Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Psychology

Psychology

Published by ornnicha.chan, 2021-11-01 17:20:17

Description: เรียนรู้จิตวิทยา

Search

Read the Text Version

จิตวิทยา (Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับ การเรียนจิตวิทยา และการนำไปใช้

ความหมายของจิตวิทยา จิตวิทยา มาจากคำในภาษาอังกฤษว่า Psychology ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ภาษากรีก 2 คำ คือ Psyche หมายถึง จิตวิญญาณ (mind, soul) กับคำว่า Logos หมายถึง ศาสตร์ วิชา วิทยาการ (science, study) จิตวิทยา หมายถึง วิชาว่าด้วยจิต วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วย ปรากฏการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต จิตวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยพฤติกรรม โดยเน้นพฤติกรรมทางจิตของ บุคคลทั่วไป

จิตวิทยาแบ่งออกเป็น 10 สาขา ดังนี้ 1. จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology) 2. จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology) 3. จิตวิทยาคลินิก (Clinical Psychology) 4. จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial Psychology) 5. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) 6. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) 7. จิตวิทยาการทดลอง (Experimental Psychology) 8. จิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology) 9. จิตวิทยาชุมชน (Community Psychology) 10. จิตวิทยาการแนะแนว (Psychology and Guidance)

1.General or pure 2.Educational Psychology Psychology จิตวิทยาทั่วไป (general or pure psychology) จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology) เป็นจิตวิทยาที่มุ่งศึกษาถึงกฎเกณฑ์ ทฤษฎีพื้นฐานทาง ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการเรียนการสอนและวิธีการส่งเสริม จิตวิทยาที่เกี่ยวกับพฤติกรรมโดยทั่วไปของมนุษย์ ประสิทธิภาพของการเรียนรู้โดยนำหลักทางจิตวิทยาเข้ามา ประยุกต์ใช้ ทั้งในการสำรวจปัญหาด้านการศึกษา ตลอดจนสร้างหลักการทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการศึกษา

3.Clinical 4.Industrial Psychology Psychology จิตวิทยาคลินิก (Clinical Psychology) เป็นการศึกษาโดยการนำหลักจิตวิทยาไปประยุกต์ใช้ใน จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial การวินิจฉัยโรคและรักษาปัญหาทางจิต Psychology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องความถนัด เช่น ปัญหาการก่ออาชญากรรม การติดยาเสพติด เป็นต้น ความเหมาะสมของคนในการเลือกงาน พฤติกรรม โดยจะพยายามค้นหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมหรือ มนุษย์ในการทำงาน โดยเน้นเรื่องเกี่ยวกับการพนักงาน ความผิดปกติทางจิตว่ามีสาเหตุมาจากอะไร การคัดคน การฝึกคน การปรึกษาหารือ สภาพแวดล้อม การทำงาน ความสัมพันธ์แรงงาน ความพอใจในงาน แรงจูงใจ การออกแบบเครื่องมือเครื่องใช้ และการ ศึกษาเกี่ยวกับตลาดแรงงาน เพื่อใช้หลักการของวิชา จิตวิทยาให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาด้านอาชีพการงาน และการทำงานในองค์กร

5.Developmental 6.Social Psychology Psychology จิตวิทยาพัฒนาการ (developmental psychology จิตวิทยาสังคม (social psychology) เป็นจิตวิทยาที่ศึกษา หรือ genetic psychology) เป็นจิตวิทยาที่ศึกษา เกี่ยวกับบทบาทความสัมพันธ์และพฤติกรรมของบุคคลใน เกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ ตั้งแต่เริ่มต้นการปฏิสนธิ สังคม งานของนักจิตวิทยาสังคมส่วนใหญ่จึงเป็นการศึกษา การเจริญเติบโตและการพัฒนาการของมนุษย์ในระยะต่าง สำรวจมติมหาชน การเกิดและการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๆ ตลอดจนอิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ที่มีผล ตลอดจนค่านิยมของแต่ละเชื้อชาติและวัฒนธรรมเพื่อสรุป ต่อพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนา เป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีสำหรับอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ สมาชิกใหม่ตั่งแต่แรกเกิดเพื่อให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ในแต่ละสังคม ของสังคมต่อไป

7.Experimental 8.Counseling Psychology Psychology จิตวิทยาการทดลอง (Experimental Psychology) จิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย์โดยเน้นใช้วิธี ศึกษาเกี่ยวกับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาซึ่งเป็นกระบวนการที่มุ่ง การทดลองในห้องปฏิบัติการ หรือกระบวนการทดลอง ให้ผู้ที่มีปัญหาได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาของตนได้อย่าง เพื่อทำความเข้าใจถึงสาเหตุและผลของพฤติกรรมมากขึ้น ลึกซึ้งและมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยนัก เช่น การทดลองเกี่ยวกับการเรียนรู้ การคล้อยตาม จิตวิทยาการปรึกษาจะทำหน้าที่เป็นผู้เอื้อให้ผู้มีปัญหาได้เข้าใจ การอบรมเลี้ยงดู เป็นต้น ปัญหาของตนอย่างชัดเจน ซึ่งนักจิตวิทยาการปรึกษาจะไม่ เข้าไปบงการ แนะนำหรือแทรกแซงผู้รับคำปรึกษา เพียงแต่จะ ช่วยให้สามารถจัดการปัญหาได้ด้วยตัวเองเท่านั้น

9.Community 10. Psychology Psychology and Guidance จิตวิทยาชุมชนเป็นสาขาวิชาที่ศึกษาถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่าง จิตวิทยาการแนะแนว คล้ายกับสาขาจิตวิทยาการปรึกษา บุคคลกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการศึกษากระแสทางสังคม แต่จะศึกษาเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาเชิงแนะแนวการศึกษา ที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลและหน้าที่หรือการปฏิบัติต่าง ๆ เช่น การแนะแนวเพื่อพัฒนานักเรียน การความเข้าใจเกี่ยว ในชุมชนนั้น พร้อมกันนั้นจิตวิทยาชุมชนจะศึกษาทำความ กับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาได้ เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ทำให้แต่ละ อย่างเหมาะสม วิธีการและเทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในงานแนะแนว บุคคลดำเนินชีวิตอย่างอยู่ดีมีสุขในชุมชนนั้น ๆ การปฏิบัติ เป็นต้น โดยส่วนใหญ่สาขานี้จะซ่อนอยู่ในคณะศึกษาศาตร์ งานตามแนวทางจิตวิทยาชุมชนเป็นการเพิ่มสมรรถนะ เพราะเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับครูหรืออาจารย์ ทางจิตใจของบุคคลโดยมุ่งที่การเพิ่มพลังความเข้มแข็ง ทางจิตใจ การป้องกันปัญหาและสร้างการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมไปในทิศทางที่พึงประสงค์

สถานที่ที่เปิดสอน

ระดับปริญญาตรี คณะจิตวิทยา สาขาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาจิตวิทยาคลีนิค/สาขาจิตวิทยาการการปรึกษา/สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ สาขาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิก/สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ/สาขาจิตวิทยาชุมชน/สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาจิตวิทยา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาจิตวิทยาคลินิก/สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สาขาวิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาขาวิชาจิตวิทยา วิชาเอกจิตวิทยาการปรึกษา/วิชาเอกจิตวิทยาคลินิกและชุมชน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิชาจิตวิทยา วิชาเอกจิตวิทยาพัฒนาการ/วิชาเอกจิตวิทยาการให้การปรึกษาและแนะแนว/วิชาเอกจิตวิทยาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สาขาวิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ระดับปริญญาโท สาขาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ/สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาจิตวิทยาชุมชน/สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (ภาคพิเศษ) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน/สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ/สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาจิตวิทยาการให้คําปรึกษา/สาขาจิตวิทยาการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ระดับปริญญาเอก สาขาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาขาวิชาจิตวิทยาให้คำปรึกษา/สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิชาจิตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เรียนจิตวิทยาจบมา แล้วทำงานอะไร?

สายอาชีพโดยตรง นั ก จิ ต วิ ท ย า ค ลิ นิ ก (จบสาขาจิตวิทยาคลินิก + มีใบประกอบโรค ศิลป์ ) นักจิตวิทยาบำบัด / นักจิตบำบัด นั ก จิ ต วิ ท ย า ก า ร ป รึ ก ษ า ​นั ก ก ร ะ ตุ้ น พั ฒ น า ก า ร นั ก จิ ต วิ ท ย า เ ด็ ก นั ก จิ ต วิ ท ย า ใ น โ ร ง เ รี ย น นั ก จิ ต วิ ท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม นั ก วิ ช า ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น

สายอาชีพที่นำหลักจิตวิทยามไปประยุกต์ใช้ เจ้าหน้ าที่ฝ่ ายบุคคล / นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HR) เจ้าหน้ าที่แผนกสรรหาและฝึ กอบรม นั ก จิ ต วิ ท ย า ก า ร บิ น นั ก ศิ ล ป ะ บำ บั ด นั ก ก า ร ต ล า ด ครูแนะแนว นั ก ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ นักสื่ อสารมวลชน นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์

ยกตัวอย่างอาชีพ

นั กจิตวิทยาบําบัด เยียวยาความเจ็บป่ วยทางด้านจิตใจผู้คนที่ไม่สามารถมองเห็นได้จาก ภายนอก ไม่จำเป็นต้องทนอีกต่อไปเพราะทุกวันนี้ผู้คนสามารถพบกับ จิตแพทย์รวมถึงปรึกษานักจิตวิทยาเพื่อรับการรักษาได้ เช่นเดียวกัน ซึ่งหนึ่งในอาชีพที่มีความสำคัญในการดูแลอาการเจ็บป่วย ทางใจก็คือนักจิตวิทยาบำบัดที่เป็ นอาชีพที่มีความต้องการสูงมากใน ปัจจุบันและมีแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ้นมากในอนาคต เนื่องจาก ความเครียดและรูปแบบการใช้ชีวิตในโลกยุคใหม่ที่กระตุ้นทำให้เกิด การเจ็บป่ วยทางใจได้มากขึ้น

นักจิตวิทยาบําบัด ให้คำปรึกษาในด้านไหนบ้าง..? เมื่ อรู้สึกว่ามีพฤติกรรมในการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปอันเป็ นผลมาจากสภาพ จิตใจ เช่น อาการเครียด,เบื่ออาหาร,นอนไม่หลับ รวมถึงอาการซึมเศร้า และอาการทางด้านจิตใจต่างๆ สามารถเข้ารับการ ปรึกษานักจิตวิทยา เพื่อ ช่วยฟื้ นฟูสภาพจิตใจได้ ซึ่งนักจิตวิทยาบำบัดเป็นผู้ที่มีหน้ าที่ฟื้ นฟูสภาพ จิตใจของผู้รับการปรึกษาด้วยวิธีการพูดคุย,ให้คำปรึกษาในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและความคิด ให้สภาพจิตใจกลับมาสู่สภาวะปกติ

10 วิธีพิจารณาใครคือนักจิตบำบัดที่ดี ในยุคปัจจุบันที่เราเผชิญหน้ ากับความเครียดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพจิต มีคน จำนวนมากที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ดังนั้นบทบาทของนักจิตวิทยาและนักจิตบำบัด จึงเริ่มมีความสำคัญขึ้นอย่างมาก และแน่นอนว่าศาสตร์ในการรักษาอาการทางจิตก็มี หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุย เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง อันมีต้นเหตุมาจากปัญหาทางจิต การสร้างพื้นที่ปลอดภัยเพื่อให้ผู้ป่วยแสดงความเป็น ตัวตนที่แท้จริงของตัวเองออกมา เพื่อให้เขาสามารถค้นพบตัวตน รวมถึงการช่วยให้ พวกเขาค้นพบความหมายของการมีชีวิตอยู่ หรือแม้แต่การช่วยให้ความสามารถในการ พัฒนาความสัมพันธ์กับคนรอบตัวดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การรักษาที่ดีไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งได้ แต่เป็นศิลปะในการ ผสมผสานในหลายๆ ศาสตร์เพื่อมุ่งประสงค์ให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น

1. การรักษาที่ดีไม่ใช่การเป็ นเพื่อนกับผู้ป่ วย บ่อยครั้งที่เรารู้สึกไม่สบายใจ เราอาจจะพูดให้เพื่อนฟังเพื่อที่จะระบายให้เรารู้สึกดีขึ้น แต่การรักษากับนัก จิตวิทยา/นักจิตบำบัดจะแตกต่างจากการพูดคุยกับเพื่อน การรักษาจะมีจุดมุ่งหมาย และมีแผนในการรักษาที่ ชัดเจน มีจุดประสงค์และเป้ าหมายเพื่อการรักษาให้อาการของเราดีขึ้น มีการติดตามผล ซึ่งแตกต่างกับการระบายปัญหาให้ เพื่ อนฟั ง 2. การบำบัดที่ดีจะอ้างอิงวิธีการจากแหล่งที่เชื่อถือได้ นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดี จะมีหลักฐานผลการรักษาที่ดี กล่าวคือ มีตัวอย่างผู้ป่วยที่อาการดีขึ้นเมื่อผ่าน การรักษาจากนักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดท่านนั้น นอกจากนี้ วิธีการรักษาของพวกเขา จะผ่านการตั้ง สมมติฐาน และ การทดสอบด้วยหลักการต่างๆ ที่มีทฤษฎี หรืองานวิจัยที่เชื่อถือได้รองรับ อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ว่าการรักษาที่ดี คือการผสมผสานหลายศาสตร์ เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น ซึ่งจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป นัก จิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดี จะไม่การันตีว่าคุณจะหายในทันที หรือเปลี่ยนคุณในทันที เนื่องจากการรักษา อาการทางจิตเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ศิลปะในการทำความเข้าใจมนุษย์ ซึ่งไม่ตายตัว และมีความแตกต่างกันไปในผู้ ป่ วยแต่ละราย

3. การบำบัดที่ดีจะต้องยืนยันในคุณค่าและเกียรติของผู้ป่ วย นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดีจะยืนยันในคุณค่าและเกียรติของผู้ป่วย พวกเขาทราบดีว่าผู้ที่มาทำการรักษา ถูกคนรอบตัวตัดสิน และทำให้รู้สึกด้อยคุณค่ามากพอแล้ว พวกเขาจะทำการรักษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจาก การพัฒนาสุขภาพจิต เปรียบเสมือนความสามารถในการขับรถที่จะค่อยๆ พัฒนาขึ้น เมื่อพวกเขามีทักษะมากขึ้น นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดีไม่ใช่คนขับรถ แต่เป็นตัวผู้ป่วยเอง นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัด เป็ นเพียงผู้สอนและให้แนวทางเท่านั้น 4. การบำบัดที่ดี คือการให้คำปรึกษาที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ อาการทางจิตของผู้ป่วยจะดีขึ้นได้ นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดจำเป็นต้องสื่อสารคำที่ใช้ในการให้คำปรึกษาที่ถูก ต้องและซื่อสัตย์กับผู้ป่วย เพื่อให้พวกเขาสามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกจุด ในการที่จะได้มาซึ่งอาการเพื่อให้คำ ปรึกษาอย่างถูกต้องอย่างที่กล่าวมา นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดจะจัดสิ่งแวดล้อมที่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัยที่จะ เล่าถึงความรู้สึกของพวกเขาได้ เพื่อนำมาวิเคราะห์ในการให้คำแนะนำที่ถูกต้อง

5. การบำบัดที่ดี เกิดจากเคมีที่เข้ากันได้ระหว่างผู้ป่ วยกับนักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดเอง เนื่องจากผู้ป่วยจะต้องรู้สึกไว้วางใจและรู้สึกปลอดภัยในการเล่าความรู้สึกของพวกเขา ให้นักจิตวิทยาหรือ นักจิตบำบัดฟัง ดังนั้นหากทั้งสองฝ่ายมีเคมีที่เข้ากัน ก็จะทำให้การบำบัดมีประสิทธิภาพที่ดีเช่นกันด้วย 6. การบำบัดที่ดี คือการสนับสนุนให้เราสามารถดำรงชีวิตที่ดีได้ด้วยตัวของเราเอง เนื่องจากการรักษาอาการทางจิตมีจุดมุ่งหมายก็คือ ทำให้เราสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขได้ ดังนั้น นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดี ควรที่จะสนับสนุนให้ผู้ป่วยพัฒนาความสามารถในการจัดการกับ ปัญหาในชีวิต และมีความเข้มแข็งทางจิตใจเพื่อให้พวกเขาดำเนินชีวิตของพวกเขาต่อไปได้ โดยไม่ต้องพึ่ง นั กจิตวิทยาหรือนั กจิตบำบัดตลอดไป

8. นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดี สนใจมุมมองชีวิตของผู้ป่ วย มนุษย์เราตีความเหตุการณ์ที่เกิดในชีวิตไม่เหมือนกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูและประสบการณ์ของคนคนนั้น ดังนั้นนั กจิตวิทยาหรือนั กจิตบำบัดที่ดีจะพยายามเข้าใจที่มาที่ไปของการตีความเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของผู้ป่ วย สิ่งไหนมีผลทางใจหรือมีความสำคัญกับผู้ป่วยแต่ละคนด้วย ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยคนหนึ่งสูญเสียคุณพ่ออย่าง กะทันหัน และมีผลกระทบทางใจอย่างมากสำหรับเขา บางคนอาจใช้เวลาในการเยียวยาความเศร้าเพียงระยะสั้น แต่สำหรับผู้ป่วยรายนี้มีคุณพ่อเป็นเครื่องยึดเหนื่ยวจิตใจ ในภาวะที่เขากำลังรู้สึกอ่อนแออย่างมากในชีวิต และต้อง มาสูญเสียคุณพ่ออย่างกะทันหันในเวลาที่เขาต้องการสิ่งนี้เป็นอย่างมาก เป็นต้น 9. การบำบัดที่ดี คือการที่ผู้ป่ วยร่วมมือในการทำตามคำแนะนำของนักจิตวิทยาและนักจิตบำบัดอย่าง เคร่งครัด เช่นเดียวกับการเรียนในห้องเรียน ผู้สอนมีหน้ าที่เพียงสอน แต่การจะนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ และต่อยอดความรู้ ขึ้นอยู่กับผู้เรียนด้วยเช่นกัน ดังนั้นในการบำบัดรักษาจึงจำเป็นอย่างมากที่ผู้ป่วยต้องให้ความ ร่วมมือกับนักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัด ในการให้นำคำแนะนำไปใช้ด้วยเช่นกัน

9. การบำบัดที่ดี คือการที่ผู้ป่ วยร่วมมือในการทำตามคำแนะนำของนักจิตวิทยาและนักจิตบำบัดอย่าง เคร่งครัด เช่นเดียวกับการเรียนในห้องเรียน ผู้สอนมีหน้ าที่เพียงสอน แต่การจะนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ และต่อยอดความรู้ ขึ้นอยู่กับผู้เรียนด้วยเช่นกัน ดังนั้นในการบำบัดรักษาจึงจำเป็นอย่างมากที่ผู้ป่วยต้องให้ความ ร่วมมือกับนักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัด ในการให้นำคำแนะนำไปใช้ด้วยเช่นกัน 10. การบำบัดที่ดีคือการสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้ป่ วย ในช่วงแรกของการบำบัด นักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดจะพยายามเข้าอกเข้าใจในความรู้สึกของผู้ป่วย เพื่อให้ พวกเขารู้สึกปลอดภัยในการเล่าความรุ้สึก และใช้ศาสตร์หลายๆ ศาสตร์ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการทางจิตที่ดีขึ้น ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้หลายๆ เรื่องของตัวผู้ป่วยเองด้วย เช่น วิธีการคิด หรือมุมมองใหม่ๆ การจัดการกับ อารมณ์ รวมไปถึงการสร้างอุปนิสัยเพื่อความยั่งยืนในการรักษา ซึ่งนักจิตวิทยาหรือนักจิตบำบัดที่ดี จะสนับสนุน เรื่ องเหล่านี้เป็ นอย่างมาก

อ้างอิงจาก… https://sites.google.com/site/sportpsychology2539/citwithya-khux- xari https://campus.campus-star.com/variety/70291.html https://www.novabizz.com/NovaAce/psychology.htm https://th.wikipedia.org/wiki/จิตวิทยาชุมชน https://www.admissionpremium.com/content/5805 http://www.unannocontrolospreco.org/archives/164 https://www.istrong.co/single-post/10-ways-to-spot-a-good-therapist

จัดทำโดย นางสาวอรณิชา จันทกรณ์

ขอบคุณค่ะ หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะ เป็นประโยชน์สำหรับ ทุกคนนะคะ :)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook