Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาบุคลากร ปี 2564

สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาบุคลากร ปี 2564

Published by chuaysong, 2021-09-28 09:37:00

Description: สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาบุคลากร ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25644

Search

Read the Text Version

คํานาํ การจัดทําเอกสารสรุปผลการดําเนินงานพัฒนาบุคลากร ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ปงบประมาณ 2564 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงคในการนําเสนอขอมูลการพัฒนาบุคลากรที่ศูนยเทคโนโลยีทาง การศึกษาดําเนินการและจดั สงบุคลากรเขา รับการอบรมกับหนว ยงานเครือขา ย เพอื่ ใหม คี วามรูแ ละพัฒนาทกั ษะ ท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงาน สามารถนําความรูและทักษะท่ีไดรับไปพัฒนาการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น โดยปงบประมาณ 2564 ประสบปญหาในการดําเนินกิจกรรมพัฒนาบุคลากร อันเน่อื งมาจากวิกฤตไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ตองดําเนินการตามมาตรการทางสาธารณสุข เรื่อง การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) ลดกิจกรรมทมี่ คี นหนาแนน ซึง่ รวมท้งั การจัดประชมุ อบรมสมั มนาตา งๆ เพอ่ื ลดอัตราเส่ียง ในการสัมผัสโรคและปองกันการแพรระบาดของโรค ซ่ึงวิกฤตนี้สงผลใหการดําเนินงานจัดกิจกรรมพัฒนา บุคลากรตองชะลอและบางกิจกรรมตอ งเลื่อนการจัดไปอยางไมมีกําหนด ทั้งหลักสูตรที่ทางศูนยเทคโนโลยีทาง การศึกษา ดาํ เนินการจดั เองและการจดั สง บุคลากรเขา รับการอบรมกับหนวยงานเครอื ขา ยอื่นๆ แตอยางไรก็ตาม ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ยังคงมุงสงเสริมการพัฒนาบุคลากร สรางความเปนมืออาชีพในการปฏิบัติงานแต ละดา นของบคุ ลากรทุกระดับของหนว ยงานตอไป ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาขอขอบคณุ บคุ ลากรทุกทานท่ีไดใ หขอมูล ตอบแบบสอบถามการ ประเมินผลการฝกอบรม เพื่อนาํ ขอ คิดเหน็ และขอ เสนอแนะไปพฒั นากิจกรรม การพัฒนาบุคลากรใหเ หมาะสม เปน ประโยชนต อ การปฏบิ ัติงานขององคกรตอ ไป ศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา กนั ยายน 2564 สรปุ ผลการดาํ เนินงานพฒั นาบคุ ลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

สารบัญ เร่ือง หนา บทที่ 1 บริบทดานบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา 1 ขอมลู บุคลากรในปจจบุ นั 2 บทท่ี 2 แนวทางการพัฒนาบุคลากรศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา ประจาํ ปงบประมาณ 2564 5 - ขน้ั การวางแผนการพัฒนาบคุ ลากร 5 - ขัน้ การดาํ เนินการพัฒนาบุคลากร 6 - ขั้นการสรปุ ประเมนิ ผลการพัฒนาบคุ ลากร 7 บทที่ 3 สรปุ ผลการดําเนนิ งานพฒั นาบคุ ลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาประจําปงบประมาณ 2564 8 - โครงการพัฒนาบคุ ลากรโดยศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษา 8 - การดาํ เนินการจดั สง บคุ ลากรเขา รับการอบรมกบั หนวยงานเครอื ขา ย 17 - โครงการพัฒนาประสบการณว ชิ าชพี ดา นเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 18 คณะผจู ดั ทาํ  สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบคุ ลากรศูนยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-1- บทที่ 1 บรบิ ทดานบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ยุคศตวรรษท่ี 21 เปนยคุ ท่ีโลกและสังคมเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วมาก โลกทัง้ โลกสามารถ เชอ่ื มโยงเช่ือมตอกนั ไดอยางงายดายและรวดเร็ว สามารถรบั รูขา วสาร เร่อื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ อกี ซีกโลกไดอยางรวดเรว็ องคกรหรือหนวยงานตา งๆ ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชนทวั่ โลกก็จําเปน ตองปรบั ตวั ใหท นั ตอการเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้น ซึ่งหมายความรวมถงึ องคกรหรือหนวยงานตา งๆ ของไทยเชน กัน ตองปรับตัว พฒั นาใหส อดคลองเปนไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั กับทศิ ทางความเจริญกาวหนาตา งๆ ของโลก ซึง่ ผูท ีจ่ ะขับเคล่ือนการดาํ เนินงานขององคกรหรือ หนว ยงานใหทันตอการเปลยี่ นแปลงน่ันก็คือ บุคลากร ขององคกรหรือหนวยงานน่ันเอง ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา เปนหนวยงานสาํ คญั ของสํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย (สํานักงาน กศน.) ที่มีหนาที่หลักในการดําเนินงานดานการผลิต พัฒนาและเผยแพร สอ่ื เทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาเพื่อสงเสริมการศกึ ษาท้ังในระบบโรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตาม อัธยาศัยอยางตอ เนือ่ งเปนเวลากวา 38 ป ซึ่งศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเล็งเห็นความสาํ คัญของบุคลากร ซ่ึง ถอื เปนทรพั ยากรของหนว ยงานทีม่ ีสวนสําคญั อยางมาก ในการขับเคล่อื นการดาํ เนินงานของหนวยงานใหประสบ ผลสําเร็จตามเปาหมายที่ไดตง้ั ไวและเปน ผูท่ีพัฒนาหนวยงานใหเจริญกา วหนา เกดิ การพัฒนาอยางตอเน่ืองเสมอ มา ทําใหตลอดระยะเวลาที่ผานมา ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงจัดสรรงบประมาณสําหรับการพัฒนาบุคลากร เปน ประจาํ ทุกปอยา งตอเนือ่ งเรื่อยมา ในปงบประมาณ 2564 ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาก็ยังคงดําเนินการจัดสรรงบประมาณ สําหรับการพัฒนาบุคลากร โดยมุงหวังใหบุคลากรทุกคนไดมีโอกาส เขาถึงความรู พัฒนาตนเองใหมีทักษะท่ี สามารถนําไปใชสนับสนุนการปฏิบัติงาน การดําเนินชีวิตประจําวัน และสามารถใหความชวยเหลือผูอื่นได กอ ใหเ กิดสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านอยา งมปี ระสิทธภิ าพยิ่งข้ึน สรุปผลการดําเนนิ งานพัฒนาบุคลากรศูนยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-2- ขอ มูลบคุ ลากรในปจจบุ ัน จากโครงสรางภารกิจตามประกาศสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีคําสั่ง เร่ืองการ แบงกลุมงานของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รายละเอียดตามคําส่ัง สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ที่ 2417/2563 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 จําแนกตามสวน/กลุม งานที่มอี ตั รากําลงั ปฏิบัตงิ านในปจ จบุ นั ดงั น้ี ตารางท่ี 1 จาํ แนกบุคลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษาตามสว น/กลุมงานและประเภทของบุคลากร สว น / กลมุ งาน ขาราชการ บคุ ลากรท่ีมีในปจจุบัน ลูกจา งประจํา พนักงานราชการ จา งเหมาบริการ 1. ผูบ รหิ ารศูนยเทคโนโลยที างการศึกษา 3 - - 1 2. สวนอํานวยการ (สอก.) 99 28 3. กลมุ งานผลิตรายการโทรทศั นเพอ่ื การศึกษา 12 - 4 2 ตามอธั ยาศยั (กทอ.) 4. กลุม งานผลิตรายการโทรทศั นเพอ่ื การศกึ ษา 8 - - - ตามหลกั สตู ร (กทล.) 5. กลมุ งานจดั รายการและออกอากาศ 3 - 3 5 โทรทัศน (กจท.) 6. กลุมงานผลติ รายการวทิ ยุ (กผว.) 6- -1 7. กลุมงานจดั รายการและออกอากาศวิทยุ (กจว.) - - - 2 8. กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร (กผพ.) 5 - 1 - 9. สวนผลิตรายการโทรทัศนเพือ่ การศกึ ษา 13 2 1 4 (สผท.) (รงั สติ ) 10. สว นเทคนิคและซอมบํารงุ (สวซ.) 26 - 1 14 11. สว นวิศวกรรมและพัฒนานวตั กรรม 6 - - - การศกึ ษา (สวพ.) 12. สวนส่อื การศึกษาเพ่อื คนพิการ (สสพ.) 3 - - 2 รวม 94 11 12 39 คิดเปน รอยละ 60.26% 7.05% 7.69% 25.00% รวมบุคลากรทุกประเภททง้ั สนิ้ (คน) 156 (ขอ มูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564) จากการวิเคราะหขอมูลตามการจําแนกประเภทบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามตารางขางตน พบวาศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษามี บุคลากรทั้งสิ้น จํานวน 156 คน ทาํ ใหเห็นถึงสัดสวน ประเภทของบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ในปจจุบันที่พบวา ประเภทบุคลากรที่มีจํานวนมากที่สุด คอื ประเภทขาราชการ โดยมจี ํานวนทั้งสน้ิ 94 คน คดิ เปนรอยละ 60.26 รองลงมา คอื ประเภทจางเหมาบริการ โดยมจี าํ นวนทั้งสน้ิ 39 คน คิดเปนรอยละ 25.00 และ ประเภทพนักงานราชการ มจี าํ นวนทั้งส้ิน 12 คน คิดเปนรอ ยละ 7.69 และประเภททมี่ ีจาํ นวนนอ ยทสี่ ุด คือ ประเภทลกู จางประจํา มจี ํานวนทั้งส้ิน 11 คน คดิ เปนรอยละ 7.05 ตามลําดบั สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-3- นอกจากนี้หากจําแนกบุคลากรตามชวงอายุ (Generation) โดยยึดหลักตามสากลทั่วไป ท่ีวิเคราะหจากชวงเวลาเฉล่ียระหวางการมีลูกคนแรกของแมกับการมีลูกคนแรกของลูก ดังนั้นในแตละ Generation ก็จะหางกันประมาณ 20 กวาปหรือพูดใหเขาใจงายๆ ก็คือรุนของแตละรุนท่ีเกิดข้ึนมาเร่ือยๆ จากประชากรคนทั้งโลก ก็จะชวยใหเกิดความเขาใจตอ ลักษณะพฤติกรรมของคนใน Generation ตา งๆ เพราะ คนแตละชวงวัยมีความคิดและพฤติกรรมตางกัน อันเนื่องจากสภาพสังคมในชวงนั้นๆ เปนปจจัยท่ีหลอหลอม ความคดิ และทาํ ใหเ กิดพฤตกิ รรมตางๆที่อาจแตกตา งกันไป ดังน้ัน หากวิเคราะหจําแนกบุคลากรศนู ยเทคโนโลยี ทางการศกึ ษาตามสว น/กลมุ งาน และชว งอายุ (Generation) สามารถแบง ไดต ามตารางดงั น้ี ตารางที่ 2 จาํ แนกบคุ ลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาตามสว น/กลุมงาน และชว งอายุ (Generation) บคุ ลากรท่มี ใี นปจ จุบัน สวน / กลมุ งาน Baby Boomer Generation X Generation Y Generation Z พ.ศ. 2489-2507 พ.ศ. 2508 - 2523 พ.ศ. 2524 - 2543 พ.ศ. 2544 เปนตนไป 1. ผบู ริหารศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา 4 - - - 2. สวนอํานวยการ (สอก.) 7 13 8 - 3. กลมุ งานผลติ รายการโทรทัศนเพอื่ 1 14 3 - การศึกษาตามอธั ยาศัย (กทอ.) 4. กลมุ งานผลติ รายการโทรทศั นเพอ่ื 1 4 3 - การศกึ ษาตามหลกั สตู ร (กทล.) 5. กลมุ งานจดั รายการและออกอากาศ 1 3 7 - โทรทศั น (กทจ.) 6. กลมุ งานผลติ รายการวิทยุ (กผว.) 5 1 1 - 7. กลุม งานจัดรายการและออกอากาศวทิ ยุ - - 2 - (กจว.) 8. กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร (กผพ.) - 4 2 - 9. สว นผลิตรายการโทรทัศนเพือ่ การศกึ ษา 1 10 9 - (สผท.) (รงั สติ ) 10. สว นเทคนคิ และซอมบาํ รุง (สวซ.) 6 16 19 - 11. สวนวศิ วกรรมและพฒั นานวัตกรรม 3 2 1 - การศึกษา (สวพ.) 12. สว นสื่อการศึกษาเพือ่ คนพิการ (สสพ.) - 3 2 - รวม (คน) 29 70 57 0 คดิ เปนรอ ยละ 18.59% 44.87% 36.54% 00% (ขอมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564) สรุปผลการดําเนินงานพฒั นาบคุ ลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-4- จากการวเิ คราะหขอ มลู ตามการจาํ แนกประเภทบุคลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาตามสว น/กลุม งาน และชว งอายุ (Generation) ตามตารางขา งตนน้ี จะเหน็ ไดว าสว นใหญในทกุ สวน/กลมุ งาน และมีบุคลากรที่มชี วงอายุที่ หลากหลายคละกนั ไป คอื มีท้ังบุคลากรชวงอายุ Baby Boomer, Generation X, และ Generation Y และอีก ประเด็นหนึ่งที่ไดจ ากขอมลู อาจสะทอ นใหเห็นภาพแนวโนม ของการเปล่ียนแปลงที่อาจเกิดขน้ึ ภายในระยะเวลา อนั ใกล พบวา บุคลากรของศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาสวนใหญอยูในชว งอายุ Generation X จํานวน 70 คน คดิ เปนรอยละ 44.87% รองลงมา คอื บคุ ลากรชวงอายุ Generation Y จํานวน 57 คน คิดเปน รอ ยละ 36.54% บุคลากรชวงอายุ Baby Boomer จาํ นวน 29 คน คิดเปน รอ ยละ 18.59% ซงึ่ เปน ชวงวยั ทใ่ี กลเกษียณอายุ ราชการ ตามลาํ ดบั สว นบคุ ลากรชว งอายุ Generation Z นน้ั ศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษายังไมมบี คุ ลากรที่อยู ในชวงวยั ดังกลาว . สรุปผลการดาํ เนนิ งานพัฒนาบุคลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ปงบประมาณ 2564

-5- บทที่ 2 แนวทางการพฒั นาบคุ ลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ 2564 ศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา เล็งเห็นความสําคัญของพัฒนาบุคลากร เพื่อใหมคี วามรู มที กั ษะ ในการปฏิบัติงานที่สนับสนุนการดําเนินงานของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ใหตรงตามภารกิจหลัก ตามจดุ เนน นโยบาย สาํ นักงาน กศน. โดยมแี นวทางการดําเนินงาน ดงั น้ี 1. ขัน้ การวางแผนการพัฒนาบคุ ลากร ในข้ันตอนน้ีกลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร ไดมีการสํารวจความตองการในการพัฒนา บุคลากรจากสวน/ฝายตางๆ เปนประจํากอนเร่ิมปงบประมาณถัดไป เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือ เปนแนวทางในการ พัฒนาบุคลากรใหตรงกับความตองการของบุคลากร และเพ่ือเพ่ิมพูนความรู ทักษะ ทัศนคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม ใหก ับบุคลากรของศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษามาใชในการปฏิบัติงานไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยกลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากรไดสรุปความตองการและการวิเคราะหความตองการ ในการพฒั นาบุคลากร ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 แบงความจําเปนในแตล ะดาน ดงั น้ี 1. ดา นความรแู ละความเขาใจในการปฏิบัตงิ าน (Knowledge &Understanding) จากการสํารวจ หลักสูตรทบ่ี คุ ลากรตองการ มดี ังน้ี ชอ่ื หลักสตู ร เหตผุ ลความจําเปน 1.การเขยี นแผนงานโครงการ - ใชในการปฏบิ ัตงิ าน เพอ่ื ขอโครงการ งบประมาณและเพือ่ ใหงาน ดําเนนิ การ โดยลุลวง ประสบผลสําเรจ็ ดว ยดี 2. จรรยาบรรณของขา ราชการ - เพอ่ื ปลกู ฝง ใหบุคลากร ศท. ปฏิบตั ิหนาทด่ี ว ยความซื่อสัตย สจุ ริต มคี วามเปน กลางในหนาที่ และยึดม่ันความถูกตอง 3. งานสารบรรณ, การเขยี นหนงั สอื ราชการ, - เพือ่ พัฒนาการเขยี น การจดั ทําหนังสือราชการไดถ กู ตองและ การจดั ทาํ รายงานการประชุม เปนไปตามระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 4. ศึกษาดงู านนอกสถานที่ - นําความรูมาพฒั นาหาแนวทางการออกแบบผลิตรายการโทรทัศน 2. ดานทักษะ(Skill) จากการสาํ รวจหลักสตู รท่ีบคุ ลากรตองการ มีดงั นี้ ชอ่ื หลกั สตู ร เหตุผลความจําเปน 1. ทกั ษะการพูด, การสอื่ สาร, ทักษะการ - ใชในการประสานงานในองคก รและนอกองคก ร เพือ่ เพิม่ ถา ยทอดใหความรู ประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ิงาน 2. การผลติ สอ่ื ออนไลน - เพื่อผลิตส่ือไดอยา งมีประสิทธิภาพตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ สอดคลอ งกบั พฤติกรรมของกลุมเปาหมายยคุ ใหม สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบคุ ลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-6- 3. การสรา งแพลตฟอรม เพอื่ เขา ถึงรายการ - เพือ่ ใหก ลมุ เปาหมายและประชาชนทวั่ ไปทสี่ นใจสามารถเขา รวม โทรทัศนเพื่อการศกึ ษา รบั ชมไดงา ยขน้ึ 4. เทคโนโลยีการถา ยทาํ ยุคใหมทส่ี ามารถ - ดวยเทคโนโลยใี นปจจบุ นั การสอื่ สารท่จี ะถงึ ตัวบุคคลมากท่สี ดุ ถา ยทอดสดบน Facebook และ YouTube ก็คือโทรศัพทมือถือ เราจึงควรพฒั นาความรูในดานน้ีใหมากข้ึน และยังสามารถบันทึกไดด ว ย 5. ตกแตงภาพนง่ิ , ตัดตอวิดีโอ - นาํ มาใชในการทาํ งานดานการผลิตรายการใหประสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ 6. การทาํ การตนู animation - เพิ่มความนาสนใจ ในงานตดั ตอ รายการโทรทศั น 7. การจัดทํา Info graphic - สรา งสรรคงานศลิ ปะใหมคี วามดงึ ดดู ใจ มคี วามนา สนใจเพอื่ เผยแพรง านวชิ าการ นาํ เสนอตา งๆ 8. เทคนคิ การเขยี นขา วประชาสัมพันธผ า นส่ือ -Technology กา วไกล ผูคนใช social media มาก การเขยี นขา ว social media ใหดีเปนการจูงใจ โนม นา วผูร บั บริการมาใชบ รกิ าร 9. การบรหิ ารจดั การระบบการทํางานของ - เพื่อนาํ มาพฒั นาระบบในการจัดทําสือ่ เพอื่ การศึกษา Microsoft และ Google (Back-Office) 3. ดานเจตคติ (Attitude) จากการสาํ รวจหลกั สูตรที่บคุ ลากรตองการ มดี ังน้ี ชอ่ื หลกั สตู ร เหตผุ ลความจาํ เปน 1. จติ สาธารณะ, การทํางานเปนทมี - ใชในการทาํ งานรว มกนั กับเพื่อนรว มงาน สรา งทมี งานคุณภาพ 2. เทคนิคการคดิ สรา งสรรค - เปน พ้ืนฐานในการรเิ รม่ิ สรา งสรรค เพือ่ พัฒนาจิตใจเชงิ บวก และ สามารถคดิ สรา งสรรคง าน เชิงพัฒนา ปรับปรุงประสิทธภิ าพการ ปฏบิ ตั งิ านของตนเอง 2. ขัน้ การดําเนินการพฒั นาบคุ ลากร กลุมงานแผนและพัฒนาบคุ ลากรดําเนนิ การคดั เลือกออกแบบและดาํ เนินกิจกรรมพัฒนา บุคลากรใหเหมาะสมสอดคลองกบั ความตอ งการ โดยพจิ ารณาภายใตเ หตผุ ลความจําเปนและกรอบงบประมาณ ทไ่ี ดรบั จดั สรรในแตละป ซึ่งศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา มกี รอบการดําเนินการ ดังนี้ - สงเสริมการจัดการอบรมในทกุ ดา นที่จัดภายในของศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา เพอื่ ให สามารถนาํ ความรจู ากการอบรม จากประสบการณมาใชเปนประโยชนเพอื่ การพัฒนาบคุ ลากรและการพัฒนา งานใหม ปี ระสิทธภิ าพในการปฏิบัตงิ านเพิ่มข้นึ - สงเสริมใหบ ุคลากรเขา รบั การฝกอบรม ประชุมสัมมนา หรือศึกษาดูงาน กบั หนว ยงาน ภายนอกตามความตองการและความจาํ เปน ตรงกบั หนา ทใ่ี นการปฏบิ ตั ิงาน ซึ่งกลมุ งานแผนและพฒั นาบคุ ลากร ไดวิเคราะหแ ลว - สรา งเครอื ขายความรว มมือกับองคก รสถาบนั ฝก อบรมตา ง ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั หนว ยงาน เพือ่ จัดสง บคุ ลากรของศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษาเขารับการอบรม สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานพฒั นาบุคลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ปงบประมาณ 2564

-7- โดยมีข้ันตอนการดาํ เนินการ ดงั น้ี 1. คัดเลือกหลักสตู รเน้ือหา สรรหาวิทยากรและสถานที่ 2. ประมาณการคา ใชจา ยทเ่ี กี่ยวขอ ง คาวิทยากร คา ใชจ า ยตางๆ 3. จดั ทําโครงการและบันทกึ ขออนมุ ัติโครงการ 4. เสนอขออนมุ ตั ิดาํ เนนิ การและยมื เงินทดรองราชการ 5. แจงกําหนดการและรายชอ่ื ผเู ขารับการอบรม 6. ดาํ เนินกิจกรรมการพัฒนา/การฝก อบรม 3. ขั้นการสรุป ประเมินผลการพฒั นาบคุ ลากร เปนขนั้ สดุ ทา ยของกระบวนการพัฒนาบคุ ลากร เปนการพจิ ารณาวา การดาํ เนนิ การตาม โครงการพัฒนาบคุ ลากร แตล ะโครงการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคท ต่ี องการหรือไม หรือเปนการพจิ ารณา ประสทิ ธผิ ลวา สนองตอ ความจาํ เปนในการพัฒนาบุคลากรขององคก รหรือไม ทง้ั น้ีเพอื่ ท่ีจะไดทราบถงึ สง่ิ ทบี่ รรลุ ปญ หา อุปสรรคและสง่ิ ทีค่ วรแกไขในการดําเนินการตอไป โดยศูนยเทคโนโลยที างการศึกษามีกรอบการ ดําเนินการ ดงั น้ี - ตดิ ตามและประเมินผลจากแบบสอบถามความพงึ พอใจการพฒั นาบคุ ลากรแตล ะหลักสตู รทุกครง้ั - นาํ ผลการประเมินไป วิเคราะห ปรบั ปรุงการดาํ เนินการตามแผนพัฒนาบุคลากร และจดั ทํา รายงานสรปุ ผลของการดําเนนิ งานพฒั นาบุคลากร ปละ 1 คร้งั - กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร ติดตาม และประเมนิ ผลการพัฒนาบคุ ลากร เพื่อใหทราบ ถึงความสาํ เร็จของการอบรม บุคลากรสามารถนาํ ความรู ความสามารถจากการอบรมมาใชใ นการปฏิบัตงิ าน อยางสูงสดุ โดยศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ไดม ีการตดิ ตามผลการใชส ่ือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษากบั กลมุ เปาหมายอยา งตอ เนื่องทุกป สรุปผลการดาํ เนินงานพฒั นาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษา ปง บประมาณ 2564

-8- บทที่ 3 สรุปผลการดําเนินงานพัฒนาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา ประจําปงบประมาณ 2564 ในปงบประมาณ 2564 การดาํ เนินจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร เพื่อใหตรงกับความตองการที่ กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร ไดทําการสํารวจต้ังแตตนปงบประมาณน้ัน ไมสามารถจัดไดหลายหลักสูตร ตามที่ไดจัดทําแผนไว เน่ืองจากสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่แพรระบาดในประเทศไทยและตางประเทศอีกคร้ัง ตั้งแตวันท่ี 26 กุมภาพันธ 2563 กระทรวงสาธารณสุข ไดประกาศให โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปนโรคติดตออันตราย และกระทรวงศึกษาธิการได มีหนังสือขอความรวมมือใหทุกหนวยงานชะลอการอนุมัติหรืออนุญาตการเดินทางไปฝกอบรม จัดประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานออกไปกอน ตอมาเมื่อสถานการณดีข้ึนตามลําดับ กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร ไดดําเนินการจัด การพัฒนาบุคลากรภายในตามแผนท่ีไดกําหนดไวตามความเหมาะสม และชวงเดือนมีนาคม 2564 การระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกดิ การระบาดทวีความรนุ แรงขึ้นอยางตอเน่อื งอีกครั้ง ทําใหรัฐบาล ประกาศใหก รุงเทพมหานครเปน พื้นท่ีเส่ียงสูง งดการจัดกิจกรรมทุกประเภท และขอใหทุกหนวยงานของภาครัฐ ปฏิบัติตามมาตรการของศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเช้ือ โดยใหปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง ของสวนราชการ (Work from home) ในสวนของการจัดสง บุคลากรเขารับการอบรมหลักสูตรตางๆ ตามหนวยงาน ภาคีเครือขายจําเปนตองงดจัดกิจกรรมทุกประเภท ทําใหกลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากรไมสามารถจัดสง บุคลากรเขารับการอบรมตามแผนที่ไดกําหนดไว แตอยางไรก็ตาม กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากรยังคงมุง สงเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร เพื่อสรางความเปนมืออาชีพในการปฏิบัติงานของบุคลากรศูนย เทคโนโลยีทางการศึกษา โดยปงบประมาณ 2564 นี้มีการดาํ เนินการ ดงั นี้ 1. โครงการพัฒนาบุคลากรโดยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ดาํ เนินการ 1 หลักสตู ร 1. ชื่อโครงการ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “เทคนิคการเขยี นขอบเขตรายละเอยี ดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” 2. วทิ ยากร 1. นางสาวสุภาภรณ เกยี รติสิน วิทยากรบรรยาย 2. นายชัยรตั น บญุ เจริญสขุ พิศาล เปนผูชวยวิทยากร 3. นายไชยพร ธรรมวิไลรตั น ผูติดตามวิทยากร 3. ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ กลุมงานแผนและพฒั นาบุคลากร ศนู ยเ ทคโนโลยที างการศึกษา 4. วตั ถุประสงคของโครงการ - เพ่ือใหบคุ ลากรของศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษามคี วามรูเรอ่ื งหลักเกณฑและเทคนคิ การ เขียนขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR) ไดอ ยางถกู ตอง ครบถว น - เพื่อสง เสริมใหบุคลากรของศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาไดพัฒนาทักษะการเขียนขอบเขต รายละเอยี ดโครงการ (Terms of Reference : TOR) การจัดทาํ รา งขอบเขตงานหรอื รายละเอียดคุณ ลักษณะเฉพาะของพสั ดุทตี่ อ งดาํ เนินการตามขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านใหถูกตอง ตามกฎระเบยี บ สรุปผลการดาํ เนนิ งานพฒั นาบคุ ลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ปง บประมาณ 2564

-9- 5. วันเวลา / สถานทีด่ ําเนินงานโครงการ วันพฤหสั บดีท่ี 3 ธันวาคม 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ หองประชุมคณุ หญงิ อัมพร มีศุข (หอง 119) ศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา 6. งบประมาณ จาํ นวน 19,175 บาท 7. ผเู ขารวมโครงการ บคุ ลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา จาํ นวน 67 คน 8. การประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการอบรม 8.1 สรุปผลการวิเคราะหขอมลู ทวั่ ไปของผเู ขารับการอบรม ผเู ขา รับการอบรม จํานวน 67 คน ไดร บั แบบสอบถามกลบั คนื มา ทั้งหมด 65 ฉบับ คดิ เปนรอ ยละ 92.86 ของกลุมตัวอยางท้ังหมด ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูเขารับการอบรม ไดแก เพศ อายุ ระดับ การศึกษา และตําแหนง เพ่ือใหเกิดความเขาใจในการส่ือสารท่ีตรงกนั จึงไดกําหนดสัญลักษณและอักษรยอใน การวเิ คราะหขอ มูล ดังน้ี N แทน จาํ นวนผูตอบแบบสอบถาม x̄ แทน คาเฉล่ีย S.D. แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางท่ี 1 จํานวนและรอ ยละ ขอมูลทัว่ ไปของผเู ขา รับการอบรม ขอ มูลทั่วไปของผูเขา รับการอบรม จาํ นวน (N=65) รอยละ 1. เพศ 22 33.80 ชาย 43 66.20 หญิง 3 4.60 2. อายุ 13 20.00 ป 20 – 30 ป 25 38.50 ป 31 – 40 ป 24 36.90 ป 41 – 50 ป ตงั้ แต 51 ป ขน้ึ ไป 1 1.50 38 58.50 3. ระดบั การศกึ ษา 26 40.00 ตํา่ กวา ปริญญาตรี ปริญญาตรี 52 80.00 สงู กวาปรญิ ญาตรี 4 6.20 9 13.80 4. ตําแหนง ขาราชการ พนักงานราชการ ลกู จางเหมาบริการ สรุปผลการดาํ เนนิ งานพัฒนาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-10- สรุปผลจากตารางท่ี 1 ขอมลู ท่วั ไปของผเู ขารบั การอบรม จํานวน 65 คน พบวา สวนใหญเปน เพศหญงิ จํานวน 43 คน คดิ เปนรอ ยละ 66.20 และเพศชาย จํานวน 22 คน คดิ เปนรอ ยละ 33.80 ตามลาํ ดบั อายุสว นใหญ 41 – 50 ป จาํ นวน 25 คน คิดเปนรอ ยละ 38.50 รองลงมา คอื อยใู นชว งตง้ั แต 51 ปข้ึนไป จํานวน 24 คน คดิ เปน รอ ยละ 36.90 ชวงอายุ 31 – 40 ป จํานวน 13 คน คิดเปน รอ ยละ 20.00 และชวงอายุ 20 – 30 ป จาํ นวน 3 คน คิดเปน รอ ยละ 4.60 ตามลาํ ดับ ระดบั การศึกษา สวนใหญจบปริญญาตรี จาํ นวน 38 คน คดิ เปน รอยละ 58.50 รองลงมา คอื สูงกวาปริญญาตรี จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 40.00 และต่ํากวา ปรญิ ญาตรี จาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 1.50 ตามลําดับ ตาํ แหนง สวนใหญเปน ขาราชการ จํานวน 52 คน คดิ เปนรอ ยละ 80.00 รองลงมา คือ ลกู จา ง เหมาบริการ จาํ นวน 9 คน คิดเปนรอ ยละ 13.80 และพนกั งานราชการ จาํ นวน 4 คน คดิ เปนรอ ยละ 6.20 ตามลาํ ดับ 8.2 สรุปผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมการอบรม ผลการวเิ คราะหการประเมินการจดั กจิ กรรมของผูเขา รบั การอบรม มีเกณฑการประเมนิ โดยวัดจากความพึงพอใจในการเขา รว มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ “เทคนคิ การเขียนขอบเขตรายละเอยี ด โครงการ (Terms of Reference : TOR)” ดว ยการหาคาเฉล่ยี (x̄ ) สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และแปล ความหมายคา เฉล่ยี จากแบบสอบถาม โดยแบงได ดังน้ี 8.2.1 ระดบั ความรคู วามเขา ใจของผูเขา รบั การอบรม โดยใชเ กณฑต ามแนวคดิ ของ สวุ ิมล วอ งวาณิช (สวุ ิมล วองวาณชิ , 2558) ดงั นี้ ต้ังแต 4.50 ข้นึ ไป หมายความวา มีความรคู วามเขาใจระดบั มากท่ีสดุ 3.50 – 4.49 หมายความวา มคี วามรคู วามเขา ใจระดับมาก 2.50 – 3.49 หมายความวา มคี วามรคู วามเขาใจระดบั ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา มคี วามรคู วามเขาใจระดับนอย ต่ํากวา 1.50 หมายความวา มคี วามรคู วามเขา ใจระดบั นอ ยทส่ี ดุ ตารางท่ี 2 ระดบั ความรูค วามเขา ใจของผเู ขารบั การอบรม ระดับความคดิ เห็น ความรูความเขาใจเกีย่ วกบั การฝก อบรม (x̄ ) S.D. ระดับ ความรคู วามเขา ใจ 1. กอนเขา รับการอบรมผเู ขา อบรมมคี วามรูค วามเขา ใจ 2.29 .89 นอย 2. หลังเขา รบั การอบรมผเู ขา อบรมมีความรูค วามเขา ใจ 4.26 .64 มาก สรุปผลจากตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะหการประเมนิ การจัดกจิ กรรมของผเู ขารว มโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการเขียนขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” พบวา กอ นเขารบั การอบรมผเู ขาอบรมมีความรูค วามเขาใจอยูในระดับนอ ย (x̄ = 2.29, S.D. =.89) และหลงั เขารับ การอบรมผเู ขาอบรมมคี วามรูความเขา ใจอยใู นระดบั มาก (x̄ = 4.26, S.D. =.64) สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบคุ ลากรศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-11- 8.3 ระดับความพึงพอใจของผเู ขารบั การอบรม ผลการวิเคราะหโดยใชเ กณฑตามแนวคิดของเบสท (John W. Best, 1981) ดงั น้ี ตง้ั แต 4.50 ขึ้นไป หมายความวา ระดบั ความพงึ พอใจมากที่สดุ 3.50 – 4.49 หมายความวา ระดับความพงึ พอใจมาก 2.50 – 3.49 หมายความวา ระดับความพึงพอใจปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา ระดับความพงึ พอใจนอ ย ต่ํากวา 1.50 หมายความวา ระดับความพงึ พอใจนอ ยท่ีสุด ตารางที่ 3 ระดบั ความพงึ พอใจของผูเขา รบั การอบรม ระดับความคดิ เห็น ความพึงพอใจเกีย่ วกบั การฝกอบรม x̄ S.D. ระดับ ความพึงพอใจ 1. ประเมนิ กิจกรรม 4.36 1.1 สาระสาํ คัญของเน้ือหาสอดคลองกบั ความตองการ 4.26 .47 มาก 1.2 กจิ กรรมบรรยายใหสารประโยชน 4.42 1.3 สามารถนาํ มาประยุกตใชในการปฏบิ ตั งิ าน 4.43 .56 มาก 2. ประเมนิ วทิ ยากร 4.42 2.1 ถา ยทอดเนอื้ หาไดเขาใจและชดั เจน 4.43 .52 มาก 2.2 ตอบขอ ซักถามไดต รงประเด็น 4.42 3. ประเมินดานการดําเนนิ งาน 4.39 .52 มาก 3.1 ความเหมาะสมดา นสถานที่ 4.52 3.2 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.20 .46 มาก 3.3 การอํานวยความสะดวกในการอบรม 4.46 4.39 .52 มาก ภาพรวม .55 มาก .57 มาก .53 มากทสี่ ดุ .83 มาก .63 มาก .41 มาก สรุปผลจากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหการประเมินการจัดกิจกรรมของผูเขารวมโครงการ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “เทคนคิ การเขยี นขอบเขตรายละเอยี ดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” พบวา โดยภาพรวมความพงึ พอใจ อยูใ นระดบั มาก (x̄ = 4.39, S.D. =.41) หากพจิ ารณาเปนรายดา น พบวา ทุกดา นมคี วามพึงพอใจ อยูในระดับมาก คอื ดานวทิ ยากร (x̄ = 4.42, S.D. =.46) ดา นการดําเนินงาน (x̄ = 4.39, S.D. =.57) และดา นกจิ กรรม (x̄ = 4.36, S.D. =.47) ตามลําดบั หากพิจารณาเปนรายขอ พบวา ความเหมาะสมดา นสถานที่มคี า เฉลยี่ สงู สดุ (x̄ = 4.52, S.D. =.53) มคี วามพึงพอใจอยูใ นระดบั มากทีส่ ดุ รองลงมาทกุ ขอมคี วามพึงพอใจอยใู นระดับมาก คอื การอํานวยความสะดวก ในการอบรม (x̄ = 4.46, S.D. =.63) และสามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบตั ิงาน (x̄ = 4.43, S.D. =.52) ถายทอดเน้ือหาไดเขาใจและชัดเจน (x̄ = 4.43, S.D. =.52) กิจกรรมบรรยายใหสารประโยชน (x̄ = 4.42, S.D. =.52) สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานพัฒนาบคุ ลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-12- ตอบขอซกั ถามไดต รงประเดน็ (x̄ = 4.42, S.D. =.55) สาระสําคัญของเน้ือหาสอดคลองกับความตองการ (x̄ = 4.26, S.D. =.56) และระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม (x̄ = 4.20, S.D. =.83) ตามลําดบั 9. ประโยชนท ี่ไดรบั จากการฝกอบรม 1. เปน ประโยชนในการนาํ ไปใชเขียนรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะ (SPEC) ขอบเขต รายละเอียดโครงการในอนาคต 2. เขา ใจแนวทางการเขียนการจดั ทาํ รางขอบเขตงานหรอื รายละเอยี ดคุณลักษณะเฉพาะของ พัสดุและการเขยี นโครงการเพมิ่ ขน้ึ 3. มคี วามเขาใจและสามารถนาํ ไปเขยี นไดอ ยา งถกู ตอ งมากข้ึน 4. สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นการจัดทํารายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะ TOR ของหนว ยงานได 5. รูถ งึ วธิ ีการและเทคนิคการจดั ซ้ือจัดจางตางๆ 6. สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชในกิจกรรม /ภารกจิ ในอนาคตได 10. ขอเสนอแนะอนื่ ๆ และหัวขอเร่ืองท่ที า นตอ งการใหจ ดั ในคร้ังตอไป - เวลาการอบรมเขยี น TOR นอยเกินไป 11. รายชื่อผูเ ขาอบรมหลกั สตู รอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “เทคนิคการเขียนขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” 1. นายสราวุธ กองสทุ ธใิ์ จ 2. นางสาวสุมนา จ่นั แจม 3. นางสาวธิภทั รา เพง็ จันทร 4. นายจกั รกริช แกลว กลา 5. นายสหพฒั น ไตรรัตนวนิช 6. นายบุญยงค หงษจ ันทร 7. นายภูมศิ กั ด์ิ ภมู เิ ขียว 8. นางสาวกลั ยว รี  พรหมสทิ ธ์ิ 9. นางสาวยมลภัทร ถนอมทูน 11. นางอจั ฉโรบล สงั ขวณชิ 10. นางอาภาภรณ ชวยสง 13. นายไตรภัทร ย้มิ แกว 12. นายธณลั ฐิวรรธน ภคพัฑวฒั นฐากูร 15. นายดิษฎาพนั ธ บตุ รกลุ 17. นางศรีพชั รนิ ทร ปงปยะกุล 14. นายวรชาติ วัฒนอมร 19. นายกฤษฎางค แสนโสม 16. นายเอกชยั เจรญิ ชยั มงคล 21. วาที่ ร.ต. ภมู ิดล นามตาแสง 18. นายสมบตั ิ บํารงุ เผา 23. นางสาวธรี ภัทร สุดาทิศ 20. นายสมมาตร ยงิ่ ยงยุทธ 25. นายเอกพงศ ชชั วาลยปรชี า 27. นายภาณุพนั ธ กาเลก็ 22. นางภคปภา โชติสุนันท 29. นายจาํ นงค นันทศรี 31. นางสาวจิราพร นาคพีระยุทธ 24. นายประคญั วรรณโมลี 33. นายไพรชั ช แกว สงั ขท อง 26. นายสุชัยพฒั น หาญกิตตมิ งคล 28. นายประเดษิ ฐ สิมสีดา 30. นางสาวผณนิ ทร แซอ ึ้ง 32. นางสาวมณฑกิ านต สขุ ขวัญ 34. นางสาวนรศิ า แสงมณี สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานพฒั นาบคุ ลากรศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ปง บประมาณ 2564

-13- 35. นางสาวปยะธิดา ชโู ชติ 36. นางสาววรณัน ทองดอนคํา 37. นางสาวสชุ ริ า โพธิศ์ รีทตั 38. นางอจั ฉรา ชวนตุ ม 39. นางนติ ยา เบญจรงคพันธ 40. นางสาววราพร จงอรุณรุงโรจน 41. นางสาวธัญนจริ า กาญจนเกตุ 42. นางสุพร เงนิ เชอื้ 43. นายอาทิตย เรอื งยศ 45. นางสุภาภรณ สทิ ธิเสนา 44. นางสาวปุณยนชุ โทนหงสสา 47. นายอเุ ทน ทองนวลจันทร 46. นายชเู กยี รติ อนนั ทวัฒน 49. นายนพิ นธ เดชกาํ แหง 51. นางทพิ าภร คา ทนั เจริญ 48. นายทศพร ภักดีศุภผล 53. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 50. นางสาวขวญั ใจ บุญญาภบิ าล 55. นายธนกร อิ่มฤทัย 52. นายธนทั อุนเรือน 57. นายเชิดพงศ พฤกษพงศ 54. นายพลั ลภ เมาลานนท 59. นายสุกิจ สารพนู ทรพั ย 61. นายกฤตยา สุภายศ 56. นายวิศษิ ฐ เจยี รณัย 63. นางสาวภัสสร พรมเอี้ยง 65. นางสาวตรที พิ ย รตั นศรสี ุข 58. นางเนตรนภิส พัฒนาไพบลู ยก ลุ 67. นายประเสรฐิ พุมดอกไม 60. นายพงศพ ิพฒั น ภูเยีย่ มจิตร 62. นางสาวกชรตั น สวุ รรณฤทธิ์ 64. นางสาวชนาพร พันธส มจติ ร 66. นางสาวเสาวลักษณ สมรรคเสวี สรปุ ผลการดําเนินงานพฒั นาบคุ ลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-14- ภาพกจิ กรรมอบรมหลักสตู ร “เทคนิคการเขยี นขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” สรปุ ผลการดาํ เนินงานพฒั นาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-15- ภาพกจิ กรรมอบรมหลักสตู ร “เทคนิคการเขยี นขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” สรปุ ผลการดาํ เนินงานพฒั นาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-16- ภาพกจิ กรรมอบรมหลักสตู ร “เทคนิคการเขยี นขอบเขตรายละเอียดโครงการ (Terms of Reference : TOR)” สรปุ ผลการดาํ เนินงานพฒั นาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-17- 2. การดําเนินการจัดสงบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษาเขารบั การอบรมกับหนว ยงานเครือขาย ศูนยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา มีบทบาทภารกิจในดา นการผลิตรายการโทรทัศนเ พื่อการศึกษา เพื่อเผยแพรทางสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) รายการวิทยุเพื่อการศึกษา เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา ตลอดจนผลิตสื่อการศึกษาเพื่อคนพิการ สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในรูปแบบ อื่นๆ เพ่ือตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมาย ดังน้ันภารกิจของบุคลากรในแตละตําแหนง จึงมีความ แตกตาง หลากหลาย มีคุณสมบัติ ปฏิบัติหนาท่ีแตกตางกันไป กลุมงานแผนและพัฒนาบุคลากร จึงคํานึงถึง หนวยงานและเครือขายที่จัดสงบุคลากรของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาไปอบรม เพื่อใหไดร ับความรแู ละนํา ความรทู ไ่ี ดร บั มาปฏบิ ตั ิหนาท่ใี หมีประสิทธิภาพตอไป โดยในปง บประมาณ 2564 การสงบุคลากรของศนู ยเทคโนโลยี ทางการศึกษาเขารับการอบรมกับหนวยงานกับเครือขายตางๆ น้ัน มีการงดจัดกิจกรรมและการอบรมออกไป อยางไมมีกําหนด เน่ืองจากสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทแ่ี พร ระบาดในประเทศไทยและตา งประเทศ ตง้ั แตวันที่ 26 กุมภาพันธ 2563 กระทรวงสาธารณสุขไดประกาศให โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปน โรคติดตออนั ตราย ทาํ ใหกระทรวงศกึ ษาธิการไดขอความรวมมือ ใหทุกหนวยงานชะลอการอนุมัติหรืออนุญาตการเดินทางไปฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน เมื่อสถานการณ ดีขน้ึ ตามลําดับ จึงมีบางหนวยงานท่สี ามารถจัดการอบรมไดใ นชวงระยะหนึ่งที่ศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษาได ดาํ เนินการจัดสงบุคลากรเขารับการอบรมไดจัดสงเพียง 2 หลักสูตร แตชวงเดือนมีนาคม 2564 การระบาดของ โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกิดการระบาดทวีความรุนแรงข้ึนอยางตอเน่อื งอีกคร้ัง ทําใหรฐั บาล ประกาศใหกรงุ เทพมหานครเปนพ้นื ท่ีเส่ียงสูง งดการจัดกิจกรรมทุกประเภท และขอใหทุกหนวยงานของภาครฐั ปฏิบัติงานนอกสถานทตี่ ง้ั ของสวนราชการ (Work from home) ในสวนของการจดั สงบคุ ลากรเขารบั การอบรม หลกั สตู รตา งๆ ตามหนวยงานภาคีเครือขายจําเปนตองงดจัดกิจกรรมทกุ ประเภท ทาํ ใหกลุมงานแผนและพฒั นา บคุ ลากรสง บุคลากรเขา รับการอบรมไดเ พยี งบางหลักสตู ร รายละเอียดดังน้ี 2.1 อบรมเชงิ ปฏิบัติการโครงการศนู ยดิจทิ ัลชุมชนหลักสูตร การใชงานโปรแกรมสํานักงานเพอ่ื สรา ง โอกาสการมงี านทาํ ใหก ับบุคลากรสังกดั สํานักงาน กศน. รุน ท่ี 2 ผูจดั สาํ นักงาน กศน. ใชง บประมาณ ไมใ ชง บประมาณ ระยะเวลาและสถานท่ีอบรม ระหวา งวันที่ 24 – 25 ธนั วาคม 2563 สถานที่ โรงแรมรอยัลชิตี้ กรงุ เทพมหานคร ผเู ขา รวมอบรม จาํ นวน 2 คน คือ 1. นางอาภาภรณ ชวยสง 2. นางสาวนริศา แสงมณี 2.2 อบรมหลกั สตู ร “การออกแบบและตดิ ต้งั ระบบโซล าเซลล รุนท่ี 3” ผจู ัด สมาคมวศิ วกรทปี่ รึกษาเครอื่ งกลและไฟฟา ไทย ใชงบประมาณ 5,350 บาท สรุปผลการดาํ เนินงานพฒั นาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา ปงบประมาณ 2564

-18- ระยะเวลาและสถานท่ีอบรม ระหวา งวันที่ 1 – 2 เมษายน 2564 สถานท่ี หอ งประชุมอาคาร วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ กรงุ เทพมหานคร ผูเขา รวมอบรม จํานวน 1 คน คอื วา ท่ี ร.ต. ภูมิดล นามตาแสง 3. โครงการพัฒนาประสบการณว ชิ าชพี ดานเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา เปน อกี สง่ิ หน่ึงที่ศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา ใหความสําคัญตอการพัฒนาเพ่ือเตรียมบุคลากร ดานเทคโนโลยีทางการศึกษาใหมีประสบการณและพัฒนาการจัดผลิตและเผยแพรส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงกําหนดนโยบายใหหนวยงานเปนแหลง ฝกประสบการณวิชาชีพ ภาคปฏิบัติของนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาตางๆ เพ่ือสนับสนนุ ใหนิสิต นักศึกษา มีศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ านวิชาชพี ไดอยางกวางขวางสามารถนาํ ไปใชไ ดใ นอนาคต วัตถุประสงคข องโครงการ 1. เพือ่ สนบั สนนุ ใหนสิ ิต นกั ศึกษามีโอกาสพัฒนาความรูและประสบการณใ นการปฏิบัตงิ าน ดา นเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากการศกึ ษาในสถานศึกษา 2. เพอ่ื สง เสริมศักยภาพของนสิ ติ นักศึกษาใหม ีความชํานาญในงานเทคโนโลยกี ารศึกษา กอนเขา ไปสกู ารปฏิบตั ิงานทแี่ ทจรงิ ในอนาคต หลักสตู รการฝกประสบการณวิชาชีพดานเทคโนโลยกี ารศกึ ษา หลกั สูตรการฝก ประสบการณว ชิ าชพี สาํ หรบั นสิ ติ นกั ศกึ ษาแบงเปน 2 ระดับ แบงเปน 1. หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรีมี 5 หลกั สูตร 1.1 หลักสูตรการผลติ รายการโทรทศั นเพ่ือการศกึ ษา 1.2 หลกั สตู รการผลิตรายการวทิ ยุเพอื่ การศกึ ษา 1.3 หลักสูตรผลิตส่อื มัลตมิ ีเดียเพ่ือการศกึ ษา 1.4 หลกั สตู รการผลิตสอ่ื มัลติมเี ดียเพอื่ การศกึ ษาสําหรบั คนพิการ 1.5 หลกั สูตรชางไฟฟา – อเิ ล็กทรอนิกส / สอื่ สาร – โทรคมนาคม 2. หลกั สตู รระดับอนปุ ริญญาตรีมี 2 หลกั สูตร ไดแก 2.1 หลักสูตรชางไฟฟา – อิเล็กทรอนิกส 2.2 หลกั สูตรการบริหารงานทว่ั ไปและสาํ นกั งาน 3.1 การฝกประสบการณวชิ าชพี นักศึกษา ประจําปก ารศกึ ษา 2564 ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา สํานักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับนักศึกษา จํานวน 9 คน ซึ่งเปนนักศึกษาจากสถาบันตางๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดเขารับการ ฝก ประสบการณว ิชาชพี ในชว งปก ารศกึ ษา 2564 เนอ่ื งจากสถานการณการระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีทวีความรุนแรงขึ้นในประเทศ อีกท้ังกรุงเทพมหานครเปนพ้ืนท่ีท่ีมีความเส่ียงสูงและมีผูติดเชื้อ เปนจํานวนมากมีแนวโนมจะเกิดการระบาดและยืดเยื้อ เพื่อเปนการเตรียมพรอมรับมือสถานการณใหเปน ไปตามมาตรการการเฝาระวังของประกาศกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตรวิจัยและนวัตกรรม ไดขอความ สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษา ปงบประมาณ 2564

-19- รวมมอื ใหส ถาบันอุดมศึกษาทกุ แหงพิจารณาสาํ หรับการฝกงานทุกรปู แบบขอใหพิจารณายกเลิกหรือปรบั เปลี่ยน กําหนดระยะเวลาและกิจกรรมอ่ืนที่เหมาะสมทดแทน ทางศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาไดประสานงานกับ อาจารยท่ีปรึกษาเพื่อสงนักศึกษากลับบางสถาบันกอนระยะเวลาที่กําหนด และสถาบันการศกึ ษาหลายแหงท่ี ยังคงใหนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพตอ โดยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาไดประสานงานกับอาจารยท่ี ปรึกษาเพ่ือรวมหารือแนวทางการฝกประสบการณวิชาชีพ โดยมีการมอบหมายงานใหกับนักศึกษาฝก ประสบการณวชิ าชีพไดฝ ก ปฏบิ ัติ เรียนรู มอี าจารยพ เ่ี ล้ียงแตละสว น ดแู ล กาํ กับ ใหค าํ ปรึกษาและคาํ นึงถึงความ ปลอดภัยของนักศึกษาตลอดระยะเวลาการฝกประสบการณวชิ าชีพที่ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมีนิสิต นักศกึ ษาที่เขา รบั การฝกประสบการณวชิ าชพี ในปการศกึ ษา 2564 จํานวนทงั้ ส้นิ 9 คน รายละเอยี ดดังน้ี ที่ ชอ่ื – สกลุ สถาบัน สวน ระยะเวลา การปฏิบตั ิงาน การฝก งาน 1 นางสาวนันทวดี รัตนเพช็ ร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี สสพ. การผลิตส่ือ ราชมงคลพระนคร วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2563 การศึกษา ถงึ วันท่ี 5 มีนาคม 2564 เพ่ือคนพิการ 2 นายศกั ดน์ิ รนิ ทร ทัพประเสริฐ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี สสพ. การผลิตสอ่ื ราชมงคลพระนคร วันท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 การศกึ ษา ถงึ วนั ท่ี 5 มนี าคม 2564 เพือ่ คนพกิ าร 3 นางสาวศวิ ณิ า สิงหะการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี สสพ. วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2563 การผลติ สื่อ ราชมงคลพระนคร ถึง วันท่ี 5 มนี าคม 2564 การศึกษา เพื่อคนพิการ 4 นางสาวกัลยาวริศ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สสพ. วันท่ี 1 ธนั วาคม 2563 การผลติ สอื่ ปฐมพรชยั วงษ สวนสนุ ันทา ถงึ วันที่ 18 มกราคม 2564 การศึกษา เพอื่ คนพิการ 5 นางสาวณฐั พมิ ล โตไว มหาวิทยาลยั สผท. วันท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2563 การผลติ รายการ นอรท กรุงเทพ ถึง วันท่ี 12 กมุ ภาพันธ 2564 โทรทศั นเพ่ือ การศึกษา 6 นางสาวณฐั สดุ า เขียวทอง มหาวิทยาลยั พะเยา สขท. วันท่ี 1 ธันวาคม 2563 การผลิตขาว 7 นางสาวสพุ รรณิการ นวลงาม มหาวทิ ยาลยั พะเยา ถงึ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2564 โทรทศั น วันท่ี 1 ธันวาคม 2563 การผลติ ขา ว สขท. ถงึ วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ 2564 โทรทศั น 8 นายภานุพงศ กองคาํ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สผท. วันที่ 1 ธนั วาคม 2563 การผลิตรายการ ราชมงคลธัญบรุ ี ถงึ วนั ที่ 2 เมษายน 2564 โทรทศั นเพอื่ การศึกษา 9 นายธีรพงศ ทองเชดิ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ สวพ. วนั ท่ี 1 มิถุนายน 2564 การผลติ ส่ือดจิ ิทัล ถึง วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2564 เพอื่ การศึกษา สรปุ ผลการดาํ เนินงานพัฒนาบุคลากรศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา ปงบประมาณ 2564

-20- ภาพกจิ กรรมฝก ประสบการณวชิ าชพี นักศกึ ษา ประจาํ ปการศกึ ษา 2564 สรุปผลการดําเนนิ งานพฒั นาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-21- ภาพกจิ กรรมฝก ประสบการณวชิ าชพี นักศกึ ษา ประจาํ ปการศกึ ษา 2564 สรุปผลการดําเนนิ งานพฒั นาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

-22- ภาพกจิ กรรมฝก ประสบการณวชิ าชพี นักศกึ ษา ประจาํ ปการศกึ ษา 2564 สรุปผลการดําเนนิ งานพฒั นาบุคลากรศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา ปง บประมาณ 2564

คณะผจู ดั ทาํ ทปี่ รึกษา ทปี่ รึกษาดานเทคโนโลยีและการศกึ ษานอกระบบ นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ ผูเชย่ี วชาญเฉพาะดา นเผยแพรท างการศึกษา นายสราวธุ กองสุทธิ์ใจ รกั ษาการผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานการผลิตสื่อเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา นายธนพัชร ขุนเทพ ผอู าํ นวยการศูนยเทคโนโลยที างการศึกษา นางวรภร ประสมศรี ผคู วบคมุ การดําเนินงาน หวั หนากลมุ งานแผนและพัฒนาบุคลากร นายสหพฒั น ไตรรตั นวนชิ คณะผดู ําเนนิ งาน นายสหพัฒน ไตรรตั นวนชิ นางพจมาลย จกั รเพชร นายบุญยงค หงษจนั ทร นายภูมิศกั ดิ์ ภูมเิ ขยี ว นางสาวกลั ยว รี  พรหมสิทธิ์ นางสาวยมลภทั ร ถนอมทูน ผรู บั ผดิ ชอบการดาํ เนนิ งาน นางสาวยมลภทั ร ถนอมทนู  สรุปผลการดาํ เนินงานพัฒนาบคุ ลากรศูนยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา ปง บประมาณ 2564

อาคาร กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจัย ซีพี ทาวเวอร 3 และนวัตกรรม สถานีรถไฟฟา BTS โรงเรยี นสันตริ าษฎร สน.พญาไท พญาไท วิทยาลัย สาํ นกั งานเขตราชเทวี โรงพยาบาลสงฆ โรงแรมเดอะ สุโกศล กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ัย กระทรวง และนวัตกรรม อตุ สาหกรรม สถานรี ถไฟฟา BTS อนุสาวรียช ยั ฯ โรงพยาบาลพระมงกฎุ ฯ คา พกิ ัด 13° 45.505” N 100° 31.893” E


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook