Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาระสำคัญของการลูกเสือ

สาระสำคัญของการลูกเสือ

Published by charoen5888, 2019-08-30 01:57:37

Description: นายคงศักดิ์ เจริญรักษ์
กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

สาระสาํ คญั ของการลกู เสอื นายคงศักด์ิ เจรญิ รกั ษ กรรมการบริหารลูกเสอื แหง ชาติ

เมอ่ื จบบทเรยี นน้ีแลว ผูเ ขา รบั การฝก อบรม ควรสามารถ รู เขา ใจ และอธบิ ายสาระสาํ คัญของ การลกู เสอื ได

เพลงวชริ าวธุ รําลึก วชริ าวุธพระมงกฏเกลา เจา ประชา กอ กําเนิด ลกู เสอื มา ขาเลื่อมใส พวกเราลกู เสือเช้อื ชาตไิ ทย เทดิ เกยี รตพิ ระองคไ ว ดว ยภักดี ลกู เสือราํ ลกึ นกึ พระคุณเทดิ บูชา ปฏญิ ญารักกษตั ริย ชาติศาสนศ รี มาเถิดลกู เสือสรา งความดี เพื่อศักดิ์ศรีลูกเสือไทย ดงั่ ใจปอง

เรยี นลกู เสอื ไปทําใม

• ในโลกน้วี ิชาลูกเสอื น้ันเปน วชิ าเลือกใหเ ด็กเลือกเรยี นท้งั นนั้ แตมีอยู 2 ประเทศทีว่ ิปรติ ผดิ มนุษยมนาเอาวชิ าลกู เสือและยวุ กาชาด-เนตรนารมี า บังคับใหเดก็ ทกุ คนตองเรยี น นนั่ คอื ไทยและอนิ โดนีเซยี แถมตอน สัมภาษณค นใหสมั ภาษณพ ูดอยางภาคภูมใิ จมากวาการลูกเสอื ของไทย และอนิ โดนเี ซยี มัน่ คงท่ีสดุ ในโลก โธเ อย มนั จะไมม นั่ คงไดยงั ไง กเ็ ลน บังคบั ใหเ ด็กทกุ คนตอ งเรยี นหามหอื หา มคดั คา น พอมกี ระแสไมพอใจกเ็ อาคาํ อา งวารัชกาลที่ 6 เปนผใู ห กําเนิดลูกเสอื มาปดปาก ทงั้ ๆท่คี วามจรงิ รชั กาลท่ี 6 ลมเลกิ เสอื ปาไป ตงั้ แตยงั ไมสนิ้ รชั กาลแลว แถมท้งั ลกู เสอื และเสือปารัชกาลที่ 6 กใ็ ห สมัครเขา มาตามสมัครใจ ไมเคยไปบังคับใหต อ งมาเรยี น แนจรงิ ลองใหเ ปน วิชาเลือกใหเ ด็กเลือกเองสวิ า จะเรียนรึไมเ รียน ถา เด็กจะเรียนก็เลอื กเรียนไป เด็กคนไหนไมชอบกไ็ ปเลือกเรียนอยาง อื่น ดูซิวาจะเหลอื เดก็ นกั เรยี นเลือกเรยี นถึง 1% ม้ัย

• ทกั ษะในวิชาลูกเสือเปนทักษะพืน้ ฐานที่คนท่ัวๆไปควรรแู ละเขา ใจ เพราะ สามารถดงึ ความรูความสามารถนาํ มาใชในชีวติ ประจาํ วัน และพน้ื ฐานการมีทกั ษะการเอาชีวิตรอด หรือชว ยชีวติ ผอู ่ืนไดครบั ผมเรียนลูกเสอื มาตง้ั แตเดก็ แนน อน เริ่มตน จากลูกเสือสํารอง (หมวก แกปพรอ มดาว) กาวขามเปน ลูกเสอื สามัญ (หมวกปกและตราลกู เสอื ) และ ตามดวยลกู เสือสามญั รนุ ใหญ (หมวกสเี ลอื ดหมพู รอมตราลกู เสือ) บางคน อาจะเรยี นถงึ วสิ ามญั (หมวกเขียว) บา งกอ็ าจจะอยูเหลาอากาศ หรือเหลา สมุทร(ซ่ึงผมอยมู นั สามเหลาลกู เสือครบั ) แตวิชาลูกเสอื เนอ้ื แทจ รงิ ๆ ตาม ความรสู กึ ของผม \"มันคอื การเตรยี มความพรอมสําหรบั การทําหนาทีบ่ ริการ บาํ เพ็ญ ประโยชนตอสว นรวม และฝกฝนตนใหมรี ะเบียบวินยั ท่ีมากข้นึ \"





• การลูกเสือนัน้ เปน กิจการทผี่ ใู หญจัดขึ้นสาํ หรบั เดก็ เพ่อื ซักจงู และฝกฝนใหเติบโตเปน คนดมี ี ความซอ่ื สตั ย และเปน ผสู ามารถเหมาะสมทจ่ี ะ อยใู นสงั คม ดงั นั้นจงึ เปนทเี่ ขา ใจและเปน ทห่ี วัง วา ตอ ไปขา งหนา ลูกเสอื จะเปนคนสาํ คญั ของ ชาติ คือจะเปนผบู ริหารปกครองบา นเมืองได

• ขอใหล ูกเสอื ทราบถึงสง่ิ สาํ คญั ในการปกครองไว วา ในบา นเมืองนน้ั มีท้ังคนดีและคนไมด ี ไมมีใคร จะทาํ ใหคนทกุ คนเปนคนดีไดท ้งั หมด การทาํ ให บานเมอื งมคี วามปรกตสิ ขุ เรยี บรอ ย จงึ มิใชก ารทํา ใหท ุกคนเปนคนดี หากแตอ ยทู ก่ี ารสง เสรมิ คน ดี ใหคนดีไดป กครองบา นเมอื ง และควบคุมคนไมด ี ไมใหมอี ํานาจ ไมใหก อความเดือดรอ นวุน วาย ได ลูกเสือทกุ คนจงหมนั่ ฝกฝนตนเองใหม าก เพือ่ ใหพรอมและใหเ หมาะแกก ารภาระหนา ทอ่ี ันจะมี มาขางหนา น้ัน

สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี แหง สวเี ดนทรงมีพระราชดาํ รัสอกี วา พระองคทรงเปนลูกเสือตลอดพระชนมชีพ ซึ่งนับเปนของขวัญท่ี พระบิดาและพระมารดาพระราชทานใหพระองค หลายคร้ังความ เปนลูกเสือไดชวยใหพระองคทรงงานไดอยางประสบความสําเร็จ การเปนลูกเสอื ไดใหผลดีโดยเฉพาะกับเยาวชน การเปนผูนํา เปนส่ิง สําคัญชวยในการดาํ เนินชวี ติ ในอนาคตขางหนาได

คาํ ถาม

คําวา “ลูกเสือ” หมายถึงใคร • ๑. เดก็ และ เยาวชน ชายและหญิง อายุไมเกิน ๑๘ ป • ๒. เด็ก ผบู งั คับบัญชาลูกเสอื เจาหนาท่ีลกู เสือ อาสาสมัครลูกเสือ • ๓. ทกุ คนท่แี ตง เคร่ืองแบบลกู เสอื

• “ลกู เสอื บใชเสือสัตวไ พร เรายืมชือ่ มาใชด ว ยใจกลา หาญปานกนั ใจกลาใชกลา อาธรรม เชนเสืออรัญสญั ชาตชิ นคนพาล ใจกลา ตองกลา อยางอยางทหาร กลา กอปรกจิ การแกชาติประเทศของ ตน.”

ปจจุบนั สมาชิกลูกเสือโลก มีกี่ ประเทศ • ๑. ๑๖๕ ประเทศ ๒. ๑๖๙ ประเทศ ๓. ๑๗๐ ประเทศ ประเทศทีเ่ ปน สมาชกิ ลูกเสอื โลก ประเทศสดุ ทาย ช่อื อะไร • ๑. อิรัค ๒. เวียตนาม ๓. มัลดีฟ

ขบวนการเยาวชนมวี ัตถุประสงค เพอ่ื การฝกอบรม ใหก ารศึกษา และพฒั นาเยาวชนใหเ ปน พลเมอื งดีโดยไมค าํ นงึ เช้อื ชาติ ศาสนา เปนขบวนการระดบั โลก มสี มาชกิ 170 ประเทศ จาํ นวนผบู งั คับบัญชาและลูกเสือ ประมาณ 40-50 ลา นคน





คําถาม ในอาเชี่ยน ประเทศใดยังไมมกี ิจกรรมลูกเสือ อยา งเปนทางการ และไมเ ปน สมาชกิ ลูกเสอื โลก • ๑. เมยี นมา • ๒. ลาว • ๓. กัมพชู า



มาตรา ๘ พระราชบัญญตั ิ ลกู เสือพ.ศ. ๒๕๕๑ วตั ถปุ ระสงคข์ อง คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ

“เพอื พฒั นาลูกเสือทงั ทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเ้ ป็ นพลเมืองดี มี ความรบั ผิดชอบ และช่วยสรา้ งสรรคส์ งั คมให้ เกิดความสามคั คีและมีความเจริญกา้ วหนา้ ทงั นี เพอื ความสงบสุข และความมนั คงของ ประเทศชาติตามแนวทางดงั ต่อไปน”ี

1. ใหม นี ิสยั ในการสังเกต จดจาํ เชอ่ื ฟง และพ่ึงตนเอง 2. ใหซ ่ือสตั ยส ุจริต มรี ะเบยี บวนิ ยั และ เหน็ อกเหน็ ใจผอู ่ืน 3. ใหร ูจักบาํ เพ็ญตนเพือ่ สาธารณะประโยชน

4. ใหร ูจ ักทาํ การฝม ือ และฝกฝนใหท ํา กิจกรรมตา งๆ ตามความเหมาะสม 5. ใหรูจักรกั ษาและสง เสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม และความมน่ั คงของ ประเทศชาติ ท้งั นี้ โดยไมเ กีย่ วของกบั ลทั ธิใดๆ จดุ เนนของ กจิ กรรมลกู เสือฝก ใหคดิ เปน ทําเปน ตัดสนิ ใจเปน (Child Center)

 ลกู เสอื  ผบู ังคับบัญชาลูกเสือ  มจี ุดหมายหรอื อุดมการณ  กจิ กรรม (โดยเฉพาะกจิ กรรมกลางแจง )  การบรหิ ารงาน

 มีศาสนา  มีความจงรักภักดีตอประเทศชาติของตน  มคี วามศรทั ธาในมิตรภาพและความเปน พีน่ องของลูกเสือทัว่ โลก  การบําเพญ็ ประโยชนตอผูอน่ื  ยอมรบั และปฏบิ ัตติ ามคาํ ปฏญิ าณและ กฎของลูกเสอื  การเขาเปนสมาชกิ ดว ยความสมคั รใจ

 มคี วามเปนอิสระตออิทธพิ ลทาง การเมือง  มกี ําหนดการพเิ ศษสําหรับการฝก อบรม โดยอาศัย - ระบบหมู ระบบกลุม - การทดสอบเปนข้นั ๆ - เครื่องหมายวิชาพเิ ศษ - กิจกรรมกลางแจง

บรรลถุ งึ วัตถปุ ระสงคของกจิ การลูกเสอื ตองมีสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ ก. กําหนดการที่ดี (Good Programme) สําหรับเยาวชนท่ี เปนสมาชิก ข. การฝกอบรมทด่ี ีสําหรบั ผกู ํากบั ลกู เสือ (Good Training) ค. การสนับสนนุ อยางเพยี งพอ (Good Support)

วธิ กี ารท่ีจะบรรลุเปา หมายหรืออดุ มการณ คือการจัดใหมีการฝก อบรมที่ กาวหนา สนุกสนาน ดงึ ดูดใจ โดยอาศัย คาํ ปฏิญาณและ กฎของลูกเสอื เปนบรรทัด ฐาน โดยมผี ใู หญเปนผคู อย ใหคําแนะนาํ

คาํ ถาม • วธิ กี ารฝกอบรมลกู เสอื มีกลยุทธ/ กโลบายอะไร ที่จะทําใหบ รรลุสิ่ง เหลา นี้

การชมุ นุมรอบกองไฟ เครือ่ งแบบ การรองเพลง คําปฏญิ าณและกฎ การเลน การบําเพ็ญประโยชน กจิ กรรมกลางแจง การฝก อบรมทีต่ อเนอ่ื ง เครอ่ื งหมายวิชาพิเศษ ระบบหมู

เพลงลกู เสือธีรราช เหลา ลูกเสือของธีรราช ทะนงองอาจสบื ชาตเิ ชอ้ื พงศพ นั ธุ สมคั รสมานโดยมสี ามคั คมี น่ั พวกเรา จะรกั รวมกัน จะผกู สมั พันธต ลอดกาล มจี รรยารักษาชื่อ สรา งเกยี รติระบอื เลือ่ งลอื ตอ ไปชานาน รา เรงิ แจมใสใฝใจรักใหย ืนนาน พวกเราลว นชื่นบาน เพราะกจิ การลกู เสือไทย

แนวการพฒั นาลูกเสอื ๘ ประการ ทางกาย สมั พนั ธภาพระหว่างบคุ คล สตปิ ญั ญา สมั พนั ธภาพทางสงั คม จติ ใจและศีลธรรม สมั พนั ธภาพต่อชมุ ชน การสรา้ งค่านิยมและเจตคติ ความรบั ผิดชอบต่อสงิ แวดลอ้ ม

พลเมอื งดี ในทศั นะของลูกเสอื

 มคี วามจงรักภักดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย  มเี กียรติเชื่อถือได  มรี ะเบียบวินยั สามารถบังคับ ใจตนเองได  สามารถพง่ึ ตนเองได  เตม็ ใจและสามารถชว ยเหลือ ชุมชน และบาํ เพญ็ ประโยชน ตอ ผูอ่ืนไดทุกเม่อื

ประโยชนข องการเรียนลกู เสือ • หนึ่งลูกเสอื ไดเพ่ิมพบ ประสบการณ โดยจากบา น ไปอยคู าย หายดอ้ื ดนั ระบบหมดู เู ดนเห็นประจักษ ชวยกนั สรางท่ีพักอยางแขง็ ขัน กินอยูดมี รี ะเบยี บเรียบรอ ยครนั นอกจากนนั้ หมน่ั แตงกายใหน า ดู

•สองลูกเสอื มกี ิจประจําวนั เชน ตอ งหมั่นต่ืนนอนแตเชาตรู ท้ังใหญนอ ยคอยฟง คําสัง่ ครู บอกใหร ูตามระบอบรอบเสาธง

•สามลูกเสือตา งมกี ิจกรรม กาํ หนดไวใหทําตามประสงค เพื่อทดสอบพลังไวใ หม ั่นคง ทั้งเสรมิ สง ความสําราญเบกิ บาน ใจ

• ส่ลี ูกเสือไดเ พ่ือนเหมือนญาติมิตร จากทุกทิศไดค บไมเ หลวไหล บางมาจากตา งประเทศนอกเขตไทย คบกนั ไวประโยชนดีมีมากมาย นอกจากนีม้ ผี ูมาชมงาน ยอมพบพานการลูกเสอื ดีเหลอื หลาย ลกู เสือสรา งแตความดีไมม ีคลาย คนทั้งหลายยอมชื่นชมนิยมเรา

๘.ประโยชนของการลกู เสือ  เปน การศึกษานอกแบบ (NON FORMAL EDUCATION)  ชว ยเสรมิ การศกึ ษาในโรงเรียนในดาน - ความประพฤติ นสิ ัยใจคอ สตปิ ญญา - ความมีระเบียบวนิ ัย - สขุ ภาพและพลัง - การฝม ือและทกั ษะ - หนาทพ่ี ลเมืองและการบําเพญ็ ประโยชนตอผอู ่ืน

การผจญภัย มีชีวิตกลางแจง Adventure Out door life มติ รภาพ สนุก Friendship Enjoyment ความสัมฤทธผ์ิ ล Achievement ผจญภยั ไดเ้ พือน เถือนธาร การสนกุ สขุ สม

ผบู ังคบั บญั ชาทีม่ สี มรรถภาพ ในการฝกอบรม การสนับสนุน เงิน อน่ื ๆ เยาวชนมาก ผูบ ริหารระดบั สงู รู เขาใจ ลูกเสือ

ลูกเสือไมม เี กษยี ณ ONCE A SCOUT, ALWAYS A SCOUT !


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook