มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชวี ิตและปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ช้ันอนบุ าล 2(4-5ป)ี ชั้นอนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๖.๓ ประหยดั ๖.๓.๑ ใชส้ ง่ิ ของเครือ่ งใช้อยา่ ง ๖.๓.๑ ใชส้ ิ่งของเครอ่ื งใช้อย่าง - การปฏิบตั ติ และพอเพยี ง ประหยดั และพอเพยี งเมื่อมผี ู้ ประหยดั และพอเพยี งดว้ ย ปรชั ญาของเศ ช้ีแนะ ตนเอง พอเพียง - การฟังนทิ า คณุ ธรรม จรยิ - การใชว้ สั ดแุ เคร่อื งใชอ้ ย่าง - การทำงานศ เหลือใช้หรือส ท่ีใช้แล้วมาใช แล้วนำกลับม
สาระการเรียนรูร้ ายปี ช่ือหนว่ ย การณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หนว่ ย ของเล่นของใช้ ตนตามหลกั สาระการเรยี นรเู้ ร่ืองสิ่งตา่ งๆ หน่วย เศรษฐกิจพอเพียง หนว่ ย การเดินทางแสนสนุก ศรษฐกิจ รอบตัวเด็ก หนว่ ย เทคโนโลยกี า้ วไกล หนว่ ย ธรรมชาติและสิ่งมชี ีวิต ๑. ประโยชน์ การใชง้ านและ หนว่ ย สายน้ำใหช้ วี ิต อนบุ าล ๓ านเกีย่ วกับ การเลือกใชส้ ่งิ ของเคร่ืองใช้ หน่วย ของเล่นของใช้ หนว่ ย เคร่อื งมือเครือ่ งใช้ ยธรรม ยานพาหนะ การคมนาคม หนว่ ย การคมนาคม หน่วย สอื่ สารทนั เหตกุ ารณ์ และ ส่ิงของ เทคโนโลยแี ละการสอ่ื สารตา่ งๆ หน่วย เศรษฐกจิ พอเพียงพอ หน่วย การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อม งคุม้ ค่า ทีใ่ ชอ้ ย่ใู นชีวติ ประจำวัน อยา่ ง ศิลปะท่นี ำวสั ดุ ประหยดั ปลอดภยั และรกั ษา สิ่งของ เคร่ืองใช้ ส่ิงแวดลอ้ ม สาระการเรียนรู้ ช้ซ้ำหรือแปรรูป เร่ืองตวั เด็ก มาใช้ ใหม่ ๒.การมีคณุ ธรรม จริยธรรม
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย ตวั บง่ ช้ี สภาพท่พี ึงประสงค์ ชั้นอนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้นั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประ ๗.๑ ดูแล ๗.๑.๑ มสี ว่ นรว่ มดแู ลรักษา ๗.๑.๑ มสี ว่ นรว่ มดูแลรักษา - การมีสว่ นร รักษา ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมเม่ือมผี ู้ ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมดว้ ย สิ่งแวดล้อมท ธรรมชาติและ ชี้แนะ ตนเอง หอ้ งเรยี น สง่ิ แวดล้อม ๗.๑.๒ ท้งิ ขยะได้ถกู ท ๗.๑.๒ทิง้ ขยะได้ถูกท่ี - การสนทนา เกยี่ วกบั ธรรม ชวี ติ ประจำวัน - การเพาะปล - การอธิบายเ เกดิ ข้ึนในเหต - การตัดสนิ ใจ กระบวนการแ - การคดั แยก สิ่งต่างๆตามล รปู ทรง - การใช้วัสดแุ คมุ้ ค่า - การทำงานศ สง่ิ ของ เครอื่ ง แปรรปู แลว้ น - การสรา้ งสร รูปทรงจากวัส - การปฏิบตั ติ ห้องเรยี น
สาระการเรียนร้รู ายปี ช่ือหน่วย ะสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หนว่ ย ธรรมชาติและส่งิ มชี ีวติ ิ ร่วมในการดูแลรกั ษา ๑.สง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรยี น หน่วย เศรษฐกิจพอเพยี ง หนว่ ย อากาศนา่ รู้ ท้งั ภายในและภายนอก และการดแู ลรักษา หนว่ ย ฤดูฝนจ๋า หน่วย ตน้ ไม้ทรี่ ัก ๒.ส่ิงแวดล้อมตาม หนว่ ย สายน้ำใหช้ วี ติ หน่วย ชมุ ชนของเรา าข่าวและเหตุการณ์ท่ี ธรรมชาตแิ ละการอนรุ ักษ์ อนบุ าล ๓ หน่วย รงุ้ กินนำ้ มชาติและส่ิงแวดล้อมใน สิง่ แวดล้อม หนว่ ย ข้าว หนว่ ย น้ำ หน่วย ฤดูหนาว น ๓.การรักษาสาธารณะ หนว่ ย การอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม หนว่ ย ตน้ ไมท้ รี่ ัก ลูกและดแู ลต้นไม้ สมบัตใิ น ห้องเรยี น หนว่ ย ดอกไม้หลากส เชือ่ มโยงสาเหตุและผลที่ ๔.ขยะและการคัดแยก ตุการณห์ รือการกระทำ ขยะ จและมีส่วนรว่ มใน ๕.การดแู ลรักษา แกป้ ญั หา ส่ิงแวดล้อม ก การจดั กลมุ่ และจำแนก ลักษณะและรปู ร่าง และส่ิงของเครอ่ื งใช้อย่าง ศิลปะที่นำวัสดหุ รอื งใช้ทีใ่ ชแ้ ล้วมาใช้ซ้ำหรอื นำกลบั มาใชใ้ หม่ รรค์ชิ้นงานโดยใช้รปู รา่ ง สดุทห่ี ลากหลาย ตนเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของ
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรมและความเป็นไทย ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ช้ันอนบุ าล 2(4-5ป)ี ชัน้ อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๗.๒ มี ๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาท ๗.๒.๑ปฏบิ ตั ิตนตาม มารยาท - การปฏบิ ัติต มารยาท ตาม ไทยได้ดว้ ยตนเอง ไทยได้ตาม กาลเทศะ วฒั นธรรมท้อ วัฒนธรรม ๗.๒.๒ กลา่ วคำขอบคณุ และขอ ๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคณุ และขอ และประเพณ ไทยและรกั โทษดว้ ยตนเอง โทษด้วยตนเอง - การเลน่ บท ความเป็นไทย ๗.๒.๓ หยดุ เมอ่ื ไดย้ ินเพลงชาติ ๗.๒.๓ หยดุ เมื่อไดย้ ินเพลงชาติ ปฏบิ ัติตนในค ไทยและเพลงสรรเสรญิ พระ ไทยและเพลงสรรเสรญิ พระ ไทย บารมี บารมี - การปฏบิ ตั ิต วฒั นธรรมทอ้ และประเพณ - การเล่นบท ปฏิบัตติ นในค - การพูดสะท ของตนเองแล - การปฏิบัตติ วัฒนธรรมท้อ และประเพณ - การเลน่ บท ปฏบิ ตั ติ นในค - การร่วมกจิ ก
สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช่ือหนว่ ย การณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ตนตาม ๑.การปฏบิ ตั ติ นตามมารยาท อนุบาล ๒ องถน่ิ ทีอ่ าศัย และวฒั นธรรมไทย หนว่ ย หนนู อ้ ยมารยาทดี ณีไทย - การแสดงความเคารพ หน่วย วันชาติ ทบาทสมมติการ - การพดู สุภาพ หน่วย พระคณุ แม่ ความเปน็ คน - การกลา่ วคำขอบคณุ และขอ หนว่ ย ชุมชนของเรา โทษ หนว่ ย วันเดก็ วนั ครู ตนตาม - การปฏิบัติตนตามมารยาทและ หนว่ ย สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว องถนิ่ ที่อาศัย วัฒนธรรมไทย รชั กาลที่ 10 ณไี ทย - การพดู สภุ าพ อนุบาล ๓ หน่วย วันแม่ ทบาทสมมตกิ าร - การกล่าวคำขอบคณุ และขอ หนว่ ย วนั ข้นึ ปใี หม่ ความเปน็ ไทย โทษ หนว่ ย วันเด็ก วนั ครู ท้อนความรสู้ ึก - วันสำคัญของชาติ ศาสนา หนว่ ย วนั พ่อ ละผ้อู ่นื พระมหากษตั รยิ ์ หนว่ ย มารยาทไทย ตนตาม - สัญลกั ษณส์ ำคญั ของชาติไทย หน่วย อาชีพต่างๆ องถนิ่ ทอี่ าศัย - การแสดงความจงรกั ภกั ดตี ่อ หน่วย ชุมชนของเรา ณไี ทย ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ หนว่ ย ฉันรักเมืองไทย ทบาทสมมติการ ความเป็นไทย กรรมวนั ส าคญั
มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ืน่ ได้อยา่ งมีความสุขและปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชิกท่ีดีของส ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ชั้นอนุบาล 2(4-5ป)ี ช้ันอนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๘.๑ ยอมรับ ๘.๑.๑เลน่ และทำกจิ กรรม ๘.๑.๑ เลน่ และทำกิจกรรม ๑.การเลน่ แล ความเหมือน ร่วมกับเด็กทีแ่ ตกต่างไปจากตน รว่ มกบั เดก็ ทแี่ ตกต่างไปจากตน รว่ มกบั ผ้อู นื่ และความ ๒.การเลน่ หร แตกต่าง ร่วมกบั กลมุ่ เพ ระหว่าง บคุ คล
สังคมในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข สาระการเรียนรู้รายปี ชือ่ หนว่ ย การณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ ละทำงาน ๑. การเคารพสทิ ธิของตนเอง อนุบาล ๒ และผอู้ ืน่ หน่วย โรงเรยี นของเรา รือทำกิจกรรม ๒. การเลน่ และการทำสิง่ ตา่ งๆ หนว่ ย ครอบครัวแสนสขุ พือ่ น ด้วยตนเองตามลำพงั หรอื กบั หน่วย บา้ นแสนสุข ผู้อื่น หน่วย หนูทำได้ อนุบาล ๓ หนว่ ย วัยทเ่ี ปล่ียนแปลง หนว่ ย หนูทำได้ หนว่ ย บา้ นแสนสขุ หนว่ ย สายใยครอบครัว หนว่ ย โรงเรยี นแสนสุข หน่วย อาชีพตา่ งๆ
มาตรฐานท่ี ๘ อยู่รว่ มกบั ผ้อู ื่นได้อยา่ งมีความสขุ และปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกท่ดี ีของส ตัวบง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ชั้นอนุบาล 2(4-5ป)ี ชนั้ อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๘.๒ มี ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงานร่วมกับ ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงานร่วมกบั - การเล่นและ ปฏิสัมพันธท์ ่ี เพือ่ นเปน็ กลมุ่ เพื่อนอยา่ งมีเปา้ หมาย ร่วมกบั ผอู้ ่นื ดีกบั ผูอ้ นื่ ๘.๒.๒ยมิ้ หรือทกั ทายหรือ ๘.๒.๒ ยม้ิ หรือทกั ทายหรือ - การเล่นหรือ พูดคยุ กับผ้ใู หญ่และบุคคลท่ี พูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลท่ี รว่ มกบั กลมุ่ เพ คุน้ เคยได้ดว้ ยตนเอง คนุ้ เคยไดเ้ หมาะสมกับ - การเล่นบท สถานการณ์ - การร่วมสน แลกเปลยี่ นค
สังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ สาระการเรียนรรู้ ายปี ชอื่ หนว่ ย การณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ะทำงาน ๑.การเคารพสิทธขิ องตนเองและ อนุบาล ๒ ผูอ้ ่นื หน่วย หนนู ้อยมารยาทดี อทำกิจกรรม ๒. การเล่นและการทำส่งิ ตา่ งๆ หนว่ ย เด็กดมี ีคณุ ธรรม พ่อื น ด้วยตนเองตามลำพงั หรือกบั หนว่ ย ครอบครวั แสนสุข ทบาทสมมุติ ผู้อนื่ หนว่ ย โรงเรยี นของเรา นทนาและ ๓. การแสดงความคดิ เห็นของ หนว่ ย อารมณข์ องฉนั ความคดิ เห็น ตนเองและยอมรบั ฟังความ อนุบาล ๓ คดิ เหน็ ขงผู้อื่น หน่วย เด็กดมี ีคณุ ธรรม ๔. การแสดงความคดิ เหน็ ของ หน่วย สายใยครอบครวั ตนเองและยอมรับฟังความ หน่วย โรงเรยี นแสนสขุ คดิ เหน็ ของผู้อ่ืน หน่วย ตา่ งความคดิ ต่างความตอ้ งการ ๕. การแสดงมารยาทท่ีดี หน่วย มารยาทไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องส ตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ ช้ันอนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้ันอนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๘.๓ ปฏบิ ัติตน ๘.๓.๑ มสี ว่ นรว่ มสร้างขอ้ ตกลง ๘.๓.๑ มสี ่วนร่วมสร้างขอ้ ตกลง ๑.การรว่ มกำ เบอื้ งตน้ ใน และปฏิบตั ิตามข้อตกลงเมอื่ มีผู้ และปฏิบตั ิตามข้อตกลงด้วย ของหอ้ งเรยี น การเปน็ ช้แี นะ ตนเอง ๒.การปฏบิ ตั สมาชกิ ทด่ี ี ๘.๓.๒ ปฏิบตั ติ นเป็นผนู้ ำและผู้ ๘.๓.๒ ปฏิบตั ิตนเป็นผูน้ ำและผู้ ทีด่ ีของหอ้ งเร ของสงั คม ตามทีด่ ไี ด้ดว้ ยตนเอง ตามไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ๓. การดแู ลห ๘.๓.๓ ประนปี ระนอมแกไ้ ข ๘.๓.๓ ประนปี ระนอมแกไ้ ข ๔.การรว่ มก า ปญั หาโดยปราศจากการใช้ความ ปญั หา โดยปราศจากการใช้ ของหอ้ งเรียน รุนแรงเม่ือมผี ูช้ ้ีแนะ ความรุนแรงด้วยตนเอง ๕.การปฏิบตั ท่ีดีของห้องเร ๖.การใหค้ วา ปฏิบัติ กจิ กร ๗.การมสี ว่ นร แกป้ ญั หา ๘.การมสี ว่ นร แก้ปัญหาควา
สังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข สาระการเรยี นรู้รายปี ช่ือหนว่ ย การณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ ำหนดข้อตกลง ๑.การแสดงความคดิ เหน็ ของ อนบุ าล ๒ น ตนเองและยอมรบั ฟงั ความ หน่วย ครอบครวั แสนสขุ ตติ นเป็นสมาชกิ คิดเห็นขงผอู้ ืน่ หน่วย โรงเรยี นของเรา รียน ๒.ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน หนว่ ย ชุมชนของเรา ห้องเรยี นร่วมกัน และ บุคคลตา่ ง ๆ หน่วย บา้ นแสนสขุ าหนดข้อตกลง ๓.การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ี อนบุ าล ๓ น ๔.การแสดงความคดิ เห็นของ หนว่ ย สายใยครอบครวั ตติ นเปน็ สมาชิก ตนเองและยอมรับฟัง ความ หน่วย โรงเรยี นแสนสุข รยี น คิดเห็นขงผู้อืน่ หน่วย บ้านแสนสขุ ามรว่ มมอื ในการ ๕.การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชิกท่ีดี หนว่ ย ชมุ ชนของเรา รรมตา่ งๆ ๖.การช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั หนว่ ย อาเซียนสามคั คี ร่วมในการเลือก ๗.ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และ นำเสนอ ความคดิ รว่ มในการ ๘.ตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปญั หา ามขดั แยง้ เกยี่ วกับเรื่องราว เหตกุ ารณ์ ตา่ งๆ
๔. พัฒนาการด มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ชน้ั อนุบาล 2(4-5ป)ี ช้นั อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๙.๑ สนทนา ๙.๑.๑ ฟงั ผู้อน่ื พดู จนจบและ ๙.๑.๑ ฟงั ผู้อื่นพูดจนจบและ ๑. การฟังแล คำแนะนำ โตต้ อบและ สนทนาโตต้ อบสอดคลอ้ งกับ สนทนาโตต้ อบอย่างตอ่ เนอื่ ง ๒.การพูดแสด ความรสู้ กึ และ เล่าเร่อื งให้ เร่อื งที่ฟัง เชือ่ มโยงกับเรือ่ งทฟ่ี งั ๓.การรอจงั ห ในการพดู ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ ๙.๑.๒ เล่าเรอื่ งเป็นประโยค ๙.๑.๒ เล่าเป็นเรือ่ งราวต่อเน่อื ง ๔. การฟงั เพล คล้องจอง บท อย่างต่อเน่ือง ได้ เรื่องราวตา่ ง ๕.การพดู กับผ ประสบการณ หรือพดู เป็นเร ตนเองได้ ๖.การพดู อธบิ สง่ิ ของ เหตุก ความสัมพนั ธ ๗.การพดู เรยี ใช้ในการส่อื ส
ด้านสตปิ ัญญา สาระการเรยี นรรู้ ายปี ชอ่ื หนว่ ย การณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หนว่ ย คณิตศาสตร์แสนสนกุ ละปฏิบตั ติ าม ๑.การรูจ้ กั แสดงความคดิ เหน็ หนว่ ย วิทยาศาสตรน์ า่ รู้ หนว่ ย เทคโนโลยกี า้ วไกล ของตนเอง อนุบาล ๓ หน่วย คณติ ศาสตร์น่ารู้ ดงความคดิ ๒.การมีปฏสิ มั พันธ์ใน หน่วย สอ่ื สารทนั เหตุการณ์ หนว่ ย เทคโนโลยนี ่ารู้ ะความต้องการ ชีวิตประจำวัน หวะท่ีเหมาะสม ๓. การใชภ้ าษาเพ่ือสือ่ ความหมายในชวี ติ ประจำวัน ลง นทิ านคำ ๔.การรู้จักแสดงความคดิ เห็น ทรอ้ ยกรองหรอื ของตนเอง ๆ ๕.การใช้ภาษาเพือ่ ส่ือ ผู้อน่ื เกี่ยวกบั ความหมายในชวี ิตประจำวนั ณข์ องตนเอง ร่ืองราวเก่ียวกับ บายเกย่ี วกับ การณ์และ ธข์ องสิง่ ตา่ งๆ ยงลำดับคำเพอ่ื สาร
มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับวยั ตัวบง่ ชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ชนั้ อนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้ันอนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๙.๒ อา่ น ๙.๒.๑ อา่ นภาพ สญั ลกั ษณ์ ๙.๒.๑ อา่ นภาพสญั ลกั ษณ์ คา ๑. การอา่ นห เขียน ภาพ คาพรอ้ มทง้ั ชีห้ รอื กวาดตามอง ดว้ ยการชหี้ รอื กวาดตามอง นทิ านหลากห และ ขอ้ ความตามบรรทดั จดุ เรม่ิ ตน้ และจดุ จบของ /รูปแบบ สญั ลกั ษณไ์ ด้ ๙.๒.๒ เขียนคลา้ ยตวั อกั ษร ขอ้ ความ ๒. การสงั เกต ๙.๒.๒ เขยี นช่อื ของตนเอง ช่ือของตนหร ตาม แบบเขียนขอ้ ความดว้ ยวธิ ี ๓. การอ่านแ ท่คี ดิ ขนึ้ เอง โดยกวาดสา บรรทดั จากซ บนลงลา่ ง ๔. การเห็นแ การเขยี นท่ถี กู ๕. การเขยี น ความหมายก คนุ้ เคย
สาระการเรียนร้รู ายปี ชื่อหน่วย การณ์สำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ อนบุ าล ๒ หน่วย คณิตศาสตรแ์ สนสนกุ หนงั สือภาพ ๑.การใชภ้ าษาเพ่อื ส่อื หนว่ ย ชมุ ชนของเรา หนว่ ย อาเซียนนา่ รู้ หลาย ประเภท ความหมายในชวี ติ ประจาวนั อนบุ าล ๓ หน่วย สอื่ สารทนั เหตกุ ารณ์ ๒.ความรูพ้ นื้ ฐานเกย่ี วกบั การ หน่วย คณิตศาสตรน์ า่ รู้ ตตวั อกั ษรใน ใช้ หนงั สอื และตวั หนงั สอื รือคาคนุ้ เคย ๓.ความรูพ้ นื้ ฐานเก่ยี วกบั การ และชีข้ อ้ ความ ใช้ หนงั สอื และตวั หนงั สือ ายตาตาม ๔.การใชภ้ าษาเพ่อื สื่อ ซา้ ยไปขวาจาก ความหมายในชวี ติ ประจาวนั แบบอยา่ งของ กตอ้ ง นคาท่มี ี กบั ตวั เด็ก/ คา
มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่ีเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ ตัวบง่ ชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ชน้ั อนุบาล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๐.๑ มี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะและ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ -การบอกและ ทิศทางและร ความสามารถ สว่ นประกอบของสง่ิ ของต่างๆ สว่ นประกอบการเปลย่ี นแปลง ต่างๆ ดว้ ยกา ภาพวาด ภาพ ในการคิดรวบ จากการสังเกตโดยใชป้ ระสาท หรอื ความสัมพนั ธ์ของสิ่งของ รปู ภาพ -การบอกและ ยอด สัมผสั ตา่ งๆจากการสงั เกตโดยใช้ ของสิง่ ต่างๆ -การบอกและ ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรยี บเทยี บ ประสาทสมั ผสั กจิ กรรมหรอื ช่วงเวลา ความแตกตา่ งหรือความเหมอื น ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรยี บเทียบ - การสังเกตล สว่ นประกอบ ของสงิ่ ต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ ความแตกตา่ งหรอื ความเหมอื น เปล่ียนแปลงค ของส่ิงตา่ งๆโ สงั เกตพบเพยี งลักษณะเดียว ของส่งิ ต่างๆโดยใชล้ ักษณะที่ สมั ผสั อย่างเห -การเล่นกบั ส ๑๐.๑.๓ จำแนกและจดั กลุม่ ส่งิ สงั เกตพบสองลกั ษณะขนึ้ ไป ทรงกลม ทรง ฉาก ทรงกระ ต่างๆโดยใช้อย่างน้อยหน่ึง ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกล่มุ ส่งิ ลักษณะเปน็ เกณฑ์ ตา่ งๆโดยใชต้ ้ังแต่สองลกั ษณะ ขึน้ ไปเป็นเกณฑ์
สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช่ือหน่วย การณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ อนบุ าล ๒ หน่วย ประสาทสมั ผสั ทง้ั หา้ ะแสดงตำแหน่ง -ชอ่ื ลกั ษณะ สว่ นประกอบ การ หน่วย คณติ ศาสตร์แสนสนุก หนว่ ย วิทยาศาสตรน์ า่ รู้ ระยะทางของสิ่ง เปลย่ี นแปลงและความสมั พันธ์ หนว่ ย สีสนั มหศั จรรย์ หน่วย ผเี สื้อแสนสวย ารกระทำ ของสัตว์ หน่วย สตั วโ์ ลกน่ารัก หน่วย กลางวัน กลางคืน พถ่ายและ -ชอื่ ลักษณะ สี ผวิ สัมผัส ขนาด หน่วย ต้นไม้ทรี่ ัก หน่วย ฤดหู นาว รูปรา่ ง รปู ทรง ปรมิ าตร น้ำหนกั หนว่ ย ปรากฏการณธ์ รรมชาติ หนว่ ย ธรรมชาตแิ ละสิ่งมชี วี ิต ะแสดงอนั ดับท่ี จำนวนสว่ นประกอบ หน่วย การเดินทางแสนสนกุ -การเปลย่ี นแปลงและ ะเรยี งลำดับ ความสมั พันธ์ของสิ่งตา่ งๆ อเหตกุ ารณต์ าม รอบตวั -การเปลย่ี นแปลงและ ลักษณะ ความสัมพนั ธข์ อง เวลา บการ -การเลือกใช้ยานพาหนะทีใ่ ชอ้ ยู่ ความสัมพนั ธ์ ในชวี ติ ประจำวนั อย่างประหยดั โดยใชป้ ระสาท ปลอดภัยและรักษาส่งิ แวดล้อม หมาะสม -การเลอื กใชก้ ารคมนาคมท่ีใช้ ส่ือตา่ งๆ ที่เปน็ อยใู่ นชีวิตประจำวนั อยา่ ง งสีเหล่ยี มมุม ประหยดั ปลอดภัยและรักษา ะบอก กรวย สิง่ แวดล้อม
มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานการเรียนรู้ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชนั้ อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก (ต่อ) ๑๐.๑.๔ เรียงลำดับสง่ิ ของ หรือ ๑๐.๑.๔ เรยี งลำดับส่งิ ของ หรือ - การคดั แยก การ จำแนกส เหตกุ ารณ์อยา่ งนอ้ ย ๔ ลำดบั เหตกุ ารณ์อยา่ งนอ้ ย ๕ ลำดับ ลกั ษณะและร - การนับและ ของส่ิงตา่ งๆ ชีวติ ประจำวัน - การรวมและ ตา่ งๆ – การเปรียบ เรยี งลำดับ จ ตา่ ง ๆ - การชง่ั ตวง โดยใชเ้ ครือ่ งม ไม่ใช่หน่วยมา - การจบั คู่ กา และการเรยี ง ๆ ตามลักษณ ความสงู น้ำห
สาระการเรยี นรรู้ ายปี ชอื่ หนว่ ย การณ์สำคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้ อนุบาล ๓ หนว่ ย ประสาทสัมผสั ก การจดั กลมุ่ หน่วย คณิตศาสตร์นา่ รู้ หนว่ ย ผเี สอื้ หน่วย สตั ว์ สง่ิ ตา่ งๆ ตาม หนว่ ย ระยะทาง หนว่ ย คมนาคม รูปต่าง รูปทรง หนว่ ย ดอกไมห้ ลากสี หนว่ ย กลางวัน กลางคนื ะแสดงจำนวน หน่วย ฉันรกั ฤดูหนาว หนว่ ย ต้นไม้ทร่ี ัก ใน หน่วย วทิ ยาศาสตรน์ ่ารู้ หนว่ ย การอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม น ะการแยกสงิ่ บเทียบและ จำนวนของสิ่ง ง วดั สงิ่ ตา่ งๆ มอื และหนว่ ยที่ าตรฐาน ารเปรียบเทียบ งลำดบั ส่ิงตา่ ง ณะความยาว / หนกั ปริมาตร
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ที่เป็นพ้ืนฐานการเรียนรู้ ตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ชั้นอนุบาล 2(4-5ป)ี ชั้นอนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๐.๒ มี ๑๐.๒.๑ ระบสุ าเหตหุ รอื ผลที่ ๑๐.๒.๑ อธิบายเชื่อมโยง - การพดู อธิบ สงิ่ ของ เหตุก ความสามารถ เกดิ ข้ึนในเหตุการณห์ รอื การ สาเหตแุ ละผลท่ีเกิดขน้ึ ใน ความสัมพนั ธ - การใชภ้ าษา ในการคิดเชิง กระทำเมื่อมีผู้ช้แี นะ เหตกุ ารณ์หรือการกระทำดว้ ย คณติ ศาสตร์ก ในชวี ติ ประจำ เหตุผล ๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเน ตนเอง - การคาดเดา คาดคะเนสง่ิ ท สงิ่ ท่อี าจจะเกดิ ข้ึนหรือมสี ่วน ๑๐.๒.๒ คาดคะเนส่งิ ท่ี อาจจะ อย่างมีเหตผุ ล - การอธิบายเ รว่ มในการลงความเหน็ จาก เกิดข้ึนและมีส่วนร่วมในการลง สาเหตุและผล เหตกุ ารณห์ ร ข้อมลู ความเหน็ จากขอ้ มลู อยา่ งมี เหตผุ ล
สาระการเรยี นร้รู ายปี ชอื่ หน่วย การณ์สำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หน่วย คณติ ศาสตร์แสนสนุก บายเกย่ี วกับ - การเปลี่ยนแปลงและ หน่วย วทิ ยาศาสตรน์ ่ารู้ หนว่ ย สีสนั มหศั จรรย์ การณ์ และ ความสัมพันธข์ องสงิ่ ตา่ งๆ หน่วย อากาศน่ารู้ หน่วย ฤดูหนาว ธ์ของสง่ิ ต่างๆ รอบตวั หนว่ ย กลางวัน กลางคืน หนว่ ย เทคโนโลยีกา้ วไกล าทาง - ประโยชน์ การใช้งาน และ อนบุ าล ๓ หน่วย คณิตศาสตร์นา่ รู้ กับเหตกุ ารณ์ การเลือกใช้ยานพาหนะ การ หน่วย ระยะทาง หนว่ ย รุ้งกนิ นำ้ ำวนั คมนาคมท่ใี ช้อยู่ใน หนว่ ย กลางวนั กลางคนื หนว่ ย ดอกไมห้ ลากสี าหรือการ ชีวิตประจำวนั อย่างประหยดั หนว่ ย เทคโนโลยีนา่ รู้ หน่วย วิทยาศาสตร์น่าร ท่ีอาจเกิดขน้ึ และปลอดภัย ล - การเปลี่ยนแปลงและ เช่ือมโยง ความสมั พันธ์ของมนุษย์ สตั ว์ ลท่ีเกิดขน้ึ ใน พืช รอื การกระทำ
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเี่ ปน็ พ้ืนฐานการเรยี นรู้ ตัวบ่งชี้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ชั้นอนบุ าล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๐.๓ มี ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรอ่ื งง่ายๆ - มีสว่ นร่วมใน ความเห็นจาก ความสามารถ และเริ่มเรยี นรผู้ ลท่เี กิดขน้ึ และยอมรบั ผลทเี่ กดิ ขึน้ เหตุผล - การตดั สนิ ใจ ในการคิด ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญั หาและ ๑๐.๓.๒ ระบุปญั หาสร้าง ร่วมในกระบว แก้ปัญหา แก้ปัญหา แกป้ ัญหาโดยลองผดิ ลองถกู ทางเลอื กและเลือกวิธีแก้ปัญหา - การมีส่วนร วธิ ีการแกป้ ัญ และตดั สนิ ใจ - การมีส่วนร แก้ปญั หาควา
สาระการเรียนร้รู ายปี ชื่อหน่วย การณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ อนบุ าล ๒ หน่วย คณิตศาสตร์แสนสนุก นการลง - การรู้จกั แสดงความคิดเหน็ หนว่ ย วทิ ยาศาสตร์น่ารู้ หนว่ ย เทคโนโลยกี ้าวไกล กข้อมลู อยา่ งมี ของตนเองและรบั ฟงั ความ หนว่ ย ธรรมชาตแิ ละสิ่งมชี วี ิต อนบุ าล ๓ คดิ เห็นของผอู้ ่ืน หนว่ ย คณติ ศาสตร์น่ารู้ หน่วย เทคโนโลยนี ่ารู้ จและมสี ่วน - การใชภ้ าษาเพอื่ สือ่ หน่วย วิทยาศาสตรน์ า่ รู้ หน่วย การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม วนการ ความหมายในชวี ิตประจำวัน - การเคารพสิทธขิ องตนเอง รว่ มในการเลือก และผูอ้ ืน่ ญหา รว่ มในการ ามขดั แยง้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ชน้ั อนุบาล 2(4-5ป)ี ชั้นอนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๑.๑ เล่น / ๑๑.๑.๑ สรา้ งผลงานศลิ ปะเพ่อื ๑๑.๑.๑ สรา้ งผลงานศลิ ปะเพื่อ - การแสดงคว สร้างสรรคผ์ า่ ทำงานศลิ ปะ สือ่ สารความคดิ ความรสู้ ึกของ สอ่ื สารความคดิ ความรู้สึกของ - การเขยี นแล - การปนั้ ตาม ตนเองโดยมกี ารดดั แปลงและ ตนเองโดยมีการดดั แปลงและ - การประดษิ เศษวสั ดุ จนิ ตนาการ แปลกใหมจ่ ากเดมิ หรือมี แปลกใหมจ่ ากเดมิ และมี - การทำงานศ หรอื ส่ิงของเค และความคดิ รายละเอยี ดเพ่มิ ขึ้น รายละเอยี ดเพม่ิ ขึ้น มาใชซ้ ้ำหรอื แ กลบั มาใช้ใหม สร้างสรรค์ - การหยิบจับ การฉกี การต การร้อย วสั ด - การแสดงคว สร้างสรรคผ์ า่ - การสรา้ งสร ใชร้ ปู ร่าง รปู ท หลากหลาย
สาระการเรยี นรู้รายปี ชอ่ื หน่วย การณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ อนบุ าล ๒ หนว่ ย สสี ันมหัศจรรย์ วามคดิ -วิธีการใช้เคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ใน หน่วย ธรรมชาติและส่ิงมีชวี ติ หนว่ ย ต้นไม้ทร่ี กั านงานศลิ ปะ การทำงานศิลปะอยา่ งถกู วธิ ีและ หนว่ ย คณิตศาสตรแ์ สนสนกุ หน่วย วิทยาศาสตร์นา่ รู้ ละการเล่นกบั สี ปลอดภยั เช่น กรรไกร หนว่ ย ผเี ส้อื แสนสวย อนบุ าล ๓ ษฐส์ ง่ิ ต่างๆด้วย หน่วย ของเลน่ ของใช้ หน่วย เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้ ศลิ ปะท่นี ำวสั ดุ หนว่ ย ดอกไม้หลากสี ครื่องใชท้ ี่ใช้แลว้ หน่วย ตน้ ไม้ทร่ี ัก แปรรูปแลว้ นำ หนว่ ย การอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ม่ บการใช้กรรไกร ตดั การปะและ ดุ วามคดิ านงานศลิ ปะ รรคช์ นิ้ งานโดย ทรง จากวสั ดุท่ี
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ชนั้ อนุบาล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๑.๒ แสดง ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหวทา่ ทางเพ่ือ ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวท่าทางเพ่ือ - การเคลอื่ นไ - การเคลอ่ื นไ ทา่ ทาง/ ส่ือสารความคดิ ความร้สู ึกของ ส่อื สารความคดิ ความรู้สกึ ของ - การเคล่อื นไ อุปกรณ์ เคลอ่ื นไหว ตนเองอยา่ งหลากหลายหรอื ตนเองอย่างหลากหลายและ - การแสดงคว สร้างสรรคผ์ า่ ตาม แปลกใหม่ แปลกใหม่ ท่าทางการเค ศิลปะ จนิ ตนาการ - การเคลื่อนไ ตนเองไปในท อย่าง และพืน้ ท่ี - การเคลอื่ นไ สร้างสรรค์ เสียงเพลง/ดน - การฟงั เพลง และการแสดง โตต้ อบเสียงด
สาระการเรยี นรู้รายปี ช่ือหนว่ ย การณส์ ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หนว่ ย รา่ งกายของหนู ไหวอย่กู ับที่ - การเคล่ือนไหวรา่ งกายใน หน่วย ตัวเรา หนว่ ย อารมณ์ของฉนั ไหวเคลอ่ื นท่ี ทิศทางระดบั และพ้ืนทีต่ ่างๆ หนว่ ย ประสาทสมั ผสั ทง้ั ห้า หนว่ ย การเดินทางแสนสนกุ ไหวพรอ้ มวสั ดุ - การแสดงทา่ ทางตา่ งๆ ตาม อนบุ าล ๓ หน่วย วัยทีเ่ ปล่ยี นแปลง ความคดิ ของตนเอง หน่วย เรียนรู้รา่ งกาย หนว่ ย ต่างความคิดต่างความตอ้ งการ วามคดิ านภาษา คล่ือนไหวและ ไหวโดยควบคุม ทิศทาง ระดบั ไหวตาม นตรี ง การร้องเพลง งปฏิกิริยา ดนตรี
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติท่ีดีต่อการเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความ ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชนั้ อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๒.๑ มีเจต ๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกี่ยวกบั ๑๒.๑.๑ หยิบหนงั สือมาอ่าน - การอ่านหน คตทิ ีด่ ตี อ่ การ สัญลักษณ์หรือตวั หนงั สอื ทพ่ี บ และเขียนสือ่ ความคดิ ด้วยตนเอง นิทานหลากห เรยี นรู้ เห็น เปน็ ประจำอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รปู แบบ ๑๒.๑.๒ กระตือรือรน้ ในการเข้า ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน้ ในการ - การอ่านอย ร่วมกจิ กรรม รว่ มกจิ กรรมตัง้ แตต่ ้นจนจบ ลำพงั การอ่า อา่ นโดยมผี ้ชู ้แี - การใหค้ วาม ปฏบิ ัติกิจกรร
มรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวัย สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช่ือหนว่ ย การณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้ อนบุ าล ๒ หน่วย ครอบครวั แสนสุข นังสือภาพ - การปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชกิ ทีด่ ี หน่วย วิทยาศาสตรน์ ่ารู้ หนว่ ย โรงเรยี นของเรา หลายประเภท/ ของครอบครัวและโรงเรยี น หน่วย คณิตศาสตรแ์ สนสนกุ อนุบาล ๓ - ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกับการใช้ หน่วย สายใยครอบครัว หน่วย โรงเรยี นแสนสขุ ย่างอสิ ระตาม หนงั สือและตัวหนงั สอื หน่วย คณติ สตรน์ า่ รู้ หนว่ ย อาชีพต่างๆ านร่วมกัน การ - การกำกับตนเอง หนว่ ย วิทยาศาสตร์น่ารู้ แนะ - การแสดงมารยาททด่ี ี มรว่ มมือในการ รมตา่ งๆ
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ การเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ช้นั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑๒.๒ มี ๑๒.๒.๑ คน้ หาคำตอบของขอ้ ๑๒.๒.๑ คน้ หาคำตอบของข้อ - การสำรวจส ความสามารถ สงสัยตา่ งๆ ตามวิธีการของ สงสยั ตา่ งๆ ตามวิธกี ารท่ี แหลง่ เรยี นร้รู ในการ ตนเอง หลากหลายด้วยตนเอง - การสบื เสาะ แสวงหา ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำถามวา่ ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคคำถามว่า ค้นหาคำตอบ ความรู้ “ที่ไหน” “ทำไม” ในการคน้ หา “เม่ือไร” อยา่ งไร” ในการค้นหา ตา่ ง ๆ คำตอบ คำตอบ - การตัง้ คำถา สนใจ - การมีสว่ นร รวบรวมข้อม ขอ้ มลู จากกา ความรู้ในรปู แ แผนภูมอิ ยา่ ง
มรูไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมกบั วัย สาระการเรียนร้รู ายปี ชอื่ หนว่ ย การณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ส่งิ ต่างๆ และ - การเลือกใชก้ ารส่ือสารต่างๆ ท่ี อนุบาล ๒ รอบตัว ใชอ้ ยู่ในชีวิตประจำวัน หนว่ ย คณิตศาสตรแ์ สนสนกุ ะหาความรเู้ พ่อื - การใชภ้ าษาเพื่อสือ่ หน่วย วทิ ยาศาสตร์นา่ รู้ บของข้อสงสยั ความหมายในชีวติ ประจำวนั หนว่ ย ธรรมชาตแิ ละส่ิงมชี วี ติ - แหล่งเรยี นรจู้ ากภูมปิ ัญญา หนว่ ย อากาศน่ารู้ ามในเรอ่ื งท่ี ท้องถิ่นอนื่ ๆ หน่วย ฤดูหนาว หน่วย ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ร่วมในการ หนว่ ย เทคโนโลยกี า้ วไกล มลู และนำเสนอ หนว่ ย ฤดูฝนจา๋ ารสบื เสาะหา อนุบาล ๓ แบบต่างๆและ หน่วย คณิตศาสตร์น่ารู้ งง่ายได้ หน่วย ระยะทาง หนว่ ย ฉนั รักฤดูหนาว หน่วย สื่อสารทนั เหตุการณ์ หน่วย วิทยาศาสตร์นา่ รู้ หนว่ ย การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม
การจดั ประสบการณ์ การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณา การผา่ นการ เลน่ การลงมอื กระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลายเกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไม่จัดเป็น รายวชิ าโดยมีหลักการ และแนวทางการจัดประสบการณ์ ดงั น้ี ๑. หลักการจัดประสบการณ์ ๑.๑ จดั ประสบการณก์ ารเลน่ และการเรียนรู้หลากหลาย เพื่อพฒั นาเดก็ โดยองค์รวมอย่าง สมดลุ และต่อเนอ่ื ง ๑.๒ เนน้ เดก็ เปน็ สำคัญสนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและ บริบทของสังคมทเี่ ด็กอาศัยอยู่ ๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการ ของเดก็ ๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของ การจัดประสบการณพ์ รอ้ มทั้งนำผลการประเมนิ มาพัฒนาเดก็ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ๑.๕ ใหพ้ ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝาุ ยทเี่ กี่ยวข้องมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาเดก็ ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ ๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมองท่ี เหมาะสมกับอายุวุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพื่อให้เด็กทุกคนได้พัฒนาเต็มตาม ศกั ยภาพ ๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำเรียนรู้ ผา่ นประสาท สมั ผัสท้ังห้า ไดเ้ คลื่อนไหว สำรวจ เล่น สังเกต สืบคน้ ทดลอง และคิด แกป้ ัญหาด้วยตนเอง ๒.๓ จดั ประสบการณ์แบบบูรณาการโดยบรู ณาการทง้ั กจิ กรรมทักษะและสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอ ความคิดโดยครู หรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้สนับสนุนอำนวยความสะดวกและ เรยี นรรู้ ว่ มกับเด็ก ๒.๕ จดั ประสบการณ์ให้เด็กมปี ฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืนกับผู้ใหญ่ ภายใตส้ ภาพแวดล้อมที่เอื้อ ตอ่ การเรียนรใู้ นบรรยากาศทีอ่ บอุ่นมีความสขุ และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือ ในลักษณะตา่ งๆกัน ๒.๖ ประสบการณใ์ หเ้ ด็กมีปฏสิ ัมพันธก์ ับส่อื และแหล่งการเรียนรู้หลากหลายและอยู่ในวิถี ชวี ิตของเดก็ ๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวันตลอดจน สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ อย่างต่อเน่อื ง
๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่ดีการวางแผนไวล้ ว่ งหน้าและแผนท่ีเกิดขึ้นในสภาพ จริงโดยไมไ่ ด้คาดการณไ์ ว ๒.๙ จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก เป็นรายบคุ คล นำมาไตรต่ รองและใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและการวิจัย ในชนั้ เรียน ๒.๑๐ จัดประสบการณโ์ ดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชมุ ชนมีสว่ นรว่ มทัง้ การวางแผน การ สนบั สนุน สอ่ื แหล่งเรยี นรู้ การเขา้ ร่วมกิจกรรม และการประเมินพฒั นาการ การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยของโรงเรียนบ้านทับกุมารทอง แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื หน่วยการเรียนรู้ (Unit) และการจัดการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ (CCE) 1. หน่วยการเรียนรู้ เป็นการจัดประสบการณ์ซึ่งครูผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมโดย บูรณาการ สาระการเรียนรู้ตามหน่วยการสอนที่กำหนดกับสาระการเรยี นรู้ซึง่ เป็นทกั ษะทีจ่ ำเป็นตาม สาระการเรียนรู้รายปีโดยออกแบบกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได ้แก่กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์กิจกรรมสร้างสรรค์กิจกรรมเสรีกิจกรรมกลางแจ้งและกิจกรรมเกมส์ การศกึ ษา 2. การจัดการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั (CCE) ด้านสภาพแวดล้อม มีอุปกรณ์จัดเก็บอย่างมีระบบสะอาดปลอดภัย สร้างแรงจูงใจให้เด็ก อยากเรยี น เอ้ือต่อการจัดกจิ กรรมหลากหลายรปู แบบและกระตนุ้ ความอยากร้อู ยากเหน็ ของเด็ก ด้านครู มีสัมพันธภาพที่ดีต่อเด็ก สนับสนุนผู้เรียนตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและเข้าใจพัฒนาการของเด็ก ด้านนักเรียน มีความสุขในการเรียน เคารพในกฎกติกา กล้าคิดกล้าตัดสินใจกล้า แสดงออกและสามารถ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ด้านหลักสตู ร มีการจัดกจิ กรรมท่ีหลากหลาย จัดกจิ กรรมบรูณาการเรียนรู้จากการปฏิบัติ จรงิ มีการประเมินผลทห่ี ลากหลายและกระตนุ้ กระบวนการคิด ๓. การจัดกิจกรรมประจำวนั กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปีบริบูรณ์สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลาย รูปแบบเป็นการช่วย ให้ครูผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทำกิจกรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร ทั้งนี้ การจัดกิจกรรม ประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมใน การนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้ ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านการจัดกิจกรรมประจำวันมีหลักการจัดและขอบข่ายกิจกรรมประจำวัน ดังน้ี ๓.๑ หลกั การจัดกจิ กรรมประจำวนั ๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กใน แตล่ ะวันแต่ยดื หยนุ่ ไดต้ ามความต้องการและความสนใจของเด็ก เช่น วยั ๓-๔ ปมี ีความสนใจชว่ งสนั้ ประมาณ ๘-๑๒ นาที วั ย ๔-๕ ปี มีความสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒-๑๕ นาที วยั ๕-๖ ปมี ีความสนใจอยู่ไดป้ ระมาณ ๑๕-๒๐ นาที
๒. กจิ กรรมทต่ี อ้ งใช้ความคิดท้ังในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไมค่ วรใช้เวลาต่อเนื่องนาน เกนิ กวา่ ๒๐ นาที ๓. กิจกรรมท่เี ดก็ มีอสิ ระเลือกเลน่ เสรีเพือ่ ช่วยใหเ้ ดก็ รจู้ ักเลือกตัดสนิ ใจ คิดแก้ปัญหา คิดสรา้ งสรรค์ เช่น การเล่นตามมมุ การเลน่ กลางแจ้ง ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที ๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้ กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมทีเ่ ป็นรายบคุ คล กลุ่มย่อยและกลุม่ ใหญ่ กิจกรรมทีเ่ ดก็ เปน็ ผู้รเิ รมิ่ และครูผ้สู อนหรือผจู้ ัดประสบการณ์เป็นผู้ริเรม่ิ และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไมใ่ ช้กำลังจัดให้ครบ ทุกประเภท ทั้งนี้กิจกรรมที่ต้องออกกำลังกายควรจัดสลับกับกิจกรรมที่ไม่ต้องออกกำลังมากนักเพื่อ เดก็ จะไดไ้ ม่เหนอ่ื ยเกนิ ไป ๓.๒ ขอบขา่ ยของกจิ กรรมประจำวัน การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ท่ีสำคัญครผู สู้ อนต้องคำนึกถึง การจดั กจิ กรรมให้ครอบคลุมพฒั นาการ ทกุ ด้าน ดงั ต่อไปนี้ ๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว ความ ยืดหยุ่น ความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ โดยจดั กิจกรรมใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นอสิ ระกลางแจ้ง เล่นเครื่องเล่นสนามปีนป่ายเล่นอิสระ เคลอ่ื นไหวร่างกาย ตามจังหวะดนตรี ๓.๒.๒ การพัฒนาการกลา้ มเน้ือเล็ก เป็นการพัฒนาความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อมือนิ้วมือการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่าง คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม และใช้ อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พกู่ ัน ดินเหนยี ว ฯลฯ ๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการ ปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่นมีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและ ศาสนาที่นับถือโดยจัดกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเล่นให้ เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการ ตอบสนองตามความต้องการไดฝ้ ึกปฏิบตั โิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่าง ต่อเนอื่ ง ๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออก อย่างเหมาะสมและอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุขช่วยเหลอื ตนเองในการทำกิจวตั รประจำวันมีนิสัย รักการทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอันตรายจากคน แปลกหน้าให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่าง สม่ำเสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอน หลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลงของ รว่ มรวม เกบ็ ของเข้าท่ีเม่อื เล่นหรือทำงานเสร็จ ๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาใหเ้ ด็กมคี วามสามารถในการคิดแกป้ ัญหา ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์และคดิ เชิงเหตผุ ลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยจัดกิจกรรม ให้เด็กได้สนทนา อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานท่ี
เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทำกิจกรรม ท้ังเปน็ กลุ่มย่อย กลุ่มใหญแ่ ละรายบคุ คล ๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึก นึกคิด ความรู้ ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้ กลา้ แสดงออกในการฟัง พดู อา่ น เขยี น มนี สิ ยั รัก การอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ในการใชภ้ าษา ทั้งนี้ต้องคำนึกถึงหลกั การจดั กจิ กรรมทางภาษาที่เหมาะสมกับเดก็ เป็นสำคญั ๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมี ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดย จัดกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ดนตรี การเคล่อื นไหวและจงั หวะตามจินตนาการ ประดษิ ฐ์สิ่งต่างๆ อย่าง อสิ ระ เลน่ บทบาทสมมตุ ิ เล่นน้ำเลน่ ทราย เล่น บล็อก และเล่นก่อสรา้ ง การกำหนดเวลาของแต่ละกิจกรรมเพื่อจัดทำตารางกิจกรรมประจำวันสามารถดำเนินการได้ หลากหลายรูปแบบ ขึ้นกับความเหมาะสม ประเด็นสำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงความครอบคลุม พัฒนาการทกุ ดา้ น ขอ้ เสนอแนะเพ่อื พิจารณาโดยประมาณซ่ึงสามารถยดื หยุ่นได้ ดังนี้ รายการการพัฒนา อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ช่วั โมง : วัน ช่ัวโมง : วัน ชว่ั โมง : วนั ๑.การพัฒนาทักษะพื้นฐานใน (ประมาณ) (ประมาณ) (ประมาณ) ชีวิตประจำวัน (รวมท้ังการช่วยตัวเอง ในการแตง่ กาย การรับประทานอาหาร ๓ ๒ ๑/๒ ๒ ๑/๔ สุขอนามัยและการนอนผกั ผอ่ น) ๒. การเลน่ เสรี ๑ ๑ ๑ ๓. การคดิ และความคดิ สร้างสรรค์ ๑ ๑ ๑ ๔. กิจกรรมดา้ นสงั คม ๑/๒ ๓/๔ ๑ ๕. กจิ กรรมพัฒนากลา้ มเนอื้ ใหญ่ ๓/๔ ๓/๔ ๓/๔ ๖. กจิ กรรมที่มีการวางแผนโดยผู้สอน ๓/๔ ๑ ๑ เวลาโดยประมาณ ๗ ๗ ๗ สาหรบั ทกั ษะพืน้ ฐานชีวิตในประจาวนั อายุ ๓ ขวบ จะใชเ้ วลามากกว่า เม่ืออายุมากขึน้ เวลาจะลดลง เพราะเดก็ สามารถชว่ ยเหลือตนเอง อายุ ๓ ขวบ มีกจิ กรรมทางสงั คมท่ตี อ้ งฝึกการอย่รู ว่ มกบั ผอู้ นื่ ใชเ้ วลานอ้ ยลง
กจิ กรรมประจำวนั ของโรงเรยี น เวลา กิจกรรม ขอบขา่ ยของกจิ กรรม 7.00 - 7.45 น. รบั เดก็ - ทักทายและสนทนากับเดก็ เป็นรายบคุ คล - ตรวจสุขภาพเด็กดูแลความสะอาดของร่างกาย เครอื่ งแตง่ กาย - สนทนากับผูป้ กครองซึ่งมาส่งเดก็ - เลอื กเล่นเกมการศกึ ษาตามความสนใจ 7.45 - 8.00 น. เข้าแถว - เขา้ แถว เคารพธงชาติสวดมนต์นงั่ สมาธิ 8.00 - 8.15 น. กิจธุระส่วนต ัว - เขา้ ห้องน้ำ - ด่ืมน้ำและเตรียมพร้อมสำหรับร่วมกิจกรรม 8.15 - 8.30 น. สนทนาข่าวและ - สำรวจการมาโรงเรียน เหตุการณ์ - ทำปฏิทนิ ประจำวัน /สำรวจสภาพอากาศประจำว ัน - สนทนาขา่ วและเหตกุ ารณ์ท่องคำคลอ้ งจอง 8.30 - 9.00 น กิจกรรมเคล่อื นไหว - การเคล่ือนไหวพนื้ ฐาน และจงั หวะ - การเล่นเลยี นแบบท่าทางการเคลื่อนไหวต่างๆ - การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลงและจงั หวะของดนตรี - การทำทา่ ทางประกอบเพลง - กายบริหาร - การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์อย่างอิสระหรือใช้ อปุ กรณ์ประกอบ - การฟงั สัญญาณแล้วปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง - การแสดงท่าทางตามคำบรรยายเร่ืองราวและ จนิ ตนาการ - การฝกึ การเป็นผนู้ ำผตู้ าม 9.00 - 9.30 น. ก ิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม - การสนทนาซักถามและแสดงความคิดเห็น ประสบการณ์ - การเลา่ นิทาน เรื่องราวขา่ วและเหตกุ ารณ์ - การเล่นบทบาทสมมติ - การทอ่ งคำคลอ้ งจองคำกลอน /การรอ้ งเพลง - การสาธิต - การทดลอง - การประกอบอาหาร ฯลฯ 9.30 – 9.40 น. พัก -ด่มื นำ้ - เขา้ ห้องน้ำ
เวลา กจิ กรรม ขอบข่ายของกิจกรรม 9.40 - 11.00 น. กจิ กรรมสร้างสรรค์ กจิ กรรมมุม - เลอื กทำกจิ กรรมสร้างสรรค์ดังนี้ 11.00 – 11.30 น. ประสบการณ์ - การวาดภาพระบายสี ด้วยสีเทยี น สีน้ำดนิ สอสี ฯลฯ 11.30 – 12.00 น. กจิ กรรมเกมส์ - การเลน่ และทดลองเกย่ี วกับสี 12.00 – 12.20 น. การศึกษา - การพิมพ์ภาพ 12.20 – 14.00 น. - การปนั้ 14.00 – 14.15 น. รับประทานอาหาร - การพบั ฉกี ตัด ปะ สาน มว้ น 14.15 – 14.30 น. กิจกรรมกลางแจ้ง - การประดษิ ฐ์ ฯลฯ 14.30 – 15.30 น. - เลอื กเลน่ ตามมุมประสบการณ์ทจี่ ดั ไว้ในห้องเรยี น กิจธุระสว่ นตัว อย่างอิสระ - เลอื กเลน่ เกมการศึกษาตามความสนใจ พกั ผอ่ น - เด็กช่วยกนั เก็บของเลน่ เขา้ ที เกมส์การศึกษา เด็กรับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน พกั เตรียมตัวกลับบา้ น - การเล่นอสิ ระในสนาม/เลน่ เคร่ืองเลน่ สนาม - - การเลน่ อปุ กรณ์กีฬาสำหรบั เด็ก - ลา้ งหน้าแปรงฟนั เข้าห้องน้ำ - เกบ็ ของใช้สว่ นตัวและปูท่ีนอน - เดก็ นอนพักผอ่ นหรือทำกิจกรรมสงบ - เกบ็ ที่นอน - ลา้ งหน้า หวีผม แต่งตวั ให้เรียบร้อย - แจกการบ้าน และเลน่ เกมส์การศกึ ษา - สง่ เด็กทีผ่ ปู้ กครองมรบั กลบั บา้ น - สนทนากับผูป้ กครองซ่ึงมารับเดก็ การจัดสภาพแวดล้อม สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษามีความสำคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กในวัยน้ี สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้นการจัดเตรียม สิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็กจึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและ การเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็นประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วย ประสาทสัมผัสทั้งห้าจึงจำเป็นต้องจัดส่ิงแวดล้อม ในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความ ตอ้ งการของหลกั สูตร เพ่ือสง่ ผลให้บรรลุจดุ หมายในการพัฒนาเดก็ การจดั สภาพแวดลอ้ มคำนงึ ถงึ ส่ิงตอ่ ไปน้ี ๑. ความสะอาด ความปลอดภัย ๒.ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น ๓.ความสะดวกในการทำกจิ กรรม
๔. ความพรอ้ มของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรยี น ห้องน้ำหอ้ งสว้ ม สนามเด็กเล่น ฯลฯ ๕. ความเพียงพอเหมาะสมในเร่ืองขนาด น้ำหนัก จำนวน สขี องสอ่ื และเคร่ืองเลน่ ๖. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดที่เล่นและมุมประสบการณ์ต่างๆ สภาพแวดล้อมภายใน หอ้ งเรียน หลักสำคัญในการจัดต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก ความเป็นระเบียบ ความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สกึ อบอุ่น มั่นใจ และมีความสุข ซึ่งอาจ จดั แบ่งพ้นื ที่ใหเ้ หมาะสมกับการประกอบกจิ กรรมตามหลักสตู ร ดงั น้ี ๑. พนื้ ทอี่ ำนวยความสะดวกเพือ่ เดก็ และผ้สู อน ๑.๑ ท่ีแสดงผลงานของเดก็ อาจจดั เป็นแผ่นป้ายหรอื ทแ่ี ขวนผลงาน ๑.๒ ท่เี กบ็ แฟ้มผลงานของเดก็ อาจจัดทำเปน็ กล่องหรือจัดใส่แฟม้ รายบคุ คล ๑.๓ ทเ่ี ก็บเครื่องใชส้ ว่ นตัวของเด็ก อาจทำเป็นชอ่ งตามจำนวนเด็ก ๑.๔ ทเ่ี กบ็ เครื่องใช้ของผูส้ อน เช่น อปุ กรณก์ ารสอน ของส่วนตวั ผู้สอน ฯลฯ ๑.๕ ป้ายนเิ ทศตามหนว่ ยการสอนหรือสิ่งท่เี ดก็ สนใจ ๒. พื้นที่ปฏิบัติกจิ กรรมและการเคลื่อนไหว ต้องกำหนดให้ชัดเจน ควรมีพื้นที่ทีเ่ ด็กสามารถ จะทำงานได้ด้วยตนเอง และทำกิจกรรมด้วยกันในกลุ่มเล็กหรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้ อย่างอสิ ระจากกิจกรรมหน่ึงไปยงั กจิ กรรมหนึ่งโดยไมร่ บกวนผู้อน่ื ๓. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสภาพ ของห้องเรียน จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงียบออกจากกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มุมศิลปะฯลฯ ที่สำคัญจะต้องมีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ในมุมอย่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรีมักถูกกำหนดไว้ใน ตารางกิจกรรมประจำวันเพื่อให้โอกาสเด็กได้เล่นอย่างเสรีประมาณวันละ ๖๐ นาที การจัดมุมเล่น ตา่ งๆ ผสู้ อนควรคำนึงถึงส่งิ ตอ่ ไปน้ี ๓.๑ ในหอ้ งเรยี นควรมีมุมเลน่ อยา่ งนอ้ ย ๓-๕ มมุ ท้ังนข้ี น้ึ อยู่กบั พน้ื ทข่ี องห้อง ๓.๒ ควรไดม้ ีการผลัดเปลยี่ นสื่อของเล่นตามมมุ บ้างตามความสนใจของเด็ก ๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ที่เด็กได้เรียนรู้ไปแล้วปรากฏอยู่ในมุมเล่น เช่น เด็กเรียนรู้ เรื่องผีเสื้อ ผู้สอนอาจจัดให้มีการจำลองการเกิดผีเสื้อล่องไว้ให้เด็กดูในมุมธรรมชาติศึกษาหรือมุม วทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึกเป็น เจา้ ของ อยากเรียนรู้ อยากเข้าเลน่ ๓.๕ ควรเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ให้กับเด็กโดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าเม่ือเล่นเสรจ็ แล้วจะต้องจัดเก็บ อุปกรณ์ทุกอย่างเข้าที่ให้เรียบร้อยสภาพแวดล้อมนอกห้องเรียนคือ การจัดสภาพแวดล้อมภายใน อาณาบริเวณรอบๆ สถานศึกษารวมทั้งจัดสนามเด็กเล่นพร้อมเครื่องเล่นสนาม จัดระวังรักษาความ ปลอดภัยภายในบริเวณสถานศึกษาและบริเวณรอบนอกสถานศึกษา ดูแลรักษาความสะอาด ปลูก ต้นไม้ให้ความร่มรื่นรอบๆบริเวณสถานศึกษา สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และ พฒั นาการของเดก็ บรเิ วณสนามเดก็ เลน่ ตอ้ งจดั ให้สอดคล้องกบั หลกั สูตร ดงั นี้
สนามเดก็ เล่น มีพนื้ ผิวหลายประเภท เชน่ ดนิ ทราย หญา้ พนื้ ทีส่ ำหรับเล่นของเล่น ที่มีล้อ รวมทั้งที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง พื้นดินสำหรับขุด ที่เล่นน้ำ บ่อทราย พร้อมอุปกรณ์ประกอบการเล่น เครื่องเล่นสนามสำหรับ ปีนป่าย ทรงตัว ฯลฯ ทั้งนี้ต้องไม่ติดกับบริเวณที่มีอันตราย ต้องหมั่นตรวจ ตราเครอ่ื งเลน่ ให้อยใู่ นสภาพแขง็ แรง ปลอดภัยอยู่เสมอ และหม่นั ดูแลเรอื่ งความสะอาด ที่นั่งเล่นพักผ่อน จัดที่นั่งไว้ใต้ต้นไม้มีร่มเงา อาจใช้กิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือ กิจกรรมที่ต้องการความสงบ หรืออาจจัดเป็นลานนิทรรศการให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองบริเวณ ธรรมชาติ ปลกู ไมด้ อก ไมป้ ระดับ พืชผัก สวนครัว หากบริเวณสถานศึกษา มไี มม่ ากนักอาจปลูกพืชใน กระบะหรอื กระถาง ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา ควรมสี อ่ื ทัง้ ทเ่ี ป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรอื ๓ มติ ิ ที่เป็นสอ่ื ของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่อื ที่ อย่ใู กล้ตัวเด็ก สอื่ สะทอ้ นวฒั นธรรม ส่ือทป่ี ลอดภยั ตอ่ ตัวเดก็ สอ่ื เพ่อื พัฒนาเด็กในด้านตา่ งๆให้ครบทุก ด้านสื่อท่ีเอื้อให้เด็กเรียน รู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้สื่อเร่ิมต้นจาก สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และสัญลักษณ์ทั้งนี้การใช้สื่อต้องเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ตัวอย่างสื่อประกอบการจัด กจิ กรรม มีดงั น้ี กจิ กรรมเสรี /การเลน่ ตามมมุ ๑. มมุ บทบาทสมมติ อาจจัดเปน็ มุมเล่นดงั น้ี ๑.๑ มุมบ้าน - ของเล่นเครื่องใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจำลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้ำ เขียง มีดพลาสติก หม้อ จาน ช้อน ถว้ ยชาม กะละมัง ฯลฯ - เครื่องเล่นต๊กุ ตา เส้ือผ้าตกุ๊ ตา เตยี ง เปลเด็ก ตุ๊กตา - เครื่องแต่งบ้านจำลอง เช่น ชุดรับแขก โต๊ะเครื่องแป้ง หมอนอิง กระจกขนาดเห็น เตม็ ตัว หวี ตลบั แปูง ฯลฯ - เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพต่าง ๆ ที่ใช้แล้ว เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร ตำรวจ ชุด เสอ้ื ผา้ ผ้ใู หญ่ชายและหญิง รองเท้า กระเป๋าถือท่ีไมใ่ ช้แล้ว ฯลฯ - โทรศัพท์ เตารีดจำลอง ท่ีรดี ผา้ จำลอง - ภาพถ่ายและรายการอาหาร ๑.๒ มุมหมอ - เครื่องเล่นจำลองแบบเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การรักษาผู้ปุวย เช่น หูฟัง เสื้อ คลมุ หมอ ฯลฯ - อปุ กรณส์ ำหรบั เลยี นแบบการบนั ทึกข้อมลู ผปู้ ่วย เช่น กระดาษ ดินสอ ฯลฯ
๑.๓ มมุ รา้ นคา้ - กล่องและขวดผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆที่ใชแ้ ลว้ - อุปกรณป์ ระกอบการเล่น เช่น เครอื่ งคิดเลข ลูกคดิ ธนบตั รจำลอง ฯลฯ ๒. มุมบลอ็ ก - ไม้บลอ็ กหรือแท่งไมท้ ี่มีขนาดและรปู ทรงตา่ งๆกัน จำนวนต้งั แต่ ๕๐ ช้ินข้ึนไป - ของเล่นจำลอง เชน่ รถยนต์ เคร่อื งบนิ รถไฟ คน สัตว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ - ภาพถ่ายตา่ งๆ - ทจ่ี ดั เกบ็ ไมบ้ ลอ็ กหรอื แทง่ ไม้อาจเป็นช้นั ลงั ไมห้ รือพลาสตกิ แยกตามรูปทรง ขนาด ๓. มุมหนังสือ - หนงั สือภาพนทิ าน สมุดภาพ หนงั สือภาพทีม่ คี ำและประโยคสนั้ ๆพร้อมภาพ - ชั้นหรือทวี่ างหนงั สอื - อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เช่น เสื่อ พรม หมอน ฯลฯ - สมดุ เซน็ ยมื หนังสอื กลบั บา้ น - อปุ กรณ์สำหรับการเขยี น - อุปกรณ์เสรมิ เชน่ เคร่อื งเล่นเทป ตลับเทปนทิ านพร้อมหนังสือนทิ าน หูฟงั ฯลฯ ๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรือมมุ ธรรมชาติศกึ ษา - วัสดตุ า่ งๆจากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพืชต่างๆ เปลือกหอย ดนิ หนิ แร่ ฯลฯ - เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ในการสำรวจ สงั เกต ทดลอง เช่น แว่นขยาย แมเ่ หล็ก เข็มทศิ เคร่ือง ชง่ั ฯลฯ ๕.มมุ อาเซยี น - ธงของแต่ละประเทศในกลุม่ ประเทศอาเซียน - คำกลา่ วทกั ทายของแตล่ ะประเทศ - ภาพการแตง่ กายประจำชาติในกลุม่ ประเทศอาเซยี น กิจกรรมสร้างสรรค์ ควรมีวัสดุ อปุ กรณ์ ดังนี้ ๑. การวาดภาพและระบายสี - สีเทยี นแทง่ ใหญ่ สีไม้ สีชอลก์ สนี ้ำ - พู่กนั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ ) - กระดาษ - เส้ือคลุม หรือผ้ากนั เปอ้ื น ๒. การเลน่ กับสี - การเปุาสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีน้ า - การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พกู่ นั สีน้ า - การพบั สี มี กระดาษ สนี ้ า พ่กู นั - การเทสี มี กระดาษ สนี ้ า - การละเลงสี มี กระดาษ สีน้ า แปงู เปยี ก
๓. การพิมพภ์ าพ - แม่พิมพต์ า่ ง ๆ จากของจรงิ เช่น น้ิวมอื ใบไม้ กา้ นกล้วย ฯลฯ - แม่พิมพจ์ ากวสั ดอุ นื่ ๆ เช่น เชือก เสน้ ดา้ ย ตรายาง ฯลฯ - กระดาษ ผ้าเช็ดมือ สโี ปสเตอร์ (สนี ้ำ สฝี ุน ฯลฯ) ๔. การปน้ั เช่น ดนิ น้ำมนั ดินเหนยี ว แป้งโดแผ่นรองป้นั แม่พิมพร์ ปู ตา่ ง ๆ ไมน้ วดแป้ง ฯลฯ ๕.การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆที่จะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก ปลายมน กาวน้ำหรอื แป้งเปียก ผ้าเช็ดมอื ฯลฯ ๖. การประดษิ ฐเ์ ศษวสั ดุ เช่น เศษวสั ดตุ า่ งๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว กรรไกร สี ผา้ เช็ดมอื ฯลฯ ๗. การรอ้ ย เชน่ ลกู ปัด หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ ๘.การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา้ ว ฯลฯ ๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสติกชิ้นเล็ก ๆ รูปทรงต่าง ๆ ผู้เล่นสามารถน ามาต่อ เป็นรูปแบบ ต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ ๑๐.การสร้างรูป เชน่ จากกระดานปกั หมุด จากแปูนตะปูที่ใชห้ นังยางหรือเชือกผูกดึงให้เป็น รปู ร่างตา่ ง ๆ เกมการศึกษา ตัวอย่างสื่อประเภทเกมการศกึ ษามดี ังนี้ ๑. เกมจับคู่ - จบั คูร่ ปู รา่ งทีเ่ หมือนกนั - จับคภู่ าพเงา - จบั คู่ภาพทซี่ ่อนอยู่ในภาพหลกั - จับคู่สิง่ ทมี่ คี วามสัมพันธ์กัน ส่ิงทีใ่ ช้คูก่ นั - จับคู่ภาพสว่ นเตม็ กับสว่ นยอ่ ย - จบั คู่ภาพกบั โครงรา่ ง - จับคู่ภาพชิ้นสว่ นทีห่ ายไป - จับค่ภู าพทเ่ี ปน็ ประเภทเดียวกัน - จับคภู่ าพที่ซอ่ นกนั - จบั คภู่ าพสัมพนั ธแ์ บบตรงกันขา้ ม - จบั คู่ภาพที่สมมาตรกนั - จับคแู่ บบอุปมาอุปไมย - จบั คู่แบบอนุกรม ๒. เกมภาพตดั ตอ่ - ภาพตัดต่อทสี่ มั พันธ์กับหน่วยการเรยี นตา่ งๆ เชน่ ผลไม้ ผกั ฯลฯ ๓. เกมจัดหมวดหมู่ - ภาพสง่ิ ต่างๆ ท่ีนำมาจัดเปน็ พวก ๆ - ภาพเกี่ยวกับประเภทของใช้ในชวี ติ ประจำวนั - ภาพจัดหมวดหมตู่ ามรปู รา่ ง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต
- เกมวางภาพตอ่ ปลาย (โดมโิ น) - โดมิโนภาพเหมือน - โดมโิ นภาพสัมพันธ์ ๕. เกมเรยี งลำดับ - เรยี งลำดับภาพเหตกุ ารณ์ต่อเนอ่ื ง - เรยี งลำดับขนาด ๖. เกมศกึ ษารายละเอยี ดของภาพ (ลอ็ ตโต้) ๗. เกมสจ์ บั คแู่ บบตารางสมั พนั ธ์ (เมตรกิ เกม) ๘. เกมพ้ืนฐานการบวก กิจกรรมเสริมประสบการณ์ /กจิ กรรมในวงกลม ตวั อยา่ งสอื่ มดี งั น้ี ๑. สอื่ ของจรงิ ที่อยใู่ กล้ตวั และส่ือจากธรรมชาตหิ รือวสั ดุท้องถิ่น เชน่ ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสือ้ ผ้า ฯลฯ ๒. สอ่ื ท่ีจำลองข้นึ เชน่ ลกู โลก ตุ๊กตา สัตว์ฯลฯ ๓. สอ่ื ประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ ๔. ส่ือเทคโนโลยี เช่น วิทยุ เครือ่ งบันทึกเสยี ง เครอื่ งขยายเสยี ง โทรศพั ท์ กิจกรรมกลางแจ้ง ตัวอยา่ งส่อื มีดังน้ี ๑. เครอ่ื งเลน่ สนาม เชน่ เคร่อื งเลน่ สำหรับปีนป่าย เครื่องเลน่ ประเภทลอ้ เลอื่ น ฯลฯ ๒. ท่ีเล่นทราย มีทรายละเอียด เครอื่ งเล่นทราย เครอ่ื งตวง ฯลฯ ๓. ที่เล่นน้ำมีภาชนะใส่น้ำหรืออ่างน้ำวางบนขาตั้งที่มั่นคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนได้พอดี เสอื้ คลมุ หรือผ้ากนั เปือ้ นพลาสติก อุปกรณ์เล่นน้ำ เชน่ ถว้ ยตวง ขวดต่างๆ สายยาง กรวย กรอกนำ้ ตุ๊กตา ยาง ฯลฯ กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะตัวอย่างส่อื มีดังนี้ ๑. เครื่องเคาะจังหวะ เช่นฉิ่ง เหล็กสามเหลี่ยม กรับ รำมะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ ประกอบการเคล่ือนไหว เช่น หนังสอื พมิ พ์ รบิ บนิ้ แถบผ้า ห่วง ๒. หวาย ถุงทราย ฯลฯ การเลอื กสอ่ื มีวธิ กี ารเลือกส่อื ดงั นี้ ๑. เลือกใหต้ รงกบั จุดมุ่งหมายและเรื่องทสี่ อน ๒. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก ๓. เลือกใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของท้องถนิ่ ทเี่ ด็กอย่หู รือสถานภาพของสถานศกึ ษา ๔. มีวิธกี ารใชง้ ่ายและนำไปใชไ้ ดห้ ลายกิจกรรม ๕. มคี วามถกู ตอ้ งตามเน้ือหาและทนั สมยั ๖. มีคุณภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไมใ่ ชส้ ีสะทอ้ นแสง ๗. เลอื กส่อื ที่เด็กเขา้ ใจง่ายในเวลาส้ัน ๆ ไมซ่ ับซ้อน ๘. เลือกส่ือที่สามารถสัมผัสได้ ๙. เลือกสื่อเพื่อใช้ฝึกและส่งเสริมการคิดเป็น ทำเป็น และกล้าแสดงความคิดเห็นด้วยความ ม่ันใจ
การจดั หาสื่อ สามารถจดั หาได้หลายวิธี คอื ๑. จัดหาโดยการขอยืมจากแหล่งต่างๆ เช่น ศูนย์สื่อของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือ สถานศึกษา เอกชน ฯลฯ ๒. จดั ซือ้ ส่อื และเคร่ืองเล่นโดยวางแผนการจัดซื้อตามลำดับความจำเปน็ เพ่ือให้สอดคล้องกับ งบประมาณที่ ทางสถานศกึ ษาสามารถจดั สรรใหแ้ ละสอดคลอ้ งกบั แผนการจัดประสบการณ์ ๓. ผลิตส่ือและเครื่องเล่นข้ึนใช้เองโดยใชว้ สั ดุทป่ี ลอดภัยและหาง่ายเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ ที่มี อยู่ในท้องถิ่น นั้นๆ เช่น กระดาษแข็งจากลังกระดาษ รูปภาพจากแผ่นปูายโฆษณา รูปภาพจาก หนังสือนิตยสารตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ขนั้ ตอนการดำเนนิ การผลติ สื่อสำหรบั เด็ก มีดังน้ี ๑. สำรวจความต้องการของการใชส้ ่ือใหต้ รงกับจดุ ประสงค์ สาระการเรียนรแู้ ละกจิ กรรมท่ีจัด ๒. วางแผนการผลิต โดยกำหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของสื่อให้เหมาะสมกับวัยและ ความสามารถของเดก็ ส่ือนน้ั จะต้องมคี วามคงทนแข็งแรง ประณีตและสะดวกตอ่ การใช้ ๓. ผลติ สื่อตามรูปแบบท่ีเตรยี มไว้ ๔. นำสือ่ ไปทดลองใชห้ ลาย ๆ คร้งั เพื่อหาขอ้ ดี ข้อเสยี จะไดป้ รับปรงุ แกไ้ ขให้ดีย่ิงขึ้น ๕. นำส่ือทปี่ รับปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปใชจ้ รงิ การใชส้ ื่อ ดำเนนิ การดังน้ี ๑. การเตรียมพร้อมกอ่ นใช้ส่อื มีข้ันตอน คือ ๑.๑ เตรียมตวั ผู้สอน - ผู้สอนจะตอ้ งศึกษาจุดมุง่ หมายและวางแผนวา่ จะจดั กจิ กรรมอะไรบา้ ง - เตรยี มจัดหาส่ือและศกึ ษาวธิ กี ารใชส้ ือ่ - จัดเตรยี มส่ือและวัสดุอื่น ๆ ที่จะต้องใชร้ ว่ มกนั - ทดลองใช้สอื่ กอ่ นนำไปใชจ้ รงิ ๑.๒ เตรยี มตัวเด็ก - ศกึ ษาความรูพ้ น้ื ฐานเดมิ ของเด็กใหส้ ัมพนั ธ์กบั เรื่องท่ีจะสอน - เรา้ ความสนใจเดก็ โดยใชส้ ่อื ประกอบการเรียนการสอน - ให้เดก็ มีความรับผิดชอบรู้จักใช้สื่ออยา่ งสร้างสรรค์ ไมใ่ ชท่ ำลายเลน่ แล้วเกบ็ ใหถ้ กู ที่ ๑.๓ เตรยี มส่อื ใหพ้ รอ้ มก่อนนำไปใช้ - จดั ลำดับการใชส้ อื่ ว่าจะใชอ้ ะไรก่อนหรอื หลัง เพอื่ ความสะดวกในการสอน - ตรวจสอบและเตรยี มเคร่ืองมือใหพ้ ร้อมท่จี ะใช้ได้ทนั ที - เตรียมวัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ช้รว่ มกับสอื่ ๒. การนำเสนอสื่อ เพื่อให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรม วงกลม /กจิ กรรมกลมุ่ ยอ่ ย ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๒.๑ สร้างความพรอ้ มและเร้าความสนใจใหเ้ ดก็ กอ่ นจดั กจิ กรรมทกุ ครง้ั ๒.๒ ใชส้ ่อื ตามลำดบั ขน้ั ของแผนการจัดกิจกรรมทีก่ ำหนดไว้ ๒.๓ ไม่ควรให้เด็กเห็นสื่อหลายๆชนิดพร้อมๆกัน เพราะจะทำให้เด็กไม่สนใจกิจกรรมท่ี สอน
๒.๔ ผูส้ อนควรยืนอยดู่ ้านข้างหรือด้านหลงั ของสื่อทใี่ ช้กับเด็ก ผู้สอนไมค่ วรยนื หันหลังให้ เด็ก จะตอ้ งพูดคุยกับเด็กและสงั เกตความสนใจของเด็ก พรอ้ มทงั้ สำรวจข้อบกพร่อง ของสอื่ ทใ่ี ช้ เพอื่ นำไปปรับปรุงแก้ไข ให้ดีขนึ้ ๒.๕ เปดิ โอกาสให้เดก็ ไดร้ ่วมใช้สอ่ื ขอ้ ควรระวังในการใชส้ ื่อการเรยี นการสอน การใชส้ ื่อในระดบั ปฐมวยั ควรระวงั ในเรอ่ื งต่อไปน้ี ๑.วสั ดทุ ี่ใช้ ต้องไม่มพี ิษ ไมห่ กั และแตกง่าย มีพ้ืนผวิ เรยี บ ไมเ่ ป็นเส้ยี น ๒.ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะยากต่อการหยิบยกอาจจะตกลงมาเสียหาย แตก เป็นอันตรายต่อเด็กหรือใช้ไม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โต๊ะ เก้าอี้ที่ใหญ่ และสูงเกินไป และไม่ ควรมีขนาดเล็กเกินไป เด็กอาจจะนำไปอมหรือกลืนทำให้ติดคอหรือไหลลงท้องได้ เช่น ลูกปัดเล็ก ลกู แก้วเลก็ ฯลฯ ๓. รูปทรง ไม่เปน็ รูปทรงแหลม รปู ทรงเหลย่ี ม เปน็ สนั ๔. น้ำหนัก ไม่ควรมีน้ำหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยิบไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตราย ตอ่ ตัวเด็ก ๕. สอื่ หลีกเลยี่ งส่ือท่เี ปน็ อนั ตรายต่อตัวเด็ก เช่น สารเคมี วตั ถไุ วไฟ ฯลฯ ๖. สี หลีกเลีย่ งสที ่ีเปน็ อนั ตรายต่อสายตา เชน่ สสี ะท้อนแสง ฯลฯ การประเมนิ การใชส้ ่ือ ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้สอน เด็ก และสื่อ เพื่อจะได้ทราบว่าสื่อนั้น ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด จะได้นำมาปรับปรุงการผลิตและการใช้สื่อให้ดียิ่งขึ้น โดยใช้วิธี สงั เกต ดงั นี้ ๑. ส่ือนั้นช่วยใหเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรู้เพยี งใด ๒. เด็กชอบสื่อน้นั เพยี งใด ๓. สื่อนั้นช่วยให้การสอนตรงกับจุดประสงค์หรือไม่ ถูกต้องตามสาระการเรียนรู้และทันสมัย หรอื ไม่ ๔. สือ่ นน้ั ชว่ ยให้เด็กสนใจมากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตใุ ด การเกบ็ รักษา และซอ่ มแซมสอ่ื การจัดเก็บสื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กฝึกการสังเกต การเปรียบเทียบ การจัดกลุ่ม ส่งเสริ ม ความรบั ผิดชอบ ความมนี ้ำใจ ช่วยเหลอื ผสู้ อนไม่ควรใช้การเกบ็ สื่อเปน็ การลงโทษเดก็ โดยดำเนนิ การ ดงั นี้ ๑. เก็บสื่อให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะประเภทของสื่อ สื่อที่เหมือนกัน จัดเก็บหรอื จัดวางไว้ ด้วยกัน ๒. วางสอ่ื ในระดับสายตาของเด็ก เพ่ือใหเ้ ด็กหยิบใช้ จดั เกบ็ ไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. ภาชนะที่จัดเก็บสื่อควรโปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสิ่งที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรมีมือจับ เพอ่ื ให้สะดวกใน การขนยา้ ย ๔. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีที่เป็นสัญลักษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทสื่อ เพื่อเด็กจะได้เก็บเข้าที่ได้ถูกต้อง การใช้สัญลักษณ์ควรมีความหมายตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก สัญลักษณ์
ควรใช้สื่อของจริง ภาพถ่ายหรือสำเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบัตรคำติดคู่กับ สัญลักษณอ์ ย่างใดอย่างหน่ึง ๕.ตรวจสอบส่อื หลงั จากที่ใชแ้ ลว้ ทกุ ครัง้ ว่ามสี ภาพสมบูรณ์ จำนวนครบถว้ นหรือไม่ ๖. ซอ่ มแซมสือ่ ชำรดุ และทำเตมิ สว่ นทขี่ าดหายไปให้ครบชดุ การพฒั นาส่ือ การพฒั นาส่ือเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยนั้น ก่อนอน่ื ควรได้สำรวจข้อมูล สภาพปัญหาต่างๆของสื่อทุกประเภทที่ใช้อยู่ว่ามีอะไรบ้างที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อจะได้ ปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการ แนวทางการพัฒนาส่อื ควรมลี กั ษณะเฉพาะ ดังน้ี ๑. ปรับปรุงสื่อให้ทันสมัยเข้ากับเหตุการณ์ ใช้ได้สะดวก ไม่ซับซ้อนเกินไป เหมาะสมกับวัย ของเดก็ ๒. รักษาความสะอาดของสื่อ ถ้าเป็นวัสดุทลี่ า้ งน้ำได้ เมื่อใช้แล้วควรไดล้ า้ งเช็ดหรือ ปัดฝุนให้ สะอาดเก็บไว้ เปน็ หมวดหมู่ วางเปน็ ระเบียบหยิบใช้งา่ ย ๓. ถ้าเป็นสื่อที่ผู้สอนผลิตขึ้นมาใช้เองและผ่านการทดลองใช้มาแล้ว ควรเขียนคู่มือ ประกอบการใช้สื่อนั้น โดยบอกชื่อสื่อ ประโยชน์และวิธีใช้สื่อ รวมทั้งจำนวนชิ้นส่วนของ สื่อในชดุ นั้นและเกบ็ คมู่ ือไว้ในซองหรือถุง พรอ้ มส่อื ท่ีผลิต ๔. พัฒนาสื่อท่ีสร้างสรรค์ ใช้ได้เอนกประสงค์ คือ เป็นได้ทั้งสือ่ เสริมพัฒนาการ และเป็นของ เล่นสนกุ สนานเพลิดเพลิน แหล่งการเรยี นรู้ โรงเรียนบา้ นทบั กมุ ารทอง ได้แบ่งประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ ไดด้ ังน้ี ๑. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ วิทยากรหรือผู้เชียวชาญเฉพาะด้าน ที่จัดหามาเพื่อให้ ความรู้ ความเข้าใจอย่างกระจ่างแก่เด็กโดยสอดคล้องกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้ต่างๆ ไดแ้ ก่ - ปราชญ์ชาวบา้ น - เจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ - พระสงฆ์ - พ่อคา้ – แม่ค้า - เจา้ หนา้ ท่ีตำรวจ - ผู้ปกครอง - ชา่ งจกั สาน - ครู ฯลฯ ๒. แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน ได้แก่ แหล่งข้อมูลหรือแหล่งวิทยาการต่างๆ ที่อยู่ในชุมชน มี ความสัมพันธ์กับ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลก ภายในและโลกภายนอก (inner world & outer world) ได้ และสอดคล้องกับวิถีการ ดำเนินชีวิตของเด็กปฐมวยั ไดแ้ ก่
- หอ้ งสมดุ โรงเรียนบ้านทบั กมุ ารทอง - ห้องศกั ยภาพ - วดั บ้านทับกุมารทอง - ร้านคา้ สหกรณ์ - สวนสมนุ ไพร - สวนวรรณคดี - แปลงเกษตร - ทุง่ นาขา้ งโรงเรียน - คลองบัวบาน - สวนตน้ ไม้และบอ่ เลยี้ งปลาในโรงเรียน ฯลฯ การประเมินพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเป็นส่วนหน่ึงของ กิจกรรมปกติที่จัดให้เด็กในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์ หรือจัดทำข้อมูลหลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็น รายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับว่าเด็กเกิดกา รเรียนรู้และมี ความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผน การจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รบั การพัฒนาตามจุดหมายของหลกั สูตรอย่างต่อเน่อื ง การประเมนิ พฒั นาการควรยดึ หลกั ดงั น้ี ๑. วางแผนการประเมินพฒั นาการอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. ประเมนิ พัฒนาการเด็กครบทุกดา้ น ๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอยา่ งสม่ำเสมอต่อเนอื่ งตลอดปี ๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่ หลากหลายไม่ควรใช้ แบบทดสอบ ๕. สรุปผลการประเมนิ จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใช้พฒั นาเด็ก สำหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การ บันทึกพฤติกรรม การสนทนากับเด็ก การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเด็กที่เก็บอย่างมี ระบบ ประเภทของการประเมนิ พัฒนาการ การพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นร้ขู องเด็ก ประกอบดว้ ย ๑) วัตถุประสงค์ (Obejetive) ซ่ึงตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมายถึง จุดหมายซึ่งเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึง ประสงค์ ๒) การจัดประสบการณการเรียนรู้ (Leanning) ซึ่งเป็นกระบวนการได้มาของความรู้หรือ ทักษะผ่านการ กระทำสิ่งต่างๆที่สำคัญตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดให้หรือท่ี
เรยี กว่า ประสบการณส์ ำคัญ ในการชว่ ยอธบิ ายใหค้ รเู ขา้ ใจถงึ ประสบการณ์ท่ีเด็กปฐมวัย ต้องทำเพื่อเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และช่วยแนะ ผู้สอนในการสังเกต สนับสนุน และ วางแผนการจัดกจิ กรรมให้เด็ก ๓) การประเมินผล(Evaluation) เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยท่ี คาดหวังให้เด็ก เกิดขึ้นบนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติใน แต่ละระดับอายุ เรียกวา่ สภาพท่ี พงึ ประสงค์ ทใี่ ชเ้ ป็นเกณฑส์ าคญั ส าหรับการประเมิน พัฒนาการเด็ก เป้าหมายและกรอบทิศทางใน การพัฒนาคุณภาพเด็กทั้งนี้ประเภทของ การประเมินพฒั นาการ อาจแบ่งได้เป็น ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) แบง่ ตามวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ การแบง่ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้ ๑.๑) การประเมินความก้าวหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการ ประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Assessment) หรือการประเมินเพื่อเรียน (Assessment for Learning) เป็นการ ประเมนิ ระหวา่ งการจัดระสบการณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ใน ระหว่างทำกิจกรรมประจำวัน/กิจวัตรประจำวันปกติอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมาย ข้อมูลแล้วนำมาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุง แก้ไขการเรียนรู้ของเด็ก และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน การประเมินพัฒนาการกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอนจึงเป็น เรื่องท่ี สัมพันธ์กันหากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ก็ ขาดประสิทธิภาพ เป็นการประเมินผล เพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ควรส่งเสริม ผู้สอนต้องใชว้ ิธกี ารและเครื่องมือประเมินพฒั นาการท่ีหลากหลาย เช่น การ สังเกต การสัมภาษณ์ การรวบ รวมผลงานท่ีแสดงออกถึงความก้าวหน้า แต่ละด้านของเด็กเป็น รายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน เพื่อให้ได้ข้อสรุป ของประเด็นที่กำหนด สิ่งที่สำคัญที่สุดในการประเมิน ความก้าวหน้าคือ การ จัดประสบการณ์ให้กับเด็กใน ลักษณะการ เชื่อมโยงประสบการณ์เดิม กับ ประสบการณ์ใหม่ทำให้การเรียนรู้ของเดก็ เพิ่มพูน ปรับเปลี่ยนความคิด ความเข้าใจเดิมท่ีไม่ถูกต้อง ตลอดจนการให้เด็กสามารถพัฒนาการเรียนรู้ ของตนเองได้ ๑.๒) การประเมนิ ผลสรุป (Summatie Evaluation) หรือ การประเมินเพอ่ื ตัดสิน ผลพัฒนาการ (SummatieAssessment) หรือการประเมินสรุปผลของการ เรียนรู้ (Assessmentof Learning) เป็นการประเมินสรุปพัฒนาการ เพ่ือ ตัดสินพัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยหรือไม่ เพ่ือเป็นการเชื่อมต่อของ การศึกษาระดับปฐมวยั กบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
ดังนั้น ผู้สอนจึงควรให้ ความสำคัญกับการประเมินความก้าวหน้าของ เด็กในระดบั ห้องเรยี น มากกว่าการประเมนิ เพื่อตัดสนิ ผลพฒั นาการของเด็ก เม่ือสิน้ ภาคเรยี นหรือสน้ิ ปกี ารศกึ ษา ๒) แบ่งตามระดบั ของการประเมิน การแบ่งตามระดบั ของการประเมิน แบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท ๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการที่อยู่ใน กระบวนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเพื่อพัฒนาเด็ก และตัดสินผลการพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้(Unit) ที่ผู้สอนจัด ประสบการณ์ ให้กับเด็ก ผู้สอนประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่ พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ที่กำหนดเป็นเป้าหมายใน แต่ละแผนการจัด ประสบการณ์ของหน่วยการเรยี นรู้ด้วยวธิ ีต่างๆ เช่น การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้า แต่ละด้าน ของเด็กเป็นรายบุคคล การแสดง กรยิ าอาการต่างๆของเด็กตลอดเวลาที่จัด ประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบและประเมินว่าเด็กบรรลุตามสภาพท่ี พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ หรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลุสภาพท่ีพึงประสงค์และ ตัวบ่งชี้เพียงใดแล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ผู้สอน ควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพัฒนาการในกิจกรรมประจำวัน/ กิจวัตรประจำวัน/หน่วยการเรียนรู้ หรืผลตามรูปแบบการประเมิน พัฒนาการท่ีสถานศึกษากำหนด เพ่ือนำมาเป็นข้อมูลใช้ปรังปรุงการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และเป็นขอ้ มลู ในการสรปุ ผลการประเมินพัฒนาใน ระดบั สถานศึกษาตอ่ ไปอกี ด้วย ๒.๒) การประเมนิ พัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมิน พัฒนาการของ เด็กเป็นรายบุคคลเป็นรายภาค/รายปี เพื่อให้ได้ข้อมูล เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวัย ของสถานศึกษาว่าส่งผล ตามการเรียนรู้ของเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งที่ต้องการได้รับการ พัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กใน ระดับสถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและ สารสนเทศในการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาตาม แผนการประกันคุณภาพ การศึกษาและการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ เด็กต่อผู้ปกครอง นำเสนอคณะกรรมการถานศึกษาขั้นพื้นฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชน ชุมชน หรือหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานตน้ สงั กดั หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องตอ่ ไป
อน่ึง สำหรับการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ในระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาหรือระดับประเทศ นั้น หากเขตพื้นท่ีการศึกษาใดมีความพร้อม อาจมีการดำเนินงานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เด็กปฐมวัยเข้ารับการประเมินก็ได้ ทั้งนี้ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตาม หลักการ การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖0 บทบาทหนา้ ท่ีของผูเ้ กย่ี วข้องในการดำเนนิ งานประเมินพฒั นาการ การดำเนินงานประเมินพัฒนาการของสถานศึกษานั้น ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ามามี ส่วนรว่ มในการประเมินพัฒนาการและร่วมรับผดิ ชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาแต่ละ ขนาด ดังน้ี ผู้ปฏิบตั ิ บทบาทหน้าท่ีในการประเมินพัฒนาการ ผู้สอน ๑. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และแนวการปฏิบัติการประเมิน ผบู้ ริหารสถานศึกษา พฒั นาการตามหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมินพัฒนาการที่สอดคล้องกับหน่วยการ เรียนร้/ู กิจกรรมประจำวัน/กิจวัตรประจำวัน ๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึก ผลการประจำวนั /กิจวตั ร ประจำวัน ๔. รวบรวมผลการประเมนิ พัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเมื่อ สน้ิ ภาคเรียนและส้ินปกี ารศึกษา ๕. สรุปผลการประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียนลงในสมุดบันทึกผลการ ประเมนิ พฒั นาการประจำชัน้ ๖. จัดทำสมุดรายงานประจำตัวนกั เรยี น ๗. เสนอผลการประเมินพัฒนาการต่อผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาลงนามอนุมัติ ๑. กำหนดผู้รับผิดชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลักสูตร และวาง แนวทางปฏิบัติการประเมิน พัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตร สถานศกึ ษาปฐมวัย ๒. นิเทศ กำกับ ติดตามให้การดำเนินการประเมินพัฒนาการให้บรรลุ เป้าหมาย ๓. นำผลการประเมินพฒั นาการไปจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานกำหนด นโยบายและวางแผน พฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวยั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128