายการ คือ เนื้อหาวิชาสายสามัญควรมีความยาวไม่เกิน 5 – 10 นาที และเนื้อหา รายการดีมาก มีประโยชน์ สามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนได้ดี มีการสอนเชิงสนุกสนาน ไม่น่าเบ่ือ (ร้อยละ 8.22 เท่ากัน) วิทยากรหรือผู้ดำเนินรายการควรเพิ่มเทคนิคการสอน ทำให้รายการน่าตื่นเต้นมีความน่าสนใจ กระชับ และเข้าใจงา่ ย (รอ้ ยละ 6.85) ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ คือ ควรจัดสรรอุปกรณ์ที่ทันสมัยให้กับ กศน.ตำบล เช่น Smart TV เพื่อทำให้ การใชง้ านดยี ่ิงข้ึน (ร้อยละ 9.59) และขาดงบประมาณในการซอ่ มบำรุงรกั ษาอปุ กรณ์ (รอ้ ยละ 2.74) แนวทางในการใชร้ ายการวทิ ยุศกึ ษา พบว่า ด้านบริหารจัดการ คือ ประชาสัมพันธ์แนะนำการเข้าถึงสื่อและการเข้าใช้วิทยุศึกษาที่หลากหลาย ช่องทางให้กับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป เช่น ผ่านสื่อออนไลน์ Facebook ผ่านมือถือ Smart Phone ส่ง Link รายการที่น่าสนใจให้กลุ่มเป้าหมาย ขอความร่วมมือกับผู้นำหมู่บ้านเปิดเสียงตามสายรายการวิทยุศึกษา ในช่วงเช้าหรือเย็น เป็นต้น (ร้อยละ 77.78) ควรจัดรายการวิทยุแบบ Facebook Live และแบบ Live สด (ร้อยละ 8.34) ควรพัฒนาวิทยุศกึ ษาใหเ้ ป็นแบบ Application (ร้อยละ 5.56) ด้านคณุ ภาพรายการ คือ ควรมีการเปิดเพลงค่ันรายการ (ร้อยละ 2.78) ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ คือ สนับสนุนอุปกรณ์ในการศึกษา และควรมีการขยายคลื่นความถี่ให้ ครอบคลุมทั่วประเทศ (ร้อยละ 2.78 เท่ากนั ) ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศึกษาในยคุ โควดิ -19”.......

42 แนวทางในการพัฒนาการให้บริการสอ่ื การศกึ ษาเพอ่ื สง่ เสรมิ ความรูเ้ กี่ยวกบั ประชาคมอาเซยี น พบว่า ด้านบริหารจัดการ คือ ควรทำสื่ออาเซียนให้มีหลากหลายรูปแบบ ทันสมัย และมีรูปแบบน่าสนใจ (ร้อยละ 44.44) ควรประชาสัมพันธ์สื่ออาเซียนและช่องทางการเข้าถึงที่หลากหลายช่องทาง เช่น สื่อออนไลน์ จัดส่งสื่ออาเซยี นให้ กศน.ตำบล (รอ้ ยละ 26.66) ด้านคุณภาพรายการ คือ ควรนำเสนอรายการเกี่ยวกับกลุ่มประเทศอาเซียน ด้านการทำอาหารของ ประเทศกล่มุ อาเซียน (ร้อยละ 4.44) ควรมกี ารพัฒนารปู แบบรายการสอื่ อาเซยี นให้มคี วามแตกตา่ ง และควรทำเป็นคลปิ สั้นๆ ใสเ่ นือ้ เพลงที่ทนั สมยั เหมาะกบั วัยรุน่ (รอ้ ยละ 2.22 เท่ากนั ) ดา้ นเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ คอื จัดสรรอปุ กรณ์ทที่ ันสมยั ใหก้ ับ กศน. ตำบล (รอ้ ยละ 2.22) แนวทางในการพฒั นาการให้บรกิ ารและใชบ้ รกิ ารส่ือดจิ ทิ ัล พบว่า ด้านบริหารจัดการ คือ ประชาสัมพันธ์การเข้าให้และช่องทางการเข้าถึงสื่อดิจิทัลให้มากขึ้น และ มีชอ่ งทางที่หลากหลาย (รอ้ ยละ 19.57) ควรมีการอัพโหลดสื่อดจิ ิทลั ใหม้ ากขนึ้ และควรมีการจัดอบรมเก่ียวกบั การสบื คน้ ขอ้ มลู ออนไลน์ใหก้ ับนักศึกษา (ร้อยละ 2.17 เทา่ กนั ) ด้านคุณภาพรายการ คือ ควรจัดหมวดหมู่ให้มีความชัดเจน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ มีการจดั รายการทด่ี ี เป็นชอ่ งทางการเรียนรู้ทม่ี ีประโยชน์มาก (ร้อยละ 4.35 เทา่ กนั ) ควรมีการพัฒนาเนื้อหาท่ี นำเสนอและสื่อให้มคี วามทันสมัย (ร้อยละ 4.28) ต้องการให้นำเสนอสื่อเกีย่ วกับติวเข้ม กศน. ให้มากขึ้น และ ตอ้ งการใหม้ แี บบทดสอบออนไลน์ เพ่ือเป็นการประเมนิ ความรู้ (ร้อยละ 2.17 เท่ากนั ) ด้านเคร่ืองมือและอุปกรณ์ คือ ควรสนบั สนุนงบประมาณ และจัดสรรอุปกรณใ์ ห้บริการให้เพียงพอ ทันสมยั และมคี ุณภาพ (ร้อยละ 47.83) ควรปรับปรุงระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทุกแหง่ (ร้อยละ 10.87) ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศกึ ษาในยุคโควิด-19”.......

43 ผลการศึกษาความต้องการด้านเนื้อหาเพื่อใช้ในการผลิตและเผยแพร่เทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับความต้องการของผ้รู บั บรกิ าร ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ต้องการเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ (ร้อยละ 28.00) รองลงมา คือ วิชาคณิตศาสตร์ (ร้อยละ 27.20) วิชาวิทยาศาสตร์ (ร้อยละ 19.60) วิชาภาษาไทย (ร้อยละ 14.40) วิชาเลือกบังคบั (รอ้ ยละ 8.80) วชิ าอนื่ ๆ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.00 ตามลำดบั แบง่ รายละเอียดแต่ละวชิ า ดังนี้ ด้านการศึกษาอาชีพ ด้านเกษตรกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ต้องการเนื้อหาด้านโคกหนองนา โมเดล (ร้อยละ 9.87) รองลงมา คือ เกษตรปลอดสารพิษ (ร้อยละ 5.92) ด้านช่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ต้องการเนื้อหาด้านช่างไฟฟ้า (ร้อยละ 17.81) รองลงมา คือ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 15.07) ชา่ งซ่อมโทรศัพทม์ ือถอื (รอ้ ยละ 10.27) ด้านอาชีพอิสระ พบวา่ กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญ่ตอ้ งการเน้ือหาด้านการ คา้ ขายออนไลน์ (รอ้ ยละ 23.89) รองลงมา คอื เสริมสวย (ร้อยละ 16.81) ช่างตดั ผม (รอ้ ยละ 12.39) การนวด เพอื่ สุขภาพ/นวดแผนไทย (ร้อยละ 7.96) ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย เนื้อหาสำหรับเด็กและเยาวชน คือ กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ต้องการเนื้อหา ด้านนิทานสำหรับเด็กและเยาวชน/นิทานสอนใจ (ร้อยละ 11.76) รองลงมา คือ เพศศึกษา ทักษะชีวิตในการ เข้าสังคม การป้องกนั และโทษของยาเสพตดิ การใช้เทคโนโลยีและสือ่ ออนไลนท์ ่ปี ลอดภัย และการใช้ภาษาไทย ที่ถูกต้อง (ร้อยละ 6.72 เท่ากัน) การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร/คุณแม่วัยใส (ร้อยละ 5.88) เนื้อหาสำหรับ ผู้สูงอายุ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ต้องการเนื้อหาด้านการดแู ลสขุ ภาพ (รอ้ ยละ 44.17) โภชนาการ (ร้อยละ 17.18) อาชพี ท่ีเหมาะสมกับผ้สู งู อายุ (ร้อยละ 10.43) การออกกำลงั กาย (ร้อยละ 5.52) ผลการศึกษาแนวทางการพฒั นาการใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการให้บริการสือ่ เทคโนโลยดี จิ ิทลั ของศูนย์เทคโนโลยที างการศกึ ษา พบว่า ด้านบริหารจัดการ คือ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารตลอดจนช่องทางการเข้าถึงสื่อไปยังกลุ่มเป้าหมาย ให้มากขึ้นและต่อเนื่อง (ร้อยละ 22.08) ประชาสัมพันธ์สื่อในหลากหลายช่องทาง เช่น YouTube FreeTV (ร้อยละ 15.58) ควรออกมาติดตามงานและแนะนำสื่อเป็นประจำ และควรฝึกอบรมครูและบุคลากรในการใช้ และผลิตสอ่ื เทคโนโลยีทางการศกึ ษา (ร้อยละ 9.09 เทา่ กนั ) ด้านคุณภาพรายการ คอื ควรพัฒนาสื่อให้มีความหลากหลาย อาทิ การพัฒนาอาชพี ผ้สู ูงอายุ การท่องเทีย่ ว แบบประหยดั การเปน็ ผู้นำ เช่น การดูแลบุคลกิ ภาพ พิธกี ร เป็นตน้ (ร้อยละ 7.79) ควรพัฒนาสื่อทางการศกึ ษา อยา่ งต่อเนื่องใหต้ รงตามความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย (ร้อยละ 6.49) ......รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล กับการศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

44 กิจกรรมสมั พนั ธ์กับกลมุ่ เปา้ หมาย ศูนยเ์ ทคโนโลยที างการศึกษาให้ความสำคัญกับกระบวนการมีสว่ นรว่ มเพื่อการพฒั นางานด้านตา่ งๆ ดังน้ัน ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาจึงกำหนดให้มีการจัดกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและ กลุ่มเป้าหมายในการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง พัฒนางานด้านต่างๆ ตลอดจนเป็นการสร้างสัมพันธ์ อนั ดี เปน็ การสร้างเครอื ข่ายทเ่ี ข้มแขง็ ของระหว่างกลุ่มเป้าหมายผูร้ ับบรกิ ารกับหน่วยงาน โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) จัดกิจกรรมเพ่ือ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการผลิตรายการ รวมทั้งต้องการออกพื้นที่พบปะกลุ่มเป้าหมาย อันเป็นการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างสถานี ETV กับกลุ่มเป้าหมายผู้รับชมรายการ สร้างการย้ำซ้ำๆ ให้เกิดการจดจำ ในข้อมูลที่ต้องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ อันเป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) ระหว่างสถานี ETV กับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง สถานี ETV ได้จัดกิจกรรม “ติวเข้มเติมเต็ม ความรู้สัญจร” ไปยงั โรงเรียนจำนวน 2 โรงเรียน คอื โรงเรยี นวเิ ชียรมาตุ จงั หวดั ตรงั และโรงเรยี นหอ้ งสอนศึกษา จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน เพอ่ื ส่งเสริมใหก้ ลุ่มผู้บรหิ าร ครูและผปู้ กครอง รวมทง้ั นักเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับทราบข้อมูลการดำเนินงาน รู้จัก รายการและทราบช่องทางในการรับบริการจากสถานี ETV ในเชิงลึกมากขึ้น อันเป็นการส่งเสริมให้เกิดการใช้ ประโยชน์จากรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาของสถานี ETV ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยลดภาระ ค่าใช้จ่ายในการกวดวิชาราคาแพงจากสถาบัน Tutor ของภาคเอกชน อีกทั้งยังเป็นแหล่งขุมทรัพย์ความรู้ด้านต่างๆ ท่ผี า่ นการ กลน่ั กรององค์ความรู้อย่างถกู ต้องในนามกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทีท่ กุ คน ทุกเพศ ทุกชว่ งวยั ทกุ อาชีพ สามารถเข้าถึงองค์ความรู้นี้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และนอกจากนี้แล้วการออกพื้นที่พบปะกลุ่มเป้าหมาย ในโรงเรียนต่างๆ นี้ ทำให้สถานี ETV ได้รับทราบข้อมูลสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพฒั นารายการ และพัฒนาสถานี ETV ให้มีประสิทธิภาพ สามารถผลิตรายการได้ตรงกับความต้องการแท้จริงในการใช้งาน ของกลมุ่ เปา้ หมาย ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กับการศกึ ษาในยคุ โควิด-19”.......

45 คณะผจู้ ดั ทำ ทีป่ รึกษา ตัณฑวุฑโฒ ทีป่ รึกษาดา้ นเทคโนโลยแี ละการศึกษานอกระบบ กองสุทธใ์ิ จ ผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นการเผยแพร่ทางการศกึ ษา นางรกั ขณา ขนุ เทพ รักษาการผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นการผลิตส่อื เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา นายสราวธุ ประสมศรี ผ้อู ำนวยการศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา นายธนพชั ร์ นางวรภร สนับสนนุ ข้อมลู นางสาวนริศา แสงมณี หัวหน้าสว่ นอำนวยการ นายทศพร ภักดีศภุ ผล หวั หนา้ กลุม่ งานผลิตรายการโทรทัศนเ์ พอ่ื การศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางอมรรตั น์ กองสทุ ธิ์ใจ หวั หน้ากล่มุ งานผลิตรายการโทรทศั น์เพื่อการศกึ ษาตามหลักสตู ร นางสาวนชิ านันท์ รชตาภิรดี หัวหนา้ กลุ่มงานจัดรายการและออกอากาศโทรทศั น์ นางเนตรนภิส พฒั นาไพบูลย์กุล หวั หน้ากลมุ่ งานผลิตรายการวทิ ยุ นายสหพฒั น์ ไตรรตั นวนชิ หวั หน้ากลมุ่ งานแผนและพัฒนาบุคลากร นายกิตตพิ งษ์ เปย่ี มปฏภิ าณ หัวหนา้ สว่ นผลิตรายการโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษา (รงั สติ ) นายปัญญา ทศนตุ หัวหน้าส่วนเทคนคิ และซอ่ มบำรงุ นายวรชาติ วฒั นอมร หัวหนา้ ส่วนสื่อการศกึ ษาเพ่อื คนพกิ าร คณะทำงาน นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นายสหพัฒน์ ไตรรตั นวนชิ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นางพจมาลย์ จกั รเพชร นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการ นายบุญยงค์ หงษ์จันทร์ นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบตั ิการ นายภูมศิ ักดิ์ ภมู เิ ขยี ว นักวิชาการศกึ ษา นางสาวกัลยว์ รี ์ พรหมสทิ ธิ์ นางสาวยมลภัทร ถนอมทูน บรรณาธิการเรียบเรียง นายบญุ ยงค์ หงษ์จนั ทร์ ......รายงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 “เทคโนโลยีดิจิทลั กับการศึกษาในยคุ โควิด-19”.......

ศูนยเทคโนโลยทีางการศกึษา ถนนศรอยธุยาแขวงทง‹ุพญาไทเขตราชเทวกทม. โทร.023545730-40แฟกซ023545741 www.cet.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook