Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 41 สุขศึกษา ม. 4 หน่วยที่ 1

41 สุขศึกษา ม. 4 หน่วยที่ 1

Published by thanom1605, 2020-06-22 02:55:30

Description: 41 สุขศึกษา ม. 4 หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

แนวคิด ร่างกายของมนุษย์ ประกอบด้วย ระบบอวยั วะต่างๆ ๑๐ ระบบ แต่ละระบบมีการทางานเก่ียวข้องสมั พนั ธ์กัน ผิวหนังทาหน้าที่ เหมือนเกราะป้ องกนั ส่ิงต่างๆ ท่ีอาจทาอนั ตรายต่อร่างกาย กระดกู เป็นอวยั วะสาคญั ในการช่วยพยงุ ร่างกายและประกอบเป็นโครงร่าง เป็นท่ียึดเกาะของกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดการเคล่ือนไหว จึงต้องมีการ สร้ าง เ สริ มแ ล ะด าร ง ปร ะสิ ทธิ ภาพ ก าร ทา ง านของ ระบบ ผิ วหนั ง กระดกู และกล้ามเนื้อให้เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ระบบอวยั วะต่างๆ ของร่างกาย อวยั วะต่างๆ ของร่างกายนัน้ มีทงั้ อวยั วะท่ีเรามองเห็น ซ่ึง ส่วนใหญ่จะอยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ปาก จมกู แขน ขา มือ เท้า และอวยั วะท่ีเรามองไม่เห็นซึ่งจะอยู่ภายในร่างกายของคนเรา เช่น สมอง หวั ใจ ลาไส้ และต่อมต่างๆ ในรา่ งกาย

การทางานของระบบอวยั วะของรา่ งกาย ประกอบด้วยโครงสรา้ งซึ่งสลบั ซบั ซ้อน ธรรมชาติได้สรา้ งระบบอวยั วะต่างๆ ของร่างกาย จาแนกได้เป็น ๑๐ ระบบ ๑. ระบบผิวหนัง (Integumentary System) ๒. ระบบโครงกระดกู (Skeletal System) ๓. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ๔. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ๕. ระบบขบั ถา่ ยปัสสาวะ (Urinary System)

๖. ระบบหายใจ (Respiratory System) ๗. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) ๘. ระบบประสาท (Nervous System) ๙. ระบบสืบพนั ธ์ุ (Reproductive System) ๑๐. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)

ระบบผิวหนัง ผิวหนังเป็ นอวยั วะที่ห่อห้มุ ร่างกาย เซลลช์ นั้ บนมีการ เปลี่ยนแปลงท่ีสาคญั คือ มีเคอราทิน (Keratin) ใสและ หนา มีความสาคญั คือ ป้ องกนั น้าซึมเข้าสู่ร่างกาย การ เปล่ียนแปลงท่ีทาให้เกิดเคอราทิน เรียกว่า เคอราทีไนเซ ชนั (Keratinization) ตัวอย่างอวยั วะท่ีเกิดกระบวนการ ดงั กล่าว เช่น ฝ่ามือ ฝ่าเท้า

ผิวหนังประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ๑. ส่วนท่ีอยู่บนพื้นผิว เรียกว่า หนังกาพร้า (Epidermis) หนังกาพร้า ๒. สาหรบั อยู่ลึกลงไป เรียกว่า หนังแท้ (Dermis) หนังแท้

ความสาคญั ของระบบผิวหนัง ๑. เป็นส่วนที่ห่อห้มุ รา่ งกาย สาหรบั ป้ องกนั อนั ตรายต่างๆ ท่ีอาจ เกิดขึน้ กบั อวยั วะใต้ผิวหนัง ๒. เป็นอวยั วะรบั สมั ผสั ความรสู้ ึกต่างๆ เช่น รอ้ น หนาว ๓. เป็นอวยั วะขบั ถา่ ยของเสีย เช่น เหง่ือ

ความสาคญั ของระบบผิวหนัง ๔. เป็นอวยั วะที่ช่วยขบั ส่ิงต่างๆ ท่ีอย่ใู นต่อมของผิวหนังให้เป็นประโยชน์ ต่อรา่ งกาย เช่น ขบั ไขมนั ไปหล่อเลี้ยงเส้นขนหรอื ผมให้เงางาม ๕. ช่วยเป็นส่วนป้ องกนั รงั สีต่างๆ ไมใ่ ห้เป็นอนั ตรายต่อร่างกาย ๖. ช่วยควบคมุ ความรอ้ นในรา่ งกายให้คงที่อยู่เสมอ ร่างกายขณะปกติ จะมีอณุ หภมู ิ ๓๗ องศาเซลเซียส หรือ ๙๘.๗ องศาฟาเรนไฮต์ หรือ ถ้าอากาศอบอ้าวรอ้ นเกินไปกจ็ ะระบายความร้อนออกทางรขู มุ ขน

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบผิวหนัง ๑. อาบน้าชาระล้างรา่ งกายให้สะอาด ด้วยสบ่อู ย่างน้อยวนั ละ ๑-๒ ครงั้ ๒. ทาครีมบารงุ ผิวที่มีคณุ ภาพและ เหมาะสมกบั ผิวของตนเอง

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบผิวหนัง ๓. สวมเสื้อผา้ ที่สะอาดพอดีตวั ไม่คบั หรือหลวมเกินไป ๔. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบผิวหนัง ๕. ด่ืมน้าสะอาดอย่างน้อยวนั ละ ๖-๘ แก้ว ๖. ออกกาลงั กายเป็นประจาเพ่ือให้ร่างกาย แขง็ แรง

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบผิวหนัง ๗. นอนหลบั พกั ผอ่ นให้เพียงพออย่างน้อย วนั ละ ๘ ชวั่ โมง ๘. ดแู ลผิวหนังอย่าให้เป็นแผล

ระบบโครงกระดกู ระบบโครงกระดูกมีความสาคญั ต่อระบบการทางานในร่างกายมนุษย์ ทาหน้าท่ีพยงุ และป้ องกนั อวยั วะภายในของร่างกาย ตลอดจนเป็นท่ียึดเกาะ ของกล้ามเนื้อและช่วยในการเคล่ือนไหว เคลื่อนท่ี จึงจาเป็ นต้องดแู ลมิให้ เสื่อมสลายและรกั ษาสขุ ภาพกระดกู ไว้

กระดกู ของมนุษยท์ งั้ ร่างกายมีอย่ทู งั้ สิ้น ๒๐๖ ชิ้น แบง่ ออกเป็น ๒ กล่มุ

ระบบโครงกระดกู กระดกู ของมนุษยท์ งั้ ร่างกายมีอย่ทู งั้ สิ้น ๒๐๖ ชิ้น แบง่ ออกเป็น ๒ กล่มุ

๑. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เป็นโครงกระดกู ท่ีเป็นแกนกลางของร่างกาย ทาหน้าท่ีคา้ จนุ และป้ องกนั อนั ตราย ให้แก่อวยั วะสาคญั ภายในร่างกาย มจี านวนทงั้ สิ้น ๘๐ ชิ้น ประกอบด้วย ๑. กะโหลกศีรษะ (Skull) มีจานวน ๒๙ ชิ้น ๒. กระดกู สนั หลงั (Vertebrae) มีจานวน ๒๖ ชิ้น ๓. กระดกู ซ่ีโครง (Ribs) มีจานวน ๒๔ ชิ้น ๔. กระดกู อก (Sternum) มจี านวน ๑ ชิ้น

๒. กระดกู รยางค์ (Appendicular Skeleton) เป็นกระดกู ที่เชื่อมต่อกบั กระดกู แกน ทาหน้าที่คา้ จนุ และเกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนไหวของร่างกาย มีจานวนทงั้ สิ้น ๑๒๖ ชิ้น ประกอบด้วย ๑. กระดกู แขน มีจานวน ๖๔ ชิ้น (ข้างละ ๓๒ ชิ้น) ๒. กระดกู ขา มีจานวน ๖๒ ชิ้น (ข้างละ ๓๑ ชิ้น)

ความสาคญั ของระบบโครงกระดูก ๑. ประกอบเป็นโครงรา่ งส่วนที่แขง็ ของรา่ งกาย ๒. เป็นที่รองรบั อวยั วะต่างๆ ของรา่ งกาย ๓. เป็นท่ียึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มีการเคลื่อนไหวได้ ๔. เป็นท่ีสรา้ งเมด็ เลือด ๕. เป็นท่ีเกบ็ และจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม ๖. ป้ องกนั อวยั วะภายในรา่ งกาย เช่น ปอด หวั ใจ ตบั สมอง และประสาท เป็นต้น

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดูก ๑. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีสารแคลเซียม (Calcium) และวิตามินดี (Vitamin D) ได้แก่ เนื้อสตั ว์ นม และผกั ผลไม้ ต่างๆ

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดูก ๒. ออกกาลงั กายเป็นประจาสมา่ เสมอจะช่วยให้ร่างกายแขง็ แรง

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดกู ๓. ระมดั ระวงั การเกิดอบุ ตั ิเหตกุ บั กระดกู เช่น สวมหมวกนิรภยั ในขณะ ขบั ขี่จกั รยานยนต์ คาดเขม็ ขดั นิรภยั ในขณะขบั ข่ีหรอื โดยสารรถยนต์

ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทางานร่วมกบั ระบบโครงกระดกู เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถเคล่ือนไหวได้ นอกจากนี้ยงั ทาหน้าท่ีเป็นโครงร่างของร่างกายอีกด้วย ประกอบด้วย กล้ามเนื้อหวั ใจ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ

ความสาคญั ของระบบกล้ามเนื้อ ๑. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคล่ือนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการ เคลื่อนไหวของร่างกายนี้ ต้องอาศยั การทางานของระบบโครง กระดกู และข้อต่อต่างๆ โดยอาศยั การยืดและหดตวั ของกล้ามเนื้อ ๒. ช่วยให้อวยั วะภายในต่างๆ เช่น หวั ใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ เลก็ ลาไส้ใหญ่ หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการบีบรดั ตวั ของกล้ามเนื้อของอวยั วะดงั กล่าว

ความสาคญั ของระบบกล้ามเนื้อ ๓. ช่วยป้ องกนั อวยั วะภายในไม่ให้ได้รบั ความกระทบกระเทือน ๔. เป็นที่เกิดพลงั งานของร่างกาย ๕. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ซ่ึงความร้อนนี้ เกิดจากการหดตวั ของกล้ามเนื้อแล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี

กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscle or Cross tripe Muscle) มีลายตามขวางตลอดความยาว เกาะติดกบั กระดกู หรือโครงกระดกู ช่วย ทาให้เป็ นรปู ร่างของร่างกายและอยู่ภายใต้อานาจจิตใจหน้าท่ีเป็ นโครงร่าง ของร่างกาย กล้ามเนื้ อลายนับว่าเป็ นกล้ามเนื้ อท่ีใช้ในการเคลื่อนไหวของ ร่างกายทงั้ หมด เช่น กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อ ทรวงอก เป็นต้น และเป็นกล้ามเนื้อที่แขง็ แรงที่สดุ ลกั ษณะในการทางานของกลา้ มเนื้อลาย คือ ดึงรงั้ กระดกู ให้มีการเคลือ่ นไหว ตามที่ใจต้องการ

กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็ นกล้ามเนื้อท่ีมีลกั ษณะเรียบ ไม่มีลาย และไม่อยู่ในอานาจ ของจิตใจเป็นส่วนประกอบของอวยั วะภายในของร่างกาย เช่น กล้าม เนื้อที่หลอดลมปอด กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ลาไส้ และมดลกู

กล้ามเนื้อหวั ใจ (Cardiac Muscle) กล้ามเนื้อหวั ใจจะพบที่บริเวณหวั ใจและผนังเส้นเลือดดาใหญ่ ที่นาเลือดเข้าส่หู วั ในเท่านัน้

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกล้ามเนื้อ ๑. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ๒. ออกกาลงั กายอย่างสมา่ เสมอ ๓. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ๔. ควรมเี วลาพกั ผอ่ นท่ีเพียงพอ ไมท่ างานหนักหรือหกั โหมจนเกินไป ๕. เม่ือเกิดความผิดปกติเกี่ยวกบั ระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลงั เรอื้ รงั กล้ามเนื้อกระตกุ เป็นประจา ควรรบี ไปปรกึ ษาแพทย์

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกล้ามเนื้อ ๖. ระมดั ระวงั และป้ องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุที่ทาให้กล้ามเนื้อได้รบั อนั ตราย เช่น การรบั แรงกระแทกโดยตรงจนเกิดการฟกชา้ หรือ การถกู กระทบกระแทกอย่างรนุ แรง ๗. ระมดั ระวงั การเล่นกีฬาที่หกั โหมรนุ แรง ที่อาจทาให้กล้ามเนื้อ หรือเอน็ กล้ามเนื้อถกู ยืดออก กล้ามเนื้อฉีกขาดซึ่งเกิดจากการ เคลื่อนไหวอย่างรวดเรว็

สรปุ ระบบต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งประกอบด้วยอวยั วะต่างๆ ท่ีทางานประสาน สมั พนั ธ์กนั เช่น ระบบโครงกระดูก ประกอบด้วยกระดูกทงั้ สิ้น ๒๐๖ ชิ้น ซ่ึง แบ่งออกเป็ น ๒ กลุ่ม คือ กระดูกแกน และกระดูกรยางค์ ระบบผิวหนัง ประกอบด้วย หนังกาพรา้ และหนังแท้ สาหรบั ระบบกล้ามเนื้อประกอบด้วย กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ เป็ น กล้ามเนื้อที่ประกอบขนึ้ เป็นอวยั วะภายในของร่างกาย และกล้ามเนื้อหวั ใจนัน้ มีคุณสมบตั ิพิเศษที่สามารถทางานได้เอง ทุกระบบที่กล่าวมานี้จะมีการ ประสานสมั พนั ธก์ นั เพื่อให้รา่ งกายทาหน้าท่ีได้ตามปกติ

สรปุ กล่าวคือ ระบบโครงกระดูกจะทาหน้าท่ีคา้ จนุ ร่างกายให้คงรูปร่างอยู่ได้ ระบบของกล้ามเนื้อจะทาหน้าท่ีในการเคล่ือนไหวของร่างกายทงั้ หมด และ ระบบผิวหนังจะทาหน้าที่ป้ องกนั และปกปิ ดอวยั วะภายในไม่ให้ได้รบั อนั ตราย ป้ องกนั เชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกายโดยง่าย ขบั ของเสียออกจากร่างกาย โดย ต่อมเหงื่อทาหน้าท่ีขบั เหง่ือออกมาช่วยรกั ษาอุณหภมู ิของร่างกายให้คงที่ ดงั นัน้ เราจึงจาเป็ นจะต้องมีการดูแล สร้างเสริมการทางานของทงั้ ๓ ระบบ เพ่อื ให้สามารถดารงประสิทธิภาพการทางานของร่างกายได้เป็นอย่างดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook