Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2551กระทรวงวิทยาศาสตร์-ส่วนที่ 2

รายงานประจำปี 2551กระทรวงวิทยาศาสตร์-ส่วนที่ 2

Published by srirachalib, 2015-09-02 04:57:45

Description: กระทรวงวิทยาศาสตร์-ส่วนที่ 2

Keywords: วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

1. พลเอก เกรยี งศกั ดิ์ ชมะนันท์ 17 เม.ย.2522 - 23 พ.ค.2522 5. นายเกษม สุวรรณกุล (รักษาราชการแทน) 10 ม.ี ค.2524 - 10 ม.ี ค.2524 9. นายเล็ก นานา 28 ส.ค.2528 - 10 ส.ค.2529 2. นายชุบ กาญจนประกร 2 พ.ค.2531 - 8 ส.ค.2531 3. นายสุรินทร์ เศรษฐมานิต 24 พ.ค.2522 - 11 ก.พ.2523 6. นาวาอากาศโททินกร พันธ์กระวี 11 ม.ี ค.2524 - 6 พ.ค.2526 10. นายพงส์ สารสิน (รักษาราชการแทน) 9 ส.ค.2531 - 21 พ.ย.2533 4. นายอนวุ รรตน์ วฒั นพงศศ์ ริ ิ 11 ก.พ.2523 - 11 ม.ี ค.2523 7. นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ 7 พ.ค.2526 - 28 ก.ค.2528 11. นายประจวบ ไชยสาส์น 11.ม.ี ค.2523 - 10 ม.ี ค.2524 8. นายบัญญัติ บรรทัดฐาน (รักษาราชการแทน) 29 ก.ค.2528 - 22 ส.ค.2528, 11 ส.ค.2529- 28 เม.ย.2531 สำนักงาน วันวิทยาศาสตร์ ศูนย์วิจัยและ หมบู่ า้ น คณะกรรมการ แหง่ ชาติ ฝกึ อบรมดา้ น เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม 9 แหง่ แหง่ ชาติ สภาสมาคม สำนักงาน วทิ ยาศาสตร์ พลังงานแห่งชาติ และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย สำนักงาน คณะกรรมการ พระบดิ าแหง่ นโยบาย คณะกรรมการ ศูนย์ กองทุนหมุนเวียน ปแี หง่ การพทิ กั ษ์ วจิ ัยแห่งชาติ วทิ ยาศาสตรไ์ ทย 5 เทคโน พฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพอ่ื การวจิ ยั ฯ ทรัพยากร ธรรมชาติ สถาบันวิจัย (STDB) อิเล็กทรอนิกส์ฯ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ สะพานมติ รภาพ ไทยลาว สำนักงาน พลังงานปรมาณู เทคโนธานี ศูนย์พันธุ สปั ดาห์ โครงการ ศูนย์เทคโนโลยี โครงการ โครงการ อทุ ยานวจิ ยั วิศวกรรมฯ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ฯ โลหะและ สนับสนุนนักเรียน โขง และพฒั นา เพอ่ื สนั ติ แหง่ ชาติ เพอ่ื การพฒั นา วัสดุแห่งชาติ ทุนรัฐบาล ชี - มูล วิทยาศาสตร์ฯ กรม วิทยาศาสตรบ์ รกิ าร

⌫ 30 ปี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากจุดเริ่มต้นของการก่อกำเนิดผ่านการเปลี่ยนแปลงในแตล่ ะทศวรรษ ดว้ ยปณธิ านทม่ี งุ่ มน่ั พฒั นา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หเ้ ปน็ พลงั การพฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื มเี รอ่ื งราวมากมายของการพฒั นาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี สง่ิ แวดลอ้ ม และพลงั งาน ผา่ นการผลดั เปลย่ี นผบู้ รหิ าร ปรบั เปลย่ี นบทบาทและนโยบาย มาหลายครง้ั ดงั ปรากฏใหเ้ หน็ จากการปรบั เปลย่ี นชอ่ื กระทรวงจากอดตีถงึ ปจั จบุ นั มาเปน็ ลำดบั ดงั น้ี พ.ศ. 2522 ถงึ 2535 กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน พ.ศ. 2536 ถงึ 2545 กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2546 ถงึ ปจั จบุ นั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลงหลกั ปกั ฐาน : การจดั ตง้ั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลงั งาน จากจุดเริ่มต้นที่ประชาคมวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจและยอมรับว่าระบบการวางแผนนโยบายวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยขี องไทยควรจะมกี ารพฒั นา จงึ เกดิ ความรว่ มมอื ในการจดั สมั มนาเรอ่ื ง “การวางนโยบายและแผนวทิ ยาศาสตร”์ โดยเชญิ ศ.ดร.ไมเคลิ มอราฟชคิ (Michael Moravcsik) จากมหาวทิ ยาลยัโอเรกอน สหรฐั อเมรกิ า มาบรรยายเรอ่ื งการวางนโยบายและแผนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ การจดุ ประกายใหป้ ระชาคมวทิ ยาศาสตรเ์ กดิ การตน่ื ตวั และมกี ารสรปุ การสมั มนาดงั กลา่ วเสนอตอ่ รฐั บาลใหม้ กี ารจดั ตง้ั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการวางแผนและนโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้จัดตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อศึกษาในเรื่องดังกล่าว มี ศ.ดร.ชุบ กาญจนประกรเปน็ ประธาน และ ศ.ดร. สงา่ สรรพศรี เปน็ เลขานกุ าร ในปี 2520 คณะทำงานนไ้ี ดเ้ สนอรายงานการปฏริ ปูระบบบรหิ ารราชการของรฐั ซง่ึ มนี โยบายวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ละขอ้ เสนอการจดั ตง้ั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารในคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ ในชว่ งปลาย พ.ศ. 2520 ถงึ ตน้ พ.ศ. 2521 รฐั บาลชดุ พล.อ.เกรยี งศกั ด์ิ ชมะนนั ท์ ไดพ้ จิ ารณาหลักเกณฑ์การจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และเสนอร่างพระราชบัญญัติการจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯตอ่ สภานติ บิ ญั ญตั เิ มอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2521 และในทส่ี ดุ ไดม้ ปี ระกาศจดั ตง้ั เปน็ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลงั งาน เมอ่ื วนั ท่ี 24 มนี าคม พ.ศ. 2522 ตอ่ มาไดม้ กี ารวางระบบและรากฐานดา้ นนโยบายวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้มีกฎหมายต่างๆ ที่กำหนดแนวทางของรัฐในการสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยความรว่ มมอื ของนกั วชิ าการและนกั วางแผนของประเทศ ประกอบดว้ ย ศ.ดร.ยงยทุ ธ์ ยทุ ธวงศ์ นางชน่ื จติโชไชย นางนฤมล ธรรมารกั ษ์ ดร.หรสิ สตู ะบตุ ร ดร.กฤษณพงศ์ กรี ตกิ ร และ ดร.กำจดั มงคลกลุ รวมทง้ัดร.เชฮยงุ ซปุ (Choi Hyung-Sup) หรอื “ลงุ เช” ซง่ึ เปน็ อดตี รฐั มนตรี วา่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีและอดตี ผวู้ า่ การสถาบนั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศสาธารณรฐั เกาหลใี ต้

ชว่ งเรม่ิ กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละการพลงั งาน : จากความฝนั สคู่ วามเปน็ จรงิ ในชว่ งเรม่ิ แรก กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดร้ บั โอนหนว่ ยงานทม่ี อี ยเู่ ดมิ ไดแ้ ก่ กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร (เดมิ ชอ่ื กรมวทิ ยาศาสตรส์ งั กดั กระทรวงอตุ สาหกรรม) สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ สำนกั งานคณะ กรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ สำนกั งานพลงั งานแหง่ ชาติ สำนกั งานพลงั งานปรมาณเู พอ่ื สนั ติ และสถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(เดิมชื่อสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย) ในชว่ งแรกนม้ี พี ฒั นาการสำคญั ในวงการวทิ ยาศาสตรข์ องประเทศไทย ดงั น้ี ⌫ ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติ ในปี พ.ศ. 2525 นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ รฐั นตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดเ้ สนอ โครงการจดั ตง้ั ศนู ยเ์ ทคโนโลยพี นั ธวุ ศิ วกรรมและชวี ภาพแหง่ ชาติ ตอ่ คณะรฐั มนตรี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ ปน็ หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนด้านทุนวิจัย โดยเฉพาะในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพแก่หน่วยงานวิจัยต่างๆ ในภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมหาวิทยาลัย บทบาทของศูนย์มุ่งเน้นการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและกึ่งอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม ด้านสาธารณสุข พลังงาน และสิ่งแวดล้อม และด้านความสามารถพื้นฐานทางพันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยชี วี ภาพ ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติ ไดร้ บั การจดั ตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2526 มี ดร.มาลี สวุ รรณอตั ถ์ เปน็ ผอู้ ำนวยการศนู ยฯ์ คนแรก ศนู ยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาติ ในปี 2529 ไดม้ กี ารผลกั ดนั การตง้ั ศนู ยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาติ โดยมี ศ.ดร. หรสิ สูตะบุตร นายสมชาย เทียมบุญประเสริฐ และ ดร.ปัญญา ศรีจันทน์ เป็นกำลังสำคัญ และต่อมามี ดร. ศรณั ย์ โปษยจนิ ดา และดร. อนชุ า เออ้ื เพม่ิ เกยี รติ นกั เรยี นทนุ พสวท. รนุ่ แรกมาชว่ ยสนบั สนนุ การ พฒั นาการดำเนนิ งานของศนู ยฯ์ ศนู ย์ เทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาตไิ ดร้ บั การจดั ตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 16 กนั ยายน 2529 วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยวี สั ดขุ องประเทศ รวมถงึ การออกแบบและการผลิตเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมของภาครัฐและเอกชน ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ ในปี 2529 ได้มีการผลักดันการตั้งศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ โดยมี ศ.ดร.ไพรชั ธชั ยพงษ์ ดร.คณุ หญงิ กลั ยา โสภณพนชิ และ ดร. กฤษณพงษ์ กรี ตกิ ร เปน็ กำลงั สำคญั และศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ ไดร้ บั การจดั ตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 16 กนั ยายน พ.ศ. 2529 เป็นหน่วยงานที่เริ่มจัดทำกรอบกลยุทธ์ด้านอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมและสารสนเทศ เพื่อ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานดา้ นการเกษตรและสง่ิ แวดลอ้ ม อตุ สาหกรรมการผลติ และพลงั งาน การบรหิ ารและการพาณชิ ย์ การบริหารและการจัดการองค์กร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสนับสนุนคนพิการ การแพทย์และการ สาธารณสขุ และความมน่ั คงของประเทศ

⌫ ⌫ ในปี พ.ศ. 2526 นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ศ.ดร.สงา่ สรรพศรีปลดั กระทรวงกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ดร.สปิ ปนนท์ เกตทุ ตั ดร.มาลี สวุ รรณอตั ถ์ และศ.ดร. เออรเ์ นสต์เจ บริสกี้ (Ernest J. Briskey) ผู้เชี่ยวชาญยูเสด ได้ผลักดันให้เกิดโครงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพอ่ื การพฒั นาขน้ึ ซง่ึ เปน็ การสนบั สนนุ การศกึ ษาวจิ ยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยใี น 3 สาขาหลกั ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ และเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ โดยมี ดร.เจริญ วัชรรังสีและนางกอบแกว้ อคั รคปุ ต์ เปน็ ผปู้ ระสานงานดำเนนิ การ โครงการดงั กลา่ วเปน็ โครงการความรว่ มมอื ระหวา่ งไทยและสหรัฐอเมริกา โดยสหรัฐอเมริกาได้สนับสนุนเงินให้เปล่า (Grant) จำนวน 8.5 ล้านเหรียญ และเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ 26.5 ล้านเหรียญ รวมทั้งเงินสมทบจากรัฐบาลไทย 14 ล้านเหรียญ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 49 ล้านเหรยี ญสหรฐั อเมรกิ า ผอู้ ำนวยการโครงการคนแรก คอื ดร.ณฐั ภมรประวตั ิ โครงการดงั กลา่ วอยภู่ ายใตก้ ารกำกบั ของคณะกรรมการพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยซี ง่ึ มี นายพชิ ยั รตั ตกลุ รองนายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานโครงการนี้นับเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาระบบสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและปทู างไปสวู่ วิ ฒั นาการขน้ั ตอ่ ไปของประเทศไทย คอื การรวมโครงการนก้ี บั ศนู ยเ์ ทคโนโลยแี หง่ ชาติ 3 ศนู ย์ เกดิ เปน็สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติในเวลาต่อมา ⌫ ในชว่ งขณะนน้ั ประเทศตา่ งๆในเอเชยี เชน่ ประเทศญป่ี นุ่ เกาหลใี ต้ ไตห้ วนั ไดจ้ ดั ตง้ั เมอื งวทิ ยาศาสตร์เชน่ สคึ บู ะ (TSUKUBA) เทจอง (Taejon) ชนิ ชุ (Shinsu) ทำใหก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ในสมยั นายดำรงลัทธพิพัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เกิดแนวคิดจัดตั้งเมืองวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยขึ้นในปีพ.ศ. 2525 คอื “เทคโนธานี (Techno Polis)” เพอ่ื เปน็ ศนู ยร์ วมการวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีสง่ิ แวดลอ้ มและการพลงั งาน โดยใชพ้ น้ื ทร่ี าชพสั ดุ ณ บรเิ วณตำบลคลองหา้ อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานีมเี นอ้ื ทจ่ี ำนวน 574 ไร่ 1 งาน 70 ตารางวา ⌫ ในการปรับปรุงแผนพัฒนาฉบับที่ 6 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 28 มี.ค. 2532ไดก้ ำหนดใหก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลงั งาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและทบวงมหาวทิ ยาลยั จดั ตง้ั อทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี น้ึ เพอ่ื เปน็ แหลง่ รวมกจิ กรรมการวจิ ยั ใหค้ รบวงจร และเปน็ สะพานเชอ่ื มโยง ภาครฐั บาล (สถาบนั วจิ ยั ฯ) กบั ภาคเอกชนธุรกิจอุตสาหกรรม และอุดช่องว่างระหว่างผู้ทำการวิจัย และผู้ที่จะนำผลการวิจัยไปสู่เชิงพาณิชย์

นางกอบแก้ว อัครคุปต์ อดีตหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ผู้รับผิดชอบโครงการ จัดตั้งอุทยานวิจัยฯ ได้กล่าวถึงปรัชญา ในการจัดตั้งอุทยานวิยาศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ในขณะนั้น ที่มี สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่นเป็นผู้นำ ว่า “อุทยานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมายถึง ศูนย์รวมของการวิจัยและพัฒนา ที่มีเครื่องมือ อุปกรณ์การบริการ และสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างพร้อมมูล มีการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมเพื่อที่จะเอื้ออำนวยให้เกิดบรรยากาศของการทำงานร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักวิชาการ นักการตลาด นักธุรกิจ นายธนาคาร อุตสาหกร และอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ในการผลักดัน ผลของการวจิ ยั และพฒั นาไปสกู่ ารตลาดเชงิ พาณชิ ย์ เปน็ โรงงานนำทาง (Pilot Scale) หรอื การเพาะฟกั เทคโนโลยี (Technology Business Incubator) เพอ่ื ทดลองทำเปน็ ธรุ กจิ เลก็ ๆ ในโรงเพาะฟกั โรงงานนำทางกอ่ นนำไป เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ต่อไป” กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดจ้ า้ ง ม.ธรรมศาสตร์ และ AIT จำนวนประมาณ 5 ลา้ นบาท เปน็ ผศู้ กึ ษา ความเหมาะสมของรูปแบบการดำเนินงาน การชี้สถานที่ที่เหมาะสม ทั้งส่วนกลางและ 4 ภูมิภาค เป้าหมาย ของเทคโนโลยที ส่ี ำคญั และการเสนอแนะในการจดั ตง้ั อทุ ยานในสว่ นภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ผทู้ ม่ี สี ว่ นชว่ ยสนบั สนนุ และผลกั ดนั คอื รมว.ประจวบ ไชยสาสน์ ดร.สงา่ สรรพศรี ดร.เจรญิ วชั รรงั สี นายเฉลมิ ชยั หอ่ นาค นายพลู ทรพั ย์ ปยิ ะอนนั ต์ นายจริ พนั ธ์ อรรถจนิ ดา และนางกอบแกว้ อคั รคปุ ต์ ซง่ึ ตอ่ มา สำนักงานปลัดกระทรวงฯ ได้โอนการดำเนินการให้ สวทช. (ดร.หริส สุตะบุตร) ไปดำเนินการพัฒนาจนเป็น Thailand Science Park ในปจั จบุ นั ซง่ึ การดำเนนิ การไดแ้ ตกตา่ งจากปรชั ญาเดมิ บา้ ง ⌫ ⌫ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและพระปรีชาสามารถด้านดาราศาสตร์ ของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ที่ได้ทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคา ณ ตำบลหว้ากอ จังหวัด ประจวบครี ขี นั ธ์ เมอ่ื วนั ท่ี 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2411 ไมค่ ลาดเคลอ่ื นแมแ้ ตว่ นิ าทเี ดยี ว เปน็ การพสิ จู นผ์ ลการ ศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ครั้งยิ่งใหญ่และครั้งแรกของชาติไทยต่อชาวต่างประเทศ เป็นประวัติศาสตร์อันน่า ภาคภมู ใิ จยง่ิ ของประเทศชาติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ รว่ มกบั สมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์ ได้เสนอคณะรัฐมนตรีในการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น ”พระบิดา แหง่ วทิ ยาศาสตรไ์ ทย” และกำหนดใหว้ นั ท่ี 18 สงิ หาคมของทกุ ปเี ปน็ “วนั วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาต”ิ ซง่ึ คณะ รฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบเมอ่ื วนั ท่ี 14 เมษายน 2525

นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 เป็นต้นมา กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชนจัดกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เพื่อเทิดพระเกียรติและกระตุ้นจิตสำนึกเสริมสร้างความเข้าใจ ความตระหนักในคุณค่าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2527 สมยั นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดข้ ยายกิจกรรมการจัดงานหนึ่งวัน เป็นหนึ่งสัปดาห์ภายใต้ชื่องาน “สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ” ขึ้นเป็นครั้งแรกระหว่างวันที่ 18-24 สิงหาคม 2527 โดยเป็นการจัดกิจกรรมเฉพาะในส่วนกลางและต่อมาได้ขยายวงกว้างออกสู่ส่วนภูมิภาคทั่วทั้งประเทศอย่างพร้อมเพรียงกัน ก่อให้เกิดพลังสำคัญในการกระตุ้นให้ประชาชนและเยาวชนมคี วามตน่ื ตวั และเหน็ ความสำคญั ในบทบาทของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี ากยง่ิ ขน้ึ และ คณะรฐั มนตรีไดม้ มี ตเิ มอ่ื วนั ท่ี 3 กนั ยายน 2528 อนมุ ตั ใิ หก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ จดั งาน “สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาต”ิเปน็ ประจำทกุ ปี และจดั สรรงบประมาณสำหรบั การจดั งานดงั กลา่ วตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2529 เปน็ ตน้ มา ⌫กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในลำดับสูง โดยมีเป้าหมายที่จะเพิ่มจำนวนบุคลากรในด้านนี้ของประเทศอย่างมีคุณภาพและเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมต่อไป การดำเนินงานที่ผ่านมาเน้นการสร้างความร่วมมือและเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงศึกษาธิการสำนกั งาน ก.พ. เปน็ ตน้ ในชว่ งทศวรรษแรกน้ี กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ รเิ รม่ิ โครงการสำคญัดา้ นการพฒั นากำลงั คน ดงั น้ี ⌫ ⌫ - โครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⌫ ⌫(2533-2538) โดยจดั สง่ นกั เรยี นทนุ ไปศกึ ษา ณ ตา่ งประเทศ ใน 3 สาขาวชิ าไดแ้ ก่ โลหะและ ⌫วสั ดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยชี วี ภาพ รวม 789 คน เพอ่ื สรา้ งกำลงั คนให้มีปริมาณและคุณภาพเพียงพอกับความต้องการของประเทศ ปัจจุบันโครงการนี้มีความต่อเนื่องจนถึงโครงการระยะที่ 3+ และมีนักเรียนทุนสำเร็จการศึกษากลับมาปฏิบัติงานเป็นนกั วจิ ยั อาจารยใ์ นสถาบนั ตา่ งๆ เชน่ นกั เรยี นทนุ รนุ่ แรกทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษาไดเ้ ขา้ ทำงานในสวทช. จำนวน 400 คน นอกนน้ั กระจายอยทู่ ว่ั ประเทศ บคุ คลทม่ี สี ว่ นสำคญั ในการผลกั ดนั โครงการ คอื ศ. ดร. หรสิ สตู ะบตุ ร ซง่ึ ยงั ดแู ลและกำกบั โครงการนอ้ี ยจู่ นถงึ ปจั จบุ นั- โครงการ Improved Planning and Delivery Capability in the MOSTE เปน็ โครงการทไ่ี ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จาก องคก์ ารสหประชาชาติ เพอ่ื ฝกึ อบรมและพฒั นากำลงั คนดา้ นนโยบายและแผน เพอ่ืสรา้ ง “มวลวกิ ฤต” (Critical Mass) ดา้ นการวางแผนและการเสนอแนะนโยบายของกระทรวง บคุ ลากรของกระทรวงที่ได้รับการอบรมในโครงการนี้ต่อมาได้เป็นกำลังสำคัญในการบริหารจัดการและการวางแผนและการทำนโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติและของกระทรวง เช่น นายจิรพันธ์ อรรถจินดา(อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ) นางกอบแก้ว อัครคุปต์ (อดีตหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงฯ) ดร. ญาดา มกุ ดาพทิ กั ษ์ (ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการสวทช.) เปน็ ตน้- โครงการ ASEAN- AUSTRALIA รัฐบาลออสเตรเลียได้ให้ทุนสนับสนุนกำลังคนด้านวทิ ยาศาสตรข์ องกลมุ่ ประเทศอาเซยี น (5 ประเทศ ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี สงิ คโปร์ และฟลิ ปิ ปนิ ส)์ ในการไปฝกึ อบรมและดงู านดา้ น Policy Management และ R&D Management ทป่ี ระเทศออสเตรเลยี นบั วา่ เปน็“มวลวกิ ฤต” (Critical Mass) ดา้ นการบรหิ ารจดั การและนโยบาย ซง่ึ ทำใหม้ กี ารรเิ รม่ิ ในโครงการตา่ ง ๆ เชน่มาตรการด้านภาษีเพื่อการวิจัยและพัฒนา จัดการทำเอกสารแสดงสถานภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (S&T Indicator) และเอกสารวชิ าการนโยบายวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี : ววิ ฒั นาการและการจดั การ ขน้ึ เปน็ ครง้ั แรก

นอกจากนน้ั ในปี พ.ศ. 2527 กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดร้ ว่ มกบั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท) กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในปัจจุบัน) จัดตั้งโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท) หรือโครงการช้างเผือก เพื่อค้นหาและพัฒนานักวิทยาศาสตร์สำหรับการวิจัย คิดค้น สร้างสรรค์ผลงานด้าน วทิ ยาศาสตร์ ปจั จบุ นั โครงการยงั ดำเนนิ การตอ่ เนอ่ื งและมนี กั เรยี นสำเรจ็ การศกึ ษามาปฏบิ ตั งิ านเปน็ อาจารยแ์ ละ นักวิจัยในสถาบันต่างๆมากมาย ⌫ ปัจจัยสำคัญหนึ่งในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ การสนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา ในประเทศ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน ดัชนีชี้วัดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน คอ่ นขา้ งตำ่ มาก นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ จงึ เหน็ ความจำเปน็ อยา่ งยง่ิ ที่จะต้องพัฒนาศักยภาพการวิจัยและพัฒนาให้สูงขึ้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงตามความ ต้องการพัฒนาประเทศ ด้วยการส่งเสริมภาคเอกชนทำการวิจัยและพัฒนาด้วยตนเองหรือร่วมกับภาครัฐบาล ส่งเสริมให้มีมาตรการด้านภาษีและการเงินเพื่อจูงใจภาคเอกชน ดังนั้นจึงเกิด โครงการกองทุนหมุนเวียน เพอ่ื การวจิ ยั และพฒั นาฯ ขน้ึ เปน็ โครงการแรกในทศวรรษน้ี ซง่ึ ไดร้ บั งบประมาณครง้ั แรก 15 ลา้ นบาท เพอ่ื เป็นเงินทุนหมุนเวียนให้เอกชนกู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำมาก อัตรา 4% สำหรับไปต่อยอดผลงานวิจัยของ นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ทยใหเ้ ขา้ สเู่ ชงิ พาณชิ ย์ และอตั รา 6% กบั การไปขยายโรงงานหรอื สรา้ งโรงงาน โดยมคี ณะ กรรมการกำกบั ดแู ล เชน่ นายเกษม สนทิ วงศฯ์ รองปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ ประธาน คณะกรรมการ นายทวี บตุ รสนุ ทร จากบรษิ ทั ปนู ซเิ มนตฯ์ เปน็ กรรมการ ปจั จบุ นั สำนกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ เป็นผู้บริหารกองทุนหมุนเวียน ⌫ ปี พ.ศ. 2522 : ศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยี เปน็ หนว่ ยงานระดบั กองในสำนกั งานปลดั กระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ เพอ่ื ทำหนา้ ทพ่ี ฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยขี องประเทศ และเปน็ องคก์ รกลางประสานงานการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยรี ะหวา่ งประเทศ ซง่ึ ไดด้ ำเนนิ การตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การถา่ ยทอดเทคโนโลยเี ซรามคิ ส์ ได้ ประสานส่งเสริมและสนับสนุนการถ่ายทอดด้านเทคโนโลยีเซรามิคส์ให้ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษที่บางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นแห่งแรก และต่อมาได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าวไปยังศูนย์ศิลปาชีพทั่วประเทศ ทศ่ี นู ยศ์ ลิ ปาชพี กดุ นาขาม จงั หวดั สกลนคร ศนู ยศ์ ลิ ปาชพี แมต่ ำ๋ จงั หวดั ลำปาง และศนู ยศ์ ลิ ปาชพี พระตำหนกั ทกั ษณิ ราชนเิ วศน์ จงั หวดั นราธวิ าส นายบัญญัติ บรรทัดฐาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน เป็นประธานเปิดหมู่บ้านเทคโนโลยี 3 บา้ นพรานพรา้ ว อ.ศรเี ชยี งใหม่ จ.หนองคาย และหมบู่ า้ นเทคโนโลยี 4 ทบ่ี า้ นโพนงานทา่ อ.เมอื ง จ.สกลนคร เมอ่ื 2-3 พ.ค. 30

ในปี พ.ศ. 2529 : นายบญั ญตั ิ บรรทดั ฐาน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดด้ ำเนนิโครงการหมบู่ า้ นเทคโนโลยี 9 แหง่ ขน้ึ ในนามหมบู่ า้ นเทคโนโลยเี ฉลมิ พระเกยี รติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ไดน้ ำวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม เชน่ การแปรรปู ผลติ ผลการเกษตรและการถนอมอาหาร การทำวสั ดุก่อสร้างจากวัสดุเหลือทิ้งในชนบท การทำเครื่องปั้นดินเผา การขยายพันธุ์ไม้ผลพันธุ์ดี การปศุสัตว์และการประมง ไปถา่ ยทอดใหก้ บั หมบู่ า้ นซง่ึ เปน็ ชมุ ชนทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทโ่ี ครงการสบู นำ้ ดว้ ยไฟฟา้ (พน้ื ทข่ี องสำนกั งานพลงั งานแหง่ ชาต)ิ เพอ่ื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ ทง้ั ในดา้ นอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั อาชพี และสง่ิ แวดลอ้ มของประชาชนโดยมหี มบู่ า้ นเทคโนโลยใี นเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รวม 9 หมบู่ า้ น คอื 1)บา้ นโนนเจดยี ์ ต.โคกสะอาดอ.ภเู ขยี ว จ.ชยั ภมู ิ 2) บา้ นทา่ หวา้ (หนองไขน่ ำ้ ) ต.กะฮาด อ.จตั รุ สั จ.ชยั ภมู ิ 3)บา้ นหนองแวง ต.พานพรา้ วอ. ศรเี ชยี งใหม่ จ.หนองคาย 4.)บา้ นโพนงานทา่ ต.นาแกว้ อ.เมอื ง จ.สกลนคร 5) บา้ นแกง่ โก ต.แกง้ สนามนางกง่ิ อ. แกง้ สนามนาง จ.นครราชสมี า 6) บา้ นสะอาด ต.เมอื งเกา่ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 7).บา้ นโคกลา่ ม ต.ดงลงิอ.กมลาไทย จ.กาฬสนิ ธ์ุ 8).บา้ นใครน่ นุ่ ต.ทา่ ขอนยาง อ.กนั ทรวชิ ยั จ.มหาสารคาม 9). บา้ นปา่ น ต.ดงสงิ ห์อ.เมอื ง จ.รอ้ ยเอด็ ⌫ หนงั สอื พมิ พเ์ ชา้ วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน 2526 ตา่ งพาดหวั อยา่ งครกึ โครม วา่ “ ดำรงเนน้ นโยบาย 5 เทคโน” / “พลกิ โฉมหนา้ ประเทศไทย” “ใช้ 5 เทคโนโลยี พฒั นาบา้ นเมอื ง” สังคมไทยได้ให้ความสนใจกับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นผลจากการที่นายดำรง ลทั ธพพิ ฒั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดป้ ระกาศนำนโยบาย 5 เทคโน ประกอบดว้ ยเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาอตุ สาหกรรม เทคโนโลยเี พอ่ื การเกษตร เทคโนโลยเี พอ่ื การพลงั งาน เทคโนโลยเี พอ่ืสง่ิ แวดลอ้ ม และการจดั การทรพั ยากร เทคโนโลยเี พอื่ การปอ้ งกนั ประเทศเพ่อื การพฒั นาและสร้างความเจรญิให้กับประเทศ นอกจากนี้ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ ยังย้ำความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไว้ว่า“ผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองอำนาจ ผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองเศรษฐกิจ” นับว่าเป็นครั้งแรกที่สร้างกระแสการตื่นตัวของการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย ก่อให้เกิดการกำหนดทิศทางและนโยบาย การนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศเพื่อพลิกฟื้นภาวะเศรษฐกจิ เปน็ การสรา้ งพน้ื ฐานแหง่ สมรรถภาพของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ ทง้ั ดา้ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยดี า้ นแหลง่ ขอ้ มลู ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา และดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพของนกั วทิ ยาศาสตร์

นอกจากน้ี นายดำรงฯ ยงั ไดป้ ระกาศวา่ “จะปราบยงุ ภายใน 4 ป”ี โดยใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพ นบั เปน็ จุดเริ่มต้นอีกจุดหนึ่งในการปลุกกระแสความตื่นตัวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มาก เพราะเป็นการนำ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์เพื่อการบำบัดทุกข์ของประชาชนและก่อให้เกิดการดำเนินงานใน โครงการตา่ งๆ ของกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ตอ่ มา ในทศวรรษแรกของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นการบุกเบิกเรื่องพลังงานมีการดำเนินงาน ครอบคลุมในด้านการพัฒนาพลังงานทดแทน ทรัพยากรพลังงาน และการพัฒนาการผลิตพลังงานไฟฟ้า ดว้ ยพลงั นำ้ ขนาดเลก็ เขอ่ื นพลงั นำ้ ขนาดเลก็ การพฒั นาทรพั ยากรนำ้ ผา่ นระบบชลประทานโดยใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ และฝายยาง และทส่ี ำคญั ไดม้ กี ารนำพลงั งานไฟฟา้ มาชว่ ยทางดา้ นการเกษตรเพอ่ื ใหเ้ กษตรกรเพาะปลกู ไดต้ ลอดปี การดำเนนิ การโครงการสำคญั ไดแ้ ก่ โครงการ โขง - ชมี ลู นายประจวบ ไชยสาส์น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้สะท้อนเหตุการณ์ในปี พ.ศ. 2531 “งานส่วนใหญ่ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ใน ชว่ งเวลานน้ั ใหค้ วามสำคญั กบั เรอ่ื งพลงั งาน ซง่ึ ขณะนน้ั มนี ายประพฒั น์ เปรมมณี เปน็ เลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ เนื่องจากเรื่องพลังงานมีความสำคัญ มีการนำ พลงั งานไฟฟา้ มาชว่ ยทางดา้ นการเกษตร เชน่ มกี ารตง้ั สถานสี บู นำ้ พนั กวา่ แหง่ เพอ่ื สบู นำ้ โขง หรือแหล่งน้ำธรรมชาติขึ้นมาส่งเข้าคลองเรียกว่า คลองส่งน้ำ นอกจากนี้ยังมีโครงการ โขง - ชีมูล เพื่อช่วยบริหารการจัดหาและการใช้น้ำจากแหล่งน้ำในประเทศที่ห้วยหลวง แม่น้ำชี และแม่น้ำมูล เพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหากปริมาณน้ำจากแหล่งน้ำ ดังกล่าวมีไม่เพียงพอ จึงจะนำน้ำจากแม่น้ำโขงขึ้นมาเสริมเพื่อช่วยบรรเทาปัญหาการ ขาดแคลนนำ้ ในลมุ่ แมน่ ำ้ ชแี ละมลู ใหแ้ กพ่ น้ื ท่ี 14 จงั หวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ้ ก่ จงั หวดั หนองคาย อดุ รธานี กาฬสนิ ธ์ุ ขอนแกน่ มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ ยโสธร อบุ ลราชธานี บรุ รี มั ย์ ศรสี ะเกษ นครราชสมี า สรุ นิ ทร์ อำนาจเจรญิ และเลย ซง่ึ เปน็ โครงการฝายตา่ งๆ เชน่ ฝายมหาสารคาม ฝายยางบรุ รี มั ย์ ฝายชมุ พวง ฝายราศไี ศล” สะพานขา้ มแมน่ ำ้ โขง : สะพานมติ รภาพไทย – ลาว ในสมยั นายประจวบ ไชยสาสน์ ดำรงตำแหนง่ รฐั มนตรฯี กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ โดย สำนักงานพลังงานแห่งชาติ ได้มีส่วนสำคัญในการผลักดันโครงการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว ซง่ึ เปน็ การดำเนนิ งานภายใตค้ ณะกรรมการลมุ่ แมน่ ำ้ โขงตอนลา่ ง ไดม้ กี ารสำรวจทรพั ยากรทม่ี ศี กั ยภาพ

ในการพัฒนาในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง และจัดทำข้อเสนอสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง หนองคาย - เวียงจันทน์โดยนายประจวบฯ ไดห้ ยบิ ยกขน้ึ หารอื ในการประชมุ หารอื ทวภิ าคอี ยา่ งเปน็ ทางการ ระหวา่ งไทย-ออสเตรเลยีจนเปน็ ผลใหร้ ฐั บาลออสเตรเลยี อนมุ ตั เิ งนิ ชว่ ยเหลอื ในการกอ่ สรา้ งสะพานทง้ั หมดวงเงนิ ประมาณ 37 ลา้ นเหรยี ญออสเตรเลยี รฐั บาลไดป้ ระกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2518และได้ตั้งสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติขึ้น ซึ่งต่อมาปี พ.ศ. 2522 ได้สังกัดอยู่ในกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ โดยมกี ารดำเนนิ งานพทิ กั ษร์ กั ษาสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศ กำหนดนโยบาย มาตรการควบคมุการจดั การฟน้ื ฟแู ละแกไ้ ขความเสอ่ื มโทรมของสง่ิ แวดลอ้ ม ตลอดจนใหก้ ารศกึ ษา เผยแพรค่ วามรคู้ วามเขา้ ใจสิ่งแวดล้อมสู่ประชาชน ในชว่ งทศวรรษแรก เปน็ ชว่ งของการกอ่ รา่ งสรา้ งตวั ขยายงาน ขยายกจิ กรรม สรา้ งบคุ ลากรและการดำเนนิ งานรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม มผี ลงานการดำเนนิ งาน ไดแ้ ก่ โครงการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม(Management of Natural Resourceand Environment Project - MANRES) รว่ มมอื กบั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื เปน็ เงนิใหเ้ ปลา่ 44 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั โครงการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวบ้านดอนและอ่าวพังงา เป็นเงินใหเ้ ปลา่ 12.75 ลา้ นบาท โครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม เริ่มจัดตั้งในปี พ.ศ. 2526 เป็นโครงการที่รัฐบาลญี่ปุ่นได้ให้เงินช่วยเหลือจำนวน 463 ล้านบาท มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมการวิเคราะห์วิจัย การจัดระบบการวิจัยและฝึกอบรม ตั้งอยู่ในบริเวณเทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวงจ.ปทมุ ธานี เรม่ิ เปดิ ดำเนนิ การเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2534 การดำเนินการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้กำหนดนโยบายการใช้ทด่ี นิ บรเิ วณกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ชน้ั ใน รอ้ื ฟน้ื อาคารทม่ี คี วามสำคญั บางแหง่ สนบั สนนุ การยา้ ยหนว่ ยราชการบางแหง่ออกนอกเขตกรุงรัตนโกสินทร์แล้วสร้างเป็นสวนสาธารณะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมโลหะประสาทโดยรื้อถอนอาคารโรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมไทย แล้วปรับปรุงพื้นที่เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยหู่ วั และสวนสาธารณะ การประกาศปี 2532-2535 เป็นปีแห่งการพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มจากประชาชน โดยมกี ารจดั กจิ กรรมคา่ ยเยาวชนอาสาสมคั รพทิ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มการกำหนดชน้ั คณุ ภาพลมุ่ นำ้ ของประเทศในพน้ื ทล่ี มุ่ นำ้ ตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ เชน่ ลมุ่ นำ้ ปงิ และวงั ลมุ่ นำ้ ยมและนา่ นลมุ่ นำมลู และชี ลมุ่ นำ้ ภาคใตแ้ ละลมุ่ นำ้ ภาคตะวนั ออก

⌫⌫ ⌫ 12. นายเจรญิ คนั ธวงศ์ 22 พ.ย.2533 - 13 ธ.ค.2533 16. นายพิศาล มูลศาสตรสาทร 29 ก.ย.2535 - 11 ธ.ค.2537 19. นายสวุ ทิ ย์ คณุ กติ ติ 7 ต.ค.2541 - 29 ม.ิ ย.2542 13. นายสงา่ สรรพศรี 24 ก.พ.2534 - 16 เม.ย.2535 17. นายสุวัฒน์ ลิปตพัลลภ 17 ธ.ค.2537 - 17 ก.ค.2538 20. นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ 12 ก.ค.2542 - 17 ก.พ.2544 14. นายประยทุ ธ ศริ พิ านชิ ย์ 17 เม.ย.2535 - 13 ม.ิ ย.2535 18. นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ 18 ก.ค.2538 - 15 ม.ิ ย.2539 15. นายไพจิตร เอื้อทวีกุล 14 ม.ิ ย.2535 - 28 ก.ย.2535 3 ก.ค.2539 - 6 ต.ค.2541 พ.ร.บ. ถา่ ยทอด การส่งเสริม เทคโนโลยี การอนุรักษ์ สภู่ มู ภิ าค พลังงานฯ ร่าง พ.ร.บ. พ.ร.บ. ส่งเสริมวิชาชีพ สง่ เสรมิ ฯ คณุ ภาพ วิทยาศาสตร์ฯ สิ่งแวดล้อมฯ สำนักส่งเสริม ร่าง พ.ร.บ. และถา่ ยทอด วทิ ยาศาสตร์ การคมุ้ ครองมรดก สำนักนโยบาย เทคโนโลยี และเทคโนโลยีฯ ทางวัฒนธรรมฯ และแผน (มรดกโลก 4 แหง่ ) สิ่งแวดล้อม องคก์ ารจดั การ บริษัท แผนพัฒนา น้ำเสีย อนิ เทอรเ์ นต็ ฯ วิทยาศาสตร์ฯ พระราชบญั ญตั ิ กรมส่งเสริม ระยะ 10 ปี พฒั นา คณุ ภาพ (2540-2549) วทิ ยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม สำนักงาน สำนักงาน กรมควบคมุ องค์การ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร สถาบนั มาตรวทิ ยา สำนักงาน สิ่งแวดล้อม พฒั นา มลพษิ พพิ ธิ ภณั ฑ์ วิจัยเครื่อง แหง่ ชาติ พฒั นา วิทยาศาสตร์ฯ วิทยาศาสตร์ฯ กำเนิดแสง เทคโนโลยอี วกาศฯ ภมู ภิ าค ซินโครตรอน ⌫

⌫⌫ ⌫ ชว่ งทศวรรษทส่ี องกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งและชอ่ื กระทรวงเปน็ ครง้ั แรกโดยช่วงเวลานั้นรัฐบาลได้พยายามแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ส่งเสริมการนำผลการวิจัยไปใช้เชิงพาณิชย์ในภาคอุตสาหกรรมและไม่ส่งผลกระทบเสียหายต่อสภาวะแวดล้อมของประเทศและใหค้ วามสำคญั กบั การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นมติ ทิ ส่ี ำคญั 4 ดา้ น คอื ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นาดา้ นการพฒั นากำลงั คน ดา้ นการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และดา้ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยี โดยตอ่ มาไดม้ กี ารผลกั ดนั เปน็ แผนพฒั นาสำคญั ๆ หลายแผนดว้ ยกนั ⌫ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2535 กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เปน็“กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจด้านสง่ิ แวดลอ้ ม และจดั ตง้ั หนว่ ยงานเพม่ิ ขน้ึ ใหม่ ดงั น้ี 1. หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การคมุ้ ครองสง่ิ แวดลอ้ มและการควบคมุ มลพษิ - กรมควบคมุ มลพษิ กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และสำนกั นโยบาย และแผนสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ หนว่ ยงานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม กอ่ ตง้ั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2535 อนั เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535และยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 โดยยุบสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และจัดตั้งกรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อมขึ้นแทน โดยรับโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ - องค์การจัดการน้ำเสีย เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินงานด้านสาธารณูปการ จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎกี า เมอ่ื วนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2538 และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาฉบบั ลงวนั ท่ี 14 สงิ หาคม 2538เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ทำหน้าที่ส่งเสริมกิจการจัดการน้ำเสียและดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องในเขตพื้นที่จัดการน้ำเสีย - สำนกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภมู ภิ าค คณะรฐั มนตรไี ดอ้ นมุ ตั ใิ หม้ กี ารจดั ตง้ั สำนกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภมู ภิ าคขน้ึ เมอ่ื 2 ตลุ าคม 2533 เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถเขา้ ถงึ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ รงิ ของทอ้ งถน่ิ อนั จะนำไปสกู่ ารแกไ้ ขและปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดผ้ ลอยา่ งจรงิ จงั โดยกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดท้ ดลองจดั ตง้ั สำนกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภมู ภิ าคทภ่ี าคใตจ้ งั หวดั สงขลา เปน็ แหง่ แรก และในปี พ.ศ. 2536 ไดข้ ยายไปตง้ั ใน จงั หวดั เชยี งใหม่ จงั หวดัขอนแกน่ และจงั หวดั ชลบรุ ี 2. หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - สำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ กำเนดิ สวทช. : พระราชบญั ญตั พิ ฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 ไดป้ ระกาศใช้จดุ มงุ่ หมายของพระราชบญั ญตั ฉิ บบั นเ้ี พอ่ื ใหม้ อี งคก์ รทม่ี คี วามเปน็ อสิ ระและความคลอ่ งตวั สงู โดยไมผ่ กู พนั ไวก้ บั

กฏระเบยี บการปฏบิ ตั แิ ละขอ้ บงั คบั ปกตขิ องราชการและรฐั วสิ าหกจิ และเปน็ องคก์ รทป่ี ระกอบดว้ ยบคุ ลากรทม่ี ี ความชำนาญในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่อ่อนแอของประเทศ ให้เจริญก้าวหน้า เข้มแข็งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ จึงได้ มกี ารเสนอแนวคดิ ในการรา่ งพระราชบญั ญตั พิ ฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดย ดร.นติ ย์ จนั ทรม์ งั คละศรี รองผู้อำนวยการโครงการ STDB และต่อมาได้พัฒนาปรับปรุงร่าง พ.ร.บ. นี้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย ดร.สงา่ สรรพศรี รมว.กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ในขณะนน้ั และคณะ (ดร.ยงยทุ ธ ยทุ ธวงศ์ , ดร.หรสิ สตู ะบตุ ร , ดร.มาลี สวุ รรณอตั ถ์ ) ซง่ึ ไดม้ กี ารเสนอให้ รวมโครงการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นา (STDB) และศนู ยแ์ หง่ ชาตทิ ง้ั 3 ปจั จยั สำคญั ของรา่ ง พ.ร.บ. น้ี คอื การจดั ตง้ั กองทนุ เพอ่ื การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ซง่ึ เปน็ เสน้ เลอื ดสำคญั ในการบรหิ ารงานของ สวทช. ทไ่ี มต่ อ้ งใชร้ ะเบยี บกระทรวงการคลงั และระเบยี บ อน่ื ๆ ของทางราชการ ในขณะนน้ั ทค่ี อ่ นขา้ งจะจำกดั และอยใู่ นขอบเขตทแ่ี คบๆ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 29 ธ.ค. 2534ให้ตราพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี พ.ศ. 2534 ขน้ึ จงึ นบั ไดว้ า่ “สวทช.” ไดเ้ กดิ เมอ่ื 30 ธ.ค. 2534 - พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ เมอ่ื 30 มกราคม 2538 ไดจ้ ดั ตง้ั เปน็ “องคก์ ารพพิ ธิ ภณั ฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ” ขึ้น เพื่อเป็นหน่วยงานสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ ที่เข้าใจได้ง่ายและถูกต้อง เป็นกลไกหนึ่งในการสร้างความตระหนักทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แก่เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป ผู้เป็นกำลังสำคัญในการผลักดันให้สามารถผ่านปัญหาอุปสรรคจนก่อตั้ง พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรไ์ ด้ คอื ดร.สงา่ สรรพศรี นายเฉลมิ ชยั หอ่ นาค นายจริ พนั ธ์ อรรถจนิ ดา และ นายธนากร พละชยั - ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั เครอ่ื งกำเนดิ แสงซนิ โครตรอนแหง่ ชาติ เปน็ โครงการทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากรฐั บาล ในปี พ.ศ. 2539 ให้ดำเนินการพัฒนาเครื่องกำเนิดแสงสยาม ซึ่งเป็นเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน ขนาด 1.0 GeV ที่ได้รับบริจาคจากกลุ่มบริษัทซอร์เทค ประเทศญี่ปุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการถ่ายทอด เทคโนโลยีระดับสูงจากประเทศญี่ปุ่นสู่ประเทศไทยและเพื่อให้เป็นศูนย์การวิจัยกลางภายในประเทศในการ สนบั สนนุ งานวจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน และวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ เชน่ งานวจิ ยั ดา้ นฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี วทิ ยา วัสดุศาสตร์ เภสัชศาสตร์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้งานทางด้านอุตสาหกรรม กำลังสำคัญในการผลักดันคือ ดร.สปิ ปนนท์ เกตทุ ตั , ดร.วจิ ติ ร ศรสี ะอา้ น และ ดร.วริ ฬุ สายคณติ - สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พุทธศักราช 2540 ให้เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีระบบบริหารงานเป็นอิสระอยู่ภายใต้การกำกับของกระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ มบี ทบาทดา้ นการพฒั นามาตรฐานการวดั แหง่ ชาตใิ หเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล และถา่ ยทอด ความถกู ตอ้ งของการวดั ไปสกู่ จิ กรรมการวดั ตา่ งๆ ในประเทศ รวมทง้ั เผยแพรค่ วามรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นมาตรวทิ ยา แกส่ งั คมไทย เปดิ ดำเนนิ การเมอ่ื วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2541

- สำนกั งานพฒั นาอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ(องคก์ ารมหาชน) จดั ตง้ั ขน้ึ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 3 พฤศจกิ ายนพ.ศ.2543 เปน็ หนว่ ยงานของรฐั ในรปู แบบองคก์ ารมหาชน มงุ่ เนน้ การบรหิ ารและดำเนนิ งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อบริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ บริการวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศให้เป็นประโยชน์ต่อประชาชน - สำนกั งานทป่ี รกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี ระจำตา่ งประเทศ จดุ มงุ่ หมายแรกของการจัดให้มีที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำต่างประเทศ หรือทูตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เป็น “Spy”ในการรวบรวมข้อมูลความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างใกล้ชิด และทันต่อเหตุการณ์ของประเทศนั้น ๆ เช่น เรื่องของการค้นคว้า วิจัยและพัฒนา การทำหน้าที่ประสานงานและติดต่อเชื่อมโยงกับนกั วทิ ยาศาสตร์ นกั เทคโนโลยไี ทย ทท่ี ำงานในประเทศนน้ั ๆ เปน็ ผแู้ ทนในการเจรจาแสวงหา ประชมุ แลกเปลย่ี นวิทยากร และติดตามโครงการที่ขอความช่วยเหลือ กระตุ้นและจูงใจให้นักวิทยาศาสตร์ และนักเทคโนโลยีไทยในตา่ งประเทศ มคี วามรสู้ กึ ผกู พนั และมงุ่ มน่ั ทจ่ี ะรว่ มพฒั นาประเทศไทย กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดเ้ สนอใหม้ ที ป่ี รกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตรฯ์ ประจำใน 3 ประเทศ คอื สหรฐั อเมรกิ าญป่ี นุ่ และเบลเยย่ี ม เหตผุ ลสำคญั คอื สหรฐั อเมรกิ า มคี วามกา้ วหนา้ และเปน็ ผนู้ ำแนวหนา้ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องโลก และมนี กั วทิ ยาศาสตร-์ นกั เทคโนโลยคี นไทย เปน็ จำนวนมากทท่ี ำงานในประเทศน้ี สว่ นประเทศญป่ี นุ่ เปน็ ผนู้ ำทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในภมู ภิ าคเอเชยี และมคี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กบั ประเทศไทยมากในขณะเดยี วกนั เบลเยย่ี มเปน็ สถานทต่ี ง้ั ของประชาคมยโุ รป (EEC) ซง่ึ จะทำใหไ้ ดค้ รอบคลมุ ประเทศยโุ รปทง้ั หมด การดำเนินการของ “ที่ปรึกษา” ได้แตกต่างจากแนวคิดเดิม ๆ เนื่องจากปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ ทำใหก้ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารจากตา่ งประเทศตา่ ง ๆ งา่ ยขน้ึ รวดเรว็ ขน้ึ ถงึ ตวั นกั วจิ ยั ฯไดเ้ ลย บทบาทของ “ทป่ี รกึ ษา” จงึ เปลย่ี นไป ขณะนม้ี สี ำนกั งานทป่ี รกึ ษา 2 แหง่ คอื สหรฐั อเมรกิ า และ เบลเยย่ี ม ⌫⌫ ⌫ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 โดยที่พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ยังขาดกลไกที่จะทำให้แผนและนโยบายลงไปสู่ภาคปฏิบัติให้ได้ผลจริงจัง ขาดระบบการติดตามตรวจสอบหลังจากโครงการดำเนินการไปแล้ว ขาดอำนาจในการลงโทษและใช้บังคับ ขาดบทกำหนดความรับผิดชอบให้ผู้ทำลายสิ่งแวดล้อมเป็นผู้รับภาระในการแก้ไข ขาดการเปิดโอกาสให้องค์กรเอกชนและประชาชนในท้องถิ่นได้เข้ามามีบทบาทร่วมกับภาครฐั สำนักงานคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ จึงไดเ้ สนอรา่ ง พระราชบัญญตั ิที่แก้ไขปรบั ปรงุ ใหมต่ อ่ คณะรฐั มนตรี คอื “พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535”ซึ่งได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัตินี้ ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535 กฎหมายนี้มีจุดเด่นคือ 1) ให้อำนาจการบริหารและการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมแก่ผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี ประธานสุขาภิบาลในการประกาศเขตควบคุมมลพิษ และดำเนินการควบคุมมลพิษในเขตจังหวัดและส่วนท้องถิ่น 2) ใหอ้ งคก์ รเอกชนและประชาชนมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มมีสิทธิและมีหน้าที่ที่จะได้รับความคุ้มครองในเรื่องค่าเสียหายหรือค่าชดเชย ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนทางด้านวิชาการและเงินอุดหนุน

3) กำหนดใหม้ กี ารจดั ตง้ั กองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม และการใชม้ าตรการทางดา้ นภาษี เพอ่ื เปน็ แรงจูงใจให้องค์กรและภาคเอกชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของประเทศ 4) กำหนดพน้ื ทค่ี มุ้ ครองอนรุ กั ษข์ น้ึ 3 ประเภท คอื พน้ื ทค่ี มุ้ ครองสง่ิ แวดลอ้ ม พน้ื ท่ี วกิ ฤต และเขตควบคมุ มลพษิ 5) การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด แผนพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2540-2549 ) ในชว่ งปี 2539 นายเกษม สนทิ วงศ์ ฯ ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดด้ ำรใิ หม้ กี ารจดั ทำ แผนพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ระยะ 10 ปี ⌫ ⌫ ขน้ึ (พ.ศ. 2540-2549 ) ซง่ึ เปน็ แผนพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ฉบับแรกที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างนักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ และผู้ที่เกี่ยวข้องในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ด้านการวิจัยและ ⌫ พัฒนา ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงษ์ ทำหน้าที่เป็นประธานด้านการพัฒนากำลังคน ⌫ มี ดร.กฤษณพงษ์ กีรติกร เป็นประธานด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน มี ดร.ศลักษณ์ ทรรพนันท์ เป็นประธาน และด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี มีนายเขมทัต สุคนธสิงห์ เป็นประธาน จุดมุ่งหมายของแผนดังกล่าวเพื่อเป็น กรอบแนวทางสนับสนุนการดำเนินงานและการสร้างเสริมขีดความสามารถด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศใหเ้ ปน็ ไปในทางเดยี วกนั และใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบกับแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปจัดทำแผนปฏิบัติการโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นหน่วยประสานงาน และในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544) ไดน้ ำสาระสำคญั ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั นไ้ี ปเปน็ สว่ นหนง่ึ ของแผนพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยดี ว้ ย และไดเ้ ปน็ แมแ่ บบในการจดั ทำแผนพฒั นา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี อ่ ๆ มา การจดั ทำ รา่ ง พ.ร.บ. 2 ฉบบั ในชว่ งปี 2540 นายเกษม สนทิ วงศ์ ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ฯ ไดม้ องการณไ์ กลในการ ผลักดันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น จึงสนับสนุนให้มีการ จดั ทำ รา่ ง “พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาต”ิ ในเวลาเดยี วกนั นายกสมาคมวทิ ยาศาสตร์ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ศาสตราจารย์ ดร. มนตรี จุฬาวัฒนทล) ได้เสนอให้มีการจัดทำ รา่ ง “ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ วชิ าชพี วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พ.ศ. … ” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ผู้ประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เจริญก้าวหน้าในสายอาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับสมาคมวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการกำกับดูแลและพัฒนาอาชีพ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การจดั ทำรา่ ง พ.ร.บ. ทง้ั 2 ฉบบั น้ี สำนกั นโยบายและแผน สำนกั งาน ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ โดย นางกอบแกว้ อคั รคปุ ต์ เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร ซง่ึ กฎหมายดงั กลา่ วไดบ้ รรลุ ผลสำเรจ็ และประกาศใช้ เมอ่ื วนั ท่ี 31 มกราคม 2551 และรา่ งพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ไดม้ วี วิ ฒั นาการเปน็ พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมแหง่ ชาติ และประกาศใชเ้ มอ่ื วนั ท่ี 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2551

แผนกลยทุ ธด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (พ.ศ. 2547-2556) ในชว่ งนน้ั ดร.อาทติ ย์ อไุ รรตั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ มแี นวนโยบายกอบกู้เศรษฐกิจด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องจากขณะนั้นปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ จึงผลักดันให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(โดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการเพื่อให้สามารถทำงานได้ในระยะเวลาเร่งด่วน เนื่องจากการจัดทำพระราชบัญญัติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องใช้เวลานาน โดยใช้เนื้อหาบางส่วนของร่างพระราชบัญญัตินี้คืออำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการและองคป์ ระกอบ) ซง่ึ แนวคดิ การพฒั นาเศรษฐกจิ ดว้ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ดร้ บั การผลกั ดนั และยอมรบั วา่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้มีการทบทวนแผนพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ และจดั ทำแผนกลยทุ ธด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (พ.ศ. 2547-2556) ขน้ึโดยเน้นการปรับบทบาทวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตอบสนองความต้องการของภาคเศรษฐกิจและสังคมและเชื่อมโยงกับการพัฒนาประเทศในสาขาต่างๆ และเน้นการพัฒนาปัจจัยสี่ประการคือ 1) ความเขม้ แขง็ ของระบบนวตั กรรมแหง่ ชาติ 2) ความเขม้ แขง็ ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ 3) บรรยากาศการพฒั นาทเ่ี ออ้ื อำนวยและ4) ความสามารถในเทคโนโลยเี พอ่ื อนาคต 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี ต่อมา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9(พ.ศ. 2545-2549) ได้ ใช้แนวทางจากแผนกลยุทธ์ฉบับนี้ในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาความเข้มแข็งทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปน็ ยทุ ธศาสตรส์ ำหรบั การปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ใหม้ คี วามสมดลุ และยง่ั ยนื พระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 จุดมุ่งหมายในการตราพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ คือเพื่อเป็นกลไกสำคัญในการส่งเสริมการประหยดั พลงั งานอยา่ งมรี ะบบและเปน็ เอกภาพ มกี ารผลติ เครอ่ื งจกั ร และอปุ กรณ์ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และวสั ดุที่ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานขึ้นภายในประเทศ มีการกำหนดมาตรการในการกำกับดูแล ส่งเสริม และช่วยเหลือเกย่ี วกบั การใชพ้ ลงั งาน มกี ารกำหนดนโยบายอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน มกี ารตรวจสอบ และวเิ คราะหก์ ารอนรุ กั ษพ์ ลงั งานการจดั ตง้ั กองทนุ เพอ่ื พฒั นาและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มจากพลงั งาน ตลอดจนการคน้ ควา้ วจิ ยั เกย่ี วกบั พลงั งาน

“แหลง่ มรดกทางวฒั นธรรมและธรรมชาติ การคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของโลก ของประเทศไทยจำนวน 4 แหง่ ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี ในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกทาง วัฒนธรรมและธรรมชาติของโลกแห่งยูเนสโก (UNESCO) เมื่อวันที่ ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลก คอื 16 มถิ นุ ายน 2534 พรอ้ มๆ กบั ทแ่ี หลง่ มรดกทางวฒั นธรรมและธรรมชาติ อทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา ของประเทศไทยจำนวน 4 แหง่ ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลก คอือทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั - ศรสี ชั นาลยั - กำแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย- เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ - ทงุ่ ใหญน่ เรศวร ศรสี ชั นาลยั - กำแพงเพชร เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ - ทงุ่ ใหญ่ นเรศวร และแหลง่ โบราณสถานบา้ นเชยี ง และแหลง่ โบราณสถานบา้ นเชยี ง” โครงการสวนกลางมหานคร กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ได้รับมอบหมายให้รักษาสภาพแวดล้อม บริเวณบางกระเจ้าให้เป็นพื้นที่ สเี ขยี ว โดยสรา้ งสวนกลางมหานคร ซง่ึ ประกอบดว้ ยพน้ื ท่ี 3 สว่ นคอื พน้ื ท่ี เกษตรกรรม พน้ื ทช่ี มุ ชน และพน้ื ทส่ี วนพฤกษชาตแิ ละสวนสาธารณะ ⌫ ปี พ.ศ. 2539 ได้มีการรวมหน่วยงานด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีสองหน่วยงานในสำนักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ คอื กองสง่ เสรมิ เทคโนโลยแี ละศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยี เปน็ สำนกั สง่ เสรมิ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมการสร้างศักยภาพและประสิทธิภาพในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สง่ ผลใหเ้ กดิ การประสานงานจดั ทำแผนถา่ ยทอดเทคโนโลยรี ว่ มกนั ของหนว่ ยงานในสงั กดั ทำใหก้ ารดำเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีมีรูปแบบชัดเจนขึ้น มีการจัดงาน นิทรรศการร่วมกัน เช่น งานวันนักประดิษฐ์งานรวมใจภกั ด์ิ รกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ได้ริเริ่มโครงการความร่วมมือถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภูมิภาคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมดว้ ยการสนบั สนนุ จากสถาบนั การศกึ ษาจากสว่ นกลางและภมู ภิ าค กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดด้ ำเนนิ กจิ กรรมเกย่ี วกบั เรอ่ื งการพลงั งานหลายดา้ น เชน่ การผลติ ไฟฟา้ พลังน้ำระดับหมู่บ้าน ประชาชนในชนบทที่ห่างไกล และกันดาร และอยู่ห่างจากระบบสายส่งไฟฟ้าจะเข้าถึงได้ มีไฟฟ้าใช้ซึ่งเป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน มีการดำเนินการใช้พลังงานเพื่อการเกษตรพลังงาน ในเรื่องของการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า ในเรื่องของการพัฒนาแหล่งน้ำ การหาแหล่งพลังงาน และการบริหารจัดการ ด้านพลังงาน เช่น การสาธิตการอนุรักษ์พลังงานการวิจัยและปรับปรุงอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน การให้เงินกู้ อัตราดอกเบี้ยต่ำ การพัฒนานาพลังงานทดแทน เช่น ด้านพลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังงานนิวเคลียร์

21. นายสนธยา คุณปลื้ม ⌫ 25. นายประวชิ รตั นเพยี ร ⌫ 22. นายพนิ จิ จารสุ มบตั ิ 26. นายยงยทุ ธ ยทุ ธวงศ์ 23. พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร 18 ก.พ.2544 - 6 ต.ค.2545 27. นายวฒุ พิ งศ์ ฉายแสง 2 ส.ค.2548 - 19 ก.ย. 2549 24. นายกร ทพั พะรังสี 7 ต.ค.2545 - 7 พ.ย.2546 28. คุณหญิงกลั ยา โสภณพนชิ 8 ต.ค.2549 - 5 ก.พ. 2551 8 พ.ย.2546 - 9 ม.ี ค.2547 6 ก.พ.2551 - 19 ธ.ค. 2551 10 ม.ี ค.2547 - 1 ส.ค.2548 20 ธ.ค.2551 - ปจั จบุ นั อาสาสมคั ร บูรณาการงานด้าน ศูนย์บริการร่วม ตั้งสภาวิชาชีพ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ฯ กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ วิทยาศาสตร์ฯ และเทคโนโลยี ถนนสาย พ.ร.บ. วันเทคโนโลยี คลินิก วทิ ยาศาสตร์ ส่งเสริมวิชาชีพ ของไทย เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ฯ วันนวตกรรม เทดิ พระเกยี รติ แหง่ ชาติ พ.ร.บ. ว่าด้วย พระบดิ าแหง่ วิทยาศาสตร์ฯ เทคโนโลยขี องไทย พระบดา แห่งนวัตกรรมไทย สถาบันวิจัย ดาราศาสตรฯ์ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียร์ฯ สำนักงาน คณะกรรมการ นโยบาย วิทยาศาสตร์ฯ สถาบันสารสนเทศ ทรัพยากรน้ำฯ สถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอนฯ

⌫⌫ ช่วงทศวรรษที่สาม เป็นยุคที่ภารกิจด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มี ความเด่นชัดขึ้น ได้มีการผลักดันกฏหมายที่สำคัญต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมของ ประเทศ การประสานเชอ่ื มโยงระหวา่ งกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั และภาคเอกชนเพอ่ื การวจิ ยั และ พฒั นาสรา้ งองคค์ วามรู้ การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นากำลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นทกุ ระดบั และการสรา้ งความตระหนกั ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แพร่หลายเป็นที่ยอมรับในสังคมทุกภาคส่วน นอกจากนี้ยังสร้างระบบ สนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถเข้าถึงความรู้ และ ส่งเสริมการสร้างภูมิปัญญาใหม่ๆ รวมทั้งสนับสนุนการนำภูมิปัญญาดั้งเดิมของไทยมาใช้ผสมผสานกันได้ สนับสนุนภาคการผลิตและบริการ และให้บริการสังคมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่ม ผลิตภาพทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ⌫ ปี พ.ศ. 2545 กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ มกี ารเปลย่ี นแปลง ชื่อและโครงสร้างกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยเปลี่ยนชื่อจาก “กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม” เปน็ “กระทรวง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี ตง้ั แตว่ นั ท่ี 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2545 และแยกภารกิจด้านสิ่งแวดล้อมออกไปเป็นกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภารกิจด้านพลังงานแยกออกไปเป็น กระทรวงพลงั งาน ซง่ึ นางกอบแกว้ อคั รคปุ ต์ อดตี หวั หนา้ ผตู้ รวจ ราชการกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดส้ ะทอ้ นการเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว ว่า “ ทิศทางของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เมื่อได้แยกออกจาก สิ่งแวดล้อมและพลังงาน มีการจัดตั้งหน่วยงานใหม่น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีขึ้น เมื่อ 20-30 ปีแรกก็มาถูกทาง แตด่ ว้ ยขอ้ จำกดั หลายๆ ดา้ น ทำใหม้ กี ารพฒั นาไมเ่ ตม็ ท่ี คดิ วา่ หลงั จากนไ้ี ปกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ จะกา้ วจาก ความเปน็ คนหนมุ่ -สาวเปน็ ผใู้ หญเ่ ตม็ ท่ี สะสมประสบการณม์ ากขน้ึ โดยอาศยั อดตี ทล่ี งหลกั ปกั ฐานเปน็ รากสำคญั และมีปัจจุบันเป็นปัจจัยในการต่อยอดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศอย่างถูกทิศถูกทาง อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพ” กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดเ้ ปลย่ี นแปลงโครงสรา้ ง และมกี ารปรบั บทบาทและภารกจิ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของบางหน่วยงานในสังกัดให้ชัดเจนขึ้น ได้แก่ สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติปรับเปลี่ยน เปน็ สำนกั งานปรมาณเู พอ่ื สนั ติ รวมทง้ั มกี ารจดั ตง้ั หนว่ ยงานขน้ึ ใหม่ ไดแ้ ก่ สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) และสถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้ และการเกษตร (องคก์ ารมหาชน) นอกจากนย้ี งั มหี นว่ ยงาน ที่อยู่ในระหว่างยกฐานะเป็นองค์การมหาชน คือ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ นับว่าเป็นก้าวสำคัญของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ในการรวมพลังเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในทศวรรษ ต่อไป

⌫ ⌫ ⌫⌫ ⌫⌫⌫ ⌫ ⌫ ด้วยตระหนักในพระปรีชาสามารถในเทคโนโลยีฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพัฒนาขึ้นมา เพื่อประโยชน์ต่อพสกนิกรไทยทุกหมู่เหล่าและเอื้อประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ชาติทั่วไป คณะรัฐมนตรีจึงมีมติถวายพระเกียรติให้ทรงเป็น“พระบดิ าแหง่ เทคโนโลยขี องไทย” เมอ่ื วนั ท่ี 22 มกราคม พ.ศ. 2544 และ มมี ตใิ หว้ นั ท่ี19 ตุลาคมของทุกปี ให้เป็น “วันเทคโนโลยีของไทย” ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงอำนวยการการสาธติ ฝนเทยี มสตู รใหมค่ รง้ั แรกของโลกทเ่ี ขอ่ื นแกง่ กระจานดว้ ยพระองคเ์ อง โดยใชส้ นามบนิ บอ่ ฝา้ ย อำเภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ เปน็ ฐานปฏบิ ตั กิ ารจนสามารถบงั คบั ใหฝ้ นตกลงตรงเปา้ หมายไดส้ ำเรจ็ เปน็ ทน่ี า่ อศั จรรย์ และประจกั ษใ์ นพระปรชี าสามารถตอ่ นกั วทิ ยาศาสตรส์ งิ คโปรแ์ ละผเู้ ฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทเมอ่ื วนั ท่ี 19 ตลุ าคม พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาสพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถด้านนวัตกรรมโดยการใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวให้สามารถใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเหน็ ชอบเมอ่ื วนั ท่ี 20 มถิ นุ ายน 2549 ใหเ้ ทดิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เปน็ “พระบดิ าแหง่นวตั กรรมไทย” และใหว้ นั ท่ี 5 ตลุ าคมของทกุ ปเี ปน็ “วนั นวตั กรรมแหง่ ชาต”ิ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานหลักในการจัดงานและกิจกรรมเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นพระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติ “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย”และ “พระบดิ าแหง่ นวตั กรรมไทย” พรอ้ มเผยแพรก่ ารพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของไทย โดยการจดั งานTechno Mart – Inno Mart หรอื งานเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของไทยประจำปี เพอ่ื เทดิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดจนเพื่อเผยแพร่ผลงานความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทยจากหน่วยงานทุกภาคส่วน พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมแหง่ ชาติ พ.ศ.2551 ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วไวแ้ ลว้ ในชว่ งทศวรรษทส่ี อง วา่ ไดม้ กี ารผลกั ดนั พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติมาตั้งแต่ทศวรรษที่สอง แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จ ต่อมามีการผลักดันพระราชบัญญัติดงั กลา่ วอกี ครง้ั ในชอ่ื “พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมแหง่ ชาต”ิ ซง่ึ มสี าระสำคญัที่มุ่งเน้นการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมระดับชาติที่เป็นเอกภาพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครฐั และเอกชนในดา้ นตา่ ง ๆ นำไปสกู่ ารจดั ตง้ั คณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าตราเป็นพระราชบัญญัติและทรงลงพระปรมาภิไทยเมอ่ื วนั ท่ี 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2551

พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ วชิ าชพี วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติส่งเสริมวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับการตราเป็นกฏหมาย สำคญั ของประชาคมวทิ ยาศาสตร์ เมอ่ื วนั ท่ี 8 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2551 โดยพระราชบญั ญตั นิ เ้ี ปน็ กลไกในการ เอื้อประโยชน์แก่ผู้ประกอบการวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งเน้นส่งเสริมการประกอบวิชาชีพด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภายใต้จรรยาบรรณ ปัจจุบันตั้งสำนักงานสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ชว่ั คราว) ณ สำนกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ในช่วงทศวรรษที่สามนี้นอกจากจะมีกฎหมายสำคัญระดับพระราชบัญญัติจำนวน 2 ฉบับ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ยงั มกี ารผลกั ดนั กฎหมายระดบั พระราชกฤษฎกี าจนบรรลผุ ลสำเรจ็ จำนวน 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ 1) พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) พ.ศ. 2551 ซึ่งส่งผลให้เกิดการจัดตั้งองค์กรเฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวกับแสง ซินโครตรอน 2) พระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้ และการเกษตร (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ.2551 ส่งผลให้เกิดการจัดตั้งองค์กรเฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ การจดั การสารสนเทศทรพั ยากรนำ้ และการเกษตร 3) พระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั สถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ.2551 สง่ ผลใหเ้ กดิ การจดั ตง้ั องคก์ รเฉพาะทางทม่ี ีความเช่ยี วชาญดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยเี กย่ี วกบั ดาราศาสตร์ ⌫ คลนิ กิ เทคโนโลยี ปี พ.ศ. 2545- 2546 กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดน้ ำเทคโนโลยลี งสู่ ท้องถิ่น ได้มีการผลักดันกลไกสำคัญเพื่อนำเทคโนโลยีไปสู่ประชาชนระดับรากหญ้า โดยในชว่ งนน้ั นายพนิ จิ จารสุ มบตั ิ รฐั มนตรกี ระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ใหค้ วามสำคญั และขบั เคลอ่ื น “โครงการคลนิ กิ เทคโนโลย”ี โดยอาศยั เครอื ขา่ ยหนว่ ยงานในทอ้ งถน่ิ เชน่ มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยในภูมิภาคต่างๆ ซึ่งมีองค์ความรู้มากพอในการอธิบาย ให้ประชาชนเข้าใจถึงแนวทางการแก้ปัญหาการผลิตและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตโดยใช้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ละภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถน่ิ เอง คลนิ กิ เทคโนโลยเี ปน็ โครงการ ที่ประสบความสำเร็จเนื่องจากสอดคล้องตามความต้องการของท้องถิ่น และสามารถ ตั้งคลินิกเทคโนโลยีที่นำเทคโนโลยีไปสัมผัสกับชาวบ้านในชุมชนจริง

อาสาสมคั รวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในช่วงเวลาเดียวกันกับการพัฒนากลไก “คลินิกเทคโนโลยี” กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ เปดิ รบั ผสู้ นใจรว่ มเปน็ อาสาสมคั ร เรยี กวา่ “อาสาสมคั รวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(อสวท.)” เนื่องจากเห็นความสำคัญการกระจายองค์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่ทุกภาคส่วน จึงเปิดโอกาสและสร้างให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนสามารถนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และเผยแพร่กระจายสู่ชุมชนได้ สมาชิก อสวท. จะได้รับการสนับสนุนให้เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้เป็นตัวแทนท้องถิ่นจนสามารถเขียนโครงการที่นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่การแก้ไขปัญหาให้แก่ท้องถิ่นของตนเอง และของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อสวท. ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้จบการศึกษาระดับสูง เพียงแต่มีความสนใจในการเผยแพร่และถ่ายทอดความรู้เบื้องต้นให้แก่ ชุมชนในท้องถิ่นของตนเองและชุมชนใกลเ้ คยี งโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ซง่ึ ปจั จบุ นั มสี มาชกิ อสวท. รวมกวา่ สามพนั คน การบรู ณาการงานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี บั จงั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั ในปีพ.ศ. 2547 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดม้ นี โยบายนำวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี ทู่ อ้ งถน่ิ ตา่ งๆ โดย “การบรู ณาการงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับจังกวัด/กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด” เพื่อนำศักยภาพของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดมาผสมผสานกับการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ การบริการและการจัดการทรัพยากรของท้องถิ่น รวมถึงการถ่ายทอดความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไห้แก่ท้องถิ่นเพื่อสามารถพึ่งตนเองและสร้างความเข้มแข็งแก่สังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งได้ดำเนินการครั้งแรกที่จังหวัดแพร่ รูปแบบการดำเนินการเน้นการประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างหน่วยงานในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ผู้แทนของท้องถิ่น หน่วยงานพัฒนาในจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เพื่อเรียนรู้ความสำเร็จจากบุคคลบริษัท หรือโครงการที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากระบวนการผลิตหรือการบริการและมีการระดมความคิดเห็นเพื่อรับทราบความต้องการรูปแบบการดำเนินงาน การบูรณาการแผนงานและงบประมาณกับท้องถิ่น มุ่งผลักดันให้เกิดการดำเนินการที่นำไปสู่การปฏิบัติที่เห็นผลเป็นรูปธรรมต่อไปโดยมีเป้าหมาย คือ แผนงาน/โครงการที่สามารถบูรณาการงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์กับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อรองรับการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ปัจจุบันโครงการนี้ยังดำเนินการอย่างตอ่ เนอ่ื งและไดร้ บั การตอบรบั จากทอ้ งถน่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งดี ⌫ การจดั งานถนนสายวทิ ยาศาสตร์ ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มีนโยบาย “ปลูกฝังปญั ญาเยาว”์ และรเิ รม่ิ จดั งาน “ถนนสายวทิ ยาศาสตร”์ ซง่ึ เปน็ กจิ กรรมทก่ี ระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ จดั ขน้ึ โดยร่วมมือกับหน่วยงานใกล้เคียงบริเวณถนนโยธี และถนนพระรามที่ 6 ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรมกรมทรัพยากรธรณี องค์การเภสัชกรรม และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้

เด็กไทยได้เรียนรู้และสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมการเรียนรู้ ความรู้ เสริมสร้างประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาความคิดและการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ตั้งแต่เด็กเล็กระดับชั้นอนุบาลถึงเด็กโตระดับมัธยมศึกษา การจัดงานดังกล่าวได้กระตุ้นและจุดประกายให้ เยาวชนไทยหันมาให้ความสนใจในการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียิ่งขึ้น ⌫ ศูนย์บริการร่วมกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์บริการร่วมกระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ เรม่ิ เปดิ ใหบ้ รกิ ารเมอ่ื วนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2549 มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื อำนวยความสะดวกและ ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน หนว่ ยงานทง้ั ภาครฐั และเอกชนใหไ้ ดร้ บั ความสะดวก รวดเรว็ ณ จดุ รบั บรกิ ารจดุ เดยี ว สามารถตรวจสอบ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ของกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ น วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ ตลอดจนรบั แจง้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นของประชาชน ศูนย์บริการร่วมกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้อง กับรูปแบบงานบริการของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่ต้องอาศัยทักษะความชำนาญของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง รวมถึงการใช้เครื่องมือและห้องปฏิบัติการในการดำเนินงาน จึงมีลักษณะเป็นศูนย์รวมงานบริการของกระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ ทง้ั หมด เปน็ แหลง่ ประชาสมั พนั ธง์ านบรกิ าร แนะนำ ตดิ ตอ่ จบั คู่ ระหวา่ งผใู้ ชบ้ รกิ ารและ หนว่ ยบรกิ ารของกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ซง่ึ การพฒั นางานบรกิ ารทเ่ี ดน่ ชดั ไดแ้ ก่ บรกิ ารผา่ นเวบ็ ไซตค์ ลนิ กิ เทคโนโลยี ซง่ึ เชอ่ื มโยงกบั เครอื ขา่ ยเทคโนโลยมี ากกวา่ 49 เครอื ขา่ ย หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารมากวา่ 119 แหง่ กระจาย ไปทั่วประเทศไทย บริการสืบค้นข้อมูลงานวิจัย บริการหนังสือความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริการ เทยี บเวลามาตรฐานประเทศไทยโดยใหบ้ รกิ ารเครอ่ื งแมข่ า่ ยถา่ ยทอดเวลาผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ การพัฒนาการดำเนินการดังกล่าวข้างต้นทำให้ศูนย์บริการร่วมกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้รับรางวัลดีเด่น 3 ปีติดต่อกัน ได้แก่ รางวัลดีเด่น ปี พ.ศ. 2549 “รางวัลการอำนวยความสะดวกและ ตอบสนองความตอ้ งการประชาชน” รางวลั ดเี ดน่ ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ปี พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2551 “รางวลั มาตรฐานศนู ยบ์ รกิ ารรว่ ม/เคานเ์ ตอรบ์ รกิ ารประชาชน” ปจั จบุ นั ศนู ยบ์ รกิ ารรว่ มกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ เปดิ ให้ บรกิ าร ณ อาคารพระจอมเกลา้ สำนกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 ทุกวันในเวลาราชการ นอกจากนี้ยังให้บริการในลักษณะศูนย์บริการร่วมสัญจรตามงาน นทิ รรศการตา่ งๆ ใหบ้ รกิ ารผา่ น CALL Center 1313 สายดว่ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม และอนิ เทอรเ์ นต็ ออนไลน์ http://www.most.go.th/eservice



⌫ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป็นหน่วยงานหลักของประเทศที่มีบทบาทภารกิจในการดำเนินงานด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทย ในรอบสามทศวรรษ ที่ผ่านมา ได้ขับเคลื่อนภารกิจ โดยดำเนินงานตามโครงการต่างๆ มีผลงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และ นโยบายรฐั บาล ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมในหลายดา้ น ไดแ้ ก่ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ การพฒั นา สังคมและคุณภาพชีวิต การมุ่งพัฒนากำลังคนทั้งในและนอกระบบ การผลักดันงานด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสู่มาตรฐานสากล ภารกิจด้านความมั่นคงของประเทศ ซึ่งการดำเนินงานได้ให้ความสำคัญกับ 1) การวิจัยและพัฒนาสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 2) การพัฒนากำลังคนให้เป็นขุมพลัง สำคญั ของประเทศ 3) การถา่ ยทอดเทคโนโลยที เ่ี ปน็ องคค์ วามรใู้ หม่ รวมทง้ั ทส่ี อดสอดคลอ้ งตามแนวพระราชดำริ 4) การสรา้ งความตระหนกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หเ้ ปน็ สงั คมฐานความรู้ และ 5) การพฒั นาโครงสรา้ ง พื้นฐานเพื่อสนับสนุนภาคการผลิตและบริการให้มีศักยภาพทุกระดับ อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทิศทางกระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ ในอนาคต จำเปน็ ตอ้ งกำหนดยทุ ธศาสตรท์ ง้ั เชงิ รบั และเชงิ รกุ เพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว ซึ่งภาพอนาคตกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ จะก้าวไปทิศทางใดได้มีผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะ ไว้ ดงั น้ี ⌫ เร่งเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ให้ความเห็นไว้ว่า “ต้องเร่งเชื่อมโยงกระบวนการวิจัยและพัฒนาระหว่างนักคิด นักวิจัย สถาบนั การศกึ ษา และภาคเอกชน โดยเฉพาะภาคอตุ สาหกรรมทจ่ี ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลย”ี พัฒนาการวิจัยเชิงประยุกต์ เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ดร. คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ “มีนโยบายเร่งใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยเี พอ่ื แกป้ ญั หาความยากจน โดยนำผลงานตา่ งๆ ของกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไปประยกุ ตใ์ ช้ ซง่ึ เปน็ การใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องตามสภาพสังคมและพื้นที่ของประเทศ รวมทั้งการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยคี วบคไู่ ปกบั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เนน้ เรอ่ื งการสรา้ งงาน สรา้ งรายได้ คณุ ภาพชวี ติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ การ จัดสรรงบประมาณตามแผนงานจะเน้นการจัดสรรเพื่อมาพัฒนาการวิจัยเชิงประยุกต์ให้มากขึ้น”

เร่งรัดการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ดร.สุจินดา โชติพานิชปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ตอ้ งมยี ทุ ธศาสตรเ์ รง่ รดั การวจิ ยั พฒั นา และนวตั กรรมที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศเพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยอนาคตจะมุ่งเน้นการวิจัยด้านไบโอเทคเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรหรือการปรับปรุงสายพันธุ์ รวมทั้งการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ทางการเกษตรให้ได้คุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานโลก” สนับสนุนงบประมาณการวิจัยและพัฒนาให้เพิ่มขึ้น ศ.ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ อดีตปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ และทป่ี รกึ ษาอาวโุ สสำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ “หากภาครฐัมกี ารสนบั สนนุ งบประมาณการวจิ ยั และพฒั นามากขน้ึ และขยายองคก์ รวจิ ยั ไปทว่ั ทกุ ภมู ภิ าค สนบั สนนุ บคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั เพม่ิ ขน้ึ สรา้ งกลไกเชอ่ื มโยงงานวจิ ยั ระหวา่ งภาครฐั สถาบนั การศกึ ษาและภาคเอกชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรมสร้างกลไกสนับสนุนภาคเอกชนวิจัยและพัฒนาภายในองค์กรโดยออกมาตรการลดภาษีให้แก่ผู้ประกอบการที่นำผลงานวิจัยไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการให้สิทธิประโยชน์แก่ภาคเอกชนที่บริจาคเครื่องไม้เครื่องมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่ภาครัฐ และสิ่งสำคัญควรสนับสนุนงบประมาณการวิจัยและพัฒนาไปยังองคก์ รวจิ ยั และพฒั นาทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลจรงิ ๆ และเปน็ องคก์ รทข่ี ยายไปสภู่ มู ภิ าค “ ใชว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมสนบั สนนุ ภาคการผลติ ของไทยสเู่ ครอื ขา่ ยการผลติ ของโลก ดร.ณรงคช์ ยั อคั รเศรณี ประธานกรรมการธนาคารเพอ่ื การสง่ ออกและนำเขา้ แหง่ ประเทศไทย”แนวทางการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทยควรเน้นในด้านการวิจัยตามแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงของเศรษฐกจิ โลก เชน่ การวจิ ยั และพฒั นาพชื พลงั งาน การสง่ เสรมิ งานวจิ ยั ทช่ี ว่ ยลดขอ้ เสยี เปรยี บทางการคา้ และการผลติ และการพฒั นาขดี ความสามารถดา้ นการบรหิ ารเทคโนโลยแี ละความร”ู้ วจิ ยั และพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารทแ่ี ตกตา่ ง ดร.พชิ ญ์ นติ ยเ์ สมอ รองผอู้ ำนวยการสถาบนัวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่า “เพื่อให้สินค้าไทยสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกจำเปน็ ตอ้ งกำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาขดี ความสามารถของผผู้ ลติ ไทย และประเดน็ ทา้ ทายคอื การพฒั นาสนิ คา้และบรกิ ารใหท้ แ่ี ตกตา่ งจากสนิ คา้ อน่ื ๆ ในตลาดโลก องคป์ ระกอบทส่ี ำคญั คอื การผสมผสานระหวา่ งเอกลกั ษณ์ความเปน็ ไทยกบั เทคโนโลยลี งในผลติ ภณั ฑ์ “ ⌫การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนายกรฐั มนตรี “ควรสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื สรา้ งโอกาสบคุ คลทม่ี คี วามสามารถ ⌫⌫พเิ ศษเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม การเสาะแสวงหาคนเกง่ ทม่ี คี วามสามารถเฉพาะ และสรา้ งแรงจงู ใจ ⌦เพอ่ื สานตอ่ ใหเ้ กดิ บคุ ลากรทม่ี คี วามสามารถทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สง่ เสรมิ โครงสรา้ งสังคมที่เอื้อให้คนเก่งที่สุด มีศักยภาพมากที่สุด ตัดสินใจเข้ามาประกอบอาชีพด้านการวิจัยพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ : สง่ เสรมิ ทกั ษะและไดส้ มั ผสั ⌫ ⌫วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ดร.คณุ หญงิ กลั ยา โสภณพนชิ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์“การสร้างกำลังคนทำได้หลายรูปแบบทั้งในอุทยานวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมให้ได้ทำการทดลองกับเครื่องมือจริง นอกจากนี้สามารถใช้ไอทีในการพัฒนาความรู้ ความสามารถผู้ประกอบการและฝึกอบรมคนตกงานเข้าสู่ตลาดแรงงานหรือกลับไปทำงานในท้องถิ่น”โครงการนักเรียนทุนรัฐบาลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.สุจินดา โชติพานิชปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ เนน้ การพฒั นากำลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ขยายโครงการนักเรียนทุนรัฐบาลมาโดยตลอดซึ่งก็จะมีการสานต่อไปเรื่อยๆเพื่อให้การพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตรงตามการพัฒนาของประเทศให้มากที่สุด”

⌦ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง วทิ ยาศาสตรฯ์ “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ควรเดนิ ตามเปา้ หมายหลกั การสรา้ งคนเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ โดยสรา้ งคนรนุ่ ใหมท่ เ่ี กง่ และมจี รยิ ธรรม เปดิ โอกาสใหก้ บั ผมู้ คี วามสามารถ ผดู้ อ้ ยโอกาส รวมทง้ั สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั จากการเปลี่ยนแปลงภายนอกด้วย สิ่งสำคัญคือการศึกษาซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้สนับสนุนจัดตั้ง ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ซึ่งเป็นกลไกสนับสนุนเพิ่มเติมให้เกิดระบบการจัดการศึกษาที่เอื้อต่อการ สรา้ งกำลงั คนทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นอกจากนค้ี วรสง่ เสรมิ การสรา้ งนกั เรยี นทม่ี คี วาม สามารถพเิ ศษดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยเพม่ิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน จัดหลักสูตรเฉพาะที่แตกต่างจากห้องเรียนทั่วไปให้มีความเข้มข้นทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่างเต็มรูปแบบและเน้นรองรับการวิจัย เช่นหลักสูตรของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มาเป็นต้นแบบ จะช่วย สร้างความเป็นเลิศในเรื่องบุคคลากรวิจัยในอนาคต” ⌫ นำเทคโนโลยสี ชู่ มุ ชน ดร.คณุ หญงิ กลั ยา โสภณพนชิ รฐั มนตรวี า่ การ ⌫ กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ไดม้ แี นวนโยบายสานตอ่ โครงการหมบู่ า้ นเทคโนโลยี 9 แหง่ ในภาค ⌫ ⌫ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพอ่ื นำเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมไปถา่ ยทอดใหป้ ระชาชนในพน้ื ท่ี ซง่ึ หมบู่ า้ น ⌫ ดงั กลา่ วจะเปน็ หมบู่ า้ นแบบอยา่ งและขยายผลไปสหู่ มบู่ า้ นอน่ื ๆ ทว่ั ประเทศ นอกจากน้ี ยงั มี นโยบายรว่ มพฒั นาพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมอื ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน การเปิดเว็บไซต์คลินิกเทคโนโลยีให้คำปรึกษาออนไลน์ ดร.สุจินดา โชตพิ านชิ ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ใหค้ วามสำคญั กบั การถา่ ยทอด เทคโนโลยอี ยา่ งทว่ั ถงึ ในทกุ ระดบั โดยสนบั สนนุ กลไกลของคลนิ กิ เทคโนโลยที ม่ี เี ครอื ขา่ ยมากกวา่ 50 แหง่ ทว่ั ประเทศ และไดว้ างแผนเปดิ เวบ็ ไซตค์ ลนิ กิ เทคโนโลยเี พอ่ื ใหค้ ำปรกึ ษาออนไลนร์ ะหวา่ งผเู้ ชย่ี วชาญ กระทรวงและตัวแทนชุมชน” เร่งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ต่อประชาชนส่วนใหญ่ นายณรงค์ รัตนะ อดีต ผู้อำนวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และอดีตผู้อำนวยการสถาบัน ไทย-เยอรมนั กระทรวงอตุ สาหกรรม “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ควรเนน้ สรา้ งความสามารถในการประเมนิ เทคโนโลยีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถส่งเสริม การทำมาหากินและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนไทย และการพฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื ประโยชนต์ อ่ ประชาชนสว่ นใหญ่ เชน่ เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน ดา้ นสขุ อนามยั และ ความปลอดภยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และดา้ น การเคลอ่ื นยา้ ยขนสง่ ” ⌫ ส่งเสริมฐานความคิดตามหลักวิทยาศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี “หลักการเบื้องต้นในการผลักดันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องเริ่มตั้งแต่กระบวนการการศึกษา ทั้งในระบบ โรงเรยี น การอบรมสง่ั สอนจากครอบครวั และการเรยี นรผู้ า่ นสอ่ื มวลชน หรอื ผา่ นชอ่ งทางอน่ื ๆ เพอ่ื ใหป้ ระชาชน มฐี านความคดิ มเี หตผุ ล ตามหลกั การวทิ ยาศาสตร”์

คิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ “กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มุ่งเน้นการสื่อสารวิทยาศาสตร์สู่ประชาชนเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนคดิ อยา่ งเปน็ วทิ ยาศาสตร์ สำหรบั เดก็ และเยาวชนใหก้ ารสอ่ื สารอยา่ งสนกุเข้าใจง่าย ส่งเสริมให้จัดมุมเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในห้างสรรพสินค้า จัดทำพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ให้น่าสนใจมากขึ้น แนวคิดในการแก้ปัญหาเด็กไม่ชอบเรียนวิทยาศาสตร์ควรพยายามให้มีห้องฝึกปฏิบัติการที่มีอุปกรณ์ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น ส่งเสริมให้เด็กสัมผัสจริงสามารถจบั ตอ้ งได้ สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมคา่ ยวทิ ยาศาสตรเ์ พม่ิ ขน้ึ ” สรา้ งสงั คมฐานความรู้ โดย ดร.สจุ นิ ดา โชตพิ านชิ ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ “กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ ใหค้ วามสำคญั ในการสรา้ งความรู้ ความคดิ ความตระหนกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ก่สังคมไทยอย่างแพร่หลายและต่อเนื่องเพื่อสร้างสังคมฐานความรู้ โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรมรณรงค์ด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี า่ งๆ กระจายสทู่ กุ ภมู ภิ าคโดยเฉพาะในสถาบนั การศกึ ษา” สรา้ งหอ้ งสมดุ วทิ ยาศาสตร์ รศ.ดร.วรี ะพงษ์ แพสวุ รรณ รองปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์และโฆษกกระทรวง “มีความจำเป็นต้องผลักดันให้เกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักในประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดเวลา โดยป้อนข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผ่านช่องทางต่างๆที่หลากหลายทั้งสื่อมวลชน และการตีพิมพ์เพื่อแจกหรือจำหน่ายราคาถูกเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการสร้างห้องสมุดวิทยาศาสตร์แบบกระจายตัวตามหมู่บ้าน” เชอ่ื มโยงการสรา้ งความตระหนกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รศ.ดร.กำจดั มงคลกลุ“ควรมีการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยการร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งภายนอกและภายในกระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ เปน็ การเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยสรา้ งความตระหนกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี ⌫ สนบั สนนุ สรา้ งระบบการคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา นายอภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ นายกรฐั มนตรี“สร้างกลไกให้มีการแข่งขันเพื่อช่วยกระตุ้นให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และสร้างให้มีกฎกติกาเพื่อคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ เป็นการสนับสนุนหลักการทางวิทยาศาสตร์ ให้มีระบบการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทรพั ยส์ นิ ของทอ้ งถน่ิ ทรพั ยากรชวี ภาพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ แรงจงู ใจ สำหรบั ผปู้ ระดษิ ฐค์ ดิ คน้ ” สนับสนุนภาคเอกชนให้มีความเข้มแข็งด้านการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดร.สุจินดา โชติพานิช ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ “กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มุ่งสนับสนุนให้ภาคเอกชนมีความเข้มแข็งด้านการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือพัฒนาคณุ ภาพการบรกิ ารทส่ี ามารถแขง่ ขนั กับตลาดโลกได้ โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ สร้างให้เกดิ กลไกสนับสนุนภาคเอกชน เชน่ การสง่ เสรมิ อทุ ยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางใหภ้ าคเอกชนไดพ้ ฒั นาผลติ ภณั ฑ์โดยจะสนับสนุนเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ ให้บริการห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์เพื่อให้ได้มาตรฐานระดบั โลก”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook