Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสำรวจไมโครพลาสติกในทางเดินอาหารปลาและหอยฝาเดียวน้ำจืด-พร้อมเข้าเล่ม

การสำรวจไมโครพลาสติกในทางเดินอาหารปลาและหอยฝาเดียวน้ำจืด-พร้อมเข้าเล่ม

Published by miw-miw26, 2023-07-05 05:44:19

Description: การสำรวจไมโครพลาสติกในทางเดินอาหารปลาและหอยฝาเดียวน้ำจืด-พร้อมเข้าเล่ม

Search

Read the Text Version

การสารวจไมโครพลาสติกในทางเดินอาหารปลาและหอยฝาเดียวน้าจดื ในแหลง่ น้าพ้ืนท่ีจังหวดั เชยี งใหม่ รสริน กล้าขนุ เขา อารีรตั น์ อนิ ธิยะ ครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาชวี วทิ ยา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ 2564

การสารวจไมโครพลาสติกในทางเดนิ อาหารปลาและหอยฝาเดียวนา้ จดื ในแหลง่ น้าพ้ืนทจี่ ังหวัดเชียงใหม่ รสริน กลา้ ขนุ เขา อารรี ัตน์ อินธิยะ รายงานการวิจัยน้ีเป็นส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ 2564

ก การสารวจไมโครพลาสติกในทางเดนิ อาหารปลาและหอยฝาเดียวน้าจดื ในแหล่งน้าพื้นท่ีจงั หวดั เชียงใหม่ รสรนิ กลา้ ขุนเขา อารรี ตั น์ อนิ ธิยะ รายงานวิจัยนไ้ี ดร้ ับการพิจารณาอนุมตั ิใหเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญา ครศุ าสตรบัณฑติ สาขาชวี วิทยา คณะครศุ าตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ คณะกรรมการสอบ ลงชือ่ ...........................................................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ ดร.รงุ่ นภา ทากัน) ลงช่ือ...........................................................................................กรรมการ (อาจารย์ ดร.ทัตพร คณุ ประดษิ ฐ์) ลงชือ่ ...........................................................................................กรรมการ (อาจารย์ ดร.อตณิ ฐั จรดล) ลงชอ่ื ..........................................................................................หัวหน้าภาควชิ าชีววิทยา (อาจารย์ ดร.วชั รี หาญเมอื งใจ)

ข กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ ดร.รุ่งนภา ทากัน อาจารย์ที่ ปรึกษาวิจัยทีใ่ ห้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และความช่วยเหลือตลอดการทาวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ กรรมการสอบวิจัยอาจารย์ ดร.ทัตพร คุณประดิษฐ์ และอาจารย์ ดร.อติณัฐ จรดล ที่กรุณาให้ คาแนะนาและตรวจทานแกไ้ ขเล่มวจิ ัยให้ถกู ต้องและสมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น ขอขอบพระคุณนักวิชาการห้องปฏิบัติการประจาภาควิชาชีววิทยาและเจ้าหน้าที่ห้อง ชลธวี ิทยาทกุ ทา่ นทีใ่ หค้ วามชว่ ยเหลอื และอานวยความสะดวกในการทาวจิ ัยในคร้ังน้ี สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณเพื่อนๆสาขาชีววิทยา ชาวบ้านในพื้นที่เก็บตัวอย่างที่คอยอานวยความ สะดวก ใหค้ วามชว่ ยเหลือ ใหค้ าปรึกษาและเป็นกาลงั ใจสาคัญที่ทาใหผ้ ูว้ จิ ัยทาการวิจัยในคร้ังน้ีสาเร็จ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี รสรนิ กลา้ ขุนเขา อารีรัตน์ อินธยิ ะ เมษายน 2565

ค ชอื่ งานวจิ ัย การสารวจไมโครพลาสติกในทางเดนิ อาหารปลาและหอยฝาเดยี ว นา้ จืดในแหลง่ น้าพืน้ ท่ีจงั หวัดเชยี งใหม่ ผูว้ จิ ยั นางสาวรสรนิ กลา้ ขนุ เขา, นางสาวอารรี ตั น์ อินธิยะ อาจารย์ท่ปี รกึ ษาวจิ ัย อาจารย์ ดร.รงุ่ นภา ทากนั ปกี ารศึกษา 2564 บทคัดย่อ ไมโครพลาสติก (Microplastic) เป็นพลาสติกขนาดเล็ก ซึ่งเกิดจากการแตกหัก ทาให้ แพร่กระจายลงสู่สิ่งแวดล้อมและคุกคามต่อระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ การศึกษาครั้งนี้ได้ทาการ จาแนกลกั ษณะและปริมาณของไมโครพลาสตกิ ที่พบในทางเดนิ อาหารปลา หอยฝาเดยี วนา้ จืด น้าและ ตะกอนดินจากพื้นที่แหล่งน้าตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทาการเก็บตัวอย่างทางเดินอาหารปลา จาก 10 พื้นที่ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ลักษณะของไมโครพลาสติกที่พบทั้ง 10 พื้นที่นั้นมีลักษณะเป็น เสน้ ใย (Fiber) ทง้ั หมด และปรมิ าณไมโครพลาสติกที่พบมากทส่ี ดุ คือ เข่ือนแมก่ วงอดุ มธารามีปริมาณ เฉลย่ี 5.83 เสน้ ใย/ตัว ส่วนสีของไมโครพลาสติกพบท้ังหมด 4 สีคือ สีนา้ เงิน สีแดง สีม่วงและใสไม่มีสี โดยพบสนี า้ เงินมากที่สุด และมคี วามยาวไมโครพลาสติกยาวเฉลยี่ 2.88 มิลลิเมตร ในตัวอย่างหอยฝา เดียวน้าจดื โดยทาการเก็บตัวอย่างจาก 3 พื้นที่ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ลักษณะของไมโครพลาสติกท่ี พบทั้ง 3 พื้นที่นั้นมลี กั ษณะเป็นเส้นใย (Fiber) ทั้งหมด และปริมาณไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดคือ แมน่ า้ ปงิ มปี ริมาณ 17 เสน้ ใย ส่วนสีของไมโครพลาสติกพบท้ังหมด 4 สคี ือ สนี า้ เงนิ สแี ดง สีม่วงและ ใสไม่มีสี โดยพบสีน้าเงินมากที่สุด และมีความยาวไมโครพลาสติกยาวเฉลี่ย 1.95 มิลลิเมตร ใน ตวั อยา่ งนา้ บริเวณผวิ นา้ โดยทาการเก็บตัวอยา่ งจาก 3 พ้นื ที่ ซง่ึ ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะของไมโค รพลาสติกที่พบน้ันมีลักษณะเป็นเส้นใย (Fiber) แผ่นแข็งและชิ้นส่วนไร้รูปแบบทั้งหมด และปริมาณ ไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดคือ อ่างเก็บน้าห้วยโตนมีปริมาณ 73 เส้นใย ส่วนสีของไมโครพลาสติก พบทง้ั หมด 3 สีคือ สนี ้าเงิน สีแดง และสีม่วง โดยพบสีน้าเงินมากท่ีสุด และมคี วามยาวไมโครพลาสติก ยาวเฉลี่ย 1.86 มิลลิเมตร ในตัวอย่างตะกอนดินลักษณะของไมโครพลาสติกที่พบทั้ง 8 พื้นที่นั้นมี ลกั ษณะเปน็ เสน้ ใย (Fiber) แผน่ แข็งและชน้ิ สว่ นไรร้ ูปแบบทัง้ หมด และปริมาณไมโคร พลาสติกที่พบ มากท่ีสดุ คือ อ่างเกบ็ น้าปา่ มา่ นมปี ริมาณเฉลยี่ 12 เสน้ ใย ส่วนสีของไมโครพลาสตกิ พบทง้ั หมด 3 สีคือ สีน้าเงิน สีแดง สีม่วง โดยพบสีน้าเงินมากที่สุด และมีความยาวไมโครพลาสติกยาวเฉลี่ย 2.50 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นไปได้ว่า ไมโครพลาสติกที่พบอาจเป็นอุปกรณ์พวกสวงิ จับปลา แห ตาข่าย กระสอบ

ง และเชือกไนลอน เนื่องจากบริเวณแหล่งน้านั้นเป็นบริเวณที่มีการทาการเกษตรและจับสัตว์น้า เมื่อ ขยะเหล่านี้เกิดการแตกหักหรือย่อยสลายจนมีขนาดเล็ก จึงทาให้สิ่งมีชีวิตกลืนกินเข้าไปแล้วเกิดการ สะสมอยใู่ นส่งิ มีชีวติ ่ีอาศยั อยู่ในบริเวณแหลง่ น้าได้ คาสาคญั : ไมโครพลาสติก แหล่งน้า ทางเดินอาหารปลา หอยฝาเดยี วน้าจดื

จ Title A survey of Microplastics in fish digestive and freshwater gastropods at water source, Chiangmai province Author Miss Rossarin Klakhunkhao, Miss Areerut Ainthiya Supervisor Dr.Rungnapa Tagun Year 2021 Abstract Microplastics is small pieces of is a result of broken and caused by the intention to produce small pieces. Causing it to distribution into the environment and transfer to ecosystems and organism. The study is conduced to identification types and quantity of microplastics at water source in Chiangmai province, by collecting gastrointestinal samples of fish from 10 areas, the result revealed that types of microplastics found in all 10 areas are fiber and the quantity of microplastics most common is Mae Kuang Udom Thara Dam has an average volume of 5. 83 fiber/ individual. The microplastics color in this study found all 4 colors is blue red violet and clear color, found the bluest. The average size in length of microplastics was 2. 88 mm. In freshwater gastropods collecting samples from 3 areas, the result revealed that types of microplastics found in all 3 areas are fiber and the quantity of microplastics most common is Ping river has an average volume of 17 fiber/individual. The microplastics color in this study found all 4 colors is blue red violet and clear color, found the bluest. The average size in length of microplastics was 1. 95 mm. In photic water collecting samples from 3 areas, the result revealed that types of microplastics found in all 3 areas are fiber, hard plastics, fragment and the quantity of microplastics most common is Huai Ton Reservoir has an average volume of 73 fiber/individual. The microplastics color in this study found all 3 colors is blue red and violet, found the bluest. The average size in length of microplastics was 1. 86 mm. In sediment collecting samples from 8 areas, the result revealed that types of microplastics found in all 8 areas are fiber, hard plastics, fragment and the quantity of

ฉ microplastics most common is Paman Reservoir has an average volume of 12 fiber/individual. The microplastics color in this study found all 3 colors is blue red and violet, found the bluest. The average size in length of microplastics was 2. 50 mm. It can be assumed that microplastics found may be the equipment net, fish net or nylon rope Because the area that has agriculture and fishery catching. When these debris are broken or degraded to a small size, therefore allowing organisms to eat and accumulate in the organisms that live in this area. Keywords: Microplastics, water source, fish digestive, freshwater gastropods

ช หน้า สารบญั ก ข เร่ือง ค จ คาอนุมัติ ช กิตติกรรมประกาศ ซ บทคดั ย่อภาษาไทย ฌ บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ 1 สารบญั 5 สารบัญตาราง 33 สารบญั ภาพ 40 บทที่ 1 บทนา 77 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง 79 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินงานวจิ ัย 82 บทที่ 4 ผลและอภปิ รายผลการวิจัย 93 บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ยั บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผวู้ ิจัย

ซ สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 4.1 จานวนตัวอย่างปลา ชนิดปลา และปริมาณไมโครพลาสตกิ 46 4.2 ความยาวเฉลย่ี ของตัวอย่างปลา นา้ หนกั เฉล่ยี ตัวอย่างปลา ปรมิ าณไมโครพลาสตกิ 50 เฉลย่ี และเปอรเ์ ซน็ ต์การพบไมโครพลาสติกในแต่ละพื้นท่ี 53 4.3 ความยาวของไมโครพลาสตกิ ทพี่ บในพืน้ ที่แหลง่ น้าในจังหวดั เชียงใหม่ท้งั 10 พนื้ ท่ี 55 4.4 กลมุ่ ชนิดปลาแบ่งตามพฤติกรรมการหากินอาหาร 56 4.5 เปรียบเทยี บปริมาณไมโครพลาสติกท่ีพบในแต่ละกลุ่มชนิดปลา 57 4.6 จานวนตวั อยา่ งหอยฝาเดียวน้าจืด และปริมาณไมโครพลาสตกิ 57 4.7 ปริมาณไมโครพลาสติกเฉลี่ยและเปอรเ์ ซ็นตก์ ารพบไมโครพลาสตกิ ในแตล่ ะพน้ื ที่ 59 4.8 8 ความยาวของไมโครพลาสติกทีพ่ บในพืน้ ท่ีแหลง่ นา้ ในจังหวัดเชียงใหม่ ทง้ั 3 พื้นที่ 60 4.9 ปรมิ าณโครพลาสติกที่พบในแต่ละพ้นื ทตี่ วั อย่าง 60 4.10 เปอรเ์ ซน็ ต์การพบไมโครพลาสติกในแต่ละพ้ืนที่ 63 4.11 ความยาวของไมโครพลาสติกทีพ่ บจากแหลง่ น้า 3 พื้นที่ 64 4.12 ปรมิ าณโครพลาสตกิ ท่ีพบในแต่ละพ้ืนทต่ี วั อย่าง 65 4.13 เปอร์เซ็นต์การพบไมโครพลาสตกิ ในแตล่ ะพื้นท่ี 68 4.14 ความยาวของไมโครพลาสติกที่พบจากแหล่งน้า 8 พ้ืนทใี่ นรปู ร่างลักษณะเสน้ ใย 68 4.15 ความยาวของไมโครพลาสตกิ ทพ่ี บจากแหลง่ น้า 3 พื้นทใ่ี นรูปร่างลักษณะแผ่นแข็ง 69 4.16 ความยาวของไมโครพลาสตกิ ท่ีพบจากแหลง่ น้า 2 พ้ืนท่ใี นรูปร่างลักษณะไรร้ ูปแบบ

ฌ สารบัญภาพ หนา้ ภาพท่ี 2.1 ปลาช่อน 15 2.2 ปลาดกุ อยุ 16 2.3 ปลานลิ 17 2.4 ปลาตะเพยี นขาว 18 2.5 ปลาปกี แดง 18 2.6 ปลาสรอ้ ยขาว 19 2.7 ปลากระมัง 20 2.8 ปลากระสบู ขีด 21 2.9 ปลายีส่ กเทศ 22 2.10 ปลาไหล 23 2.11 ปลาหมอช้างเหยยี บ 24 2.12 หอยขม 25 4.1 สถานที่เก็บตัวอยา่ ง แหล่งน้าในพื้นท่ีจงั หวัดเชยี งใหม่ 40 4.2 ไมโครพลาสติกรูปร่างเส้นใยทีส่ ารวจจากพ้นื ทแ่ี หลง่ น้าในจังหวัดเชียงใหม่ (ปลา) 51 4.3 เปอร์เซน็ ต์สีท่ีพบไมโครพลาสติกในพน้ื ท่แี หลง่ นา้ ในจงั หวดั เชียงใหม่ (ปลา) 52 4.4 เปอรเ์ ซน็ ต์ความยาวที่พบไมโครพลาสติกในทางเดินอาหารปลาในพ้นื ท่ีแหล่งนา้ 55 ทง้ั 10พ้นื ท่ี 58 4.5 รปู รา่ งทเี่ ปน็ ลกั ษณะของเสน้ ใยท่ีมีขนาดท่ีแตกตา่ งกนั (หอยฝาเดียวนา้ จดื ) 58 4.6 เปอร์เซน็ ตส์ ีท่ีพบไมโครพลาสตกิ ในพนื้ ท่แี หลง่ น้าในจงั หวดั เชียงใหม่ (หอยฝาเดยี วน้าจืด) 61 4.7 ไมโครพลาสติกรปู ร่างเส้นใยในตัวอย่างนา้ ทีส่ ารวจจากแหล่งนา้ ในจังหวดั เชียงใหม่ 62 4.8 เปอรเ์ ซน็ ตส์ ีที่พบไมโครพลาสตกิ ในตัวอยา่ งน้าในพนื้ ที่แหล่งนา้ ทงั้ 3 พื้นท่ี 63 4.9 เปอรเ์ ซ็นตข์ องความยาวไมโครพลาสติกในตวั อยา่ งนา้ ทั้ง 3 พ้นื ท่แี หลง่ นา้ 66 4.10 รปู รา่ งที่เปน็ ลักษณะของเสน้ ใย

ญ หน้า สารบัญภาพ (ตอ่ ) 66 66 ภาพท่ี 67 70 4.11 รปู รา่ งท่ีเป็นลกั ษณะไร้รูปแบบ 4.12 รูปรา่ งท่เี ป็นลกั ษณะของแผน่ แขง็ 4.13 เปอรเ์ ซน็ ต์สีที่พบไมโครพลาสติกในตะกอนดนิ ในพืน้ ที่แหลง่ นา้ ทงั้ 8 พนื้ ที่ 4.14 เปอร์เซ็นต์ของความยาวไมโครพลาสติกในตะกอนดนิ ในพ้ืนทแี่ หล่งน้า 8 พ้นื ที่

บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของปญั หา ไมโครพลาสติก (Microplastics) เป็นพลาสติกขนาดเล็กที่มีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร หรือชิ้นส่วนพลาสติกที่มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าซึ่ งอาจปนเปื้อนใน สิง่ แวดลอ้ ม มกั เกดิ จากการย่อยสลายหรือแตกหักของขยะพลาสติกหรือเกิดจากพลาสตกิ ทมี่ ีการสร้าง ให้มีขนาดเล็ก เพื่อให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ส่วนใหญ่มีรูปร่างทรงกลม ทรงรี หรือ บางครง้ั อาจมีรูปร่างไมแ่ นน่ อน ตัวอย่างเชน่ ขยะพลาสติกทลี่ อยในน้าเปน็ เวลานาน เมื่อโดนแสงแดด หรือจุลินทรีย์ทาให้เกิดการแตกหักกลายเป็นขยะพลาสติกขนาดเล็ก ๆ ลอยในน้า จนกระทั่งแพลงก์ ตอนหรือสัตว์น้าที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างเศษพลาสติกกับอาหารได้กินเข้าไป ก็จะเกิด การสะสมอยู่ในตัวของสัตว์ชนิดนั้นแล้วเมื่อมนุษย์บริโภคสัตว์ชนิดนั้น มนุษย์เองก็จะได้รับการ ปนเปอ้ื นจากไมโครพลาสตกิ ด้วย ในปจั จบุ ันไมโครพลาสติกกลายเป็นปัญหามลพิษทางน้าทส่ี ่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางน้า เนอื่ งจากมีขนาดเล็กมากทาให้ยากต่อการเก็บและการกาจัด รวมถงึ มีคุณสมบัติท่ีคงสภาพ ย่อยสลาย ได้ยาก เมื่อมีการระบายน้าที่ผ่านการบาบัดแล้วลงสู่สิ่งแวดล้อม ไมโครพลาสติกเหล่านี้สามารถ ปนเปื้อน แพร่กระจาย และสะสมในสัตว์น้าหรือในตะกอนดินใต้แหล่งน้า ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต ทั่วไปมีหลากหลายผลกระทบ เช่น ทาให้เกิดการสะสมในห่วงโซ่อาหาร (Food chain) และสามารถ ถ่ายทอดไปตามลาดับข้ันของการบริโภคอาหารในระบบนิเวศอาจทาให้เกดิ ผลกระทบต่อสุขภาพและ การดารงชวี ิตของสัตวท์ ี่บริโภคไมโครพลาสติกเข้าไป มรี ายงานเกย่ี วกับผลกระทบต่อร่างกายในสัตว์ท่ี กินไมโครพลาสติกเข้าไป เช่น ทาลายเนื้อเยื่อหลอดเลือด และมีผลกระทบต่อระบบหัวใจ ดังในกรณี เตา่ ทะเลท่ที ยอยตายเพราะกินพลาสติกเขา้ ไป เพราะแบคทีเรียและสาหร่ายสะสมที่พลาสติกทาให้มัน มีกลิ่นเหมือนอาหาร หรือพลาสติกที่ลอยในน้ามีรูปร่างคล้ายกับแมงกะพรุนทาให้เต่าทะเลกิน พลาสติกเข้าไปสะสมในท้องของเต่าทะเล ร่างกายของเต่าทะเลก็จะส่งสัญญาณว่าอิ่มแล้วทาให้เต่า ทะเลค่อยๆหิวจนตายไปหรือหากพลาสติกที่มันกินเหนียวเกินไปพลาสติกก็จะติดคอเวลาที่มัน พยายามคายออกมาอาจจะให้พวกมันหายใจไม่สะดวกจนขาดอากาศหายใจตายไป พะยูนมาเรียม ที่ เสียชีวิตจากการที่มีไมโครพลาสติกเข้าไปอุดตันในลาไส้จนเกิดอาการช็อกและเสียชวี ิต นอกจากนี้ยัง พบวา่ ไมโครพลาสติกเข้าไปสะสมในกระเพาะของสัตวน์ า้ หลายชนดิ เชน่ ปลา หอย ปูม้า

2 เม่นทะเล กระเบน ไส้เดือนทะเล สัตว์น้าที่มนุษย์นิยมรับประทานกันเป็นส่วนใหญ่คือ พวกปลาและ หอย เพราะเป็นสัตว์ท่ีมีไขมนั น้อย มีโปรตีนสูงและสารอาหารประเภทอื่นๆประเภท วิตามิน เกลือแร่ คาร์โบไฮเดรต เป็นตน้ ดังนั้นผู้ทาวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสารวจไมโครพลาสติกในปลาแต่ละชนิด และในหอยฝา เดยี วนา้ จืด โดยเป็นพนื้ ทีแ่ หล่งน้าจืด จงึ ได้ทาการเก็บตัวอยา่ งมาจากแหล่งน้าในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อที่จะได้สารวจ เปรียบเทียบปริมาณและศึกษาลักษณะของไมโครพลาสติกที่ถูกปนเปื้อนสะสมใน ตัวปลาแต่ละชนิด และในหอยฝาเดียวน้าจืด ของแหล่งน้าในแต่ละพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังมี การเก็บตัวอย่างตะกอนดินและน้าจากแหล่งน้าต่างๆในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อนามาวิเคราะห์หา ไมโครพลาสติกเพื่อใช้ในการตรวจสอบสมมติฐานของการวิจัย จนนาไปสู่แนวทางสนับสนุนการแก้ไข ปัญหาขยะพลาสติกในแหล่งน้า สร้างความตระหนักรู้ในการใช้พลาสติกของมนุษย์การทิ้งขยะ พลาสติกลงสู่แหล่งนา้ วา่ มผี ลกระทบมากนอ้ ยเพยี งใด รวมถึงสร้างความระมัดระวังในการบริโภคสตั ว์ นา้ อกี ด้วย 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการทาวิจยั 1.2.1 เพื่อสารวจ เปรียบเทียบปริมาณ และศึกษาลักษณะของไมโครพลาสติกที่สะสมใน ตะกอนดินและนา้ ในแหล่งนา้ พื้นทจ่ี งั หวดั เชียงใหม่ 1.2.2 เพ่ือสารวจ เปรียบเทียบปริมาณ และศึกษาลักษณะของไมโครพลาสติกท่ีสะสมในปลา และหอยฝาเดียวนา้ จืดในแหล่งน้าพ้นื ทจี่ งั หวัดเชยี งใหม่ 1.3 สมมติฐานของการทาวิจัย ถ้าตะกอนดินและแหลง่ น้ามีการปนเปือ้ นของไมโครพลาสตกิ ดังนั้นปลาและหอยฝาเดียวน้า จดื จะตอ้ งพบไมโครพลาสติก 1.4 ตัวแปรในการศึกษาวจิ ัย 1.4.1 ตัวแปรตน้ แหลง่ น้าในพ้นื ท่ีจังหวดั เชยี งใหม่ 1.4.2 ตัวแปรตาม ปรมิ าณและลกั ษณะของไมโครพลาสติกทป่ี นเปื้อนในปลา หอยฝาเดียว น้าจืด ตะกอนดินและนา้ จากแตล่ ะแหล่งนา้ ในพื้นท่จี ังหวัดเชยี งใหม่ 1.4.3 ตวั แปรควบคุม วิธกี ารเก็บตัวอยา่ ง วิธีการวิเคราะหไ์ มโครพลาสตกิ

3 1.5 ขอบเขตงานวจิ ยั 1.5.1 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา จาแนกลกั ษณะ สี รวมถึงการหาปริมาณและเปรยี บเทียบปริมาณของไมโครพลาสตกิ ทป่ี นเปอื้ นในปลาแตล่ ะชนิด หอยฝาเดยี วนา้ จืด ตะกอนดนิ และนา้ จากแหล่งน้าแตล่ ะพ้ืนที่ในจังหวดั เชยี งใหม่ 1.5.2 ขอบเขตดา้ นเวลา ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2564 จนถงึ เดือนเมษายน พ.ศ.2565 1.5.3 ขอบเขตด้านสถานที่ แหล่งน้าในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ คือ แม่น้าปิง เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล ทะเลสาบดอย เต่า ห้วยบ้านทุ่งจาเริง แม่น้าอาเภอสะเมิง อ่างเก็บน้าแม่ริม คลองชลประทานสารภี อ่างเก็บน้าห้วย ไร่ อา่ งเกบ็ นา้ หว้ ยลาน อ่างเก็บน้าห้วยโตน อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยก๋องงอง อ่างเก็บน้าแมป่ าน อ่างเก็บน้าแม่ สาบ อ่างเก็บน้าแม่นาป้าด อ่างเก็บน้าป่าม่าน เขื่อนแม่กวงอุดมธารา อ่างเก็บน้าหนองสะเรียม และ แมน่ ้าสนั ทราย 1.6 ประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับ 1.6.1 สามารถสารวจ เปรียบเทียบปริมาณ และศึกษาลักษณะของไมโครพลาสติกที่สะสมใน ปลาและหอยฝาเดยี วนา้ จืดในแหล่งนา้ พ้นื ทีจ่ งั หวดั เชยี งใหมไ่ ด้ 1.6.2 สามารถสารวจ เปรียบเทียบปริมาณ และศึกษาลักษณะของไมโครพลาสตกิ ที่สะสมใน ปลาและหอยฝาเดียวนา้ จืดในแหล่งน้าพ้ืนทีจ่ งั หวดั เชียงใหมไ่ ด้ 1.6.3 สามารถเป็นแนวทางสู่การแก้ไขปัญหาเรื่องขยะพลาสติกในแหล่งน้าอย่างจริงจังและ เสริมสรา้ งความระมดั ระวงั ในเรื่องการบริโภคปลาและหอยฝาเดียวนา้ จืดมากย่ิงขึน้

4 1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ ไมโครพลาสติก คือ พลาสตกิ ท่มี ีขนาดเล็ก มีขนาดเลก็ ว่า 5 มลิ ลเิ มตร แหล่งน้าในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ คือ พื้นที่ในการเก็บตัวอย่าง ได้แก่ แม่น้าปิง เขื่อนแม่งัด สมบูรณ์ชล ทะเลสาบดอยเต่า ห้วยบ้านทุ่งจาเริง แม่น้าอาเภอสะเมิง อ่างเก็บน้าแม่ริม คลอง ชลประทานสารภี อา่ งเก็บน้าหว้ ยไร่ อา่ งเกบ็ น้าห้วยลาน อ่างเก็บนา้ ห้วยโตน อ่างเก็บน้าห้วยก๋องงอง อา่ งเกบ็ นา้ แมป่ าน อา่ งเกบ็ น้าแมส่ าบ อ่างเกบ็ น้าแม่นาปา้ ด อา่ งเกบ็ นา้ ป่าม่าน เขื่อนแมก่ วงอุดมธารา อ่างเก็บนา้ หนองสะเรียมและแมน่ า้ สนั ทราย ทางเดนิ อาหารปลา คือ ทางเดินอาหารตงั้ แต่คอหอยจนถงึ ทวารหนัก หอยฝาเดียวน้าจืด คือ เน้ือและทางเดนิ อาหารทั้งหมดของหอยฝาเดยี วนา้ จืด

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ในการวิจยั ครง้ั นี้ ผวู้ ิจัยไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้องและได้นาเสนอตามหวั ข้อ เรยี งลาดับดังนี้ 2.1 ความหมายและชนดิ ของพลาสตกิ 2.2 ไมโครพลาสติก 2.3 ผลกระทบจากไมโครพลาสตกิ 2.4 วธิ ีการตรวจสอบไมโครพลาสติก 2.5 นเิ วศวิทยาของปลาและหอย 2.6 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2.1 ความหมายและชนิดขอพลาสตกิ พลาสติก (Plastic) คือ สารอินทรีย์ที่เกิดจากการสังเคราะห์โดยกรรมวิธีทางเคมี โดยการนา สารเคมีที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก เรียกว่า โมโนเมอร์ (Monomer) มารวมตัวกันด้วยปฏิกิริยาเคมีด้วย วธิ ีการสงั เคราะห์ใหเ้ ปน็ สารเคมีขนาดใหญ่หรือมาโครโมเลกลุ ทีเ่ กาะตัวต่อเน่ืองการเรียกว่า พอลิเมอร์ (Polymer) หรือพลาสติก จากนั้นทาให้เกิดการเกาะตัวของโมเลกุลเป็นจานวนมาก ๆ ทาให้มี คณุ ลักษณะต่าง ๆ ไดแ้ ก่ มคี วามแขง็ แรง มคี วามเหนียว ทนตอ่ การกดั กร่อน และเปน็ ฉนวนไฟฟา้ เป็น ตน้ (ทานตวรรณ เต็กช่ืน, นริ ันดร์ จันรสั มี, และอดศิ ักดิ์ แก้วใส,2544) สามารถแบ่งพลาสติกออกตาม ลักษณะการยึดเกาะตวั ของโครงสรา้ งโมเลกุลได้เป็น 2 ประเภท คอื 2.1.1 เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic )เป็นพลาสติกประเภทคืนรูปหรือเป็น พลาสติกชนิดอ่อน มีโครงสร้างโมเลกุลของเส้นใยพอลิเมอร์เป็นแบบเส้นตรง (Linear shape) หรือ เป็นแบบก่งิ ส้ัน (Branched shape) สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายบางชนิด เม่อื ได้รับความร้อน จะออ่ นตวั และหลอมเหลวเปน็ ของเหลวหนืด เนื่องจากโมเลกุลของพอลิเมอรท์ ีผ่ ่านการอยูจ่ ะสามารถ เคลื่อนท่ีผ่านการตายมาไดง้ า่ ยข้นึ เมื่อไดร้ บั ความรอ้ น

6 เมื่อเยน็ ตัวลงกจ็ ะเกิดการแขง็ ตัวซึ่งการหลอมเหลวและเยน็ ตวั นส้ี ามารถเกิดกลบั ไปกลับมาได้ โดยไม่ทาให้สมบัติทางเคมีและทางกายภาพหรือโครงสร้างของพอลิเมอร์เปลี่ยนไปมากนัก ดังน้ัน พลาสติกประเภทนี้ จงึ สามารถนากลบั มาใช้งานไดใ้ หม่ (ทานตวรรณ และคณะ, 2544) ชนดิ ของเทอรโ์ มพลาสตกิ 1.พอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High density polyethylene: HDPE) มี ความแข็งแรงสูง ทนอุณหภูมิสูง และคงรูป มีลักษณะเป็นเม็ดสีทึบแสง (สีขาวขุ่น) เช่น เครื่องใช้ใน บ้าน ขวด ถงั กล่อง ภาชนะบรรจผุ ลิตภัณฑ์ 2.พอลิเอทิลีนเทเรพฟธอลเลต (Polyethylene terephthalate; PET)) เป็นพอลิ เมอร์ใสไม่มีสี แข็งทนทานต่อแรงกระแทก จึงนิยมใช้ทาขวดน้า และเนื่องจากมีสมบัติในการป้องกัน การแพร่ผ่านของก๊าซไดด้ ี จงึ นามาใช้ทาขวดบรรจุน้าอัดลม สามารถนามารีไซเคลิ ไดโ้ ดยการทาเส้นใย พอลเิ อสเมอร์ (Polyester) 3. พอลิเอทีลีนความหนาแน่นต่า ((Low density polyethylene; LDPE) สามารถ โกง่ ตัวไดม้ าก ทนความรอ้ นสูง ผวิ ไม่แข็ง ลักษณะเปน็ เม็ด โปรง่ แสง (ขุ่นนดิ ๆ) นยิ มนามารีไซเคิลเป็น เคร่ืองใช้ในบ้าน เชน่ กระจาด ถัง ของเลน่ เด็ก ถงุ พลาสตกิ และ เครือ่ งมือแพทย์ 4. พลาสติกพอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride: PVC) มีความแข็งเปราะ ตดิ ไฟยาก ลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ด นิยมใช้ทาเป็น ท่อน้า แผน่ เสียง ฉนวนไฟฟ้า ช้ินส่วน เครื่องใช้ในบา้ น 5. พลาสติกพอลเี อทิลินเรฟทาเลท (Polyethylene terephthalate: PET) มีความ ใส มคี วามยดื หยุ่นสูง และป้องกนั การซึมผา่ นได้ ลกั ษณะเป็นเม็ด โปร่งแสง นิยมใช้ทาขวดนา้ ด่ืม ขวด นา้ มนั ขวดน้าอัดลม ฟิลม์ ใสบรรจอุ าหาร เส้นใยสงั เคราะห์ 6. พลาสตกิ พอลิสไตรนี (Polystyrene: PS) มีความแข็งมาก เป็นฉนวนไฟฟ้า ทนต่อ ความชน้ื และน้า มีลกั ษณะเป็นเม็ด ทรงกระบอก เมด็ คล้ายไข่มุก ใสเหมือนแกว้ นยิ มนาไปทาช้ินส่วน ก่อสร้าง ฉนวนของอปุ กรณ์ ไฟฟา้ เครือ่ งเขยี น 7. ไนลอน 66 (Nylon 66) มีการผสมผสานระหว่างความแข็ง ความเหนียวและ ความแข็งแรง มีลักษณะเป็นเม็ด สีธรรมชาติ (ขาว ขุ่น เหลือง) นิยมนาไปทาใบพัดเรือ ใบพัดลม ช้ินสว่ นงานทอ่ เครื่องมอื แพทย์

7 8. พลาสติกอะคริโลไนไตรล์บิวทาไดอีนสไตรีน (Acrylonitrile butadiene styrene: ABS) มีความเหนียว ทนการกระแทก มีความ แข็งแรงสูง ทนต่อดินฟ้าอากาศ ไม่ เสื่อมสภาพ และมีลักษณะเม็ดสีเหลืองออกน้าตาล นิยมนาไปทา ส่วนประกอบภายในรถยนต์ เครอื่ งใช้ในบา้ นและครวั เรือน โทรทัศน์ เคร่อื ง เสยี ง 9. พอลิเมทิล เมทาคริเลต (Polymethyl methacrylate: PMMA) มีความแข็งแรง เชิงกลสูง ผิวแข็ง ทนต่อดินฟ้าอากาศ มีความใส มีลักษณะเป็นเม็ดสีใส นิยมนาไปทา ชิ้นส่วนของ แวน่ ตา เลนส์ หนา้ ปัด นาฬกิ า 2.1.2 เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) เป็นพลาสติกประเภทคงรูปหรือรู้จักกันท่วั ไปวา่ พลาสติกแข็ง มีโครงสร้างเป็นร่างแหหรือเกิดการเชื่อมโยงกนั ระหว่างโมเลกลุ (Cross-linked or Network shape) ซึ่งโครงสร้างที่เป็นร่างแหสามารถหลอมเหลวได้ในขั้นตอนการขึ้นรูปครั้งแรก เท่านั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นทาให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล ทาให้พอลิ เมอร์มีรูปร่างที่ถาวรไม่สามารถหลอมเหลวได้เมื่อได้รับความร้อน (Heat) หรือแรงอัด (Pressure) ดังน้ันพลาสติกประเภทน้ีจึงไม่สามารถนามาหลอมข้ึนรูปได้ใหม่ได้ แม้จะให้ความร้อนซ้าอีกคร้ัง สาย โซ่พลาสติกก็จะไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เนื่องจากโครงสร้างเกิดการจับกันเป็นร่างแห จึงทาให้ พลาสติกไม่สามารถอ่อนตวั หรอื หลอมขน้ึ รูปใหม่ได้ (เกรียงศักด์ิ วงศพ์ รอ้ มรัตน,์ 2556) ชนดิ ของเทอร์โมเซตติ้ง 1. เมลามีน ฟอร์มาลดีไฮด์ (Melamine formaldehyde) มีเนื้อแข็งมาก ทนทาน ต่อการขีดข่วน เหนียวไม่แตกง่าย ผสมสีได้ดี ทนทานต่อน้ายาฟอกสี ไม่ติดไฟ ไม่อ่อนตัวเมื่อได้รับ ความร้อน แต่เมื่อถูก ความร้อนสูงจะไหม้เกรียม มีลักษณะทั้งเป็นผงและเป็นเม็ด มีสีขุ่นทึบ นิยม นามาทาจาน ชาม เครื่องใช้ภายใน ครัว เครื่องประดับบ้าน ท้า สวิตช์ไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า กาวใน อุตสาหกรรมไมอ้ ดั เคลอื บไม้ ผา้ และกระดาษ 2. ฟีนอลฟอร์มาดีไฮด์ (Phenol formaldehyde) มีความเนื้อแข็งคงตัว แต่เปราะ ทนทานต่อการผุกร่อน เป็นฉนวนไฟฟ้าทนความร้อนได้สูง มีลักษณะเป็นของเหลวใสและแบบผงมีสี น้าตาล และสามารถนามาทาด้ามเครื่องมือช่าง หูหม้อ หู กระทะ ด้ามมีด กาว สาร เคลือบผิว สารเตมิ แต่งใน อุตสาหกรรมยาง 3. อีพ็อกซี (Epoxy) มีการยึดเกาะสูงและทนต่อแรงดึงมาก มีความ ทนทานต่อการ ใช้ มีลักษณะเป็นของเหลวใส ใช้เคลือบผิวของอุปกรณ์ภายใน บ้านเรือน ใช้ใส่ใส่วนประกอบ ของ อปุ กรณ์ไฟฟา้ และเสน้ ใยของทอ่

8 4. พอลเิ อสเตอร์ (Polyester) มีการยดึ เกาะสงู และทนต่อแรงดงึ มาก มีความ ทนทานต่อการใช้ ลกั ษณะเป็นของเหลวใส ใชท้ าพลาสติกสาหรบั เคลอื บผวิ หล่อพลาสตกิ ในแม่พิมพ์ งานหล่อพลาสติก เส้นใย ฟิล์มและ ยาง 5. พอลยิ รู เี ทน (Polyurethane) มกี ารยดึ เกาะสูงและทนต่อแรงดงึ มาก มีความ ทนทานต่อการใช้ ลกั ษณะเป็นของเหลวใส และยังสามารถทาเสน้ ใยสแปนเด็กซ์ในเครื่องแตง่ กาย มี ความ ทนทานและยืดหยนุ่ ได้ดี 6. ซลิ โิ คน (Silicone) นา้ จะไมจ่ ับผวิ ตดิ กาวไม่ได้ มสี ถานะ เป็นกลางทางเคมี เปน็ ฉนวนไฟฟ้า และค่อนข้างจะทนความร้อนได้สูง ลักษณะเป็นของเหลวใส เป็นวสั ดสุ ังเคราะหส์ ารพดั ประโยชนใ์ ช้ในการตดิ กระจก ใช้อุดรอยรัว่ ซึมต่างๆ ยาแนว อ่างน้า 2.2 ไมโครพลาสติก ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นทาให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล ทาให้พอลิ เมอร์มีรูปร่างที่ถาวรไม่สามารถหลอมเหลวได้เมื่อได้รับความร้อน (Heat) หรือแรงอัด (Pressure) ดงั น้ัน พลาสติกประเภทนี้จึงไมส่ ามารถนามาหลอมข้ึนรูปไดใ้ หม่ได้ แมจ้ ะให้ความร้อนซ้าอีกคร้ัง สาย โซ่พลาสติกก็จะไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ เนื่องจากโครงสร้างเกิดการจับกันเป็นร่างแห จึงทาให้ พลาสตกิ ไมส่ ามารถอ่อนตวั หรือหลอมข้นึ รปู ใหม่ได้ (เกรยี งศกั ดิ์ วงศ์พรอ้ มรตั น์,2556) ไมโครพลาสติก หมายถึง อนุภาคพลาสติกที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร ( Fendall and Sewell,2009) กล่าวว่า ไมโครพลาสติก หมายถึง พลาสติกทมี่ ีขนาดเสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลางน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 5 มิลลิเมตร (ชาญชัย คหาปนะ,2560) ไมโครพลาสติก หมายถึง ชิ้นของพลาสติก หรือพอลิ เมอร์สังเคราะห์ ที่มีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร (Horton et al,2017) สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ, อาทิตย์ เพช็ ร์รกั ษ์, เจนยกุ ต์ โล่หว์ ัชรนิ ทร์ และจงรักษ์ ผลประเสรฐิ (2562) กล่าววา่ ชนิดของไมโครพ ลาสติกจาแนกตามธรรมชาติ ของอนภุ าคและแหล่งกาเนดิ สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ดงั น้ี 2.2.1 ไมโครพลาสตกิ ปฐมภมู ิ ไมโครพลาสติกปฐมภูมิ (Primary microplastic) หมายถึง ไมโครพลาสติกที่มีการผลิตเป็น พลาสติกขนาดเล็กมาตั้งแต่ต้น เช่น เม็ดพลาสติกที่นามาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นของการผลิตผลิตภัณฑ์ พลาสติก เช่น Microbeads ในโฟมล้างหน้า เครื่องสาอาง สครับขัดผิว หรือยาสีฟัน โดยรูปทรงปกติ ของพลาสติกที่มาจากเครื่องสาอางจะมีขนาดเล็กกว่า 0.5 มิลลิเมตรและอาจเล็กกว่า 0.1 มิลลิเมตร ในเครื่องสาอางบางชนิดไมโครพลาสติกประเภทนี้จะสามารถแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อมตามแหล่งน้า

9 ได้โดยการทิ้งของเสียโดยตรงจากบ้านเรือนลงสู่แหล่งน้าตามธรรมชาติและไหลลงสู่ทะเล เช่น กรณี การใช้สครับที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดหน้าหรือในไมโครพลาสติกจากใย สงั เคราะหจ์ ากการทง้ิ น้าท่ีใช้ในการซักผ้าที่มเี ศษผ้าใยสังเคราะห์หลดุ รว่ งมากับน้าระหว่างการซัก เป็น ตน้ 2.2.2 ไมโครพลาสติกทุตยิ ภูมิ ไมโครพลาสติกทุติยภูมิ (Secondary microplastic) หมายถึง ไมโครพลาสติกที่เกิดจาก พลาสติกขนาดใหญ่ซึ่ง สะสมอยู่ในสิ่งแวดลอ้ มเป็นเวลานาน เกิดการย่อยสลาย แตกหัก หรือผุกร่อน จากคลืน่ แสงอาทิตย์ หรอื แรงบบี อดั จนกลายเป็นชน้ิ เล็ก ๆ ซงึ่ การแตกหักหรือการย่อยสลายของรังสี อัลตราไวโอเลต(Ultraviolet radiation: UV) และกระบวนการย่อยสลายทางเคมี ชีวภาพ และ กระบวนการทางกายภาพอื่น ๆ จึงเกิดเป็นพลาสติกขนาดเล็กหรือเรียกว่าไมโครพลาสติก (Microplastic) (Wang et al., 2016) ไมโครพลาสติกสามารถปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมทางทะเลได้โดยการทิ้งของเสียโ ดยตรงจาก บา้ นเรือนสู่แหล่งน้าและไหลสู่ทะเล เชน่ กรณขี องเส้นใยจากผ้าใยสังเคราะห์จากการทิ้งน้าซักผ้าหรือ การทิ้งขยะลงสู่แม่น้า เป็นต้น ส่วนอีกรูปแบบหนึ่งมาจากพลาสติกที่ใช้อยู่ทั่วไปเกิดการฉีกขาดจาก ปัจจยั ต่าง ๆ เช่น แสง ความชื้น หรือสง่ิ มชี ีวิตในทะเลจนเป็นเศษพลาสติกขนาดเล็กและตกค้างสะสม ในสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุที่ไมโครพลาสตกิ มีขนาดเล็กมากทาให้ยากต่อการเก็บและกาจัด ประกอบกับ คุณสมบัติทค่ี งสภาพย่อยสะลายไดย้ ากจึงง่ายทีจ่ ะปนเปื้อนในสง่ิ แวดล้อม สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและป่าชายเลน (2557) มีสารวจและจาแนก ตัวอย่างขยะทะเลประเภทไมโครพลาสติกในชายหาดเจ้า หลาวและคุ้งวิมาน จังหวัดจันทบุรี พบว่า ไมโครพลาสติกมีหลายรปู ร่าง มที ัง้ หมด 7 รปู ร่าง ไดแ้ ก่ รปู ร่างเส้นใย รปู รา่ งชนิ้ ส่วนไรร้ ปู แบบ รูปรา่ ง แผน่ ฟิลม์ รปู รา่ งแผ่นแข็ง รปู ร่างทรงกลม รปู ร่างแท่ง และรปู ร่างเสน้ ใยทีไ่ มใ่ ชเ่ ชือก

10 2.3 ผลกระทบของไมโครพลาสตกิ ไมโครพลาสติก สามารถทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเลได้หลาย ประการ เช่น การกินไมโครพลาสติกของสิ่งมีชีวิตในทะเล การเป็นวัสดุตัวกลางในการสะสมสารพิษ อินทรีย์ในห่วงโซ่อาหาร หรือการปลดปล่อยพลาสติไซเซอร์ที่มีอยู่ในตัวไมโครพล าสติกเองสู่ สิ่งแวดลอ้ ม เป็นตน้ 2.3.1 ผลกระทบบจากไมโครพลาสตกิ ต่อมนษุ ย์ ผลกระทบที่เกิดจากการปนเปื้อนไมโครพลาสติกต่อมนุษย์ส่วนใหญ่เกิดมาจาก คุณสมบัติของไมโครพลาสติกที่เป็นไฮโดรโฟบิค (hydrophobic) ซึ่งมีลักษณะที่ไม่ชอบน้าทาให้มี ความสามารถในการดูดซับและปลดปล่อยสารอินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้ (Frias et al., 2010) เมอ่ื ไมโครพลาสติกถกู ปล่อยจากแหล่งกาเนิดลงสู่แหล่งน้าตามธรรมชาตแิ ล้ว ไมโครพลาสติก อาจมกี ารดดู ซับสารตา่ งๆ ที่ปะปนอย่ใู นแหล่งน้าได้ เชน่ สารตกค้างทม่ี าจากการชะของน้าฝนหรือน้า ไหลบ่า (Polychlorinated biphenyls: PCBs) (Law & Thompson, 2014) ที่นาพาสารเคมีตกค้าง ลงสแู่ หล่งน้าตามธรรมชาติซงึ่ ทาให้ไมโครพลาสติกเหล่าน้ีเกิดการดูดซึมสารพิษตกคา้ งและมีการสะสม พษิ จากมลสารท่ีแขวนลอยอยใู่ นน้า นอกจากน้ีไมโครพลาสติกมีความหนาแนน่ ต่า ทาให้มีน้าหนักเบา สามารถลอยอยู่เหนือผวิ นา้ ได้ จงึ มีการปะปนยดึ เกาะกับแพลงกต์ อนหรือแหล่งอาหารของสตั ว์น้า เมื่อ สง่ิ มชี วี ติ หรือสัตว์น้าท่ีอาศยั อยู่ในแหล่งนา้ กลืนกินไมโครพลาสติกเข้าไปจะก่อให้เกิดการสะสมสารพิษ อยู่ในสัตว์น้า ซึ่งสารพิษหรือสารเคมีที่ปะปนอยู่ในไมโครพลาสติกเหล่านี้ จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้าหรือสัตว์น้าและเกิดการสะสมสารพิษแบบ ทวีคูณในห่วงโซ่อาหารได้ (รัตนา อศั วศลิ ปโ์ สภณ, 2547) 2.3.2 ผลกระทบจากไมโครพลาสติกต่อระบบนเิ วศแหลง่ น้า ระบบนิเวศแหล่งน้าเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้าหรือสัตว์น้า กับสง่ิ แวดล้อม โดยการดารงชวี ติ ของสัตวน์ ้าในแหล่งน้าจะอยโู่ ดยมีความสมั พันธ์กนั ในลักษณะต่าง ๆ รวมถึงความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยและเก้ือกูลกัน ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย ทางกายภาพ คือ สภาพแวดล้อมที่อยู่ในแหล่งน้า เช่น อุณหภูมิ กระแสน้า เป็นต้น และปัจจัยทาง ชีวภาพ เช่น ความหลากหลายของชนิดหรือสาย พันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (Species) ที่ดารงชีวิตหรืออาศยั อย่ใู นแหลง่ น้า เชน่ กลุม่ ผู้ผลิต ผูบ้ รโิ ภค และผยู้ ่อยสลาย (บญั ญตั ิ มนเทยี รอาสน์, 2553)

11 ผลกระทบท่เี กิดจากการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในส่ิงมชี ีวิตในทางตรงสามารถ เกิด ได้โดยการกลืนกินไมโครพลาสติกของสัตว์น้า เนื่องจากไมโครพลาสติกมีขนาดเล็กและมีความ หนาแน่นตา่ ทาใหม้ คี วามสามารถในการลอยตัวอยู่เหนือผวิ น้าและสามารถรวมตัวยึดเกาะหรือปะปน กับแพลงก์ตอนทีเ่ ป็นแหล่งอาหารของสิ่งมชี ีวิตหรือสัตวน์ ้า เมื่อสัตว์น้ากลืนกินไมโครพลาสติกเข้า ไป ไมโครพลาสติกจะสามารถหลุดรอดเข้าสู่ระบบทางเดินอาหารของสัตว์น้าได้ง่ายและอาจก่อให้เกิด การอดุ ตันขดั ขวางหรือรบกวนการทางานของระบบภายในร่างกายของสัตว์นา้ ได้ ไมโครพลาสติกท่ีถูก สัตว์น้ากลืนกินเข้าไปในร่างกายจะมีการสะสมสารพิษ ทาให้สารพิษเข้าสู่สายใยอาหารและถ่ายทอด ไปตามลาดับข้ันของหว่ งโซ่อาหาร (Food chain) ซงึ่ การถ่ายทอดในหว่ งโซ่อาหารน้ี เป็นการถ่ายทอด สารพิษแบบทวคี ณู คอื จากผ้ผู ลติ ขนั้ ตน้ สู่ผ้บู ริโภคลาดับสุดทา้ ยหรอื มนุษย์ ซ่งึ ผลกระทบทางอ้อมจาก การกลืนกินไมโครพลาสติกของสัตว์น้า คือ การสะสมของสารมลพิษประเภทสารอินทรีย์ในร่างกาย เชน่ การสะสมของสารมลพิษท่ีตกคา้ งยาวนาน (POPs) (Frias et al., 2010) Greenpeace (2018) หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของออสเตรีย ( The Environment Agency Austria) ได้นาอุจจาระจากผู้ร่วมการทดลอง 8 คน จาก 8 ประเทศอย่าง ออสเตรยี อติ าลี ฟนิ แลนด์ เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ ญปี่ ุ่น รสั เซีย และสหราชอาณาจักร โดยแต่ละคน ไดร้ บั ประทานอาหารประจาวนั แบบปกติ (ผู้ทีร่ ่วมการทดลองไม่มีใครทานมังสวิรตั และมี 6 คนที่ทาน ปลาทะเล) ก่อนที่จะส่งอุจจาระของพวกเขาให้หน่วยงานได้วิเคราะห์ผลที่ได้คือ ตรวจเจอไมโครพลา สติกจากอุจจาระของผู้ที่ร่วมการทดสอบทุกราย โดยไมโครพลาสติกที่พบมีตั้งแต่ พอลิเอทธิลีน เทเรฟธาเลท (ใช้ทาขวดน้าดื่ม) โพลีพรอพีลีน (เช่น ถุงร้อนพลาสติกบรรจุอาหาร แก้วโยเกิร์ต ) ไป จนถึง โพลีไวนิลคลอไรด์ หรือ PVC (เช่น ฟิล์มห่ออาหาร) เฉลี่ยแล้วพบว่าในแต่ละ 10 กรัมของ อุจจาระจะเจออนุภาคของไมโครพลาสตกิ จานวน 20 ชิน้ ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารอุทยานแห่งชาติทางทะเล จ.ตรงั (2562) จากการเก็บตัวอย่างปลาทู บริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม พบว่า ปลาทูขนาดน้าหนักเฉลี่ย 66.53 กรัม ความยาว มาตรฐานเฉลี่ย 17.46 เซนติเมตร มี \"ไมโครพลาสติก\" ในกระเพาะของปลาทูเฉลี่ย 78.04 ชิ้นต่อตัว ประกอบไปดว้ ยลกั ษณะท่ีเป็นเสน้ ใย แท่งสีดา และกลิตเตอร์ ซง่ึ ลกั ษณะของไมโครพลาสติกท่ีพบมาก ที่สดุ คอื ชิ้นสดี า ด้วยค่าร้อยละ 33.96 ขณะที่ ธรณ์ ธารงนาวาสวสั ดิ์ (2562) ระบุว่า พลาสติกในท้อง ปลาทูมาจากถงุ พลาสติกจากใต้ทะเล ถุงกรอ่ นแตกตัวเป็นไมโครพลาสติก ลอยขึน้ ไปอยใู่ นนา้ ตราบใด ที่ถุงยังอยู่ เศษพลาสติกก็หลุดออกมาเรื่อยๆ ดังนั้นการเก็บขยะทะเลจึงเป็นส่วนช่วยลดไมโครพลา สติกโดยตรง ปลาทูกินแพลงก์ตอนในน้า ก็กินไมโครพลาสติกเข้าไปด้วย จากนั้นก็ไปอยู่ในท้อง

12 บางส่วนสลายตัวกลายเป็นนาโนพลาสติก เข้าสู่กระแสเลอื ดและเนื้อเย่ือปลาได้ เรากินสัตว์น้าเหลา่ น้ี เข้าไป กอ็ าจเปน็ สาเหตุเสีย่ งตอ่ โรคในรา่ งกายมนษุ ย์ 2.4 วธิ กี ารตรวจสอบไมโครพลาสตกิ ปริชญา สุภาทา (2562) ได้ทาการศึกษาไมโครพลาสติกในปลาดุกบิ๊กอุย ได้ทาการบันทึก ความยาวและน้าหนักสดของทางเดินอาหารปลาแต่ละตัวก่อนท่ีจะทาการหาไมโครพลาสติก จากนั้น ทาการแยกเอาทางเดินอาหารปลาไปอบท่ีเครื่องอบลมร้อนอุณหภูมิ 65 องศาเซลเซยี สเปน็ เวลา 3 วัน แล้วนามาบดด้วยโกร่งบดจนละเอียดให้เติม NaCl 0.4 g/cm3 ปริมาตร150ml เพื่อรักษาสภาพเซลล์ จากนั้นทาการเททางเดินอาหารปลาลงในบีกเกอร์จากน้ันเตมิ NaCl 1.2 g/cm3 ปริมาตร250ml แล้ว นามากรองด้วยกระดาษกรองเบอร์1 นาไปทางเดินอาหารปลาที่กรองเสร็จแล้วมาไว้ในจานเพาะเช้ือ แล้วย่อยด้วย H2O2 15% เมื่อเสร็จแล้วนาไปอบที่เครื่องอบลมร้อนทีอ่ ุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเปน็ เวลา24 ชั่วโมง แล้วนามาเติมน้ากลั่นเพื่อให้ชิ้นส่วนที่ถูกย่อยลอยขึ้นมาแล้วนาไปส่องใต้กล้อง จุลทรรศน์แบบ Stereo microscope เพื่อหาชิ้นสว่ นไมโครพลาสติก Garnier, Jacob, Guerra, Bertucci and Lecchini (2019) ได้ทาการบันทึกความยาว และ น้าหนักสดของทางเดินอาหารปลาแต่ละตัวก่อนท่ีจะทาการหาไมโครพลาสติก จากนั้นจะทาการแยก ทางเดนิ อาหารปลาออกมาแลว้ นาไปอบที่ hot air oven 65ºC เป็นเวลา 24 ชัว่ โมง จากนั้นนามาบด ดว้ ยโกรง่ บด เติม NaCl 0.4 g/cm 3 150 ml เพ่อื ใหต้ ัวอย่างตกตะกอน จากนัน้ เติม NaCl 1.2 g/cm3 250 ml ลงไปแล้วคน และนาไปกรองด้วยกระดาษกรอง จากนั้นนาไปแช่ 15% H2O2 ที่อุณหภูมิ 50ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนาไปส่องใต้กล้องจุลทรรศน์ นับจานวนไมโครพลาติก และบันทึก รูปร่างของไมโครพลาสตกิ โดยในระหวา่ งการดาเนินการจะต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการปนเปื้อนของ ไมโครพลาสตกิ รวมถึงระมัดระวงั ในการสารเคมีทกุ ชนิด ปิติพงษ์ ธาระมนต์, สุหทัย ไพรสานฑ์กุล และนภาพร เลียดประถม (2559) ได้ทาการศึกษา การปนเปอ้ื นของขยะประเภทไมโครพลาสติกในหอยสองฝาบรเิ วณชายหาดเจ้าหลาว และชายหาดคุ้ง วมิ าน โดยผลการศึกษาไดม้ ีการบันทึกปรมิ าณไมโครพลาสติกท่ตี รวจพบในหอยสองฝา จากนั้นทาการ เปรยี บเทยี บการคานวณไมโครพลาสติกทั้งต่อน้าหนักตัว และตอ่ จานวนตวั ของหอย บนั ทึกรปู ร่างของ ไมโครพลาสติก สขี องไมโครพลาสติก และขนาดของไมโครพลาติก

13 Mathahon and Hill (2014) โดยนาหอยตัวอย่างมาทาการผ่าเอาเนื้อภายในออก แล้วนาไป ล้างด้วยน้ากลั่น จากนั้นนาตัวอย่างไปใส่ในไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ความเข้มข้น 30% แล้ว ทาการให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส อุ่นตัวอย่างจนกระทั่งสารละลาย ระเหยออก หมด จากน้นั นาตวั อย่างท่ไี ดไ้ ปเติมโซเดียมคลอไรดท์ ลี่ ะลายอิ่มตัว (250g/L) และกวนตวั อย่างจากนั้น ทง้ิ ตัวอย่างใหต้ กตะกอน และนาไปกรองผ่านกระดาษกรองขนาด 1.2 ไมโครเมตร จากนนั้ นากระดาษ กรองไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4 ชั่วโมง นาตัวอย่าที่ได้ไปวิเคราะห์หาไมโครพลา สติกต่อไป โดยนาแผ่นกระดาษกรองที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อจาแนกไมโครพลาสติก โดยใช้กล้อง จุลทรรศน์ดจิ ิตอลกาลังขยาย 200 เท่าโดยถ่ายรูปเพื่อเก็บข้อมูล และวัดขนาดของไมโครพลาสติกแต่ ละชนิดที่พบ จากนั้นทาการวิเคราะห์การปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในหอยสองฝาของแต่ละสถานี และจาแนกชนิดของไมโครพลาสติกตามรูปร่าง สี และวัดขนาดของไมโครพลาสติกและทาการ เปรียบเทียบการปนเปือ้ นของไมโครพลาสติกในหอยสองฝาจากชายหาด และระดับขึ้นลงท่ีตา่ งกันทาง สถิตโิ ดยใช้ความแปรปรวนแบบสองทาง (TWO WAY ANOVA) 2.5 นิเวศวิทยาของปลาและหอย 2.5.1 นิเวศวทิ ยาเกย่ี วกบั ปลาช่อน ปลาช่อนเป็นปลาพื้นเมืองของไทย พบอาศัยแพร่กระจายทั่วไปตามแหล่งน้าทั่วทุกภาคของ ไทย อาศัยอยู่ในแม่น้าลาคลอง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า หนองและบึง ปลาช่อนเป็นปลาน้าจื ดที่มีมา หลายร้อยพันปีแล้วนอกจากจะพบในประเทศไทยยังมีแพร่หลายในประเทศจีน อินเดีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือว่าการเลี้ยงปลาช่อนในประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรกท่ี อาเภอสองพ่ีน้อง จังหวดั สพุ รรณบุรีประมาณ 40 ปีมาแลว้ โดยชาวจีนท่ตี ลาดบางล่ี อาเภอสองพ่ีน้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นนายทุนได้รวบรวมลูกพันธุ์จากแหล่งน้าธรรมชาติในเขตพื้นที่อาเภอสองพ่ี น้องมาทดลองเลี้ยงดูและเห็นว่าพอเลี้ยงได้จึงออกทุนให้กับคนญวนที่มีภูมิลาเนาติดกับแม่น้าท่าจีน และคลองสองพน่ี ้องในตาบลสองพี่น้อง ตาบลตน้ ตาล โดยสร้างกระชังในล่อนแล้วแตข่ นาด และความ เหมาะสม โดยผลผลิตที่ได้นายทุนจะรับซื้อเอง แต่ทาได้ไม่นานก็ต้องเลิกเพราะเกษตรกรบางราย นา ลูกปลาช่อนไปลองเลี้ยงในบ่อดินและพบว่าได้ผลดีกว่าและต้นทุนต่ากว่า และปริมาณลูกปลาช่อนที่ ได้รับก็มจี านนวนมากกว่า ปลาช่อน (อังกฤษ: Common snakehead, Chevron snakehead, Striped snakehead; ช่อื วทิ ยาศาสตร์: (Channa striata) ปลาน้าจืดชนิดหนึง่ อยใู่ นวงศป์ ลาชอ่ น (Channidae) มีลักษณะ ลาตัวอ้วน กลม และเรียวยาว ส่วนหน้า ของลาตัวมีลักษณะคล้ายทรงกระบอก ส่วนท้ายของลาตัว

14 แบนข้างเล็กน้อย ตาอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีปากกว้าง ขากรรไกรบนยาวเลยขอบหลังของตา หัว กว้าง และแบน มีฟันขนาดเล็กอยู่บนเพดานปาก ด้านบนและด้านข้างของหัวปกคลุมด้วยเกล็ดมี อวัยวะช่วยหายใจอยู่ที่โพรงด้านบนของเหงือกเหมือนปลาในสกุลเดียวกัน ครีบหลังและครีบก้นยาว ฐานของครีบหลังยาวกว่าฐานของครีบก้น ครีบทุกครีบ ไม่มีก้านครีบแข็ง เกล็ดบนเส้นข้างลาตัวมี จานวน 42 – 57 เกล็ด ครีบหางกลม มีลาตัวด้านบน และด้านหลังมีสีน้าตาลถึงน้าตาลดา ลาตัว ด้านล่างและส่วนท้องมีสีขาวเหลือง มีแถบสีตามขวางลาตัว ในแนวเฉียงขึ้นและเฉียงลงจากหลังครบี อกถึงฐานครีบหาง ครีบทุกครีบมีแถบสีเทากระจายอยู่ทั่ว ยกเว้นครีบอก โดยทั่วไปพบมีขนาดลาตัว ยาว 30 – 40 cm (สหัส ราชเมืองขวาง, 2557) มีลักษณะนิสัยก้าวร้าว ชอบไล่กัดปลาชนิดอ่ืน โดยเฉพาะในช่วงฤดูผสมพันธ์แุ ละวางไข่ แมป่ ลาช่อนจะมนี ิสัยดุรา้ ยมากกว่าปกติ เพอ่ื ป้องกนั อันตราย ให้แก่ ลูกปลา สาหรับถิ่นที่อยู่อาศัยของปลาช่อนสามารถพบได้ทั่วไปในแม่น้า ลาคลอง หนอง บึง และทุ่งนาที่มีน้าขังหรืออาศัยอยู่ในระดับน้าลึกไม่เกิน 1 m ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปลาช่อน หากินตั้งแต่ระดับพื้นดินจนถึงผิวน้า ปลาช่อนจึงสามารถเคลื่อนไหวไปบนบกหรือฝังตัวอยู่ในโคลนได้ เปน็ เวลานาน ๆ และลกั ษณะอาหารของปลาช่อน คือ ปลาชอ่ นเปน็ ปลากินเน้ือ (Carnivorous fish) ลูกปลาช่อนขนาดเล็ก มีนิสัยการกินอาหารเช่นเดียวกับปลาช่อนที่มีขนาดโตเต็มวัยจะแตกต่างกัน เพียงขนาดของอาหารเท่านั้น ตัวอย่างอาหารของลูกปลาช่อน คือ ไรน้า ลูกกุ้ง และลูกปลาขนาดเล็ก เป็นต้น สว่ นปลาช่อนทมี่ ีขนาดโตเต็มวัยจะกินพวกกุง้ และปลาชนิดตา่ ง ๆ รวมทั้ง กบ เขียดท่ีมีขนาด ใหญข่ ึน้ ตามสัดสว่ นของลาตวั (สบื สนิ สนธิรัตน, ประจติ ร วงศ์รัตน์, และเวยี ง เชื้อโพธ์ิหัก, 2516) ภาพที่ 2.1 ปลาชอ่ น ทมี่ า : https://sites.google.com/a/bicec.ac.th/jubbjubb/pla-chxn

15 2.5.2 นเิ วศวทิ ยาเก่ียวกบั ปลาดุกอุย ประทีปพันธุ์ปลา (ม.ป.ป) ปลาดุก (อังกฤษ: Walking Catfish) ใช้เรียกปลาหนึ่งใน สกุล Clarias วงศ์ Clariidae มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วโลก เป็นปลาไม่มีเกล็ด ลาตัวยาว มีหัวที่แบนและแข็ง มีหนวดยาวแปดเส้น สามารถหายใจบนบกได้ เป็นปลาวางไข่ เป็นปลากินเนื้อโดยเฉพาะเมื่อตัวโต เต็มที่ชอบกินปลาอื่นที่ตัวเล็กกว่าเป็นอาหาร ซึ่งในประเทศเรานั้นพบว่ามีปลาดุกด้วยกันทั้งหมด 5 ชนิด แตเ่ ทา่ ท่ีร้จู ักมเี พียง 2 ชนิด คือ ปลาดุกอยุ และปลาดุกดา้ น ส่วนปลาดกุ ทีน่ ิยมเลย้ี ง คือ ปลาดุก ด้าน เพราะเนื้อปลาดุกด้านคอ่ นข้างแข็ง ทาให้สามารถขนส่งไดใ้ นระยะทางไกล ๆ ประกอบกับ ปลา ดกุ ดา้ นเล้ยี งง่าย โตเรว็ จึงเป็นทีน่ ิยมเลีย้ งกันมาก แตส่ าหรับผู้บรโิ ภคแลว้ จะนยิ มปลาดุกอุย เพราะให้ รสชาตดิ ีเน้ือปลานมุ่ ฟู กลน่ิ ดี ปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) เป็นปลาพื้นบ้านของไทยชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่างเรียวยาว มีหนวด 4 เส้น ที่ริมฝีปาก ผิวหนังมรสีน้าตาล เนื้อมีสีเหลือง รสชาติอร่อยนุ่มนวล สามารถนามาปรุงแต่งเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ได้ แต่เมื่อไม่นานมานี้เกษตรกรได้นาพันธุ์ปลาดุกชนิด หนึ่งเข้ามาเลี้ยงในประเทศไทย ซึ่งอธิบดีกรมประมงได้มีคาสั่งให้กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงน้าจืด ดาเนินการศึกษาพบว่าเป็นปลาในตระกูลเดียวกับปลาดุกอุย มีถิ่น กาเนิดในทวีปแอฟริกา เป็นปลาที่มีการเจริญเติบโตรวดเร็วมาก สามารถกินอาหารได้แทบทุกชนิด มี ความต้านทานโรค และสภาพแวดล้อมสูง เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ แต่ปลากุก ชนิดนี้มีเนื้อเหลวและมีสีซีดขาวไม่น่ารับประทาน ซึ่งกรมประมงได้ให้ชื่อว่าปลาดุกเทศ (Clarias gariepinus) จากการศึกษาลักษณะรปู ร่างและชีววทิ ยาของปลาดุกเทศทางกลุ่มวจิ ัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จืดจึงได้ทาการเพาะขยายพันธุ์ปลาโดยนาปลาดุกอุยและปลาดุกเทศผลปรากฏว่าการผสมข้ามพันธุ์ ระหว่างปลาดุกอุอุยเพศเมียผสมกับปลาดุกเทศเพศผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ดี ลูกที่ได้อัตราการ เจริญรวดเรว็ ทนทานตอ่ โรคสูงมลี ักษณะใกลเ้ คียงกับปลาดุกอยุ จงึ ทาใหเ้ กษตรกรนาวิธีการผสมข้าม พันธุ์ไปปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งลูกหลานที่เกิดจากคู่ผสมนี้ทางประมงให้ชื่อว่า ปลาดุกอุย -เทศ แต่โดยทั่ว ๆ ไปชาวบ้านเรียกกันว่า บิ๊กอุย (C.macrocephalus x C.gariepinus) หรือ อุยบ่อ ส่วน การผสมข้ามพันธุ์ระหว่างปลาดุกอุยเพศผู้กับปลาดุกเทศเพศเมีย ลูกที่ได้ไม่แข็งแรง และเหลือรอด น้อย เมื่อเทียบกับการเพาะพันธุ์เพื่อให้ได้ปลาดุกบิ๊กอุย จนทาให้ในปัจจุบันนี้ปลาดุกบิ๊กอุยนั้นเป็นที่ นิยมเลี้ยงของเกษตรกรเนื่องจากเลี้ยงง่าย มีการเจริญเติบโตรวดเร็ว อีกทั้งทนทานต่อโรคและ สภาพแวดล้อมไดด้ ี ท้ังยงั เป็นทนี่ ิยมบริโภคของประชาชนเน่ืองจากมีรสชาติดแี ละราคาถูก

16 ภาพที่ 2.2 ปลาดุกอุย ทมี่ า : https://www.grobest.com 2.5.3 นเิ วศวิทยาเกีย่ วกบั ปลานิล ปลานลิ (Oreochromis niloticus) เปน็ ปลานา้ จืดอยู่ในตระกลู ชิคลิดี (Cichlidae) มีถ่ินฐาน เดิมแถบล่มุ น้าในทวปี แอฟรกิ า เปน็ ปลาทม่ี คี วามสาคญั ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนบั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2508 สามารถเล้ยี งได้ทัง้ ในกระชัง บ่อดิน และบอ่ ซเี มนต์ ปลานิลมีรูปร่างคล้ายปลาหมอ คือ มีริมฝีปากบนและฝีปากล่างเสมอกัน มีลายพาดขวาง 9- 10 แถว ครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางมีจุดขาว เส้นสีดาตัดขวาง โดยที่หลังมีเพียง 1 ครีบ ประกอบด้วยก้านครีบแข็ง และกา้ นครีบอ่อนเป็นจานวนมาก ลาตัวมีสีเขียวปนน้าตาล และมีเส้นสีดา ตัดขวางอยู่ทั่วไปปลานิลที่มีอายุเท่ากันตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ปลานิลมีพฤติกรรมอยู่รวมกัน เป็นฝูงยกเว้นในช่วงสืบพันธ์ุมีความอดทน และสามารถปรับตวั ให้เข้ากับธรรมชาติได้ง่ายอาศัยทางได้ ในน้าจืด และน้ากร่อยปลานิลทนต่อความเค็มได้ถงึ 20 ส่วนในพนั ส่วนทนตอ่ อุณหภมู ิได้ถงึ 40 องศา เซลเซียสแต่ในอุณหภูมิที่ต่ากว่า 10 องศาเซลเซียสปลานิลจะเจริญเติบโตได้ช้า (Popma and Masser,1999) ท้งั นีเ้ ป็นเพราะถิ่นกาเนิดเดิมของปลานิลอยู่ในเขตร้อน และสามารถทนต่อค่าพีเอชได้ ดีในช่วง 6.5-8.5 (อุดม,2549) ปัจจุบันปลานิลสามารุพบได้ทุกภาคของไทย เนื่องจากปี 2509 กรม ประมงได้เพาะขยายพันธุ์ปลานิล เพื่อแจกจ่ายให้กับเกษตรกรจึงมีการเพาะเลี้ยง และปล่อยในแหล่ง น้าทั่วประเทศ ปลานิลเป็นผู้บรโิ ภคขั้นทุติยภมู ิ (secondary consumer) กินอาหารได้หลายชนิดทั้ง พชื และสตั ว์ เช่น ไรน้า ตะไครน้ ้า และสัตวเ์ ลก็ ๆ (สานักวจิ ยั และพัฒนาประมงนา้ จืด,2551)

17 ภาพที่ 2.3 ปลานลิ ทมี่ า : http://www.nicaonline.com 2.5.4 นิเวศวทิ ยาเก่ยี วกบั ปลาตะเพยี นขาว ปลาตะเพียนขาว (Barbonymus gonionotus) เป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลา ตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเหมือนปลาในวงศ์ปลาตะเพียนทั่วไป มีลักษณะลาตัวอ้วนป้อมหัว ของปลามขี นาดเล็ก มเี กลด็ ใหญ่ ปากเลก็ มีลักษณะที่แตกต่างจากพวกเดยี วกนั คือ ปลาตะเพียนขาว มกี ้านครีบออ่ นของครีบกน้ อยู่ 6 ก้าน สว่ นปลาตะเพียนชนดิ อ่นื มีกา้ นครีบอ่อนของครบี ก้นอยู่ 5 ก้าน และมีสีข้างล้าตัวเป็นสีเขียวอมฟ้า ด้านหลังเป็นสีน้าตาลปนเทา ท้องมีสีขาว ลักษณะรูปร่างของปลา เป็นปลาที่มีรูปร่างปราดเปรียวว่ายน้ารวดเร็ว กระโดดได้สูง มีขนาดความยาวประมาณ 8 – 20 cm ลักษณะนสิ ัยรกั สงบ ชอบอาศัยอยู่รวมกนั เป็นฝงู นอกจากเวลาสบื พันธหุ์ รอื วางไข่ มีความว่องไวปราด เปรียว ชอบหลบซ่อนตามแม่น้าลาคลอง หนอง บงึ ท่มี กี ระแสนา้ ไหลอ่อน ๆ หรืออาศัยอยู่ในแหล่งน้า นิ่ง เป็นปลาที่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ดี สามารถนามาเลี้ยงและเพาะพันธุ์ได้ ง่าย สาหรับถิ่นที่อยู่อาศัยของปลาตะเพียนขาวสามารถพบในแหล่งน้าไหล และแหล่งน้านิ่งในภาค กลาง ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลักษณะอาหารของปลาตะเพียนขาว คือ พืช เมลด็ พชื เมล็ดพชื ตระกูลหญ้า สาหร่าย และแพลงตอนพชื เป็นตน้ (สถานีประมงนา้ จืด จังหวัดราชบรุ ี, 2549) ภาพที่ 2.4 ปลาตะเพยี นขาว ท่ีมา : https://www.zoothailand.org

18 2.5.5 ความรูท้ วั่ ไปเกยี่ วกบั ปลาปกี แดง ปลาปกี แดง ปลาน้าจดื มชี ่ือวิทยาศาสตรว์ า่ Hypsibarbus vernayi อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน มีรูปรา่ งและขนาดใกล้เคยี งปลาตะพากเหลือง ต่างกนั ตรงทคี่ รบี กน้ ไม่ยาวถึงโคนหางเหมอื นปลา ตะพากเหลือง ครีบและหางเปน็ สีแดงเข้มหรือสีสม้ และถ่ินท่อี ยู่พบในภาคอีสาน, ภาคเหนอื และภาค กลางแถบ จงั หวดั เพชรบุรี, ราชบรุ ี พบนอ้ ยกวา่ ปลาตะพากเหลอื ง คือพบเปน็ บางฤดกู าล มรี ูปร่าง ค่อนข้างยาวแบนข้างคลา้ ยปลาตะเพยี น ลาตวั มสี ีเงนิ วาว ส่วนปลายของขอบเกลด็ บริเวณลาตวั เปน็ สี ดา ครีบทุกครบี มีสีส้มออกแดง มีหนวด 2 คู่อยู่บนขากรรไกรบนและลา่ ง ครบี หางเปน็ แบบสอ้ ม เปน็ ปลาขนาดกลาง เม่ือโตเตม็ ท่มี ีขนาดประมาณ 700-1,000 กรมั ภาพท่ี 2.5 ปลาปีกแดง ทีม่ า : https://grabyourfins.wordpress.com 2.5.6 นเิ วศวทิ ยาเกี่ยวกับปลาสรอ้ ยขาว ปลาสร้อยขาว (Henicorhynchus siamensis) มีถิ่นกาเนิดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งประเทศไทย ลาว พม่า และประเทศใกล้เคียง ในประเทศไทยพบแพร่ได้ในทุกภาค แต่พบได้มาก ทางตอนบนของประเทศทั้งบริเวณภาคกลางตอนบนภาคเหนือ และภาคอีสาน ปลาสร้อยขาว เป็นปลากินพืชและสัตว์ ชอบอาศัยรวมกันเป็นฝูง มีอาหารหลักเป็นแพลงก์ตอนพืช และสาหร่ายชนิดต่างๆ อาทิ สาหร่ายสเี ขียวแกมนา้ เงิน นอกจากนน้ั ยงั พบการกินอาหารชนิดอน่ื อาทิ ซากอินทรยี ์ พืชน้า และแมลงนา้ มกั พบออกหาอาหารในเวลากลางวัน โดยเฉพาะช่วงเช้าตรู่ และช่วง เย็น โดยมักออกหาอาหารรวมกันเป็นฝูง ปลาสร้อยขาว เป็นปลามีเกล็ดขนาดกลาง ลาตัวมีลักษณะ ยาวแบบทรงกระบอก ขนาดลาตัวเมื่อปลาโตเต็มจะมีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร ส่วนความ กวา้ งหรือความลึกของลาตวั ประมาณ 7-8 เซนติเมตร หรือ มคี วามยาวเป็น 3.1-3.6 เท่าของความลึก ลาตัว ส่วนครีบทั้งหมดมีสีขาวอมเหลือง ประกอบด้วยครีบหลังที่มีก้านครีบเดี่ยวประมาณ 2-3 ก้าน และก้านครีบแขนงประมาณ 8 ก้าน ครีบหางมีก้านครีบเดี่ยว 2 ก้าน บริเวณด้านล่าง และด้านบน

19 ระหวา่ งตรงกา้ นของก้านครีบเดี่ยวจะเป็นก้านครีบแขนง สว่ นครีบก้นจะมีกา้ นครีบเด่ียวประมาณ 2-3 ก้าน และก้านครีบแขนงประมาณ 5 กา้ น (ครรชติ และคณะ. 2530) ภาพที่ 2.6 ปลาสร้อยขาว ทม่ี า : https://sites.google.com 2.5.7 นเิ วศวิทยาเก่ยี วกบั ปลากระมัง ปลากระมัง (อังกฤษ: Smith's barb ชื่อวิทยาศาสตร์: Puntioplites proctozysron) ปลา น้าจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) แตตางสกุลกัน มีรูปรางลักษณะคลายปลา ตะเพยี นขาว ลาตัวเกือบเปนรปู ส่ีเหลีย่ มขนมเปยกปูน หวั และลาตัวแบนขาง นยั นตาโตและอยูคอนไป ทางดานบน ไมมหี นวด ครบี หางเวา ลกึ ลาตัวดานหลังมสี ีคล้า แตดานขางเปนสเี งิน ลกั ษณะที่แตกตา งจากปลาสกลุ ปลาตะเพียน คอื กานครีบอนั สุดทายของครบี กนมีขนาดใหญแข็ง ปลากระมังมีอัตราส วนความยาวลาไสตอความยาวลาตัวเฉลี่ย 1.383 เทา จุดเด่นคือ สันหลังยกสูงและครีบหลังก้าน สุดทา้ ยแขง็ และมีขนาดใหญ่ ยกสงู ด้านหลังของก้านครบี นี้มีทั้งรอยยักและไม่มรี อยยัก ซง่ึ มีลาไสท่ีส้ัน คลายปลากินเน้ือ แตลักษณะของซี่เหงือก ปาก และฟน คลายปลากินพืช ดังน้นั ปลากระมัง เปนปลา ที่กินทั้งพืชและสัตวเปนอาหาร หรือกินพืชพันธุ์ไม้น้า อินทรีย์สารที่เน่าเปื่อย พบไดโดยทั่วไปในแหล งน้าของไทย และมีชื่อเรียกแตกตางกันไป ตามทองถิ่น ภาคกลางเรียกวา ปลากระมัง หนองคายและ นครพนม เรียกวาปลาสะกาง (กรมประมง, 2530; สวุ ีณาและคณะ, 2532) ภาพที่ 2.7 ปลากระมงั ที่มา: https://www4.fisheries.go.th

20 2.5.8 นเิ วศวทิ ยาเก่ยี วกบั ปลากระสบู ขดี ป ล า ก ร ะ ส ู บ ข ี ด ( อ ั ง ก ฤ ษ : Transverse- bar Barb ช ื ่ อ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร์ : Hampala macrolepidota) อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน ลาตัวค่อนข้างยาว ด้านข้างแบนท้องกลมมน จะงอยปาก แหลมปากกว้างและเอียงขึ้นเล็กน้อย มีหนวดที่มุมปาก 1 คู่ ครีบหลังอยู่ตรงข้ามกับครีบท้อง เกล็ด ใหญ่ สขี องตวั จะเปน็ สีขาวเงิน มลี ายดาพาดขวางลาตัว หางสแี ดงสด ครบี สแี ดงหรอื สสี ม้ มีขนาด 20- 50 เซนติเมตร พบในแม่น้า ลาคลองทั่วไปทุกภาคของไทย พบมากในแม่น้าโขง และพบบ้างในแม่น้า เจ้าพระยา โดยจะพบได้มากกวา่ ปลากระสูบจุด เปน็ ปลากินเนื้อ จดั เป็นปลานกั ล่าชนิดหน่ึง มักไล่จับ ปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาซิว, ปลาวัยอ่อน รวมถึงแมลงน้าต่าง ๆ ในแม่น้าและหนองบึงต่าง ๆ เป็นท่ี นิยมของนักตกปลาทั้งมืออาชีพ และมือสมัครเล่นโดยใช้เหยื่อปลอมบริโภคด้วยการปรุงสด หรือทา ปลาร้า, ปลาส้ม เป็นต้น และยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ปลากระสูบขีด เป็นปลากินเนื้อ มี นสิ ยั ดรุ ้าย ชอบไล่จบั กนิ ปลาขนาดเล็ก หรอื ลกู ปลาขนาดเล็กกินเป็นอาหาร รวมถึงแมลงนา้ ชนิดต่างๆ เชน่ ปลาซวิ กงุ้ ปู ลกู ออ๊ ด และลูกปลาขนาดเลก็ ชนิดอ่ืนๆ (จลุ ทรรศน์ คีรีแลง. 2555) ในประเทศไทย พบปลากระสูบขีดได้ทุกภาค ทั้งในลุ่มน้าโขง ลุ่มน้าชี มูล ลุ่มน้าปิง วัง ยม น่าน เรื่อยมาถึงลุ่มน้า เจ้าพระยา ลมุ่ นา้ แมก่ ลอง และเรือ่ ยไปจนถงึ ลุม่ นา้ อน่ื ๆ ทง้ั ในภาคกลาง ตะวนั ออก และใต้ โดยพบได้ ทงั้ แมแ่ มน่ ้าสายหลัก สายยอ่ ย บอ่ หรือสระเก็บน้า และอา่ งเก็บน้าขนาดต่างๆ โดยชอบอาศัยในแหล่ง นา้ นิง่ ท่ีสะอาด มีกรวด หินบริเวณพ้ืนล่าง หากแหล่งนา้ ขนุ่ มักไมพ่ บปลาชนดิ นี้ ภาพท่ี 2.8 ปลากระสูบขีด ทีม่ า: https://dictionary.sanook.com

21 2.5.9 นิเวศวทิ ยาเก่ียวกบั ปลายส่ี กเทศ ปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) ยี่สกเทศแต่เดิมมีถิ่นกาเนิดอยู่ในอินเดีย มีนักวิชาการประมง ของไทยทาการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการผสมเทียมได้เป็นครั้งแรก เมื่อปี 2511 ต่อมาได้นาไปปล่อยใน แหล่งน้าทั่วประเทศ ชอบอยู่ตามแม่น้า ลาธาร และอ่างเก็บน้า ซึ่งมีพื้นเป็นกรวดทรายและอุดม สมบูรณ์ด้วยแพลงก์ตอนสีเขียวเป็นปลาน้าจืดชนิดหนึ่ง เป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมใช้บริโภคในภูมิภาค แถบน้ี โดยปรุงสด เชน่ แกงกะหรใ่ี นประเทศไทยถกู นาเขา้ มาในปีพ.ศ. 2511 เชน่ เดียวกับปลากระโห้ เทศ (Catla catla) และปลานวลจันทร์เทศ (Cirrhinus cirrhosus) เพอื่ เพาะเลยี้ งขยายพนั ธุ์เป็นปลา เศรษฐกิจในประเทศ ปรากฏว่าได้ผลสาเร็จเป็นอย่างดี และได้รับความนิยมมาก โดยมีการเลี้ยงอย่าง แพร่หลายในหลายโครงการของกรมประมงทั้งในภาคเหนือและภาคอีสานอีกทั้งยงั เป็นที่นิยมของบอ่ ตกปลาต่าง ๆ อีกด้วย จนสามารถขยายพันธ์ุได้เองในแหล่งน้าของประเทศไทย เช่น ทแี่ ม่น้าโขง ปลา ยี่สกเทศนิยมบริโภคในในประเทศแถบตะวันออกกลางจัดอยู่ในเชื้อสายเดียวกับปลาตะเพียน เช่น เดียวกับปลาตะโกก ปลากะโห้ ปลานวลจันทร์น้าจืด และปลาสร้อยในภาคกลางพบปลายี่สกเทศ อาศัยอยู่ในแม่นา้ เจ้าพระยา แม่น้าแม่กลอง แม่น้าราชบุรี แม่น้าป่าสกั แควน้อย แควใหญ่ ภาคเหนือ พบมากท่ีแมน่ า้ น่าน จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พบในแม่นา้ โขง ตงั้ แตจ่ ังหวัดเชียงราย จังหวัดอุบลราชธานี มีมากในจังหวัดหนองคาย และจังหวัดนครพนมเมื่อ 50 ปีก่อน ดร.สมิท ที่ ปรึกษาราชการกรมรักษาสัตวน์ า้ แห่งรัฐบาลสยาม รายงานว่าปลายส่ี กเปน็ ปลาดีที่นยิ มของชาวราชบุรี พอ ๆ กับปลาจาดหรือปลาเวียนอันมีชื่อเสียงของจังหวัดเพชรบุรีในต่างประเทศเคยพบในประเทศ มาเลเซยี และคาดว่าคงจะพบในประเทศลาว เขมร และเวยี ดนามดว้ ยตามธรรมชาติ ปลายี่สกเทศกิน พืชในนา้ เปน็ อาหารหลัก และอาจกินสัตวห์ นา้ ดิน ลกู กุ้ง ลกู ปู และไรน้าดว้ ย ลกั ษณะรูปรา่ งลาตวั ยาวทรงกระบอก ส่วนหัวสัน้ ปากเลก็ มหี นวดส้ัน 2 คู่ ริมฝีปากเป็นชาย ครุยเล็กน้อย มแี ผ่นขอบแข็งท่ีริมฝีปากบน และล่าง มเี กลด็ ขนาดเล็กตามแนวเสน้ ข้างลาตัว ครีบหลัง และครีบก้นมีขนาดเล็ก ครีบหางเว้าลึก ลาตัวด้านบนสีคล้า ปลาขนาดใหญ่จะมีจุดสีน้าตาลแดงหรือ น้าตาลออ่ นแตม้ ท่ีเกลด็ แต่ละเกลด็ ทอ้ งมสี จี างครีบสีคลา้ มขี อบสีชมพูอ่อนหรือแดง

22 ภาพที่ 2.9 ปลาย่ีสกเทศ ทมี่ า : https://cms.talaadthai.com 2.5.10 นิเวศวิทยาเกยี่ วกับปลาไหล ปลาไหลจัดเป็นปลาน้าจืดกลุ่มปลากระดูกแข็ง ลักษณะลาตัวยาว ครีบอก (pectoral fin) และครีบท้อง (ventral fin) เสื่อมหายไม่เหลืออยู่เลย โดยครีบหลังและครีบก้นจะไปรวมกับครีบหาง (caudal fin) ทาให้ปลาไหลมีหางแบบ diphycercal tail มีลักษณะปลายหางเรียวแหลม แบ่ง ออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน พบได้ทั่วไปตามแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น คูน้า ห้วย หนอง คลอง บึง ที่ คอ่ นข้างเปน็ แหลง่ นา้ นิ่ง ชอบอาศยั อยู่ตามพื้นโคลนที่มีซากพชื ซากสัตว์เน่าเป่ือยสะสมอยู่หรือบริเวณ ที่ปกคลุมด้วยวัชพืช พวกหญ้าน้าที่รก และชื่นแฉะ ชอบฝังตัวในลักษณะจาศีลใต้พื้นโคลนบริเวณก้น หนองบึงด้วยลักษณะพิเศษทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของปลาไหลทาให้สามารถอยู่อาศัยในที่แห้ง แล้งไมม่ ีนา้ ไดน้ าน ปลาไหลจากเป็นพวกปลากนิ เนื้อ (carnivorous fish) ที่ชอบฉก หรอื แท้กนิ เนือ้ สตั ว์ขชท่ีตาย แล้ว ทั้งสภาพสดที่มีกลิ่นคาวจัด จนน่าป่วยจนมีกลิ่นเหม็นรวมถึงลูกปลาขนาดเล็กตัวหนอนตัวอ่อน แมลงไส้เดือนหรือสัตว์หน้าดินต่างๆวัชพืชที่มีสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆเกาะอาศัยอยู่ เป็นปลาที่มีตาขนาดเล็ก แต่จมูกและเส้นข้างลาตัวพัฒนาการดีจึงชอบกินอาหารในที่มืดส่ิงแวดล้อมสงบเงียบ และมีนิสัย รวมกลมุ่ ในการอย่อู าศัยหรอื กินอาหาร ภาพท่ี 2.10 ปลาไหล ทม่ี า: https://www.wikiwand.com

23 2.5.11 นเิ วศวทิ ยาเก่ียวกับปลาหมอช้างเหยยี บ ปลาหมอช้างเหยียบ (Pritolepis fasciatus) เป็นปลาน้าจืดที่มีการแพรกระจายทั่วทุกภาค ของประเทศ และเป็นที่นิยมบริโภคกันทั่วไป เนื่องจากมีรสชาติดี ปลาหมอช้างเหยียบชอบอาศัยอยู่ ในแหล่งน้าที่มีหญ้าและวัชพืชน้า ปลาเพศเมียขนาดความยาว 5-10 เซนติเมตร มีการวางไขมาก ในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะเมื่อเริ่มมีฝนตกหนักในเดือนพฤษภาคม ปลาเพศเมียที่มีความยาว มาตรฐาน 5-10 เซนติเมตร จะมีไข 12,000 - 25,000 ฟอง และขนาด 10-15 เซนติเมตร จะมีไข 25,000 - 105,000 ฟอง ในชวงฤดูการผสมพันธุปลาเพศ เมียจะมีสวนท้องขยายออกและช่องเพศจะบวมขึ้นส วนฝาปดเหงือกของปลาเพศผจู้ ะสากขึ้น ปลาหมอชา้ งเหยยี บจะวางไขปละคร้ัง ไขปลาหมอ ช้างเหยียบจะมีลักษณะเปนไขลอยโปรงใส มีสีเหลือง เส้นผาศูนยกลางของไข ประมาณ 0.6 มลิ ลเิ มตร และมหี ยดนา้ มัน ขนาดใหญพยุงใหลอยนา้ ได (พินิจและนวลใย, 2523) ลกั ษณะของหมอชา้ งเหยยี บ รูปร่างป้อมสน้ั ลาตัวด้านขา้ งแบน หัวเล็ก จะงอยปากส้ันทู่ ปาก เล็ก และอยู่ปลายสดุ นัยน์ตาเล็ก มีเกล็ดขนาดเลก็ ที่หวั และลาตัว ครีบหลังยาว ส่วนที่เปน็ กา้ นเด่ยี ว เป็นหนามแข็ง และแหลมคม ครีบก้นมีหนามแหลมคม ส่วนที่อ่อนมีขนาดใกล้เคียงกับส่วนอ่อนของ ครีบหาง ครีบหางมีขนาดใหญ่ปลายมน สีโดยทั่วไปของหัว และลาตัวเป็นสีเหลืองแกมเขียว หรือสี เหลืองปนน้าตาล ภาพท่ี 2.11 ปลาหมอชา้ งเหยียบ ทมี่ า : https://s.isanook.com/dt/0/di/fish/204.bmp

24 2.5.12 นิเวศวิทยาเกย่ี วกบั หอยขม หอยขม (Pond snail, Marsh snail, River snail) ชื่อวิทยาศาสตร์ Filopaludina ภาษาใน บางท้องถิ่นเรีอยกว่า หอยจุ๊บ หรือหอยดูด จัดอยู่ในไฟลัม Mollusca กลุ่มหอยฝาเดียว วงศ์ Viviparidae หอยขมเป็นหอยฝาเดียวอาศัยในน้าจืดมีขนาดเล็ก เปลือกเป็นเกลียวกลมยอดแหลม เปลอื กหนาและแขง็ ผิวชน้ั นอกเป็นสเี ขยี วแก่ ฝาปดิ เปลอื กเป็นแผ่นกลม ตนี ใหญ่ จะงอยปากสนั้ ทู่ ตา มีสีดาอยู่ตรงกลางระหว่างโคนหนวด ตัวผู้มีหนวดเส้นข้างขวาพองโตกว่าเส้นข้างซ้าย ลักษณะพิเศษ ของหอยชนิดนี้ จะมีอวัยวะเพศทั้งเพศผู้ และเพศเมียอยู่ในตัวเดียวกัน ออกลูกเป็นตัว และผสมพันธุ์ ได้ด้วยตัวของมนั เองเมื่ออายุได้ 60 วัน หอยขมออกลูกเป็นตัวครั้งละประมาณ 40-50 ตัว ลูกหอยขม ที่ออกมาใหม่ๆมีวุ้นหุ้มอยู่ แม่หอยขมจะใช้หนวดแทงวุ้นจนแตก เพื่อให้ลูกหอยหลุดออกจากวุ้น ลูก หอยขมสามารถเคลื่อนไหวได้ทันทีเมื่อออกจากตัวแม่ จะพบเห็นชุกชุมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม- พฤษภาคม หอยขมชอบอาศัยในแหล่งน้าจืด เช่น ในคู คลอง หนอง บึง ที่น้าไม่ไหลแรง และเป็นน้า นิ่ง มีระดับความลึกตั้งแต่ 10 เซนติเมตร ถึง 2 เมตร มักเกาะอยู่กับพันธุ์ไม้น้า เสาหลัก ตอไม้ หรือ ตามพืน้ กนิ อาหารพวกสาหร่าย และอินทรียส์ าร ใบไมใ้ บหญา้ ผๆุ ในนา้ รวมทงั้ ซากอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย และผงตะกอนที่จมอยู่ตามผิวดิน หอยขมเป็นสัตว์น้าที่ให้คุณค่าทางอาหาร มีโปรตีน 12 เปอร์เซ็นต์ คารโ์ บไฮเดรต 4 เปอร์เซ็นต์ ไขมนั 2 เปอรเ์ ซ็นต์ และความชื้น 78 เปอร์เซ็นต์ จงึ เหมาะสาหรับนามา ประกอบอาหารแต่ก่อนรับประทานควรทาให้หอยขมสุกเต็มที่ เนื่องจากหอยขมมีตัวอ่อนของพยาธิ ใบไม้ในลาไส้ เมอื่ เข้าสคู่ นแล้วสามารถเจรญิ เติบโตในคนได้ (วันทนา อยู่สขุ , 2543) ภาพที่ 2.12 หอยขม ท่มี า: https://www.technologychaoban.com

25 2.6 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Zhao et al. (2014) ได้ทาการศึกษาไมโครพลาสติกในน้าผิวดินบริเวณปากแม่น้าแยงซีของ ประเทศจนี และบรเิ วณทะเลจนี ทางด้านตะวนั ออก ในชว่ งท่นี ้าลดลงตา่ สุด โดยใช้วธิ ีการทาให้ตะกอน ลอย (Flotation) และท้าการวิเคราะห์รูปร่างและลักษณะของไมโครพลาสติกภายใต้กล้อง Stereomicroscope ผลการศึกษาพบค่าความหนาแน่นของไมโครพลาสติก เท่ากับ 4,137.3 ± 2,461.5 และ 0.167 ± 0.138 items/m 3 ในตัวอย่างน้าจากปากแม่น้าแยงซี และน้าจากทะเลจีน ทางด้านตะวันออก ตามลาดับ ซึ่งความหลากหลายของพลาสติกที่พบในน้าผิวดินบริเวณปาก แม่น้า แยงซีจะมีความหลากหลายมากกว่าพลาสติกที่พบในน้าจากทะเลจีนตะวันออก โดยลักษณะ ไมโครพ ลาสติกที่พบมากที่สุดในน้าผวิ ดินบรเิ วณปากแม่น้าแยงซี คือ แบบเส้นใย (Fiber) รองลงมา คือ แบบ เมด็ เลก็ ๆ (Granule) และแบบฟลิ ์ม (Film) คิดเปน็ ร้อยละ 79.1, 11.6 และ 9.1 ของ ไมโครพลาสติก ทง้ั หมด ตามลาดบั สขี องไมโครพลาสตกิ ทพี่ บในนา้ ผวิ ดนิ บริเวณปากแม่นา้ แยงซีสว่ นใหญเ่ ป็นลักษณะ โปรง่ ใสหรือไม่มีสี รองลงมาคือ มสี ที บึ สขี าว และสดี า คิดเปน็ ร้อยละ 58.9, 26.1, 8.7 และ 6.2 ของ ไมโครพลาสติกทั้งหมด ตามลาดับ ส่วนขนาดของไมโครพลาสติกที่พบในน้าผิวดินบริเวณปากแม่น้า แยงซีส่วนใหญ่มีขนาดมากกว่า 0.5 – 1 mm คิดเป็นร้อยละ 67 ของไมโครพลาสติกที่พบทั้งหมด และลกั ษณะไมโครพลาสติกทพ่ี บในน้าทะเลบริเวณทะเลจีนทางด้านตะวนั ออกมากทีส่ ุด คอื แบบเส้น ใย (Fiber) รองลงมา คือ แบบเม็ดเล็กๆ (Granule) และแบบฟิล์ม (Film) คิดเป็นร้อยละ 83.2, 14.7 และ 2.1 ของไมโครพลาสติกทั้งหมด ตามลาดับ และสีของไมโครพลาสติกที่พบในน้าทะเลบริเวณ ทะเลจีนทางด้านตะวันออกส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นสีทึบ รองลงมาคือ โปร่งใสหรือไม่มีสี สีดา และสี ขาว คดิ เป็นร้อยละ 57.9, 28.8, 10.3 และ 2.9 ของไมโครพลาสตกิ ทัง้ หมด ตามลาดับ สว่ นขนาดของ ไมโครพลาสติกที่พบส่วนใหญ่ในน้าผิวดินบริเวณปากแม่น้าแยงซีมีขนาดมากกว่า 0.5 – 1 mm คิด เปน็ ร้อยละ 35.4 ของไมโครพลาสติกท่ีพบทั้งหมด โดยมีสาเหตุของการปนเปื้อน ไมโครพลาสติกมา จากบริเวณปากแม่น้าแยงซี ซึ่งเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศจีน จึง ส่งผลให้มีประชากรที่หนาแน่นทาให้บริเวณริมแม่น้ามีกิจกรรมของมนุษย์ที่หลากหลาย รวมถึงมีการ ปล่อยน้าทิ้งสู่ลงแหลง่ นา้ ตามธรรมชาติ และมกี จิ กรรมการเดินเรือ ซง่ึ ทาให้เกิดความเส่ียงในการสะสม ของพลาสติกในแมน่ ้าแยงซี Su et al. (2016) ท าการศึกษาไมโครพลาสติกในทะเลสาบไท่หู ซึ่งเป็นทะเลสาบ ที่ใหญ่ เป็นอันดับสามของประเทศจีน ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการพัฒนามากที่สุดแห่งหน่ึงของประเทศจีน โดยศึกษาการปนเป้ือนของไมโครพลาสติกในตัวอย่างน้าผิวดินประเภท Plankton net sample น้า

26 ผิวดิน ตะกอนดิน และหอยเอเชีย (Corbicula fluminea) ซึ่งแบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็น 3 เขต การศกึ ษา ประกอบไปด้วย เขตรบั น้าเสียจากชุมชนหรือเขตเมือง เขตธรรมชาติ และเขตบริเวณกลาง บึง ผลการศึกษาพบความหนาแน่นของไมโครพลาสติกในตัวอย่างน้าประเภท Plankton net sample ที่ได้จากการเก็บตัวอย่างน้าผิวดินด้วย Plankton net โดยครึ่งหนึ่งของตาข่ายให้ลอยเหนือ ผิวน้าและจมใต้ผิวน้าที่ระดับความลึกไม่เกิน 0.3 m ลากตาข่ายด้วยระดับความเร็ว 2 km/hr เป็น เวลา 1 – 30 min ผลพบไมโครพลาสติกใน Plankton net sample มีค่าเท่ากับ 0.01 × 106 – 6.8 × 106 items/km ความหนาแน่นของไมโครพลาสติกในตัวอย่างน้าผิวดิน (Surface water) มีค่า เท่ากับ 3.4 – 25.8 items/l ส่วนความหนาแน่นของไมโครพลาสติกในตัวอย่าง ตะกอนดิน มีค่า เท่ากับ 11.0 – 234.6 items/kg และความหนาแน่นของไมโครพลาสติกในตัวอย่าง หอยเอเชีย มีค่า เท่ากับ 0.2 – 12.5 items/g ลักษณะของไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดในทุกตัวอย่างทีท่ าการศึกษา คือ แบบเส้นใย (Fiber) คิดเป็นร้อยละ 48 – 84 ของไมโครพลาสติกทั้งหมดของทุกประเภทตัวอย่าง และสีของไมโครพลาสติกในตวั อย่างน้าผิวดินที่เก็บด้วย Plankton net sample และน้าผิวดิน ที่พบ ส่วนใหญ่ คือ สีฟ้า คิดเป็นร้อยละ 50 – 63 ของไมโครพลาสติกทั้งหมดในน้า ส่วนสีของไมโครพลา สติกในตัวอย่างตะกอนดินและสิ่งมีชีวิตที่พบส่วนใหญ่ คือ ลักษณะโปร่งใสหรือไม่มีสี และสีขาว คิด เปน็ ร้อยละ 29 – 44 ของไมโครพลาสติกท้ังหมด และประเภทของพอลิเมอร์ของไมโครพลาสติกที่พบ มากที่สุดในทุกตัวอย่างที่ทาการศึกษา คือ เซลโลเฟนหรือกระดาษแก้ว (Cellophane) รองลงมาคือ พอลิเอทิลีน (Polyethylene) พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate) พอลิเอ สเตอร์ (Polyester) และพอลิโพรไพลีน (Polypropylene) ซึ่งมีการปนเปื้อนหลักมาจากการรับน้า เสียจากชุมชนหรือเขตเมืองและการพัดพาหรือมีการ แพร่กระจายไมโครพลาสติก โดยกระแสลม Tharaman et al., (2016) ได้ศึกษาการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในหอยสองฝาบริเวณ ชายหาดเจ้าหลาวพบว่า จากการศึกษาในหอยสองฝา 2 ชนิด คือ หอยเสียบ (Donax sp.) และหอย กระปกุ (Paphia sp.) พบวา่ มขี ยะประเภทไมโครพลาสติกท่ปี นเปื้อนในหอยเสียบบริเวณชายหาดเจ้า หลาว 3.13±2.75 ชิ้น/ตัว โดยมีค่าใกล้เคียงกับชายหาดคุ้งวิมานที่พบ 2.98±3.12 ชิ้น/ตัว (P>.05) และมีการปนเปื้อนในหอยกระปุกบริเวณชายหาดเจ้าหลาว 11.31±2.03 ชิ้น/ตัว เมื่อจาแนกตาม รูปร่างของขยะประเภทไมโครพลาสติก พบว่ารูปร่างที่พบมากที่สุด คือ เส้นใยทั้งชายหาดเจ้าหลาว และชายหาดคุ้งวิมาน โดยพบที่ 82.3% และ 78.9% ตามลาดับ ส่วนสีของขยะประเภทไมโครพลา สติกที่พบมากที่สุดในหาดเจ้าหลาว คือ สีดา (23.12%) ส่วนชายหาดคุ้งวิมาน คือ สีฟ้า (25.29%)

27 ส่วนขนาดความกว้างและความยาวเฉลีย่ ของขยะประเภทไมโครพลาสติก บริเวณชายหาดเจ้าหลาวมี ค่าความกว้างเฉลี่ย 44.3±95.7 ไมโครเมตร และความยาวเฉลี่ย 1809.1±1273.1 ไมโครเมตร ส่วน บริเวณชายหาดคุ้งวิมานมีความกว้างเฉลี่ย 63.3±104.4 ไมโครเมตร และความยาวเฉล่ีย 1513.7±1045.0 ไมโครเมตร Silva-Cavalcanti et al. (2017) ทาการศึกษาถึงการกินไมโครพลาสติกของปลากดเกาะ (Hoplosternum littorale) ซ่งึ เปน็ ปลาน้าจืดท่มี ีการนามาบรโิ ภคในบริเวณเขตภมู ิอากาศก่ึงแห้งแล้ง ของทวีปอเมริกาใต้ โดยทาการศึกษาบริเวณแม่น้า Pajeú ซึ่งตั้งอยู่ในเขตพื้นที่กึ่งแห้งแล้งทาง ตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศบราซิล โดยทาการสมุ่ ตวั อยา่ งปลาจากชาวประมงทที่ าการประมงใน พื้นที่ จานวน 48 ตัว ผลการศึกษาพบว่าปลากดเกาะมีการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในล้าไส้ จานวน 40 ตัว คิดเป็นร้อยละ 83 ของตัวอย่างปลาทั้งหมด และจานวนการกินอนุภาคของพลาสติก ของปลาจะมีปริมาณที่แตกต่างกันในแต่ละสถานี ซึ่งสถานีที่พบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกใน ปลากดเกาะมากที่สุด คือ สถานีที่ 1 ซึ่งเป็นแหล่งท่ีมีการรองรับน้าจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นอันดับ แรก โดยมีจานวนอนุภาคพลาสติกมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเป็น 8.8 items/individual การศึกษาความ หนาแน่นและความหลากหลายของเศษพลาสติกในลาไส้ของปลา พบมีเศษพลาสติกขนาดมากกว่า 5 mm ภายในลาไส้ของปลาถึงร้อยละ 83 ของจานวนปลาทั้งหมด ถือเป็นความถี่สูงสุดที่พบใน รายงาน สาหรับปลาชนิดนี้ และพบไมโครพลาสติกขนาด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 mm ภายในลาไส้ ของปลาถงึ ร้อยละ 88.6 ของจานวนปลาทง้ั หมดไมโครพลาสติกที่พบในลาไส้ปลาส่วนใหญ่มีลักษณะ เปน็ แบบเสน้ ใย (Fiber) คิดเป็นร้อยละ 46.6 ของไมโครพลาสติกท้งั หมด ซง่ึ จากผลการศกึ ษาแสดงให้ เห็นว่าสิ่งมีชีวติ ท่อี าศัยอยู่ในน้าจดื มีความเสีย่ งท่จี ะเกิดการปนเปอื้ นมลพิษจากไมโครพลาสติกได้ ท้ังนี้ แม่น้า Pajeú เป็นส่วนหนึ่งของเมือง Serra Talhada ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้า ทาให้ได้รับน้าเสียจากชุมชน กิจกรรมการเกษตร การใช้น้าในเชิงนันทนาการ เช่น ใช้เป็นแหล่ง พกั ผอ่ นหย่อนใจ หรอื ใชใ้ นกจิ กรรมการตกปลา เปน็ ตน้ Kreekrinut et al. (2020) ได้ศึกษาการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในตะกอนดิน บริเวณ อ่าวไทยตอนล่าง จานวน 5 สถานี ได้แก่ หาดบางดี จังหวัดนครศรีธรรมราช หาดแหลมสนอ่อน จังหวัดสงขลา หาดสมิหลา จังหวัดสงขลา หาดตะโละกาโปร์ จังหวัดปัตตานี และหาดพระตาหนัก ทกั ษณิ ราชนิเวศน์ จงั หวัดนราธิวาส โดยประยุกตว์ ิธีเก็บข้อมลู และการจาแนกตวั อย่างตาม National Oceanic and Atmospheric Administration--NOAA, Protocol และยืนยันชนิดไมโครพลาสติก ด้วยเครือ่ ง FT-IR พบการปนเปอ้ื นไมโครพลาสติกในตะกอนดนิ ทั้ง 5 สถานี ในฤดูแล้งพบปริมาณไมโค

28 รพลาสติกบริเวณหาดตะโละกะโปร์ มากที่สุด (1,144 ชิ้น/ตร.ม.) รองลงมา คือ หาดแหลมสมิหลา (587 ชิ้น/ตร.ม.) หาดแหลมสนอ่อน (480 ชิ้น/ตร.ม.) หาดบ้านบางดี (403 ชิ้น/ตร.ม.) และหาดพระ ตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ (271 ชิ้น/ตร.ม.) ในฤดูฝนพบปริมาณไมโครพลาสติกมากที่สุดบริเวณหาด พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ (974 ชิ้น/ตร.ม.) รองลงมา คือ หาดตะโละกาโปร์ (377 ชิ้น/ตร.ม.) หาดแหลมสนออ่ น (263 ชิ้น/ตร.ม.) หาดบา้ นบางดี (148 ช้ิน/ตร.ม.) และหาดแหลมสมหิ ลา (62 ชิ้น/ ตร.ม.) ประเภทไมโครพลาสติกที่พบมี 6 ชนิด ได้แก่ Polyethylene terephthalate--PET ซึ่งพบ มากที่สุด รองลงมา Polyethylene--PE, Polyvinylchloride- -PVC, Polypropylene--PP, Polystyrene--PS และ Polyamide--PA ขนาดชิ้นส่วนไมโครพลาสติกที่พบมาก ที่สุดมีค่าอยู่ในช่วง 300-1,000 ไมโครเมตร รปู รา่ งของ ไมโครพลาสติกที่พบมากทีส่ ุดคือแบบเส้นใย (fiber) และสีของไม โครพลาสติกท่ีพบสว่ นใหญม่ ีสดี าและสขี าวใส สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและป่าชายเลนและคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา (2557) ได้ทาการสารวจการแพร่กระจายของขยะประเภทไมโครพลาสตกิ เบื้องต้น ในชายหาดเจ้าหลาวและหาดคุ้งวิมาน จังหวัดจันทบุรี โดยทาการสารวจการแพร่กระจาย ทั้งบน ชายหาด ในตะกอนดินและในหอยสองฝาที่อาศัยอยู่บริเวณชายหาด พบว่ามีการแพร่กระจายของไม โครพลาสติกทั้งบนชายหาดในตะกอนดินและในหอยสองฝาจากทั้งชายหาดเจ้าหลาว และหาดคุ้ง วิมาน โดยบนชายหาดคุ้งวิมานมีปริมานมากกว่าชายหาดเจ้าหลาวซึ่งมีปริมาณ ไมโครพลาสติกบน หาดคุ้งวิมาน 174±31 ชิ้น/กก. และ 272±253 ชิ้น/กก. ในฤดูฝนและฤดูแล้งตามลาดับ ในขณะที่ บริเวณชายหาดเจ้าหลาวพบปรมิ าณไมโครพลาสตกิ บนชายหาด 103±27 ชนิ้ /กก. และ 153±46 ชิ้น/ กก. ในฤดูฝนและฤดูแล้งตามลาดับ ส่วนในตะกอนดินพบว่า ขยะประเภทไมโครพลาสติกมีการ แพร่กระจายอย่างสม่าเสมอตลอดชั้นดิน 20 ซม. และปริมาณไมโครพลาสติกที่พบทั้งสองชายหาดมี ค่าใกล้เคียงกัน โดยมีปริมาณไมโครพลาสติกในตะกอนดินชายหาดคุ้งวิมาน 43±17 ชิ้น/กก. และ 40±24 ชิ้น/กก. ในฤดูฝนและฤดูแล้งตามลาดับ ในขณะท่ีบริเวณในตะกอนดินชายหาดเจ้าหลาวพบ ปรมิ าณไมโครพลาสติก 54±20 ช้ิน/กก. และ 42±17 ชิ้น/กก. ในฤดูฝนและฤดแู ล้งตามลาดับ ส่วนใน หอยสองฝาพบปริมาณไมโครพลาสติก 3.6 ชิ้น/ตัว และ 2.1 ชิ้น/ตัว ในบริเวณชายหาดคุ้งวิมานและ เจ้าหลาวตามลาดับ รูปร่างของไมโครพลาสติกที่พบมากท่ีสุด ในการศึกษาครั้งนี้ทั้งบนชายหาดใน ตะกอนดินและในหอยสองฝา คือไมโครพลาสติกที่มีรูปร่างแบบเส้นใย (Fiber) และสีของไมโครพลา สตกิ ทพี่ บสว่ นมากจะเป็นสขี าวขุน่ และสขี าวใส

29 ปริชญา สุภาทา. 2562 ได้ทาการศึกษาไมโครพลาสติกในปลาดุกบิ๊กอุยจากตลาดในจังหวัด เชียงใหม่ 3 ตลาด ได้แก่ ตลาดศิริวัฒนา ตลาดเมืองใหม่ และตลาดต้นลาไย โดยเก็บตัวอย่างปลา ดุกบิ๊กอุยตลาดละ 6 ตัว รวมทั้งส้ิน 18 ตัว พบว่าปลาดุกจากตลาดศิริวัฒนามปี ริมาณไมโครพลาสติก มากที่สุดเฉลี่ย 26.33±14.35 ชิ้น/ตัว ตลาดเมืองใหม่ มีปริมาณไมโครพลาสติกเฉลี่ย 23.67±7.74 ชิ้น/ตัว และตลาดต้นลาไยมปี ริมาณไมโครพลาสติกเฉลี่ย 23.17±5.64 ชิ้น/ตัว รูปร่างของไมโครพลา สตกิ ท่ีพบเปน็ รปู ร่างเสน้ ใยทง้ั หมด สขี องไมโครพลาสตกิ ได้แกส่ ีน้าเงนิ สีแดง สีม่วง สเี หลือง และมีใส ไม่มีสี ซงึ่ พบไมโครพลาสติกท่ีเป็นสีน้าเงินมากที่สุด ความยาวของไมโครพลาสติกท่ีสารวจจากตลาดศิ รวิ ัฒนามีความยาวเฉล่ีย 1.75±1.54 มลิ ลิเมตร ตลาดเมอื งใหม่มีความยาวเฉลยี่ 1.83±1.57 มิลลเิ มตร และตลาดตน้ ลาไยมีความยาวเฉล่ยี 1.73±1.08 มลิ ลิเมตร กฤษฎาวุฒิ ไชยวุฒิ (2562) จากการศึกษาการสารวจไมโครพลาสติกในหอยขมจากตลาดใน อาเภอเมืองพะเยาจังหวัดพะเยาทั้ง 3 ตลาดได้แก่ตลาดสดท่าวังทอง ตลาดพะเยาอาเขต และตลาด มณีรัตน์ โดยเก็บตัวอย่างตลาดละ 40 ตัว รวมทั้งหมด 120 ตัว พบว่าทั้ง 3 ตลาดนั้นมีความเสี่ยงตอ่ การปนเปื้อนของไมโครพลาสติกโดยตลาดที่พบไมโครพลาสติกและปริมาณของไมโครพลาสติกมาก ทีส่ ดุ คอื ตลาดมณรี ตั น์และจดั การศกึ ษาครง้ั นี้พบวา่ ลกั ษณะของไมโครพลาสติกท่ีพบนั้นมีลกั ษณะเป็น เสน้ ใยทัง้ หมดท้ัง 3 ตลาด ซง่ึ อาจมาจากอปุ กรณ์พวก สวงิ จับปลา แห ตาข่ายและเชอื กไนลอน ส่วนสี ของไมโครพลาสติกที่พบคือ สีน้าเงิน สสี ้ม สแี ดง และสใี สไม่มีสี ซ่งึ สไี มโครพลาสติกท่ีพบมากที่สุดคือ สีน้าเงิน พบว่ามีปริมาณไมโครพลาสติกที่พบในตลาดมณีรัตน์ 2.1 ชิ้น/ตัว ตลาดสดท่าวังทอง 1.95 ชนิ้ /ตวั และตลาดพะเยาอาเขต 1.29 ชน้ิ /ตัว ความยาวของไมโครพลาสติกทส่ี ารวจจากตลาดสดท่าวัง ทองมีความยาวเฉล่ยี 2.01±1.09 มิลลิเมตรตลาดพะเยาอาเขตมคี วามยาวเฉล่ีย 2.23±1.21 มิลลเิ มตร ตลาดมณีรัตน์มีความยาวเฉลี่ย 1.64±1.09 มิลลิเมตร ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ไม่สามารถระบุถึง แหล่งที่มาของไมโครพลาสติกได้อย่างชัดเจน แต่ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าได้มีการปนเปื้อนของไมโค รพลาสติกในหอยขมจากการทีท่ าการศึกษาอย่างแนน่ อน กนกวรรณ เนตรสิงแสง (2563) ได้ทาการศกึ ษาการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในน้าผวิ ดนิ และ ปลาในพื้นที่ชุ่มน ้าบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ โดยก าหนดพื้นที่ศึกษาเป็น 3 เขตพื้นที่คือ พื้นที่ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ธรรมชาติ ทาการศึกษาใน 2 ฤดูกาล คือ ฤดู แล้ง (Dry period) และฤดูฝน (Wet period) พบว่าปริมาณไมโครพลาสติกในน้าผิวดิน ฤดูแล้งทั้งนี้ ปริมาณไมโครพลาสติกในน้าผิวดนิ จากพื้นที่ชุมชนค่าเฉลี่ย 0.62±0.79 items/m² พ้ืนที่เกษตรกรรม มี 0.29±1.09 items/m² พื้นที่ธรรมชาติไม่พบไมโครพลาสติกในน้าผิวดินของทั้ง 3 พื้นที่ศึกษามีค่า

30 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างพื้นท่ีการใช้ประโยชน์โดยพบปริมาณไมโครพลาสติกใน น้าผวิ ดินเฉลี่ยสงู สดุ ในพ้ืนท่ีชุมชน ขนาดของไมโครพลาสตกิ ในนา้ ผวิ ดนิ โดยในช่วงฤดูแล้งพบขนาดไม โครพลาสติกเฉลี่ยเท่ากับ 420.0 µm จัดเป็นไมโครพลาสติกขนาดเล็ก และในช่วงฤดูฝนพบขนาดไม โครพลาสติกเท่ากับ 458.0 µm จัดเป็นไมโครพลาสติกขนาดเล็ก ทั้งนี้ขนาดไมโครพลาสติกจากพืน้ ท่ี ชุมชนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 600.0 µm พื้นที่เกษตรกรรมมีค่าเฉลี่ยนเท่ากับ 500.0 µm และไม่พบไมโค รพลาสติกในพื้นที่ธรรมชาติ รูปร่างไมโครพลาสติกในน้าผิวดิน พบ 2 รูปร่าง ได้แก่ แบบเส้นใย และ แบบแผ่นชิ้นเล็ก สีของไมโครพลาสติกในน้าผิวดิน พบทั้งหมด 4 สี ได้แก่ สีดา สีแดง สใี ส สีฟา้ พบไมโครพลาสติกสีดาและสแี ดงมากที่สดุ ไมโครพลาสตกิ ในกระเพาะของปลา พบว่าปริมาณไมโครไมโครพลาสติกในกระเพาะของปลา ในฤดูแล้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44±4.15 items/individual ฤดูฝนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.11±2.66 items/individual โดยพบปริมาณไมโครพลาสติกมากที่สุดในฤดูแล้ง ปริมาณไมโครพลาสติกใน กระเพาะของปลาจากพื้นที่ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ ธรรมชาติ มีค่าเฉลี่ย 3.66±4.45, 1.83±3.12, และ 1.33±3.26 items/individual ตามลาดับ ปริมาณไมโครพลาสติกในกระเพาะของ ปลาฉลาด และปลาช่อน มีค่าเฉลี่ย 1.33±3.26 และ 4.33±4.80 items/individual ตามลาดับ ลักษณะไมโครพลาสตกิ ท่ีพบในกระเพาะของปลา พบเป็นแบบเส้นใยเพยี งรูปรา่ งเดียว ขนาดของไมโค รพลาสติกพบวา่ ปลาจากในฤดูแล้ง มีขนาดเฉล่ยี เท่ากับ 1,125.0 µm ซ่งึ จดั เป็นไมโครพลาสติกขนาด เล็ก ขณะที่ปลาจากในฤดูฝน พบไมโครพลาสติกมีขนาดเฉลี่ยเท่ากับ 750.0 µm จัดเป็นไมโครพลา สติกขนาดเล็ก ไมโครพลาสติกของปลา จากในพื้นที่ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ธรรมชาติ และ พื้นที่ธรรมชาติ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,200.0, 750.0 และ 900.0 ตามลาดับ สีของไมโครพลาสติกใน กระเพาะของปลา พบทงั้ หมด 2 สี ไดแ้ ก่ สดี า และสีแดง พบสดี ามากที่สดุ Ma et al. (2016) ทาการศึกษาผลกระทบของอนุภาคพลาสติกประเภทไมโครพลาสติก (Microplastic) และนาโนพลาสติก (Nanoplastics) ต่อความเป็นพิษในการสะสมทางชีวภาพโดย ทาการศึกษาความเป็นพิษร่วมกันกับอนุภาคของพลาสติกกับ Phenanthrene (Phe) ซึ่งเป็น สารประกอบของ Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) ต่อสง่ิ มีชวี ิตทท่ี าการศึกษาคือไรน้า (Daphnia magna) ซึ่งสารพิษที่ทาการศึกษาคือสารประกอบของ PAHs เป็นสารที่มีความเป็นพิษ และเป็นสารก่อมะเร็งหรือก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตได้โดยเมื่อนาไรนา้ ที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชวั่ โมงให้ได้รบั ไมโคร พลาสตกิ ท่มี ีความเข้มข้นขนาดต่างๆและนาไรนา้ ดังกลา่ วออกมาหลังจากการฟัก ตัว 48 ชั่วโมงพบว่าเนื้อเยื่อ (Daphnid tissue) ลาไส้ (Daphnid gut) และเปลือก (Carapace) ของ

31 ไรน้ามีการปนเปื้อนท้ังไมโครพลาสติกและนาโน พลาสติกจากผลการศึกษาทาให้พบว่าสัตว์ที่อาศัยอยู่ ในน้าจืดสามารถกินอนุภาคของไมโครพลาสติกและนาโนพลาสติกได้จากนั้นอาจทาให้เกิดการตรึง (Immobilization) ของเซลล์สิ่งมีชีวิตและเกิดความเสียหายทางกายภาพต่อไรน้า นอกจากนี้ไมโครพ ลาสติกยังมีคุณสมบัติเป็นตัวดูดซั บสารพิษหรือความเป็นพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อมเช่นกา ร ปนเปื้อนจากการใช้สารกาจัดแมลงในการเกษตรที่อาจตกค้างในแหล่งน้าตามธรรมชาติได้และ เนื่องจากพลาสติกเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นไฮโดรโฟบิก (Hydrophobic) หรือไม่ ชอบน้าจึงเกิดการจับตัวกันกับอนุภาคตะกอนแขวนลอยในน้าซึ่งอาจทาให้เกิดการสะสมทางชีวภาพ และกอ่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชีวิตท่อี าศยั อยู่ในระบบนเิ วศแหลง่ นา้ ได้

บทที่ 3 วธิ ีดาเนินงานวจิ ยั 3.1 อุปกรณ์และสารเคมที ่ีใช้ในการทาวิจัย 3.1.1 อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นงานวิจัย 1) ถาดใส่ปลา 2) นา้ แขง็ 3) ถาดผา่ ตดั 4) อปุ กรณ์ผา่ ตัด 5) กระดาษฟอยล์อะลูมเิ นียม ( Aluminium foil ) 6) ต้อู บลมรอ้ น ( Hot air oven ) 7) โกรง่ บด 8) บกี เกอร์ 9) กระดาษกรอง ( Filter paper Whatman No.1 ) 10) กรวยกรอง 11) ขวดรูปชมพู่ ( Flask ) 12) แท่งแกว้ คนสาร 13) จานเพาะเช้ือ ( Petri dish ) 14) กล้องจลุ ทรรศน์แบบ (Stereo microscope ) 15) เคร่ืองชงั่ สาร 16) เคร่ืองหมุนเหวย่ี ง ( Centrifuge ) 17) หลอดทดลองชนิดหมุนเหวีย่ ง ( Centrifuge tube ) 18) ผ้ากรองขนาด 300 ไมโครเมตร 19) กระดาษกรองขนาด 1.2 ไมโครเมตร

34 3.1.2 สารเคมีทใ่ี ช้ในงานวจิ ัย 1) NaCl (0.4 g/cm3 150 ml) และ (1.2 g/cm3 250 ml) 2) H2O2 (hydrogen peroxide) 15% และ 30% 3) น้ากล่นั 3.2 สถานท่ีดาเนนิ งานวิจัย 3.2.1 สถานทเี่ กบ็ ตวั อย่าง แหล่งน้าสาคัญในจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ แม่น้าปิง เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล ทะเลสาบ ดอยเต่า ห้วยบ้านทุ่งจาเริง แม่น้าอาเภอสะเมิง อ่างเก็บน้าแม่ริม คลองชลประทานสารภี อ่างเก็บน้า ห้วยไร่ อ่างเก็บน้าห้วยลาน อ่างเก็บน้าห้วยโตน อ่างเก็บน้าห้วยก๋องงอง อ่างเก็บน้าแม่ปาน อ่างเก็บ น้าแม่สาบ อ่างเก็บน้าแม่นาป้าด อ่างเก็บน้าป่ามา่ น เขื่อนแม่กวงอุดมธารา อ่างเก็บน้าหนองสะเรียม และแมน่ า้ สันทราย 3.2.2 สถานที่ทาการวิจัย ห้องชลธีวทิ ยา ภาควชิ าชีววทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ อาเภอเมืองเชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 3.3 วธิ ีดาเนินการวิจยั 3.3.1 ขั้นตอนดาเนนิ การวจิ ัยในปลา 3.3.1.1 ขนั้ ตอนการเตรียม 1) เก็บตวั อย่างปลา จากพน้ื ท่ีศกึ ษา โดยปลาแต่ละตัวจะมคี วามยาว 25-35 เซนตเิ มตร น้าหนกั สด 100-400 กรมั 2) เตรยี ม NaCl 0.4 g/cm3 จานวน 100 ml ในสารละลาย NaCl 1000 cm3 มี NaCl 0.4 mol ดังนนั้ สารละลาย NaCl 100 cm3 มี NaCl (0.4 × 100)/1000 =0.04 mol NaCl มมี วลโมเลกุลเทา่ กบั 58.5 ดงั น้ันจะมีมวลเท่ากับ 0.04 ×58.5 = 2.34 g

35 ทาการตัก NaCl จานวน 2.34 กรมั และเติมน้ากลนั่ ลงไปใหไ้ ดป้ รมิ าตรปริมาณ 30 ml คน ใหส้ ารละลาย จากนน้ั เทสารลงในขวดปรับปริมาตรขนาด 100 ml และทาการเตมิ นา้ กลั่นลงไปให้ได้ ปรมิ าตร 100 ml ตามท่ตี ้องการ 3) เตรียม NaCl 1.2 g/cm3 จานวน 250 ml ในสารละลาย NaCl 1000 cm3 มี NaCl 1.2 mol ดังน้นั สารละลาย NaCl 250 cm3 มี NaCl (1.2 × 250)/1000 =0.3 mol NaCl มมี วลโมเลกลุ เท่ากบั 58.5 ดังน้นั จะมีมวลเท่ากบั 0.3 ×58.5 = 17.55 g ทาการตัก NaCl จานวน 17.55 กรมั และเติมนา้ กลั่นลงไปใหไ้ ดป้ ริมาตรปริมาณ 30 ml คน ใหส้ ารละลาย จากน้ันเทสารลงในขวดปรับปริมาตรขนาด 250 ml และทาการเติมนา้ กล่ันลงไปใหไ้ ด้ ปริมาตร 250 ml ตามทีต่ อ้ งการ 4) เตรียม H2O2 15% โดยใช้สตู ร c1v1 = c2v2 เมือ่ c1 คือ ความเขม้ ข้นต้งั ต้นของสารละลาย 30% c2 คือ ความเข้มขน้ สุดท้ายท่ตี ้องการ 15% V1 คอื ปริมาตรของสารละลายกอ่ นเจือจาง V2 คือ ปริมาตรสุดท้ายของสารละลายทีต่ ้องการ จะได้ c1v1 = c2v2 30 v1 = 15 (100) v1 = 50 ml ดังนน้ั ใหด้ ูดสารละลาย H2O2 มาจานวน 50 ml จากนั้นให้เตมิ น้ากลัน่ ลงไปปรบั ปรมิ าตรให้ ได้ 100 ml จะได้สารละลาย H2O2 15% จานวน 100 ml

36 3.3.1.2 ขน้ั ตอนการทาวิจัย 1) ทาให้ปลาสลบโดยการแช่ปลาในชอ่ งแชแ่ ข็ง หรือการนาน้าแขง็ มาทับตัวปลาจน ปลานิง่ ไมข่ ยับ 2) ช่งั นา้ หนกั ปลาและวดั ความยาวปลา 3) ชาแหละปลาชอ่ น ปลานิล และปลาดุก เพื่อนาทางเดินอาหารปลาออกมา จากน้ัน นาทางเดินอาหารปลาท่ีได้มาห่อดว้ ยกระดาษฟอยล์อะลมู เิ นียม ( Aluminium foil ) เพ่ือจะนาอบใน เครอ่ื งอบลมร้อน ( Hot air oven ) ทค่ี วามร้อน 65 องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ 3 วันหรอื จนกวา่ จะแหง้ 4) นาทางเดนิ อาหารปลาทีแ่ ห้งแล้วมาบดด้วยโกรง่ บด เมอ่ื บดจนละเอียดแลว้ ให้เตมิ NaCl 0.4 g/ L จานวน 150 ml เพ่อื รักษาสภาพเซลล์ 5) เททางเดนิ อาหารปลาทบ่ี ดแลว้ ลงในบกี เกอร์จากนน้ั เตมิ NaCl 1.2 g/L จานวน 250 ml 6) นามากรองโดยใชก้ ระดาษกรอง (Filter paper Whatman No.1) 7) นาทางเดนิ อาหารปลาทกี่ รองเสร็จแล้วมาไว้ในจานเพาะเชื้อ (petri dish) จากนัน้ ย่อยดว้ ย H2O215% 8) นาไปอบทเ่ี ครื่องอบลมร้อน (Hot air oven) ท่คี วามรอ้ น 50 องศาเซลเซยี ส เป็น เวลา 24 ชั่วโมง 9) นาทางเดินอาหารปลาท่ีย่อยและอบลมร้อนเสร็จแล้วนามาเติมดว้ ยนา้ กลั่น เพ่ือให้ ชิ้นส่วนท่ถี กู ยอ่ ยลอยขึ้นมา 10) นาชิ้นส่วนทถ่ี ูกย่อยมาใส่ในหลอดหมนุ เหวย่ี ง (centrifuge tube) แลว้ นาไปหมนุ ในเครอื่ งหมนุ เหวี่ยง (centrifuge) จากน้นั ทิ้งไวใ้ หต้ กตะกอน 11) ดูดของเหลวท่อี ยู่ในดา้ นบนของหลอดหมนุ เหว่ียงทีต่ กตะกอนแล้ว นาไปส่องใต้ กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบ Stereo microscope เพ่อื หาช้นิ ส่วนไมโครพลาสติก

37 3.3.2 ขนั้ ตอนการทาวิจัยในหอยฝาเดียวน้าจดื 3.3.2.1 ขนั้ ตอนการเตรยี ม 1) เก็บตัวอย่างหอยขม โดยการซ้ือมาจากตลาดหรือจากแหล่งนา้ ธรรมชาติ น้าหนักสด 200 กรัม 2) เตรียม NaCl 2.5 g/ L จานวน 250 ml ในสารละลาย NaCl 1000 cm3 มี NaCl 2.5 mol ดงั นัน้ สารละลาย NaCl 250 cm3 มี NaCl (2.5 × 250)/1000 =0.625 mol NaCl มีมวลโมเลกุลเท่ากบั 58.5 ดังนั้นจะมมี วลเท่ากับ 0.625 × 58.5 = 36.56 g ทาการตัก NaCl จานวน 36.56 กรัม และเติมน้ากลั่นลงไปให้ได้ปริมาตรปริมาณ 30 ml คน ให้สารละลาย จากนน้ั เทสารลงในขวดปรบั ปริมาตรขนาด 250 ml และทาการเติมน้ากล่ันลงไปให้ได้ ปรมิ าตร 250 ml ตามทต่ี ้องการ 3) เตรียม H2O230% ปริมาตรจานวน 100 ml 3.3.2.2 ขั้นตอนการทาวิจยั ในหอยฝาเดยี วน้าจืด 1) นาหอยขมตวั อยา่ งมาทาการล้างทาความสะอาด และทาการผา่ นาเอาภายใน ออกมา 2) นาภายในของหอยมาล้างด้วยน้ากลัน่ 3) จากนน้ั นาตวั อย่างไปใสใ่ น H2O2 (hydrogen peroxide) ความเข้มข้น 30% จานวน 100 ml 4) นาไปให้ความร้อนอณุ หภูมิระหวา่ ง 55-56 องศาเซลเซยี ส อุน่ จนสารละลาย ระเหยออกจนหมด 5) เติม NaCl ที่ละลายอิ่มตัว (250 g/L) และกวนตวั อย่างหอย จากน้นั ท้งิ ให้ ตกตะกอน 6) นาส่วนใสด้านบนไปกรองด้วยกระดาษกรอง ( Filter paper Whatman No.1 ) 7) นาไปอบท่ีเครื่องอบลมร้อน (Hot air oven) ท่ีความรอ้ น 50 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 4 ช่วั โมง

38 8) นาตวั อย่างหอยที่อบลมร้อนเสรจ็ แล้วนามาเติมด้วยนา้ กลนั่ เพ่อื ใหช้ ้ินสว่ นทถี่ ูก ย่อยลอยขึน้ มา 9) นาชน้ิ ส่วนทถี่ ูกย่อยมาใสใ่ นหลอดหมุนเหว่ยี ง (centrifuge tube) แลว้ นาไปหมุน ในเคร่ืองหมุนเหว่ยี ง (centrifuge) จากนัน้ ท้ิงไว้ให้ตกตะกอน 10) ดูดของเหลวที่อยู่ในดา้ นบนของหลอดหมนุ เหวี่ยงท่ีตกตะกอนแลว้ นาไปส่องใต้ กล้องจลุ ทรรศน์แบบ Stereo microscope เพือ่ หาช้นิ ส่วนไมโครพลาสติก 3.3.3 ขั้นตอนดาเนินการวจิ ัยในตะกอนดิน 1) เก็บตวั อย่างตะกอนดนิ จากแหลง่ น้าในพ้นื ท่จี ังหวัดเชียงใหม่ น้าหนกั 500 กรัม 2) เติม NaCl เข้มข้น 250/น้า1ลิตร คนให้ละลาย เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากนั้นทิ้งให้ ตกตะกอน 3) นาตัวอย่างที่ผ่านการตกตะกอน นาส่วนด้านบนมาทาการกรองผ่านกระดาษ กรองขนาด 1.2 ไมโครเมตร 4) นาแผ่นกระดาษกรองไปอบด้วยตู้อบลมร้อน ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 4 ชว่ั โมง 5) นาแผ่นกระดาษกรองที่ได้มาส่องด้วยกล้องจลุ ทรรศน์แบบ Stereo microscope เพอื่ หาชิ้นส่วนไมโครพลาสตกิ 3.3.4 ขน้ั ตอนดาเนนิ การวิจัยในนา้ 1) เกบ็ ตวั อย่างนา้ บรเิ วณด้านบนผวิ นา้ เพอื่ ตรวจสอบพลาสติกทล่ี อยอยูผ่ วิ น้า จาก แหล่งนา้ ในพ้ืนทจ่ี ังหวัดเชยี งใหม่ ปริมาตร 500 ml 2) กรองผ่านผา้ กรอง 300 ไมโครเมตร จากน้ันนานา้ กล่นั ฉีดลา้ งตัวอยา่ งที่ติดบนผา้ กรองลงในบกี เกอร์ 3) นาตวั อย่างในบกี เกอร์ท่ไี ด้มาส่องด้วยกล้องจลุ ทรรศน์แบบ Stereo microscope เพ่ือหาช้ินสว่ นไมโครพลาสติก

39 3.3.4 การบนั ทึกผล บันทึกภาพและบนั ทึกรูปร่างลักษณะ สี ความยาว รวมถงึ การนับจานวนและเปรียบเทียบ ปรมิ าณท่ีพบในทางเดนิ อาหารปลา หอยฝาเดียวนา้ จดื ตะกอนดนิ และน้า ที่พบในแหล่งนา้ พื้นท่ี จงั หวดั เชียงใหม่ 3.3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้โปรแกรม SPSS 17.0 ในการวเิ คราะหห์ าค่าเฉลยี่ (Mean) และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation :SD)