Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานเรื่อง-ภูมิปัญญาท้องถิ่น-ประเพณีกวนข้าวทิพย์-1

โครงงานเรื่อง-ภูมิปัญญาท้องถิ่น-ประเพณีกวนข้าวทิพย์-1

Published by Ittipatsinchana, 2021-02-07 10:55:13

Description: โครงงานเรื่อง-ภูมิปัญญาท้องถิ่น-ประเพณีกวนข้าวทิพย์-1

Search

Read the Text Version

โครงงานเร่อื ง ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์ จดั ทาโดย นายอิทธิพัทธ์ สนิ ชนะ รหสั นักศึกษา 6231110099 เอกสารฉบบั นเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวชิ าชวี ติ กับ สงั คมไทย วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

โครงงานเร่อื ง ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์ จดั ทาโดย นายอิทธิพัทธ์ สนิ ชนะ รหสั นักศึกษา 6231110099 เอกสารฉบบั นเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวชิ าชวี ติ กับ สงั คมไทย วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

คำนำ โครงงานเลม่ นี้จัดทำขนึ้ มาเพอื่ เป็นสว่ นหนึ่งของวชิ า ชีวิตกับสังคมไทย รหสั วิชา 3000-1501 ระดบั ชั้น ปวส.2 กลมุ่ 5 เพอ่ื ใหไ้ ดศ้ กึ ษาหาความร้ใู นเรื่องประเพณกี วนขา้ วทิพย์ ผ้จู ดั ทำหวังว่า โครงงานเลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ ับผู้อา่ น หรอื นักเรียน นกั ศึกษา ท่กี ำลงั หาขอ้ มูล เรื่องนอี้ ยู่หากมีข้อแนะนำหรือข้อผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย ผู้จดั ทำ นายอิทธพิ ทั ธ์ สินชนะ วันที่ 30 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564

ชอื่ เร่ือง : ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ประเพณีกวนขา้ วทิพย์ ค ผจู้ ดั ทำ : นายอทิ ธพิ ทั ธ์ สินชนะ ที่ปรกึ ษา : ครูศิรโิ สภา วิศิษฏว์ ัฒนะ ปกี ารศกึ ษา : 2563 บทคดั ยอ่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เร่ือง ประเพณีกวนขา้ วทิพย์ ในตำบลมหาสอน อำเภอบา้ นหม่ี จังหวัดลพบุรี มี วตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศกึ ษาประวัตคิ วามเปน็ มาของประเพณีกวนข้าวทพิ ย์ เพ่ือใหร้ จู้ ักขน้ั ตอนวธิ กี าร เตรียมของก่อนรว่ มงานพิธี เพ่อื สืบทอดและดำรงรักษาภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ประเพณีกวนข้าวทิพยใ์ หค้ ง อยตู่ ลอดไป และเพ่ือเผยแพร่ภูมิปัญญาประเพณีกวนขา้ วทิพย์ให้แพรห่ ลาย กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ น การศกึ ษา คือ ชาวบ้าน ตำบลมหาสอน อำเภอบ้านหมี่ จงั หวัดลพบรุ ี โดยการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดย ใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณ์ผลของการศกึ ษา ประเพณีการกวนขา้ วทิพย์ เป็นพธิ กี รรมของศาสนาพราหมณ์ท่ี ปะปนกับพิธกี รรมของศาสนาพุทธ โดยอ้างถึงเหตุการณ์ในสมัยพทุ ธกาลท่ีนางสชุ าดาได้ปรงุ ข้าว มธปุ ายาสถวายพระโคตมพุทธเจ้ากอ่ นที่พระองค์จะตรสั รู้ ถอื กนั วา่ ขา้ วมธุปายาสเปน็ ของทพิ ย์ เม่ือได้ จัดทำข้ึนจงึ เรยี กว่า ขา้ วทิพย์ ในประเทศไทย ชาวบา้ นจะทำในเทศกาลออกพรรษา ถวายพระสงฆ์ เพ่อื เป็นการสักการบชู า ซึง่ ถือเปน็ สิริมงคลกับตนเองถ้ารบั ประทาน การกวนข้าวทิพย์ต้องอาศัยความ สามัคคจี ากชาวบ้านจึงจะสำเร็จลงได้ การท่ีทำในวันออกพรรษา เพื่อถวายเปน็ เครื่องสักการบูชา และ รบั เสด็จพระพุทธองค์ที่เสดจ็ จากจำพรรษาในสวรรคช์ ั้นดาวดึงส์ จะทำให้เกดิ ประเพณีกวนข้าวทิพย์ สบื มาจนถงึ ปัจจบุ ัน

กิตตกิ รรมประกาศ ง การจัดทำโครงงาน เรอื่ งภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์ โครงงานฉบบั นีส้ ำเร็จได้ ด้วยความกรณุ า ของครูผ้สู อน ซึง่ ได้ให้คำปรึกษา ข้อช้แี นะและความชว่ ยเหลือ จนกระท่ังโครงงาน สำเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ้วยดีคณะ ผู้จดั ทำขอกราบขอบพระคุณอยา่ งสูงมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทป่ี รกึ ษา ที่ให้ความกรุณาในการแก้ไขขอ้ บกพร่องต่างๆ ของ โครงงาน และให้ความรู้ ใหค้ ำแนะนำทั้งกำลงั ใจ ทา้ ยสดุ นีค้ ณะผู้จดั ทำหวังเปน็ อยา่ งย่ิงวา่ โครงงานน้ีจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การศึกษาและ นา่ สนใจ สำหรบั ผ้ทู ่สี นใจตอ่ ไป นายอทิ ธิพัทธ์ สินชนะ

สารบัญ จ เรอื่ ง หนา้ บทคดั ย่อ ค กติ ติกรรมประกาศ ง สารบญั จ สารบญั ตาราง ช สารบญั ภาพ ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 วตั ถุประสงค์ 2 1.3 ขอบเขต 2 1.4 ประโยชนท์ ี่ได้รบั บทที่ 2 ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง 3 2.1 ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ 3 2.2 ความสำคญั ของภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ 3 2.3 คำจำกดั ความของภมู ิปัญญาท้องถิ่น บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการ 4 3.1 วธิ ีการศึกษา 4 3.2 เครอ่ื งมือและวัสดุ อปุ กรณ์ 5 3.3 วัสดุหรอื อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นควา้ 6 4.1 ประวตั ิความเป็นมาและความสำคญั ของภูมปิ ัญญา 7 ทอ้ งถน่ิ ประเพณีกวนข้าวทพิ ย์ 9 4.2 การเตรยี มวัสดอุ ปุ กรณ์ ประเพณีกวนข้าวทิพย์ 10 4.3 ขน้ั ตอนการดำเนินการกวนขา้ วทิพย์ 10 10 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผล 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาคน้ ควา้ 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา บรรณานกุ รม

ภาคผนวก ประวัติผูศ้ กึ ษา

สารบัญตาราง ช เรื่อง หน้า ตารางที่ 3.1 แผนการปฏบิ ตั งิ าน 4

สารบญั ภาพ ซ เรือ่ ง หนา้ ภาพท่ี 3.1 กำหนดหัวข้อเร่ืองท่ีจะศึกษา 5 ภาพที่ 3.2 การกวนขา้ วทิพย์ 5 ภาพที่ 4.1 ขนั้ ตอนการกวนข้าวทพิ ย์ 9

บทท่ี 1 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มา ในปจั จบุ ันเทคโนโลยไี ด้เข้ามามีบทบาทต่อการดำรงชวี ติ ของคนไทยเป็นอย่างมาก และ เศรษฐกจิ ของไทยก็เป็นไปตามกระแสทุนนิยม ส่งผลทำใหว้ ิถีชาวบา้ นเปลย่ี นแปลงไป พร้อมกับสง่ ผล ทำใหเ้ ยาวชนไทยไม่ตระหนกั ถึงความสำคัญของภูมปิ ญั ญาไทย ขาดจติ สำนึกความเป็นไทย โครงการ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของชาวจึงเป็นแนวทางหรือทางเลอื กใหก้ ับคนในชมุ ชนทางด้านการนำภูมปิ ัญญา ทอ้ งถิ่นไปใช้ โครงการภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ของชาวจึงเป็นแนวทางหรอื ทางเลือกให้กับคนในชุมชนทางดา้ น การนำภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ไปใช้ และครง้ั นก้ี ็ได้ทำโครงงาน ประเพณกี วนขา้ วทิพย์เป็นพิธกี รรมของ ศาสนา พราหมณ์ทม่ี ีสอดแทรกเขา้ มาปะปนในพธิ กี รรมทางพุทธศาสนา เพอื่ ถวายแด่พระภิกษสุ งฆ์ และบูชาพระรัตนตรัยอุทศิ ส่วนกศุ ล ใหแ้ ก่ผู้ตาย ประเพณกี วนขา้ วทิพย์เป็น พระราชพิธที ่ีกระทาํ กนั ในเดอื น ๑๐ ซง่ึ มีมาต้ังแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี และไดร้ ับการ ฟื้นฟคู รง้ั ใหญ่ ใน สมยั รชั กาลที่ ๑ และมาละเวน้ เลิกรา ไปในสมัยรัชกาล ที่ ๒ และรัชกาลที่ ๓ แล้วมาได้รับ การฟ้นื ฟู อีกคร้ังหน่งึ ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ เปน็ ตน้ มา แตใ่ นปัจจุบนั น้สี ่วนใหญ่จะจัดกันในเดือน ๑๒ บางแหง่ ก็ เดือนหน่ึง ซ่ึงคงจะถือเอาระยะท่ขี ้าวกลา้ ในท้องนามีรวงขาวเปน็ น้ำนม ของแต่ละปีและชาวบา้ นกม็ ี ความพร้อม เพรยี งกนั ในจังหวัดสิงหบ์ รุ บี ริเวณท่ยี ังคงรกั ษาประเพณกี วน ข้าวทิพย์ มเี หลืออยเู่ พยี ง ๓ หมู่บา้ น คือหมู่บ้าน พัฒนา โภคาภิวฒั นห์ มู่บ้านวดั กฎุ ที อง หมบู่ ้านในอําเภอพรหมบรุ ยี ังคงรปู เค้า โครง ของการรกั ษาประเพณีและ มคี วามเชื่อถือ อยา่ งมน่ั คง เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีซง่ึ แฝงด้วยจรยิ ธรรม และคตธิ รรมอยมู่ าก ที่สมควรนํามากล่าวถึง คือ ความพร้อมเพรยี งของ ชาวบ้านทง้ั ท่ี ทํานา และไมได้ ทาํ นาถึงเวลาก็มาร่วมจดั ทําและ ช่วยเหลือโดยยดึ ถอื ความสามคั คเี ปน็ หลกั 1.2 วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ศกึ ษาประวัติความเป็นมาของประเพณีกวนข้าวทิพย์ 2.2 เพื่อให้ร้จู ักขั้นตอนวิธกี ารเตรยี มของก่อนร่วมงานพธิ ี 2.3 เพอ่ื สบื ทอดและดำรงรักษาภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์ใหค้ งอยู่ตลอดไป 2.4 เพอ่ื เผยแพรภ่ ูมปิ ัญญาประเพณีกวนขา้ วทิพย์ให้แพร่หลาย 1.3 ขอบเขตของงาน 3.1 สถานที่ ตำบลมหาสอน อำเภอบา้ นหม่ี จังหวดั ลพบุรแี ละอินเทอร์เนต็ ในการศึกษา 3.2 ระยะเวลา

โครงงานนี้เร่ิมทำการศึกษาต้ังแตเ่ ดือน 5 มกราคม – 25 มกราคม 2564 3.3 ตวั แปรหรือประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 3.3.1 ประชากร คือ ชาวบ้านในตำบลมหาสอน อำเภอบ้านหม่ี จงั หวัดลพบุรี

3.3.2 กลุ่มตัวอยา่ ง คือ ชาวบา้ น ตำบลมหาสอน อำเภอบา้ นหม่ี จังหวดั ลพบุรี 2 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์ 1.4 ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ 4.1 ไดศ้ กึ ษาประวตั ิความเปน็ มาของประเพณีกวนขา้ วทิพย์ 4.2 ได้จักข้ันตอนวิธีการเตรียมของก่อนรว่ มงานพธิ ี 4.3 ไดม้ สี ว่ นร่วมในการสบื ทอดและดำรงรักษาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ประเพณีกวนข้าวทิพยใ์ ห้คง อยู่ 4.4 ไดเ้ ผยแพรภ่ ูมิปัญญาประเพณีกวนขา้ วทิพย์ใหแ้ พร่หลาย

บทที่ 2 3 ทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วข้อง ในการศึกษาโครงงาน เร่อื ง ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ประเพณกี วนข้าวทพิ ย์ ผจู้ ดั ทำไดร้ วบรวม แนวคดิ ทฤษฎีและหลกั การตา่ งๆ จากเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งดังต่อไปนี้ 2.1 ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้อธบิ ายความหมายของภูมปิ ญั ญา ไว้ว่า “ภมู ิปญั ญา หมายถงึ ความรู้ ทเี่ กดิ จากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผา่ นกระบวนการศึกษา สงั เกตคิดวเิ คราะหจ์ นเกิดปัญญา และตกผลกึ มาเป็นองค์ความรู้ท่ปี ระกอบกันขนึ้ มาจากความรเู้ ฉพาะหลาย ๆ เร่อื ง ความรู้ดังกลา่ ว ไม่ไดแ้ ยกย่อยออกมาเปน็ ศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาตา่ ง ๆ อาจกลา่ วไว้ว่า ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นจัดเป็น พืน้ ฐานขององคค์ วามรู้สมยั ใหมท่ ี่จะชว่ ยในการเรยี นรู้ การแกป้ ัญหา การจดั การ แลการปรับตัวในการ ดำเนินชีวติ ของคนเรา ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ เป็นความรู้ท่ีมีอยู่ท่ัวไปในสังคม ชุมชนและในการตวั ของผู้รู้ เอง หากมีการสบื คน้ หาเพื่อศึกษา และนำมาใช้กจ็ ะเป็นที่รู้จกั กนั เกิดการยอมรับ ถา่ ยทอด และพฒั นา ไปสู่คนรุ่นใหม่ตามยุคตามสมัยได”้ 2.2 ความสำคญั ของภมู ิปัญญาท้องถิน่ ประกอบ ใจมั่น (2539) ได้กล่าวถึงความสำคัญของภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ไวด้ ังนี้ คอื 1. ช่วยใหส้ มาชกิ ในชมุ ชน หมู่บ้านดำรงชีวิตอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ย่างสงบสขุ 2. ช่วยสรา้ งความสมดุลระหวา่ งคนกบั ธรรมชาตแิ วดล้อม 3. ชว่ ยให้ผคู้ นดำรงตนและปรับเปลี่ยนทันต่อความเปล่ยี นแปลงและผลกระทบอนั เกดิ จาก สงั คมภายนอก 4. เปน็ ประโยชนต์ อ่ การทำงานพฒั นาชนบทของเจ้าหนา้ ที่จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพ่ือทจี่ ะได้ กำหนดทา่ ทีการทำงานให้กลมกลืนกบั ชาวบ้านมากยิ่งขนึ้ 2.3 คำจำกัดความของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ยพุ าพร จานประดบั (2544) ไดส้ รุปความหมายของภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ไวว้ ่า คือ องคค์ วามรู้ ของท้องถิน่ หรอื ทุกสิ่งทุกอย่างท่บี ุคคลในท้องถน่ิ คดิ ขึ้นจากสติปัญญาและความสามารถของทอ้ งถนิ่ เอง เพื่อใชใ้ นการ แกป้ ัญหาหรือดำเนนิ ชวี ิตได้อย่างเหมาะสม โดยมีกระบวนการสั่งสมสืบทอดมาเป็น เวลานาน

4 บทท่ี 3 วธิ ีศึกษาค้นควา้ การจดั ทำการศกึ ษาคน้ ควา้ โครงงาน เรอ่ื ง ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ประเพณีกำฟ้า น้ี ผู้จัดทำ โครงการมี วิธีการดำเนนิ งานโครงงาน ตามข้ันตอนดงั ต่อไปนี้ 3.1 วิธกี ารศกึ ษา 3.1.1 กำหนดหวั ข้อเรื่องท่จี ะศกึ ษา หรือหัวข้อโครงงาน 3.1.2 รา่ งเค้าโครงโครงงานเสนอตอ่ ครทู ปี่ รึกษา 3.1.3 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.1.4 ลงมือปฏิบตั ิ 3.1.5 วเิ คราะหข์ ้อมลู 3.1.6 สรุปผล ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน การดำเนินงาน วนั ท่ี 5-30 มกราคม 2564 5 10 15 20 25 30 1. กำหนดหัวขอ้ เร่ืองทีจ่ ะศึกษา หรอื หัวข้อโครงงาน 2. ร่างเค้าโครงโครงงานเสนอตอ่ ครทู ่ปี รึกษา 3. เก็บรวบรวมขอ้ มลู 4. ลงมอื ปฏบิ ัติ 5. วิเคราะห์ข้อมลู 6. สรปุ ผล ตารางท่ี 3.1 แผนการปฏิบัติงาน 3.2 เคร่อื งมอื และวสั ดุ อปุ กรณ์ วัตถทุ ่กี วน ได้แก่ น้ำนมโคสด (ปัจจุบันใช้นมข้นหวานแทน) น้ำผ้ึง น้ำออ้ ย ชะเอมเทศ นำ้ ตาลกรวด น้ำตาลหมอ้ ข้าวตอก ข้าวเม่า ธญั พชื ต่าง ๆ ท่ีคั่วสกุ ถว่ั งา ลูกเดือย เมล็ดแตง เผอื กมนั

เมล็ดบวั มะพรา้ วแก่ มะพร้าวอ่อน ผลไมส้ ด ผลไม้แหง้ เชน่ มะมว่ ง กลว้ ย ทเุ รียน ละมุด ลำไย ส้ม ขนนุ เป็นต้น

3.3 วัสดุหรอื อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 5 3.3.1 กลอ้ งโทรศัพท์มือถือ ใชใ้ นการถ่ายรายละเอียดงาน 3.3.2 Notebook เชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตในการทำโครงงาน 3.3.3 โปรแกรม Microsoft Word ในการทำรูปเลม่ ภาพ ที่ 3.1 กำหนดหวั ขอ้ เร่ืองทจ่ี ะศึกษา ภาพที่ 3.2 การกวนขา้ วทิพย์

บทท่ี 4 6 ผลการศกึ ษาค้นควา้ 4.1 ประวัตคิ วามเป็นมาและความสำคญั ของภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ประเพณีกวนข้าวทพิ ย์ ข้าวทพิ ย์ หมายถึง อาหารวิเศษ สำหรับถวายเทวดา( ในความหมายทนี่ ี้หมายถึงองคส์ มเด็จ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ) เปน็ อาหาร ที่ทำจากสง่ิ ตา่ งๆท่ีคนใช้รับประทานหลากหลายชนดิ จนเรยี กวา่ ทำมาจากอาหาร 108 อย่าง เชน่ นำ้ นมข้าว ข้าวสาลเี กษตรสาคู เผอื ก มนั นม เนย ผักผลไม้ มะพรา้ ว นำ้ ออ้ ย ฯลฯ นำมาบดจนเป็นแปง้ ผสมในนำ้ กะทิกรองเอาแตน่ ้ำ ใส่นำ้ ตาล แลว้ นำมากวน บนไฟออ่ นๆ จงึ เรียกว่า \"ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์” พธิ กี วนขา้ วทิพย์ เริม่ ตน้ ด้วยพธิ พี ราหมณ์ ตงั้ บายศรบี วงสรวงเทพยดาเครอื่ งประกอบในการ ตั้งบายศรี มีไตรจีวร 1 ชดุ และถาดใส่อาหารมีข้าว ไข่ ขนมต้มแดง ขนมตม้ ขาว และผลไม้ พราหมณ์ สวดชมุ นมุ เทวดา แล้วเรม่ิ พิธกี วนข้าวทิพย์ โดยการนำเอาข้าวทย่ี ังเปน็ นำ้ นม (ขา้ วท่ีเพ่ิงออกรวงใหม่ ทเ่ี มล็ดยงั เปน็ แป้ง นำมาเอาเปลือกออก) สิง่ ของเคร่ืองปรุงข้าวทิพย์ คือมงคล 9 สิ่ง ได้แก่ นม เนย ถัว่ งา นำ้ อ้อย น้ำตาล นำ้ ผ้ึง และผลไม้ตา่ งๆ ใส่รว่ มกันลงไป แลว้ กวนให้ขา้ วสกุ จนเหนยี ว การกวนข้าว ทพิ ย์นจี้ ะต้องใชส้ าวพรหมจารี นุ่งขาวหม่ ขาวอยา่ งนอ้ ย 4 คน เปน็ ผกู้ วน ในวนั ข้นึ 15 คำ่ เดือน 6 ทายก ทายกิ า จะชว่ ยกันปัน้ ขา้ วทิพยเ์ ป็นก้อนๆ ถวายแด่พระภิกษุ ภายในวดั และจดั แบ่งไปถวายพระภิกษตุ ามวดั ต่างๆ ที่อยูใ่ กลเ้ คียง ทเ่ี หลอื แจกจา่ ยใหแ้ ก่ประชาชนท่ี ไปรว่ มทำบุญในวนั นนั้ เพอื่ เป็นการใหท้ าน ข้าวมธปุ ายาส เป็นข้าว ท่ีหงุ ด้วยนำ้ นม อย่างดี ที่นางสุชาดา ธิดาของเศรษฐหี มู่บา้ นเสนา นคิ ม ได้นำ ไปบวงสรวงเทพยดาทีใ่ ต้ตน้ นิโครธ (ต้นไทรใหญ่) ในวนั เพ็ญข้นึ 15 ค่ำ เดือน 6 ไดพ้ บ พระพทุ ธองค์ ประทบั อยู่ใต้ต้นนิโครธเขา้ ใจว่าเป็นเทพยดา จงึ ไดข้ า้ วมธุปายาสไปถวาย เมื่อพระพุทธ องค์ทรงเสวยเสร็จแลว้ แล้วนางไดก้ ล่าวแก่ พระสทิ ธตั ถะว่า \"ขอให้พระองค์ จงประสพความสำเรจ็ ในสิง่ ทพ่ี ระองค์ ทรงประสงค์ เชน่ เดยี วกับทด่ี ฉิ ัน ได้ประสพความสำเรจ็ ในสิง่ ที่ดิฉัน ประสงคแ์ ล้ว เถดิ เจา้ ข้า” ดังน.้ี พระองค์ทรงรบั บณิ ฑบาตนน้ั แลว้ , ปน้ั ก้อนข้าวเปน็ 49 กอ้ น แลว้ ฉันจนหมด. อาหารม้ือนเ้ี อง เป็น อาหารม้ือก่อนการตรสั รู้ เปน็ สมเดจ็ พระสัมมา สมั พุทธเจ้า. โดยได้ทรงนำถาด ทองที่ใส่ข้าวมธปุ ายาสนั้นไปลอยน้ำ และทรงอธษิ ฐานวา่ ถา้ หากพระองคจ์ ะไดต้ รัสรู้ก็ขอใหถ้ าดทอง น้นั ลอยทวนน้ำขึ้นไป เมอ่ื พระองค์ทรงวางถาดลงในนำ้ ก็ปรากฏว่า ถาดทองลอยทวนนำ้ ขน้ึ เหนือนำ้ ดงั คำอธิฐาน ซึ่งพระองค์ทรงถือว่าภัตตาหารมื้อนน้ั ไดม้ สี ่วนทำให้พระองค์ไดส้ ำเร็จและตรสั รอู้ ริยสัจ 4 ได้ ประเพณกี ารกวนข้าวทิพย์ เปน็ ประเพณีท่ชี าวบา้ นไดป้ ฎิบัติสืบต่อกนั มา มขี ัน้ ตอนการปฎิบัติ โดย.... เรมิ่ จากวันก่อนออกพรรษา 1 วัน คอื วนั ข้นึ 14 ค่ำ เดอื น 11 ทางวัดไดป้ ระกาศให้

พทุ ธศาสนกิ ชน นำวัตถดุ บิ ทีม่ ี มาบรจิ าค โดยทางวัดไดจ้ ัดทำบัญชีรบั บริจาค โดยอบุ าสกอุบาสกิ า ได้ ลงมาวดั และเตรยี มอุปกรณ์ วัตถดุ ิบต่างๆเช่นขดู มะพรา้ ว ปอกเปลือกผลไม้ นำมาบด

นำมาตำ ละลายนำ้ กะทิกรองเอาแต่น้ำ ในหมูบ่ า้ นท่ีมีคนบริจาคมากจะได้น้ำแปง้ กะทิมาก จนเวลา 7 ประมาณ บา่ ย 2 - 3 โมง ก็นำหญิงพรหมจารีย์ ที่คัดเลอื กมาจากเด็กหญิงที่ ยงั ไม่เปน็ ประจำเดอื น มาจำนวน 4 คน เพื่อนำมาบวช ( นยั วา่ เป็นตัวแทนของนาง สุชาดา ผู้นำข้าวมธปุ ายาส มาถวาย พระพทุ ธเจา้ ) มาบวชชพี ราหมณ์ นงุ่ ขาว หม่ ขาว โดยพระภกิ ษสุ งฆ์ เป็นผบู้ วชให้ เมื่อบวชเสร็จกแ็ ห่ ขบวน อนั ประกอบไปด้วย ขบวนหญิงพรหมจารยี ์ 4 คน ถือไม้พายกวนข้าวทิพย์ และฟืนก่อไฟ คนละ 1 ดุน้ ขบวนผหู้ ญงิ หาบหาม นำ้ ปรุงขา้ วทพิ ย์ 4 ถงั ขบวนกลองยาวแห่ รอบโบสถ์ 3 รอบ ในขณะท่ี แห่วนรอบโบสถ์ พระภกิ ษุสงฆก์ ็จะสวดมนต์คาถา ลั่นฆ้องล่ันกลองครบ 3 รอบ หญิงพรหมจรรย์ กจ็ ะ ไปทเี่ ตาไฟ อุบาสกิ า จะนำน้ำเครือ่ งทิพย์ มาเทลงกะทะ บนเตาไฟแล้วเติมฟืนทีน่ างเตรียมมา นางทั้ง 4 คน จะเปน็ ผ้เู ร่ิมตน้ กวน เปน็ พธิ ี หลงั จากนัน้ ก็ให้กลุม่ แม่บ้านและเยาวชนกวนตอ่ ไป แล้วนำนาง มาลาสกิ ขาบท ซ่งึ ชาวบา้ นจะติดเตาไฟ 2 - 4 เตา เพื่อทจี่ ะไดก้ วนชว่ ยกันจะใช้เวลากวน ประมาณ 30 -40 นาที น้ำเครื่องทิพยจ์ ะจับตัวกนั เป็นวนุ้ เนอื้ เดียวกนั โดยไมต่ ิดกะทะก็ถือว่าสกุ ได้ที่ นำมาเทใส่ ถาดแบนแลว้ โรยหนา้ ด้วย ถ่ัวงา นำไวถ้ วายพระ ในวนั รุ่งขึ้น ซง่ึ เปน็ เชา้ ของวันออกพรรษา 15 คำ่ เดือน 11 วันตักบาตรเทโวโรหนะ 4.2 การเตรยี มวัสดุอุปกรณ์ ประเพณีกวนข้าวทพิ ย์ 4.2.1 ข้ันตอนการปฏิบัตหิ รือจัดพิธกี รรม ต้องมีการตระเตรยี มข้าวของตา่ งๆ จำนวนมาก อาทิ นม เนย ข้าวตอก น้ำนม น้ำออ้ ย น้ำผ้งึ มะพร้าว งา ถ่ัวตา่ งๆแตส่ ิ่งของเคร่ืองปรุงข้าวทิพย์ ได้ เลือก คงไว้ ๙ สง่ิ คอื ถัว่ , งา , นม , นำ้ ตาล , น้ำผ้งึ , น้ำออ้ ย เนย และน้ำนมท่ีคน้ั จากรวงข้าวและ ยังคงรักษารปู เดมิ ไว้ โดยมพี ราหมณ์ เขา้ พิธี มีสาวพรหมจารซี ง่ึ จะพิถพี ิถันคดั เลือกจากหญิงสาว ทีย่ งั ไมม่ ีดอกไม้ (ระด)ู ด้วยต้องการบริสุทธสิ์ ำหรบั สาว พรหมจารีทจ่ี ะเขา้ รว่ มพธิ ี ตอ้ งสมาทานศีล ๘ และ ต้องถือ ปฏบิ ตั ิตามองค์ศลี อย่างมัน่ คง แมท้ ี่พกั ก็จดั ใหอ้ ยู่ส่วนหนึง่ จนกระทงั่ ถึงเวลาถวายข้าวทพิ ยแ์ ก่ พระสงฆ์ ในตอนเชา้ จงึ จะหมดหน้าทีว่ ตั ถทุ ่ีกวน ได้แก่ น้ำนมโคสด (ปจั จุบันใช้นมขน้ หวานแทน) น้ำผึง้ น้ำอ้อย ชะเอมเทศ น้ำตาลกรวด นำ้ ตาลหมอ้ ข้าวตอก ข้าวเม่า ธัญพืชตา่ ง ๆ ท่ีคั่วสุก ถ่ัว งา ลูกเดือย เมล็ดแตง เผือกมัน เมล็ดบัว มะพร้าวแก่ มะพรา้ วอ่อน ผลไม้สด ผลไมแ้ ห้ง เช่น มะม่วง กล้วย ทุเรยี น ละมุด ลำไย ส้ม ขนุน เป็นต้น ทง้ั นแ้ี ล้วแต่ความเหมาะสมเทา่ ท่จี ะหาไดห้ รอื ปรับปรุงให้ มรี สชาติหอมหวานอร่อย ตามความต้องการของผกู้ วนในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ บางท้องที่อาจใช้ผลไม้ชนดิ ตา่ งๆ ที่มีการจัดเตรียมการในพิธีกวนขา้ วทิพย์ต้องจดั เตรยี มสง่ิ สำคัญดงั น้ี - ตอ้ งปลูกโรงพิธขี ึ้น ๑ หลงั ให้กว้างใหญ่พอสมควร เพ่ือตั้งโตะ๊ บูชาพระพุทธรปู อาสนส์ งฆ์ โตะ๊ บชู าเทวรปู และทซี่ ่ึงผ้เู ขา้ รว่ มพธิ ี คอื พราหมณ์ โหร (ผู้ท่มี คี วามรู้ในพิธีกรรมอยา่ งดี) เทพยดา นางฟ้า นางสชุ าดา สาวพรหมจารี และทายก ทายกิ า ฯลฯ นง่ั ฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ และก่อ เตาต้ังกะทะกวนภายในโรงพิธี จดั หาพายสำหรบั กวนกะทะละ ๓ เลม่ จดั หาฟนื ให้เพียงพอและตาก ให้แหง้ สนิท โรงพธิ ที าสีขาว เครือ่ งประดับตกแตง่ ควรใชเ้ คร่ืองขาว ต้ังราชวฏั ฉัตร ธง ผูกตน้ กลว้ ย อ้อย ท้ัง ๔ มมุ หรอื ครบ ๘ ทิศย่งิ ดี แลว้ ยกศาลเพยี งตาขน้ึ ไว้ในทิศท่ีเปน็ ศรขี องวนั คือ ทิศทเ่ี ทวดา

สถติ ในวนั กวน ต้ังเคร่ืองสังเวย คอื หวั หมู บายศรี เป็ด ไก่ ขนมตม้ แดง ขนมต้มขาว มะพรา้ วอ่อน กล้วย และมกี ารจดั ทนี่ ั่ง การใหโ้ หร นงั่ ๑ ท่ี และจดั ใหเ้ ทวดาและนางฟา้ นั่งเรยี งแถวหน้ากระดาน

แถวที่ ๑ จดั ใหท้ ้าวมหาพรหมกบั พระอนิ ทร์นัง่ ขา้ งหน้า 8 แถวที่ ๒ มหาราชทงั้ สี่ แถวท่ี ๓ นางฟา้ แถวท่ี ๔ นางสชุ าดา น่งั ขา้ งหน้าสาวพรหมจารี – จดั เตรยี มตะลอมพอก หรอื ยอดเทวดา ๖ ยอด ท่สี มมตวิ ่าเปน็ ทา้ วมหาพรหม พระอนิ ทร์ (ท้าวสักกะ) ท้าวธตรฐ ท้าววริ ุฬหก ท้าววริ ูปักข์ ท้าวเวสวัณ มงกุฎนางฟ้า ๔ และมงคลสวมศีรษะ สาวพรหมจารี ใช้มงคลดา้ ยแบบมงคล ตดั จกุ หรือใชด้ อกมะลิร้อยใหเ้ ป็นวงกลม เรยี ก มงคลดอกไม้ ให้ครบจำนวนเตาละ ๒ คน สมมตวิ า่ เป็นบริวารของนางสชุ าดา 4.2.2 ศาสนพธิ ี จัดทบ่ี ชู า ๒ ท่ี คอื 1. โตะ๊ บชู าพระพุทธรูปหนั พระพักตรไ์ ปทางทิศตะวันออก หรือทศิ เหนือ ถา้ สถานท่ี ไมอ่ ำนวย มไี ม้ มหาโพธิใ์ สก่ ระถางตั้งไวด้ ้านหลังพระพุทธรูป สว่ นประกอบอนื่ เหมือน การจดั ตง้ั โต๊ะ หม่บู ูชาท่วั ไป 2. โต๊ะบูชาเทวรูป มีพระพรหม พระอศิ วร พระนารายณ์ เป็นตน้ สุดแต่จะหาได้ พระฤาษี ๕ ตน ถา้ หายากกต็ ้องให้ได้อย่างนอ้ ย ๑ ตน สมมตเิ ปน็ ฤาษีกไลยโกฏ มีเครอื่ งบูชา เชน่ เดียวกนั จดั ตั้งอาสนะสงฆ์ ดา้ นซา้ ยของโต๊ะหมบู่ ชู าพระพุทธรปู ให้สูงกว่าพืน้ ที่ สัปบุรุษทายก ทายิกา และผเู้ ขา้ ร่วมพธิ ีนง่ั 4.2.3 อปุ กรณ์ในการกวน ข้าวทิพย์ ประกอบดว้ ย 1. เตา ทาํ จากถงั น้ำมนั ขนาด ๕๐๐ ลติ ร นาํ มาตดั ใหม้ คี วามสงู ประมาณ ๒ ฟตุ 2. กระทะใบบวั 3. พายไม้ 4.2.4 อุปกรณ์ในการปรุง ประกอบด้วย 1. ข้าว ใช้แปง้ ขา้ วเหนยี ว และแป้งขา้ วเจา้ 2. ถว่ั ลสิ ง 3. งาดํา งาขาว 4. นำ้ ผึง้ 5. น้ำตาลทราย 6. นมข้นหวาน 7. มะพรา้ ว คั้นเอาแต่กะทิ 8. เนย 4.2.5 ส่วนผสมที่ต้องเตรยี มก่อนวนั ประกอบพธิ ีในกวนข้าวทิพย์

1. ถ่ัวลิสง คั่วใหเ้ หลือง มีกลนิ่ หอม หลงั จากน้ันนํามาทําการกะเทาะเปลือกทงิ้ 9 นาํ ไปเขา้ เครือ่ งบด 2. งาขาวและงาดํา ค่ัวให้เหลือง มกี ล่นิ หอม ท้งิ ไว้ใหเ้ ยน็ นาํ ไปใสค่ รกตาํ ให้ ละเอยี ด 3. มะพรา้ ว นาํ ไปปลอกเปลอื กกะเทาะกะลาทงิ้ เอาแต่เน้ือมะพรา้ ว จะนาํ มาใส่ เคร่ืองขดู มะพรา้ ว ในตอนเชา้ มืดของวนั ท่ีจะประกอบพธิ ี เพ่อื ให้ได้กะทสิ ดมกี ลนิ่ หอม เครื่องปรงุ ที่ เป็นสว่ นประกอบดงั กล่าวขา้ งตน้ นาํ ใส่หมอ้ ปดิ ฝาใหเ้ รยี บร้อย เตรยี มทีจ่ ะประกอบพธิ ี กวนใน วนั รุ่งข้นึ (วนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๖) 4.3 ขั้นตอนการดำเนินการกวนข้าวทิพย์ ช่วงเชา้ ชาวบ้านมารว่ มทาํ บญุ ตักบาตรที่ศาลาวัด หลงั จากนั้นจึงมาเริม่ พิธกี วนข้าวทิพย์ โดย มรี ายละเอยี ดขน้ั ตอนดงั นี้ 1.นาํ เครอื่ งปรุงเตรยี มไวท้ ุกอย่างเทใส่กระทะใบบวั คนให้เข้ากนั ไม่มสี ตู รในการกําหนด อัตราสว่ นของเคร่ืองท่ีแนน่ อน จาํ นวนขา้ วทพิ ย์จะมากน้อยขึ้นอยู่กับวัตถดุ ิบที่มี ดังนั้น รสชาตใิ นแต่ ละปจี ะไมเ่ หมือนกนั 2. กอ่ นเริม่ กวนข้าวทิพย์พระสงฆจ์ ะประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา โดยพระสงฆ์จะเป็นผู้ทาํ พิธบี ชู าพระรตั นตรัยจากนน้ั สวดเจรญิ พระพุทธมนตธ์ ัมมจกั รกัปปวัตนสตู ร 3. สาวพรหมจรรย์ จำนวน 4 – 5 คนน่งุ ขาวหม่ ขาว เรม่ิ กวนข้าวทพิ ย์ เมื่อพระสงฆ์ เจรญิ พระพทุ ธมนตรจ์ บนักเรียนก็จะเปลี่ยนให้ประชาชนท่ีมารว่ มกจิ กรรมเปน็ ผู้กวนต่อไปจนกว่าจะเสรจ็ ใช้เวลากวนประมาณ ๓ ชว่ั โมงเม่อื เสรจ็ แล้ว ก็จะแบง่ ปนั ข้าวทิพย์หรอื ข้าวมธปุ ายาส ไปรับประทาน ถือว่าเปน็ ของดี กอ่ ใหเ้ กดิ ความเป็นสิริมงคลแก่ตน และนาํ ไปฝากบคุ คลในครอบครวั หรอื ผ้ทู ่ตี น เคารพนบั ถือ ก่อนกลับบ้านทุกคนช่วยกนั เก็บอุปกรณ์ ลา้ งทําความสะอาด จัดเก็บสถานทใ่ี หเ้ รียบร้อย ซงึ่ สะท้อนให้เห็นความรกั ความสามัคคใี นหมู่คณะชาวบา้ น ซ่งึ นา่ จะต้องร่วมกนั อนรุ กั ษ์ สืบทอด ประเพณีอันทรงคุณคา่ อยู่คู่กับชาวลานกระบือสบื ไป ภาพท่ี 4.1 ข้นั ตอนการกวนข้าวทิพย์

บทท่ี 5 10 สรุป อภิปรายผลละขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา ผลการศกึ ษาโครงงานภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ เร่อื ง ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ในตำบลมหาสอน อำเภอบา้ นหมี่ จังหวดั ลพบรุ ี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ ศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของประเพณีกวนข้าวทพิ ย์ เพ่อื ใหร้ ู้จกั ขน้ั ตอนวิธกี ารเตรียมของก่อนร่วมงานพธิ ี เพอ่ื สืบทอดและดำรงรักษาภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ประเพณีกวนขา้ วทิพย์ให้คงอยู่ตลอดไป และเพื่อเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาประเพณกี วนข้าวทิพยใ์ ห้ แพร่หลาย กล่มุ ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา คือ ชาวบ้าน ตำบลมหาสอน อำเภอบ้านหม่ี จังหวดั ลพบรุ ี โดยการเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใชว้ ิธีการสมั ภาษณ์ 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการศึกษาค้นควา้ ในปจั จุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามบี ทบาทต่อการดำรงชวี ิตของคนไทยเป็นอยา่ งมาก และ เศรษฐกจิ ของไทยก็เป็นไปตามกระแสทนุ นิยม สง่ ผลทำให้วิถีชาวบ้านเปลี่ยนแปลงไป พร้อมกับส่งผล ทำให้เยาวชนไทยไม่ตระหนกั ถึงความสำคัญของภมู ปิ ญั ญาไทย ขาดจิตสำนึกความเป็นไทย โครงการภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินของชาวจงึ เป็นแนวทางหรือทางเลือกให้กับคนในชุมชนทางดา้ น การนำภูมิปัญญาท้องถ่ินไปใช้ 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา การจดั ทำโครงงานคร้งั นี้ อาจไม่มีความสมบรู ณ์เท่าที่ควร อาจมขี อ้ มลู ไม่ครบถ้วน หรือตก หลน่ ไปบ้าง ผู้จัดทำโครงการนี้ จงึ มองเห็นวา่ ผู้ที่อยากจะศึกษาต่อควรจะไปศึกษาต่อในการเข้า ร่วมงานพิธกี ำฟา้ แบบจริงๆ เพ่อื เปน็ การซึมซับไปในตวั และได้ประสบการณ์จริง

บรรณานกุ รม https://guru.sanook.com https://sites.google.com/site/aujutaratsisungnone/neuxha/bth-thi-4-phumipayya-thiy http://ww2.nakhonnayok.go.th/travel1/detail/5

ภาคผนวก

ประวัติผู้จดั ทำ ประวัติส่วนตวั ชื่อ นายอิทธพิ ทั ธ์ สนิ ชนะ รหสั นกั ศกึ ษา 6231110099 ระดับช้ัน ปวส. 2 กลุ่ม 5 แผนกวชิ า เทคนิคอตุ สาหกรรม เกิดวนั ที่ 16 เดือนสิงหาคม พ.ศ 2539 ทอี่ ยู่ บา้ นเลขท่ี 98/4 หมู่ 9 ตำบลโพธ์เิ ก้าตน้ อำเภอเมือง จงั หวดั ลพบุรี ประวตั ิการศึกษา ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา โรงเรยี นค่ายนารายณ์ศกึ ษา ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นค่ายนารายณ์ศึกษา ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี