รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการทเุ รยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ ปีการศกึ ษา 2564 สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สรุ าษฏร์ธานี
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ โครงการ ทเุ รยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ จดั ทำโดย นางสาว พณั พษา ศลิ ปว์ ิลาศ 6216209001183 นาย ณฐั ิวฒุ ิ รุ่งชว่ ง 6216209001185 เสนอ อาจารยอ์ ยบั ซาดัคคาน สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี ปีการศึกษา 2564
ก คำนำ โครงการทเุ รียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธ์ิจัดทำข้นึ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ทราบถึงกระบวนการผลิตทุเรียน ทอดกรอบที่มคี ณุ ภาพและเพอื่ เสรมิ สร้างรายได้ใหก้ ับตนเอง และได้พัฒนาตนเองจากการทอดทเุ รยี นโดย ดำเนนิ โครงการอยา่ งเปน็ ระบบนับตัง้ แต่การศกึ ษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความตอ้ งการ การกำหนดจุด พฒั นา การวางแผน การปฎบิ ัติงานตามแผน การนิเทศตดิ ตามผล และประเมนิ โครงการ เพอื่ นำผลการ ประเมนิ ไปใชพ้ ัฒนาอย่างต่อเนอ่ื งและเปน็ ระบบ ผลการดำเนนิ งานช่วยใหน้ ักศึกษาได้พัฒนาตนเองและ เสริมสรา้ งรายได้ และสามารถตอ่ ยอดเป็นอาชีพเสริมได้ ส่งผลให้นักศึกษามคี ณุ ภาพ ตามหมายของหลักสตู ร ขอบคุณอาจารย์อายับ ซาดัคคาน ที่ให้คำปรึกษา แนะนำ ให้ความร่วมมือ ในการดำเนินโครงการ ทุเรียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธิ์และประเมินผลโครงการทุเรียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธิ์ ทำให้การดำเนินงานบรรลุผล เปา้ หมายที่กำหนด ซ่งึ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั คอื สามารถสรา้ งรายได้ให้กับตนเองและสามารถนำไปเป็นอาชีพเสริม ได้ หรอื แนะนำความรู้ ใหผ้ ทู้ ีม่ ีความสนใจในเร่อื งการทอดทเุ รยี นอีกด้วยและสามารถเรยี นรวู้ ิธกี ารทอดทุเรียน วิธีการอบแห้งและวิธีทำให้ทุเรียนทอดกรอบอยู่ได้นานและอร่อยมากท่ีสุดและมีประสิทธิภาพมากที่สุดและ ผูเ้ กีย่ วข้อง สำหรบั ใชใ้ นการพฒั นางาน ให้มี ความกา้ วหน้าตอ่ ไป หากผดิ พลาดประการใดกต็ าม ก็ขออภัยไว้ ณ ท่นี ด้ี ้วย และจะนำปัญหาทีไ่ ด้รับไปปรับปรุง แก้ไขหรือ พฒั นาโครงการงานในคร้ังตอ่ ไป ณฐั ิวฒุ ิ รงุ่ ชว่ ง (นายณฐั ิวฒุ ิ รุ่งชว่ ง) ตำแหนง่ หวั หนา้ โครงการ
ข สารบญั เร่อื ง หน้า คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………………….ก สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………….…………….…..ข สารบญั (ตอ่ )………………………………………………………………………………………………………………….……………….ค สารบัญภาพ………………………………………………………………………………………………………………..…………………ง สารบัญตาราง……………………………………………………………………………………………………………..…………………จ บทคดั ย่อ…………………………………………………………………………………………………………………….…………………1 บทที่ 1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………………….…………………2 ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ………………………………………………….…………………2 วตั ถุประสงค์โครงการ…………………………………………………………………………………………………3 ขอบเขตของโครงการ…………………………………………………………………………………………………3 ระยะเวลาประเมินโครงการ……………………………………………………………………..…………………3 นยิ ามศัพท์……………………………………………………………………………………………..…………………3 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ……………………………………………………………………….…………………3 ขั้นตอน/วิธกี ารดำเนินการ……………………………………………………………………….…………………4 บทท่ี 2 เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง……………………………………………………………..………………….5 รายละเอยี ดในการดำเนินงานโครงการ……………………………………………………..…………………5 หลักการแนวคดิ และ เหตุผลของโครงการ………………………………………………..…………………5 วัตถุประสงคข์ องโครงการ……………………………………………………………………….…………………6 เป้าหมายของโครงการ………………………………………………………………………………………………6 งบประมาณ…………………………………………………………………………………………..…………………6 ปจั จัยในการดำเนินโครงการ………………………………………………………………………………………7 กจิ กรรมในการดำเนนิ โครงการ………………………………………………………………..…………………8
ค สารบัญ(ต่อ) เร่อื ง หน้า ระยะเวลาดำเนนิ งานตามโครงการ…………………………………………………………..…………………….9 หลกั การแนวคิด ทฤษฎีท่เี ก่ยี วกบั การดำเนินโครงการ………………………………………………………9 กรอบแนวคิด………………………………………………………………………………………………………….…..21 บทที่ 3 วิธกี ารประเมนิ โครงการ………………………………………………………………………………………………………22 รูปแบบการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………22 วิธกี ารการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………………..……23 ประชากรกล่มุ ตัวอยา่ ง…………………………………………………………………………………………….……23 เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………….23 การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………….25 บทที่ 4 ผลการประเมินโครงการ………………………………………………………………………………………………………27 ผลการประเมนิ ดา้ นสภาวะแวดล้อม……………………………………………………………………………….28 ผลการประเมนิ ด้านปจั จยั ……………………………………………………………………………………………..31 ผลการประเมินด้านกระบวนการ……………………………………………………………………………………34 ผลการประเมินด้านผลผลติ ……………………………………………………………………………………………37 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………..41 วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………….…..42 รปู แบบการประเมิน………………………………………………………………………………………………..……42 การประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………………………………………42 การวิเคราะหก์ ารประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………42 สรุปผลการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………42 อภิปรายผล…………………………………………………………………………………………………………………43 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………..…..46 บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………………………ฉ
ง สารบัญ(ต่อ) เร่อื ง หน้า กิตตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………………………………….………………………ช ภาคผนวกเครอ่ื งมือการประเมิน………………………………………………………………………………………………….…..ซ ภาคผนวกรปู ภาพ…………………………………………………………………………………………………………………………..ฌ
จ สารบัญรปู ภาพ หน้า ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิด โครงการทเุ รยี นทอดสวนรุง่ สมั ฤทธ์ิ………………………………………………………………....21 ภาพท่ี 2 รปู แบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL………………………………………………………………….22 ภาพที่ 3 การประเมินโครงการทเุ รยี นทอดสวนรุ่งสัมฤทธิ์ผา่ น google from………………………………………….ฌ ภาพท่ี 4 การประเมนิ โครงการทเุ รียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธิ์ผ่าน google from………………………………………….ฌ ภาพท่ี 5 การประเมนิ โครงการทุเรยี นทอดสวนรุง่ สมั ฤทธผ์ิ ่าน google from………………………………………….ญ ภาพท่ี 6 การประเมินโครงการทเุ รียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ผิ ่าน google from………………………………………….ญ ภาพที่ 7 การประเมนิ โครงการทเุ รียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธ์ิผา่ น google from………………………………………….ฎ
ฉ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ขัน้ ตอน/วิธกี ารดำเนนิ การ (ตามกระบวนการ PDCA)……………………………………………………….…..4 ตารางที่ 2 ตารางแสดงการใชง้ บประมาณโครงการ “ทุเรยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์”ิ ………………………………..…..7 ตารางที่ 3 ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ………………………………………………………………………………………..9 ตารางที่ 4 การประเมนิ โครงการประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง………………………………………………………………………23 ตารางท่ี 5 แบบสอบถามข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม………………………………………………………………27 ตารางท่ี 6 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม (คำถามข้อท่ี 1)……………………………………………..28 ตารางท่ี 7 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม (คำถามขอ้ ที2่ )………………………………………………..29 ตารางท่ี 8 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม (คำถามขอ้ ท่ี3)………………………………………………..30 ตารางท่ี 9 ผลการประเมินโครงการด้านปัจจยั (คำถามขอ้ ท1ี่ )………………………………………………………………31 ตารางที่ 10 ผลการประเมนิ โครงการด้านปจั จัย (คำถามขอ้ ท2่ี )…………………………………………………………….32 ตารางที่ 11 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นปัจจยั (คำถามขอ้ ที3่ )…………………………………………………………….33 ตารางท่ี 12 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ (คำถามขอ้ ที่1)…………………………………………………..34 ตารางที่ 13 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ (คำถามขอ้ ที2่ )…………………………………………………..35 ตารางที่ 14 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ (คำถามขอ้ ท3่ี )…………………………………………………..36 ตารางท่ี 15 ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต (คำถามข้อที1่ )…………………………………………………………..37 ตารางที่ 16 ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต (คำถามข้อท2ี่ )……………………………………………………….….38 ตารางท่ี 17 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลิต (คำถามข้อท่3ี )…………………………………………………………..39
1 บทคดั ยอ่ ชอื่ เรือ่ ง การประเมินโครงการ ทุเรียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธ์ิ ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาว พัณพษา ศิลปว์ ิลาศ 2. นาย ณฐั วิ ุฒิ รุ่งชว่ ง ระยะเวลาการประเมินโครงการ ระยะเวลาการดำเนินโครงการและทำการประเมินโครงการตง้ั แต่วนั ท่ี 1 กนั ยายน พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 ระยะเวลาในการประเมนิ โครงการต้ังแต่วนั ท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพื่อศกึ ษากรรมวิธที ีเ่ หมาะสมในการผลติ และคุณภาพผลติ ภัณฑ์ทุเรียนแท่งทอดกรอบ 2. เพ่อื ศกึ ษาชนดิ ของสารกนั หืนและชนดิ ของภาชนะบรรจุท่ีมีผลต่ออายกุ ารเกบ็ รกั ษาของผลิตภัณฑ์ ทุเรียนแทง่ ทอดกรอบ วิธดี ำเนนิ โครงการ การประเมินโครงการทเุ รียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธด์ิ ำเนินในระหว่าง 1 กันยายน 2564 – 1 พฤศจกิ ายน 2564 โดยใชก้ ลุ่มตัวอยา่ งประกอบด้วยประชากร 20 คน ชื่อกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจงจากประชากร ประกอบด้วย ชาย/หญิง จำนวน 20 คน เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ โครงการ คือ CIPP Modal ผลการประเมนิ โครงการ ผลการประเมนิ โครงการในแตล่ ะด้าน ดังนี้ 1. ประเมินจากการสง่ั ซ้ือของลกู คา้ 2. ประเมินจากยอดขายสนิ ค้า 3. ประเมนิ จากผลตอบรบั จากลูกค้า
2 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ ผลไม้นบั เปน็ พืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญประเภทหน่ึงของประเทศไทยโดยผลไมส้ ามารถทำรายได้เข้าประเทศ ปีละหลายพันล้านบาทและผลไม้ไทยยังเป็นที่นิยมบริโภคกันทั่วไปท้ังในประเทศและต่างประเทศนอกจากนี้ ความต้องการบริโภคผลไมน้ ับวันจะเพิ่มสูงขึ้นเน่ืองมาจากสาเหตหุ ลักคือจำนวนประชากรท่ีเพิม่ มากขึ้นและ ความสนใจในสขุ ภาพก็มมี ากขน้ึ ด้วยในการผลติ ผลไม้ถือไดว้ ่าไทยเป็นประเทศทีม่ ีสภาพพ้ืนท่ีและภูมิอากาศท่ี เหมาะสมตอ่ การผลิตผลไมเ้ มืองร้อนหลากหลายชนิดต้งั แต่ภาคเหนือจนถึงภาคใต้สว่ นฤดูกาลให้ผลผลิตผลไม้ แต่ละชนิดก็ยงั แตกต่างกันไปในแต่ละสภาพพืน้ ทข่ี องแตล่ ะภาคจงึ เป็นข้อดีประการหน่งึ ท่ีสง่ ผลให้ไทยมีผลไม้ หลากหลายชนดิ หมนุ เวยี นออกสู่ตลาดตลอดทัง้ ปี (พินจิ กอศรพี ร, 2555, หน้า 38) ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีศักยภาพทางการตลาดเนื่องจากผลผลิตทเุ รียนของประเทศไทยมีช่ือเสียงในดา้ น คณุ ภาพรสชาติวา่ ดที ่ีสุดในโลกและยังเป็นผูผ้ ลิตรายใหญ่ทมี่ ีคู่แขง่ น้อยรายอีกด้วย (พงษ์เทพเกิดเนตร, 2551) ผลผลติ ทเุ รยี นของไทยจงึ เป็นท่ตี ้องการของตลาดตา่ งประเทศซงึ่ ปัจจัยเหลา่ นี้เปน็ ขอ้ ได้เปรียบท่ีสำคัญในการ ขยายช่องทางการจำหน่ายได้เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะประเทศในเขตหนาวเพราะทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีแคลอรีสูง บริโภคแล้วทำให้ร่างกายอบอุ่นโดยมีมูลค่าการตลาดภายในประเทศรวมปีละกว่าแสนล้านบาทผลผลิตส่วน ใหญถ่ กู ใช้บริโภคภายในประเทศมีการส่งออกผลไม้สดปลี ะประมาณกว่า 5,300 ลา้ นบาทซึ่งทเุ รยี นเป็นผลไม้ที่ มีการส่งออกมากเป็นอันดับสองรองจากลำไยโดยมีมูลค่าการส่งออกปีละประมาณกว่า 2,000 ล้านบาท (เปรมปรี ณ สงขลา, 2553, หนา้ 78) ตลาดสง่ ออกที่สำคญั สว่ นใหญ่อยใู่ นภมู ภิ าคเอเชีย ไดแ้ ก่ ไตห้ วนั จีน (โดย ผ่านทางเกาะฮ่องกง) มาเลเซียและสิงคโปร์ประมาณร้อยละ 50, 40 และ 5 ตามลำดับ (อชิรญาปรีชาเวช, 2551, หน้า 96) สว่ นตลาดท่ีสำคญั อืน่ ๆ ได้แก่ สหรฐั อเมริกาแคนาดาและออสเตรเลียซง่ึ สว่ นใหญน่ ำเขา้ ในรูป ทเุ รยี นแช่แขง็ เพราะเปน็ ประเทศท่ีมมี าตรการการคา้ ท่ีเขม้ งวดและ 1 การแชแ่ ข็งเป็นวิธีท่สี ามารถแก้ไขปัญหา การควบคุมแมลงศัตรูพืชไดส้ ำหรับผู้บริโภคหลักภายในประเทศแถบยุโรปและอเมริกา (เปรมปรี ณ สงขลา, 2553, หนา้ 23) ปัจจุบันมีการปลูกทุเรียนเป็นจำนวนมากในทุกภาคของประเทศไทยเช่นภาคเหนือที่อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีจังหวัดนครพนมภาคกลางที่จังหวัดนนทบุรีพระนครศรีอยุธยา ลพบุรีและสระบุรภี าคใตท้ ี่จงั หวัดชมุ พรสุราษฎรธ์ านีนราธิวาสและตรงั ภาคตะวันออกท่ีจังหวัดจันทบุรีระยอง ปราจีนบุรีและตราดจากการเพาะปลูกทุเรียนและพื้นที่การปลูกทุเรียนอาจกล่าวได้ว่าทุเรียนยังเป็นพืช เศรษฐกิจท่ีสำคัญของจงั หวดั ในภาคตะวันออกและเป็นแหล่งผลิตทีส่ ำคญั ของประเทศหรอื จะกลา่ วไดว้ ่าราชา
3 แหง่ ผลไม้คอื ทเุ รียนแมว้ ่าผลไม้ชนดิ นี้จะเป็นพืชพ้ืนเมืองทน่ี ำเข้ามาจากประเทศเพ่อื นบ้านอาทบิ รไู นอินโดนเี ซยี และมาเลเซยี แต่ปัจจุบันประเทศไทยมีการผลิตทเุ รยี นมากทีส่ ุดรองลงมาคอื อนิ โดนีเซียและฟิลิปปินส์เปรมปรี ณ สงขลา, 2553, หนา้ 32) วตั ถุประสงค์โครงการ 1. เพ่อื ศึกษากรรมวธิ ที เ่ี หมาะสมในการผลิตและคณุ ภาพผลิตภัณฑท์ เุ รยี นแท่งทอดกรอบ 2. เพื่อศึกษาชนิดของสารกันหืนและชนิดของภาชนะบรรจุที่มีผลต่ออายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ ทเุ รียนแท่งทอดกรอบ ขอบเขตของโครงการ วันท่ี 1 กนั ยายน 2564 จนถงึ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564 สถานท่ดี ำเนินการ ท่ีพักอาศยั ของสมาชิกในกล่มุ ตงั้ อยู่บ้านเลขท่ี 27 หมู่ 10 ตำบล ตะโก อำเภอ ทุง่ ตะโก จงั หวัด ชุมพร รหสั ไปรษณยี ์ 86220 ระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ วนั ที่ 1 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564 จนถึงวันที่ 1 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 นยิ ามศัพท์ 1. ทุเรยี น ทุเรยี นเปน็ ผลไม้ในวงศฝ์ ้าย เปน็ ผลไมซ้ งึ่ ไดช้ อื่ ว่าเปน็ ราชาผลไม้ ผลทุเรยี นมขี นาดใหญแ่ ละ มี หนามแข็งปลกคลมุ ท่ัวเปลือก อาจมีขนาดยาวถึง 30 ซม. และอาจมเี ส้นผ่านศูนยก์ ลางยาวถงึ 15 ซม. โดยทัว่ ไปมีน้ำหนกั 1-3 กโิ ลกรัม ปลมรี ูปร่างรถี ึงกลม เปลอื กมเี ขยี วถงึ นำ้ ตาล เนื้อในมสีเหลืองซีดถึง แดง แตกต่างกนั ไปตามสปีชีส์ 2. ผลิตภัณฑ์ทุเรียน หมายถึง ผลิตภัณฑ์แปรรูปมาจากทุเรียนสดเป็นทุเรียนทอดกรอบทีผ่ ู้บริโภคเคย บริโภค 3. รายได้ (Revenues) หมายถึง รายรับของกจิ การทไี่ ดม้ าจากการดำเนนิ กิจกรรมทางธรุ กจิ ทง้ั ทางตรง และทางออ้ ม เช่น รายไดท้ างตรงที่เกดิ จากการขายสนิ คา้ และบริการใหก้ ับลกู ค้า 4. การตัดสนิ ใจซอ้ื หมายถงึ ระดับความตอ้ งการในการซอื้ ทเุ รียนทอดกรอบในไทย ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1. ไดก้ ระบวนการผลติ ตภณั ฑท์ เุ รยี นทอดกรอบทมี่ คี ุณภาพ
4 2. ได้ทราบถงึ ชนิดของสารกันชื้นทเ่ี หมาะสมกบั การผลิตทุเรียนทอดกรอบและชนิดของภาชนะบรรจุ ที่มี ผลตอ่ การยืดอายกุ ารเก็บรักษาของผลิตภัณฑท์ เุ รียนทอดกรอบ ข้นั ตอน ขน้ั ตอน/วิธีการดำเนนิ การ (ตามกระบวนการ PDCA) P = Plan รายละเอยี ดกจิ กรรม การวางแผน ระยะท่ี 1 - สมาชกิ ในกล่มุ รว่ มกนั ประชุมปรึกษากันในการเสนอชือ่ โครงการ พรอ้ มทง้ั รว่ มกัน ศกึ ษาข้อมลู เกีย่ วข้องกับโครงการทุเรียนทอดสวนร่งุ สมั ฤทธ์ิ และศึกษาถึงปัจจัย ตา่ ง ๆ - สมาชกิ ในกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาการแปรรปู - สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ D = Do ระยะท่ี 2 การปฎบิ ัติ - คัดเลือกวตั ถุดบิ เพอ่ื นำมาแปรรูปเปน็ สนิ คา้ ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ - ดำเนินการทำโครงการโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ - ใส่ผลิตภณั ฑ์ลงในบรรจภุ ัณฑท์ ี่ได้จดั เตรยี มไว้ - นำผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ดล้ งขายในส่ือออนไลน์ C = Check ระยะที่ 3 การตรวจสอบ - จัดทำแบบสอบถามให้ลูกค้าหรือผู้บริโภค ท่ีมีความสอดคลอ้ งกีบจดุ ประสงค์และ เปา้ หมาย กระบวนการขน้ั ตอนต่างๆ A = Action ระยะท่ี 4 (2564) การปรบั ปรุงพัฒนา - นำผลท่ีไดก้ ารตอบรับของลูกค้าหรอื ผู้บริโภคมาปรับปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งใหด้ ขี นึ้ ตารางที่ 1 ข้ันตอน/วธิ ีการดำเนินการ (ตามกระบวนการ PDCA)
5 บทที่ 2 เอกสารและแนวคิดทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 1. รายละเอียดในการดำเนินงานโครงการ 2. หลกั การแนวคดิ ทฤษฎีที่เกย่ี วกับการดำเนนิ โครงการ 1. รายละเอียดโครงการ ทเุ รียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ หลักการและเหตุผลของโครงการ ทเุ รยี น (Durian) เปน็ ผลไมเ้ ขตรอ้ นทม่ี กี ารผลติ ในประเทศไทยมากเป็นอันดบั 2 รองจากสบั ปะรด โดยในปี พ.ศ. 2552 และ 2553 พบว่ามปี ริมาณผลผลติ 661,700 และ 568,100 ตันตามลำดบั ผลผลิตทเุ รียน สว่ นใหญ่ใชบ้ ริโภคภายในประเทศทัง้ ในรปู แบบของการบริโภคสดและการแปรรูปประมาณ 60 เปอรเ์ ซ็นต์สว่ น อีก 40 เปอร์เซ็นตเ์ ป็นการสง่ ออกท้งั ในรูปผลสดและแชแ่ ขง็ (สำนักงานสง่ เสรมิ การค้าสนิ ค้าเกษตร, 2554) หลังจากดอกทเุ รียนได้รับการผสมผลทุเรียนจะมีการพัฒนาเร่อื ยมาส่งผลให้ขนาดและน้ำหนักของผล ทเี่ พม่ิ ข้ึนในช่วงที่ทุเรียนใกล้แกผ่ ลทุเรยี นจะมีความสามารถในการดูดคารโ์ บไฮเดรตที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์แสง และจากกระบวนการเมตาโบลซิ ึมมาใช้ในการเจริญเตบิ โตสูงจึงทำใหผ้ ลทุเรียนมีขนาดเล็กคุณภาพเนื้อท่ีไม่ดี เท่าท่ีควรมอี าการแกนเต่าเผาหรอื ไส้ซมึ ตอ่ จากนัน้ อตั ราการขยายขนาดของผลจะเร่มิ ลดลง แต่เนอ้ื ยงั คงมีการ พัฒนาอยา่ งรวดเรว็ พรอ้ มเขา้ ส่ขู บวนการสุกแก่ทเุ รียนจดั เปน็ ผลไมป้ ระเภท Climacteric Fruit กล่าวคอื ผลแก่ สามารถเก็บจากต้นมาบ่มให้สุกโดยไม่จำเปน็ ต้องรอให้สุกบนตน้ ในช่วงท่ีผลสุกเอทธิลีนในผลจะถูกสังเคราะห์ แสงมากขึ้นและอัตราการหายใจสูงมากด้วยซึ่งอัตราการหายใจและปริมาณเอทธิลีนที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นจะมี ความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดเมื่อปริมาณเอทธิลีนสูงจะกระตุ้นให้มีผลการหายใจเพิ่มขึ้นซึ่งจะเร่งให้การ เปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกี่ยวข้องกบั การสุกเกิดขึ้นโดยสมบูรณเ์ ช่นแป้งในเนื้อจะเปลี่ยนเป็นน้ำตาลทำให้เน้อื มี รสชาตหิ วานข้ึนมกี ลิ่นหอมซงึ่ อาจไม่เปน็ ทตี่ อ้ งการของผู้บริโภคบางคนโดยเฉพาะชาวตะวนั ตกกล่นิ ของทุเรียน เกิดจากสารประกอบซัลเฟอร์เช่น Thiol, Thioether และ Ester ชนดิ ตา่ งๆนอกจากน้ีการสุกของทเุ รียนยังทำ ให้ปริมาณกรดเพม่ิ ขึ้นด้วยรสชาติเปรีย้ วไม่น่ารับประทานถ้าสกุ จนเกนิ ไป (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2547) ทเุ รียนสามารถแปรรปู เปน็ ผลติ ภัณฑต์ า่ งๆไดห้ ลายผลติ ภัณฑท์ ัง้ ทเุ รยี นดบิ และทุเรยี นสุกการแปรรูป ทุเรียนดิบเป็นผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แป้งทุเรียนทุเรียนทอดกรอบส่วนทเุ รียนสุกสามารถแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑไ์ ด้ เช่นข้าวเกรียบทเุ รยี นทองม้วนทเุ รยี นทเุ รียนกวนท็อฟฟที ุเรยี นทุเรยี นเชื่อมไอศกรีมทเุ รยี นขนมอบกรอบแท่งรส ทเุ รยี นเปน็ ตน้ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2547)
6 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพอ่ื ศึกษากรรมวธิ ที ่ีเหมาะสมในการผลิตและคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ทเุ รียนแท่งทอดกรอบ 2. เพื่อศึกษาชนิดของสารกันหืนและชนิดของภาชนะบรรจุที่มีผลต่ออายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ ทเุ รยี นแทง่ ทอดกรอบ เปา้ หมายของโครงการ 1. เชิงปริมาณ การสรา้ งรายไดจ้ ากการขายทเุ รยี น 2. เชิงคุณภาพ ทเุ รยี นมีความกรอบและเกบ็ ไวไ้ ด้นาน ทำให้มีกล่มุ ลกู ค้าและมียอดขายเพมิ่ มากขึ้น ได้เรียนรู้และฝึก ทกั ษะการขายออนไลน์ งบประมาณ งบประมาณส่วนตัวในการดำเนินโครงการมาจากสมาชิกในกลุม่ รวมกนั เปน็ เงินจำนวน 1,135 บาท ในการปฏบิ ตั ิโครงการ โดยวัสดอุ ปุ กรณ์ในการดำเนินโครงการบางสว่ นมไี วอ้ ยแู่ ลว้ ซงึ่ สามารถจดั ทำเปน็ ตารางแจกแจงการใช้งบประมาณในการดำเนนิ โครงการไดด้ ังนี้
7 ตารางแสดงการใช้งบประมาณโครงการ “ทุเรยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์”ิ รายการ จำนวน รายจ่าย เป็นเงนิ วสั ดุอปุ กรณ์ หน่วยละ เนื้อทุเรยี นดบิ 1 75 สารละลายเกลอื แคลเซียม 75 คลลอไรด์ 1 4,500 ตอู้ บแหง้ 1 4,500 65 น้ำมันพืชและกระดาษซับ 65 มัน 1 155 มดี และกระทะ 1 155 580 ถุงซิปลอ็ ค 1 580 260 วัสดุอปุ กรณท์ ำเลม่ 260 โครงการ 1 150 คา่ จดั ทำรายงานสรุปผล 150 โครงการ 5,785 รวม ตารางที่ 2 ตารางแสดงการใช้งบประมาณโครงการ “ทุเรยี นทอดสวนรุง่ สัมฤทธ์ิ” ปัจจัยในการดำเนินโครงการ วัสดอุ ุปกรณ์ - เนอื้ ทุเรียนดิบ/เน้ือทเุ รยี นแกจ่ ัด - สารละลายเกลอื แคลเซยี มคลลอไรด์ - ตอู้ บแหง้ - นำ้ มนั พชื และกระดาษซับมัน - มดี กระทะและตะหลวิ - ถงุ ซิปล็อค - น้ำมัน - เนย - เกลือ
8 เครื่องมือ เครอื่ งใช้ เครื่องอำนวยความสะดวก - ตอู้ บแห้ง บุคคลท่ีรว่ มดำเนินโครงการ สมาชิกในกล่มุ ประกอบดว้ ย นางสาวพัณพษา ศลิ ป์วลิ าศ นายณฐั ิวุฒิ รุ่งชว่ ง และผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย คือ บิดาและมารดาของสมาชกิ ในกลมุ่ เอกสาร แหล่งเรยี นรู้ สถานประกอบการ สมาชิกในกลุ่มไดท้ ำการศกึ ษาจากอินเตอร์เน็ตในการใช้ประกอบขอ้ มูล และศึกษาเรียนรู้จากคนใน ครอบครวั หรือสวนร่งุ สมั ฤทธิ์ อาคารสถานท่ี บา้ นเลขท่ี 27 หมู่ 10 ตำบล ตะโก อำเภอ ทงุ่ ตะโก จังหวดั ชุมพร รหสั ไปรษณีย์ 86220 กจิ กรรมในการดำเนินโครงการ กิจกรรม การเรียนรู้การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ทุเรียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธิ์ กิจกรรม การขายสนิ ค้าออนไลน์ รายละเอยี ดกิจกรรมการดำเนนิ การ 1. กิจกรรม การเรยี นร้กู ารแปรรูปผลติ ภณั ฑท์ เุ รยี นทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ 1.1 วัตถุประสงค์ 1.1.1 เพ่อื ศกึ ษากรรมวธิ ที ี่เหมาะสมในการผลติ และคุณภาพผลติ ภัณฑ์ทเุ รยี นแทง่ ทอดกรอบ 1.1.2 เพอ่ื ศกึ ษาชนิดของสารกันหืนและชนิดของภาชนะบรรจุท่มี ผี ลตอ่ อายุการเกบ็ รกั ษา ของผลติ ภณั ฑ์ 1.2 การดำเนนิ โครงการ 1.2.1 ศกึ ษาขอ้ มูลและสรรพคุณทุเรียน รวมถงึ การนำมาแปรรปู 1.2.2 สมาชิกในกลมุ่ ร่วมลงมอื ปฏบิ ัติการทำทเุ รยี นทอดพร้อมท้งั ไดร้ บั ฟังและรับคำแนะนำ จากผมู้ ีความรู้ 1.2.3 ทำการนำทุเรียนทอดทีผ่ ่านการผลติ เสรจ็ แลว้ นำมาบรรจุภัณฑล์ งในถงุ 1.2.4 สมาชิกในกลมุ่ ได้นำทเุ รยี นทอด ทำการขายแจกจา่ ยให้แกป่ ระชาชนในพื้นที่ 1.3 เครื่องมอื ในการประเมินผล 1.3.1 ใช้รูปแบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL 1.4 ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ 1.4.1 ได้กระบวนการผลิตตภณั ฑ์ทเุ รียนทอดกรอบท่ีมีคุณภาพ 1.4.2 เกิดรายไดใ้ นการนำผลิตภณั ฑ์มาขายออนไลน์
9 ระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ ระหวา่ งวันท่ี 1 เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 จนถงึ วนั ท่ี 1 เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 โดยมปี ฎทิ ินปฎิบตั ิงานตามโครงการ ดังนี้ ระยะเวลา กจิ กรรม ผู้รับผดิ ชอบ ศึกษาข้อมูลและสรรพคุณทเุ รียน 1 – 20 กนั ยายน 2564 รวมถึงการนำมาแปรรูป สมาชกิ ในกลุ่ม 21 – 30 กันยายน 2564 คดั เลอื ดวตั ถุดบิ ในการแปรรปู สมาชกิ ในกล่มุ ผลิตภณั ฑ์ 1 – 14 ตลุ าคม 2564 สมาชิกในกลมุ่ ศึกษาวธิ ีการแปร สมาชิกในกลุม่ รปู ผลติ ภัณฑจ์ ากผู้ปกครองของ สมาชิกในกลมุ่ 15 - 25 ตุลาคม 2564 จัดสรรและลงมอื ดำเนนิ ทำ โครงการ สมาชกิ ในกล่มุ สมาชิกในกลมุ่ นำผลิตภัณฑ์ 1 พฤษจกิ ายน 2564 ทเุ รียนทอด ทำการขายและ สมาชกิ ในกลุม่ แจกจ่ายให้แกป่ ระชาชนในพ้ืนที่ ตารางที่ 3 ระยะเวลาในการดำเนินโครงการระหวา่ งวนั ท่ี 1 เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2564 จนถงึ วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 2. หลกั การแนวคิด ทฤษฎีท่เี ก่ยี วกับการดำเนนิ โครงการ หลักการแนวคิด และทฤษฎีทเ่ี กย่ี วกบั การประเมินโครงการทุเรียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธิ์ 2.1 หลกั การแนวคดิ และทฤษฎีทเ่ี ก่ียวกบั การประเมนิ โครงการ 2.1.1 ทฤษฎขี องการจงู ใจ (theories of motivation) คำว่า“ แรงจูงใจ” มาจากคำกรยิ าในภาษาละตนิ วา่ “ Movere” (Kidd, 1973.101) ซึ่งมีความหมาย ตรงกบั คำในภาษาองั กฤษวา่ “ to move” อันมคี วามหมายวา่ “ เป็นสิง่ ทโ่ี นม้ น้าวหรอื มักชกั นำบคุ คลเกดิ การ
10 กระทำหรือปฏบิ ัตกิ าร (To move a person to a course of action) ดังน้ันแรงจงู ใจจงึ ได้รับความสนใจ มากในทุกๆวงการ สำหรบั โลเวลล์ (Lovell, 1980: 109) ให้ความหมายของแรงจงู ใจวา่ “เป็นกระบวนการท่ีชักนำโน้ม น้าวให้บุคคลเกดิ ความมานะพยายามเพ่อื ท่จี ะสนองตอบความตอ้ งการบางประการใหบ้ รรลุผลสำเร็จ” ไมเคลิ คอมแจน (Domjan 1996 199) อธบิ ายว่าการจงู ใจเป็นภาวะในการเพิม่ พฤติกรรมการกระทำ กจิ กรรมของบคุ คลโดยบคุ คลจงใจกระทำพฤติกรรมน้นั เพอื่ ให้บรรลุเปา้ หมายที่ต้องการ สรุปได้ว่าการจงู ใจเป็นกระบวนการท่บี คุ คลถูกกระตุ้นจากสิง่ เรา้ โดยจงใจให้กระทำหรอื ด้ินรนเพ่อื ให้ บรรลจุ ุดประสงค์บางอย่างซง่ึ จะเห็นได้พฤตกิ รรมท่เี กดิ จากการจูงใจเปน็ พฤติกรรมทมี่ ใิ ช่เป็นเพยี งการ ตอบสนองสง่ิ เรา้ ปกตธิ รรมดายกตวั อยา่ งลักษณะของการตอบสนองส่ิงเร้าปกติคือการขานรับเมอื่ ไดย้ ินเสียง เรยี ก แตก่ ารตอบสนองสง่ิ เรา้ จัดว่าเป็นพฤติกรรมทเี่ กิดจากการจูงใจเช่นพนกั งานต้ังใจทำงานเพอ่ื หวงั ความดี ความของเป็นกรณีพิเศษ แรงจงู ใจต่อพฤตกิ รรมของบคุ คลในแต่ละสถานการณ์ แรงจูงใจจะทำให้แตล่ ะบุคคลเลอื กพฤตกิ รรมเพอ่ื ตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ทีเ่ หมาะสมทสี่ ุดในแต่ละ สถานการณท์ ่แี ตกต่างกนั ออกไปพฤตกิ รรมที่เลอื กแสดงน้ีเปน็ ผลจากลักษณะในตัวบุคคลสภาพแวดลอ้ มดงั น้ี 1. ถา้ บุคคลมคี วามสนใจในส่งิ ใดก็จะเลอื กแสดงพฤติกรรมและมคี วามพอใจท่ีจะทำกิจกรรมนั้น ๆ รวมทัง้ พยายามทำใหเ้ กดิ ผลเรว็ ทสี่ ดุ 2. ความต้องการจะเปน็ แรงกระต้นุ ทที่ ำใหท้ ำกิจกรรมต่างๆเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการนนั้ 3. คา่ นิยมท่เี ปน็ คุณคา่ ของส่ิงต่างๆเช่นค่านิยมทางเศรษฐกจิ สงั คมความงามจรยิ ธรรมวชิ าการเหลา่ นจี้ ะเปน็ แรงกระตุ้นให้เกดิ แรงขับของพฤติกรรมตามค่านยิ มน้นั 4. ทัศนคตทิ ่ีมตี ่อสิง่ ใดส่งิ หนึ่งทีม่ ผี ลต่อพฤตกิ รรมนั้นเช่นถ้ามที ศั นคติท่ดี ีตอ่ การทำงานก็จะทำงานดว้ ยความ ทมุ่ เท 5. ความมุ่งหวงั ทตี่ า่ งระดับกันกเ็ กิดแรงกระตนุ้ ทต่ี ่างระดับกนั ด้วยคนทีต่ ัง้ ระดับความมุ่งหวงั ไวส้ ูงจะพยายาม มากกวา่ ผู้ทต่ี ั้งระดับความมุ่งหวังไว้ตำ่ 6. การแสดงออกของความต้องการในแต่ละสงั คมจะแตกต่างกนั ออกไปตามขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมของสังคมของตนยง่ิ ไปกวา่ นัน้ คนในสังคมเดยี วกันยังมพี ฤติกรรมในการแสดงความต้องการท่ีต่างกัน อกี ด้วยเพราะสง่ิ เหลา่ นีเ้ กิดจากการเรียนรขู้ องตน 7. ความต้องการอย่างเดียวกนั ทำให้บุคคลมีพฤตกิ รรมที่แตกตา่ งกันได้ 8. แรงจงู ใจทแ่ี ตกตา่ งกันทำใหก้ ารแสดงออกของพฤตกิ รรมท่ีเหมือนกนั ได้ 9. พฤตกิ รรมอาจสนองความต้องการไดห้ ลาย ๆ ทางและมากกว่าหนึ่งอยา่ งในเวลาเดียวกนั เชน่ ต้ังใจทำงาน เพ่ือไวข้ น้ึ เงินเดือนและไดช้ ่ือเสยี งเกียรติยศความยกย่องและยอมรับจากผอู้ ื่น (บ้านจอมยุทธ์, 2543)
11 2.1.2 ทฤษฎีการทำใหท้ ันสมยั (Modernization Theory) นักทฤษฎกี ารพัฒนาไดค้ ้นหาวิธีการตา่ ง ๆ ขึ้นมาใหม่ ๆ โดยอาศยั กระบวนทัศน์ยอ่ ย (Sub- paradigm) ทีแ่ ตกต่างกันวิธีการต่าง ๆ ท่ีกลา่ วถงึ นมี้ ักสัมผัสกบั ปญั หาบางส่วนเท่านน้ั การอธิบายของแตล่ ะ แนวคดิ มกั จะไมส่ อดคลอ้ งกนั บางคร้ังบางกรณอี าจขดั แยง้ กันอยา่ งพอจะสังเกตเห็นไดแ้ มใ้ นเรื่องความพยายาม ทจี่ ะวเิ คราะห์ปญั หาการใช้กรอบการวเิ คราะห์กย็ งั แตกต่างกันอยฉู่ ะนัน้ จึงอาจจะกล่าวถงึ ได้ในลกั ษณะของ แนวโนม้ ของทฤษฎีเทา่ น้ัน ความชว่ ยเหลอื ทางเศรษฐกิจ (Economic Aid) ที่ให้มาโดยประเทศพัฒนาแลว้ ส่วนใหญม่ งุ่ ทว่ี ่าทำ อยา่ งไรการพฒั นาเศรษฐกจิ จึงจะเปน็ ไปได้ในระบบตลาดท่ีเสรีเหมือนกับประเทศตะวันตกหรือจะทำอย่างไรจึง จะทำใหก้ ารวางแผนทางเศรษฐกจิ ของชาติบรรลุผลสำเร็จได้อย่างรวดเรว็ เหมือนกบั ทีเ่ กิดขน้ึ ในบางประเทศท่ี พฒั นาแลว้ แนวคิดและนโยบายการพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบโดยอาศยั การควบคุมขององค์กรและการวางแผน ของรัฐนน้ั ไดม้ าจากทฤษฎีของเคนส์ (Keynes) หรือยคุ หลงั เคนส์ (Post-Keynes) ซึง่ ไดร้ ับการยอมรบั มากขน้ึ ดังน้ันระยะแรกของทฤษฎกี ารพัฒนาจึงเพยี ง แต่ตอ้ งการพสิ จู นว์ า่ ตวั แบบความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ มห ภาค (Macro-economic Growth Model) ตามแบบฮาร์รอดโดมาร์ (Harrod-Domar Type) เป็นเครื่องมือ การวางแผนทเี่ หมาะสมเทา่ นน้ั ยังไมม่ ีเครื่องมือใด ๆ ของทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรท์ ่ีเป็นท่ียอมรับเพ่อื อธบิ ายให้ เหน็ ถึงกระบวนการของความเจริญเติบโตและกระบวนการพัฒนา แต่อยา่ งใดนับ แต่ไดก้ ำหนดตวั แบบน้ขี น้ึ มา ราว ๆ ไดม้ ีนกั เศรษฐศาสตร์ในประเทศกำลงั พัฒนานำเอาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศในหลาย ๆ ประเทศเมอ่ื เวลาผ่านไปหลาย ๆ ปกี ็ทำให้มองเห็นวา่ การนำเอาทฤษฎีความเจริญเติบโตแบบน้มี าใช้เป็นความ ผดิ พลาดโดยมีเหตุผลสำคัญประการหน่งึ ที่สนบั สนุนคำกล่าวน้ันกค็ ือสตู รท่นี ำมาใช้ในตัวแบบความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ นี้มลี กั ษณะการกระทำทซ่ี ำ้ ๆ กนั ไปโดยมิไดม้ แี นวทางหรอื กระบวนการในการทำใหเ้ กดิ ปลาย ทศวรรษ 1940 ความเจริญเตบิ โต แต่อยา่ งใดมเี พยี งหลักการกวา้ ง ๆ ว่าจะต้องมดี ลุ ยภาพการทจี่ ะให้มี ลกั ษณะการกระทำทกี่ นั เกดิ ขึน้ ไดใ้ นสภาพแวดลอ้ มที่แตกตา่ งกนั ของประเทศตะวนั ตกกับประเทศกำลังพฒั นา นน้ั คงเป็นไปได้ยากเพราะมีหลายสงิ่ หลายอย่างท่ีไม่เหมือนกนั กลา่ วคือโครงสร้างทางสงั คมองคก์ ารหรอื สถาบนั ตา่ ง ๆ รวมท้งั เจตคติของประชาชนตลอดจนกลไกการพัฒนาทส่ี ำคญั คือระบบราชการโครงสร้างพนื้ ฐานด้าน ตา่ ง ๆ รวมท้งั สภาพของ 2.1.3 ทฤษฎีการแก้ปญั หา (Solution Theories) ตามทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์แลว้ ไดม้ ีการคิดค้นถึงกลยทุ ธ์ของการพัฒนาขึน้ มาหลาย ๆ อยา่ งโดย เนน้ ในด้านการลงทุนการเงินการคลังและการคา้ ระหว่างประเทศกลยทุ ธ์ที่กลา่ วถงึ กนั มากก็คือกลยุทธ์คอขวด (Bottleneck strategies) ซึ่งมีสาระสำคัญอยูท่ ี่การวเิ คราะหถ์ งึ ปัจจัยต่าง ๆ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรคต่อการพัฒนาและ การเอาชนะปัญหาหรือปัจจยั เหล่านั้นอยา่ งไรกต็ ามมคี วามเห็นแตกต่างกนั อย่างมากในเร่ืองของการแกป้ ญั หา และแนวคดิ ในเร่ืองกลยุทธด์ งั กล่าว
12 ทฤษฎเี ก่ียวกับการลงทนุ (Investment Theory) คงยงั มคี วามคิดความเหน็ ที่แตกตา่ งกันในเรอ่ื ง ของการลงทุนวา่ ควรจะทำในลกั ษณะใดและจะให้ความสำคญั กับปัจจัยอะไรก่อนหรอื ระหว่างการเกษตรและ การอุตสาหกรรมโครงการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่หรอื จะพฒั นาอุตสาหกรรมขนาดย่อมเป็นต้น (บ้านจอมยทุ ธ 2543) 2.1.4 ทฤษฎกี ารพัฒนาทวภิ าคี(Dual Development Theory) ผ้ทู ม่ี ีแนวความคดิ คล้ายคลึงกนั ในเรื่องการพฒั นาทวิภาคนี้ มี ดบั เบิลยู อารเ์ ธอร์ เลวิส (W. Arthur Lewis) กัสตาฟ เวนสิ (Gustav Renis) จอห์น ซี เอช ฟี (John C. H. Fei) และเดล ดบั เบิลยู จอร์แกน สนั (Dale W. Jorgenson) ไดก้ ลา่ วไว้ว่า“ การโยกยา้ ยปัจจัยด้านแรงงานจากภาคการเลีย้ งตวั เอง (Subsistence sector) ไปทำงานในภาคอุตสาหกรรมจะชว่ ยลดความแตกตา่ งระหวา่ งทงั้ สองภาคดงั กล่าวได้ และสามารถทำใหม้ ีบรู ณาการในระดับทสี่ งู ข้นึ อย่างท่ัวถงึ ของระบบเศรษฐกจิ กสั ตาฟ เรนสิ (Gustav Remis) และจอหน์ ซี เอช ฟี (John C. H. Fei) ไดก้ ลา่ วไวใ้ นเร่ืองทฤษฎี การพัฒนาเศรษฐกิจโดยกล่าวถงึ แรงงานส่วนเกนิ ในภาคการเกษตรซง่ึ มอี ัตราการเกดิ สงู มากทง้ั เรนิสและฟี อาศัยผลงานของเลนิสโดยเสนอตัวแบบสองภาค (Two-sector model) และสังเกตดกู ารขยายตวั ของ ภาคอุตสาหกรรมหรือการลงทุนซ่ึงสนับสนุนโดยมแี รงงานอย่างมากมายและราคาคา่ จา้ งถูกจากภาคเกษตร กรรมการวเิ คราะหข์ องเขาอาศัยขน้ั ตอนการออกเดินทาง (Take-off) ของการพฒั นาเศรษฐกจิ ของโรสโตว์โดย ใช้เวลา 20-30 ปีเป็นการสร้างทฤษฎีความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจซงึ่ มสี องขนั้ ตอนคือตอนแรกมีข้อสมมติ เกี่ยวกับโครงสรา้ งเบอื้ งต้นของตวั แบบโดยเนน้ การวเิ คราะห์บทบาทของภาคเกษตรทีถ่ กู ละเลยตอนสอง ลกั ษณะทเี่ รมิ่ จากความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจท่มี ีแรงผลกั ดนั ใหต้ วั เองกล่าวคือมกี ารกระทำกจิ กรรม ทางดา้ นอตุ สาหกรรมซงึ่ สว่ นหน่งึ มาจากแรงกระตุ้นของการมีแรงงานสว่ นเกินอย่างมากมาย ทฤษฎกี ารพัฒนาเศรษฐกจิ ทวภิ าค (Development of a dual economy) อธิบายโดย เดล ดบั เบิลยู จอร์เกนสนั (Dale W. Jorgenson) ในขน้ั แรกไดก้ ลา่ วถึงทฤษฎีและตวั แบบท่ีใช้ในระบบเศรษฐกจิ ท่ี พฒั นาแลว้ ท้งั หลาย เชน่ ทฤษฎคี วามเจรญิ เติบโต ฮารร์ อด โดมาร์ (Horrod Domar theory of growth) ตวั แบบวงจรและความเจรญิ เติบโต ดวิ เซนเบอรร์ ี่ สมธิ (Duesenburry Smithies model of cycles and growth) ตัวแบบความเจรญิ เตบิ โตคลาสสคิ ใหม่โตบินโซโล (Tobin Solow neo classical growth model) และตัวแบบความเจรญิ เตบิ โตแคลดอร์ (Kaldor model of growth) ซง่ึ เป็นตัวแบบทสี่ ร้างขึ้นมาโดยผู้รแู้ ละ เหมาะสมท่จี ะใช้ในสังคมที่พัฒนาทัง้ หลายส่วนทฤษฎีท่ีเหมาะสมจะใช้ในสงั คมกำลงั พัฒนาทคี่ ุน้ เคยกันมาก หนอ่ ยก็คอื ทฤษฎกี ารพฒั นาเศรษฐกิจประชากรศาสตร์ (Economic-demographic Theory of Development) มคี วามแตกตา่ งอย่างมากระหวา่ งทฤษฎีท้ังสองแบบซ่ึงควรใชใ้ นสภาพแวดล้อมทแ่ี ตกตา่ งกัน ดว้ ยทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกจิ ประชากรศาสตร์มจี ุดเนน้ อยูท่ กี่ ารรักษาดุลยภาพระหวา่ งการสะสมทนุ กบั ความ เจรญิ เตบิ โตของประชากรโดย แต่ละด้านจะปรับตวั เขา้ หาอกี ด้านหนงึ่ ภาคสมยั ใหม่ (advanced or modern sector) กบั ภาคล้าหลงั หรือโบราณ (Backward or traditional sector)ในแตล่ ะภาคจะมกี ิจกรรมการผลิตที่มี
13 ลกั ษณะของความเกยี่ วขอ้ งระหว่างผลผลติ กับปัจจัยการผลติ ซึ่ง ได้แก่ ทีด่ ินแรงงานและเงินทุนลักษณะพิเศษ ของทฤษฎนี ้กี ็คอื ความไม่สมประกอบในเรือ่ งความสมั พนั ธข์ องการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและภาค เกษตรกรรมปจั จยั อื่น ๆ ทีเ่ หลือของทฤษฎีนีก้ ม็ ี • ความเจริญเติบโตของประชากรทต่ี อ้ งข้ึนอยกู่ บั ผลติ ผลอาหารตอ่ หัวและการตาย • อตั ราการเกิดทต่ี ้องขนึ้ อยู่กบั ผลิตผลอาหารต่อหัว ถ้าผลติ อาหารไดเ้ กนิ ความต้องการผลผลิตการเกษตรก็จะมเี หลือแรงงานกอ็ าจจะละทงิ้ ท่ีดินเข้า มาหางานในภาคอตุ สาหกรรมแรงงานที่จะใชใ้ นภาคอุตสาหกรรมจะเพ่มิ ขนึ้ ในอัตราเทา่ กบั อัตราการเพิ่มขึน้ ของผลผลติ การเกษตรส่วนเกินแน่นอนละถา้ ไมม่ ีทนุ การผลิตทางอตุ สาหกรรมท่เี กดิ ขึน้ ไมไ่ ด้คร้นั มกี ารลงทุน การสร้างสมทุนกจ็ ะมีความเป็นไปได้โดยอาศัยแรงงานท่เี พม่ิ ข้ึนและการคา้ ระหว่างภาคเกษตรกรรมและ ภาคอุตสาหกรรมเป็นตัวชว่ ยความแตกตา่ งของคา่ จ้างแรงงานของท้ังสองภาคจะมีอยแู่ ละความแตกตา่ งนี้จะ เปน็ ตัวกำหนดการคา้ ระหว่างทง้ั สองภาคและเปน็ ตัวกำหนดอัตราการลงทุนในภาคอตุ สาหกรรมดว้ ย (บา้ นจอม ยทุ ธ 2543) 2.2 แนวคิดทฤษฎีเกยี่ วกบั การประเมินโครงการ 2.2.1 แนวคิดและแบบจำลองของ R.W. Tyler R.W. Tyler เป็นนักประเมนิ ร่นุ แรก ๆ ในปี ค.ศ. 1930 และเปน็ ผู้ท่เี ริ่มตน้ บกุ เบิกแนวความคิด เห็นเกยี่ วกับการประเมนิ โครงการเขามคี วามเหน็ วา่ “ การประเมนิ คือการเปรยี บเทยี บพฤติกรรมเฉพาะอยา่ ง (performance) กบั จดุ ม่งุ หมายเชงิ พฤตกิ รรมท่ีวางไว”้ โดยมคี วามเชื่อว่าจดุ มงุ่ หมายทตี่ ้ังไว้อย่างชดั เจนรัดกมุ และจำเพาะเจาะจงแล้วจะเป็นแนวทางชว่ ยในการประเมินได้เป็นอยา่ งดีในภายหลังจากคำจำกัดความของการ ประเมนิ ดงั กลา่ วแล้วนจี้ ะเหน็ ได้ว่ามแี นวความคดิ เห็นวา่ โครงการจะประสบผลสำเร็จหรือไมด่ ูไดจ้ ากผลผลติ ของโครงการวา่ ตรงตามจดุ มุง่ หมายทต่ี งั้ ไว้ แตแ่ รกหรือไมเ่ ท่านนั้ แนวความคดิ ในลกั ษณะดงั กล่าวนี้เรียกว่า“ แบบจำลองทยี่ ึดความสำเรจ็ ของจุดมุง่ หมายเปน็ หลกั (Goal Attainment Model or Objective) เรยี กว่า Tyler's Goal Attainment Model ซึ่งต่อมาปี 1950 ไดม้ รี ูปแบบมาใช้เปน็ กระบวนการตดั สินการบรรลุวัตถุประสงค์ของสิ่งทที่ ำการ ประเมิน (R.W. Tyler.1950) เรียกว่า“ Triple Ps Model” ดงั น้ี P. Philosophy & Purpose-ปรชั ญา / จดุ มงุ่ หมาย P- Process-กระบวนการ P- Product-ผลผลิต ในการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประเมินโครงการทางการศึกษาได้โดยการประเมนิ ความสมั พนั ธ์ของทั้ง 3 ว่าปรชั ญาจุดมงุ่ หมายของโครงการมีความสัมพันธ์กับกระบวนการและผลผลติ หรือไม่ถา้ ประเมนิ เปน็ ส่วน ๆ ก็ จะประเมินในดา้ นประสทิ ธภิ าพของปรชั ญา / จดุ ม่งุ หมายและกระบวนการประเมินประสทิ ธผิ ลของผลผลิตว่า ตรงกบั ปรัชญา / จุดมุง่ หมายหรือไม่มีประสทิ ธภิ าพเพียงใดเปน็ ต้น
14 2.2.2 แนวคิดของ Robert E. Stake แนวความคดิ ของ Robert E. Stake นนั้ คำนึงถงึ ความต้องการสารสนเทศทีแ่ ตกต่างกันของ บคุ คลหลาย ๆ ฝ่ายที่เก่ยี วข้องกับโครงการในการประเมนิ โครงการผเู้ กีย่ วขอ้ งคนหนึ่งอาจต้องการทราบ เก่ียวกับความแนน่ อนและสอดคล้องในการวัดเพอื่ การประเมนิ น้ัน ๆ ในขณะทผ่ี เู้ ก่ียวขอ้ งคนอ่นื อาจต้องการ ทราบทิศทางการดำเนนิ งานของโครงการหรอื ผู้ใช้ผลผลติ ของโครงการอาจมคี วามต้องการอกี รูปหนง่ึ สำหรบั นักวจิ ัยอาจต้องการสารสนเทศทแี่ ตกตา่ งไปจากผเู้ กยี่ วขอ้ งอื่น ๆ เพราะการประเมนิ นนั้ เพือ่ ท่จี ะร้เู รอื่ งราวต่าง ๆ ของโครงการอย่างละเอียดลกึ ซงึ้ เพอ่ื นำมาประกอบการตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั โครงการ ดังนัน้ การประเมนิ โครงการจงึ ตอ้ งมกี ารบรรยายเกี่ยวกบั โครงการอยา่ งละเอยี ดเพอื่ ใหค้ รอบคลมุ ถึงสารสนเทศทจี่ ะตอ้ งสนองความตอ้ งการของผเู้ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื จะนำไปสกู่ ารตัดสินใจเกี่ยวกบั โครงการน้ันจงึ เสนอรปู แบบของการประเมินโครงการอย่างมีระบบโดยการบรรยายและตดั สนิ คุณค่าเกีย่ วกบั โครงการตาม หลักการของโครงการน้ันๆ 2.2.3 แนวคดิ การประเมนิ ของอัลคนิ (Alkin) มาร์วิน ซี อลั คนิ (Marvin C. Alkin, 1969) ไดเ้ สนอรปู แบบการประเมนิ ที่เรียกวา่ CSE (Center for the study of Evaluation Approach) จดุ เนน้ ของการประเมินตามแนวคดิ ของอัลคนิ คอื การประเมิน เพอ่ื การตัดสินใจอลั คินไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมนิ ว่าเป็นกระบวนการกาหนดขอบเขตของสงิ่ ท่เี ก่ียวข้อง กับการตดั สินใจการเลือกข้อมูลขา่ วสารท่เี หมาะสมการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะหข์ อ้ มลู เพือ่ นำไปสู่การ จดั ทารายงานสรปุ ใหก้ ับผู้มอี ำนาจในการตดั สินใจในการเลือกแนวทางทีเ่ หมาะสมกบั การดำเนนิ งานของ โครงการ ขอบขา่ ยของการประเมนิ จากความหมายของการประเมินตามแนวคิดของอัลคินนั้นการประเมนิ จะประกอบด้วยการจัดหา และวเิ คราะห์ข้อมูลเพือ่ ทจี่ ะนำไปใช้ในการตดั สินใจดงั ในการประเมนิ จำเปน็ จะต้องประเมนิ ในเร่อื งต่างๆ 5 ด้านดงั นี้ 1. การประเมินระบบ (System Assessment) เป็นการอธบิ ายหรอื พรรณนาสภาพของระบบเพือ่ เปรียบเทยี บ สภาพท่เี ป็นจริงกับความคาดหวังทจ่ี ะเกดิ ขึ้นการประเมนิ ระบบจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถกำหนดขอบเขตและ วัตถปุ ระสงค์ท่ีเหมาะสมสง่ิ ท่ีจะตอ้ งศึกษา ได้แก่ ความตอ้ งการของประชาชนชมุ ชนและสงั คมท่มี ตี อ่ สภาพการณ์ปัจจุบนั สำหรบั การประเมินระบบแตล่ ะส่วนจำเป็นตอ้ งใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารต่างๆกัน 2. การประเมินการวางแผนโครงการ (Program Planning) เป็นการประเมนิ กอ่ นที่จะมกี ารดำเนนิ โครงการ เพ่อื หาขอ้ มูลข่าวสารมาใช้ในการตดั สินใจพจิ ารณาทางเลอื กทเ่ี หมาะสมของโครงการนักประเมินตอ้ งหาขอ้ มลู ทีแ่ สดงความคาดหวงั ทีจ่ ะบรรลเุ ปา้ หมายพร้อมกบั ประเมินผลที่จะได้รบั จากการใชว้ ิธีการดำเนนิ งานต่างๆดว้ ย เพอื่ ให้สามารถเห็นขอ้ เปรียบเทยี บในการหาทางเลอื กทเ่ี หมาะสมโดยใชว้ ิธีการทแ่ี ตกต่างกนั ออกไปตาม ลักษณะของปญั หาโดยทั่วไปจะใชก้ ารประเมินจากเกณฑภ์ ายนอกและจากเกณฑภ์ ายใน
15 3. การประเมินการนำไปใช้เพือ่ การดำเนนิ โครงการ (Program Implementation เปน็ การประเมนิ ขณะที่ โครงการกำลังดำเนนิ งานเพือ่ ตรวจสอบดวู ่าการดำเนนิ โครงการนน้ั เป็นไปตามข้นั ตอนตา่ งๆที่ได้วางแผนไว้ หรอื ไมผ่ ลท่ีเกิดขึน้ มีความสอดคลอ้ งกบั สง่ิ ที่วางแผนไวห้ รือคาดหวงั ไว้เพยี งไร 4. การประเมนิ เพอ่ื ปรับปรงุ โครงการ (Program Improvement) เป็นการประเมินเพ่อื หาข้อมลู ท่นี ำมาใช้ใน การดำเนินโครงการใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมายและมีผลทีไ่ มค่ าดคดิ มากอ่ นเกิดขนึ้ บา้ งหรอื ไมด่ ังน้ันนกั ประเมนิ จงึ มี บทบาทสำคัญในการท่จี ะหาข้อมูลเก่ยี วกับความสำเร็จหรือความลม้ เหลวในทุกๆด้านของโครงการตลอดจน ผลกระทบของโครงการท่มี ตี อ่ โครงการอ่ืนเพอ่ื นำมาใชใ้ นการปรับปรุงโครงการต่อไป 5. การประเมนิ เพ่ือการยอมรบั โครงการ (Program Certification) ขนั้ ตอนนน้ี ักประเมนิ ต้องหาข้อมูลข่าวสาร รายงานต่อผู้มีอำนาจตดั สนิ ใจเพอื่ ใช้ขอ้ มูลในการพิจารณาตดั สินคุณคา่ ของโครงการและศักยภาพในการสรุป อ้างอิงไปสู่สถานการณ์อน่ื ๆ หรอื นำไปใช้กับโครงการในสถานการณอ์ ่นื ๆ ไดก้ วา้ งขวางเพียงใดในขัน้ น้ีข้อมลู ที่ ได้จากนักประเมนิ จะทำให้ผ้บู รหิ ารได้ตดั สินใจว่าควรจะดำเนนิ กบั โครงการในลกั ษณะใดอาจจะยกเลกิ ปรับปรุงใหม่หรอื อาจจะขยายโครงการตอ่ ไปอกี เปน็ ตน้ ศนู ย์ทดสอบและประเมนิ เพื่อพฒั นาการศกึ ษาและ วิชาชีพคณะครศุ าสตรจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, มปป) 2.2.4 แนวความคดิ ของคอมราคและวิลสัน Comrad and Wilson กลา่ วว่าถา้ พิจารณาแนวการประเมินท่ีหน่วยงานตา่ งๆในการประเมนิ โครงการทั้งหลายจะพบวา่ มรี ปู แบบการประเมินนยิ มใชก้ นั 5 รปู แบบดงั น้ี 1. รปู แบบการประเมนิ ตามวัตถปุ ระสงค์ (Goal-based Model) พืน้ ฐานการประเมนิ รปู แบบนี้คือไทเลอร์ (Tyler) รูปแบบการประเมนิ ตามวัตถุประสงค์เป็นรูปแบบการประเมนิ ที่เก่าแกท่ ่ใี ชก้ ันอยา่ งกว้างขวางทส่ี ดุ ใน การประเมินโครงการต่างๆ 2. รูปแบบการประเมินแบบการตอบสนอง (Responsive Model) รูปแบบการประเมนิ โครงการพัฒนามาจาก รปู แบบการประเมินของสครเี วน (Scriven) ซงึ่ ประเมนิ ยดึ จุดมงุ่ หมายและผลข้างเคียง (Side Effect) เปน็ หลักสเต็ค (Stake) ได้พฒั นารูปแบบการประเมินโครงการหลายคนไดร้ บั การสนบสนุนตามแนวคดิ น้เี ชน่ กุบา (Guba) ลนิ คอล์น (Lincoln) การประเมนิ โครงการตามลกั ษณะน้เี นน้ ทกี่ ิจกรรมมากกวา่ จดุ มุง่ หมายของ โครงการ 3. รปู แบบการประเมนิ โดยผูช้ ำนาญ (Conniosseurship Model) การประเมินโครงการตามรูปแบบนมี้ ีความ แตกตา่ งจากรูปการประเมินทงั้ สองรูปแบบทกี่ ล่าวมาแล้วไอส์เนอร์ (Fisher) ไดเ้ สนอแนวคดิ ของการประเมนิ ตามรปู แบบน้ซี ง่ึ มสี ถาบนักศึกษาตา่ งๆนิยมนาไปเป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ 4. รปู แบบการประเมนิ เพ่อื การตดั สินใจ (Decision Making Modle) การประเมนิ โดยพจิ ารณาอย่างรอบด้าน ไม่ว่าจะเปน็ จุดมุ่งหมายของโครงการหรือปญั หาขอ้ โตแ้ ยง้ ต่างๆในการประเมินโครงการตน้ แบบของการ ประเมินตามรูปแบบการประเมินเพอื่ ตัดสนิ ใจ (Decision Making Modle) มอี ยู่ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบซปิ ป์
16 (IPP Modle) ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeanm) และ CSEModle ของอลคนิ (aikin) ทง้ั สองรูปแบบนี้มี คุณสมบตั ิคล้ายคลงึ กนั มาก 5. การประเมนิ ตามกรอบตรรกของโครงการ (Log-fram) โดยพจิ ารณาถึงองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังน้ี 5.1จดุ มุ่งหมายของโครงการ (Obfectives) ซง่ึ ประกอบดว้ ย 5 อยา่ ง 5.1.1 เป้าหมายสงู สดุ (Goal) หรอื เป้าประสงค์หมายถึงจุดมุ่งหมายของแผนงานหรือผลกระทบของ โครงการทเ่ี ราคาดหวังวา่ จะเกิดข้นึ (Planned impact) ซง่ึ จะส่งผลเกดิ ประโยชนต์ ่อส่วนรวมหรอื ประเทศใน ระดับท่สี ูงกวา่ ระดับวัตถปุ ระสงค์ขององค์การ 5.1.2 วตั ถปุ ระสงค์ (Purpose) หรือ Immediate objective คอื ผลงานหรือผลลพั ธ์ของแผนงานหรอื โครงการทเี่ ราหวงั ว่าจะเกดิ ข้นึ วตั ถุประสงคจ์ ะแตกต่างจากเปา้ ประสงคต์ รงท่มี าขอบเขตของระยะเวลาส้ันกว่า และมีขอบเขตความหมายแคบกว่ท 5.1.3 ผลผลิต (Outputs) คือผลท่ีได้รับ Results) จากการทีใ่ ชป้ ัจจยั (Input) ในโครงการนน้ั และเป็นผลที่ ผูด้ ำเนนิ งานโครงการประสงคท์ ี่จะใหเ้ กดิ ขนึ้ จากการใช้ทรัพยากรและการบริหารโครงการอย่างมีประสทิ ธิภาพ 5.2 กจิ กรรม (Activities) คอื กระบวนการ (Process) หรือการกระทำ (Actions) ทีจ่ ำเป็นในการเปลี่ยนแปลง ทรัพยากรและปจั จัยการผลติ ใหเ้ กิดผลผลิต (Output) ในขนั้ สุด 5.2.1 ส่งิ ทบ่ี อกความกา้ วหน้าตามเป้าหมาย (Objectively verifiable indicators) หมายถึงสถานการณท์ ่ี ชี้ให้เหน็ ว่าโครงการบรรลุเปา้ หมายทง้ั ในระดับผลผลิต (Output) วตั ถุประสงค์ (purpose) และเปา้ หมาย ระดับสงู (gole) ซงึ่ อาจจะมลี กั ษณะทแ่ี สดงในเชงิ ปริมาณ (quantitative) และคณุ ภาพ qualitative) 5.2 ขอ้ สนั นษิ ฐานเกี่ยวกบั ความสำเร็จของโครงการเพ่อื ให้สามารถกำหนดความรับผดิ ชอบของผู้บรหิ ารโครงการได้ อยา่ งชดั เจนหากโครงการมีความล้มเหลวเน่อื งจากปัจจยั ภายนอกหรอื สถานการณ์ทีน่ อกเหนอื ความควบคมุ ของโครงการแลว้ ผู้บรหิ ารไมต่ อ้ งรับผดิ ชอบชยั ยศเร่อื งสุวรรณ (2533) 5.2.1 แนวคดิ การประเมินของเคิร์กแพทรคิ (Kirkpatrick) โดนัลด์ แอล เคริ ก์ แพทรคิ (Donald L. Kirkpatrick, 1975) แห่งมหาวทิ ยาลยั วสิ คอนซนิ สหรฐั อเมริกาอดตี เคยเปน็ ประธาน ASTD (The American Society for Tranning and Development) ได้ เสนอแนวคิดเก่ียวกับการฝกึ อบรมและการประเมินผลการฝึกอบรมว่า“ การฝึกอบรมนน้ั เป็นการชว่ ยเหลอื บคุ ลากรให้สามารถปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพในการฝึกอบรมใด ๆ ควรจะจัดให้มกี ารประเมินผลการ ฝึกอบรมซงึ่ ถือเปน็ สง่ิ จำเป็นท่ีจะช่วยใหร้ วู้ า่ การจดั โปรแกรมการฝึกอบรมมีประสทิ ธผิ ลเพียงใดการฝกึ อบรม เปน็ กิจกรรมปกตทิ ีเ่ กิดขึ้นในทุกองคก์ รเป็นกจิ กรรมทจี่ ดั ข้ึนมาเพ่อื การพฒั นาบุคลากรในหนว่ ยงานโดยม่งุ หวัง ใหผ้ ู้ผ่านการอบรมได้มกี ารปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงแนวทางการทาํ งานให้มีประสทิ ธิภาพมากข้ึนเคิรก์ แพทรคิ เหน็ วา่ การประเมินผลการฝกึ อบรมจะทำใหไ้ ด้ความรอู้ ยา่ งน้อย 3 ประการ คือ 1. การฝกึ อบรมน้นั ไดใ้ หอ้ ะไรหรือเกิดประโยชน์ต่อหนว่ ยงานในลกั ษณะใดบา้ ง 2. ควรยุติโครงการชั่วคราวก่อนหรือควรดำเนนิ การตอ่ ไปเรื่อย ๆ
17 3. ควรปรับปรุงหรือพฒั นาโปรแกรมฝกึ อบรมในสว่ นใดบา้ งอย่างไรแนวทางการประเมินในการประเมนิ ผล โครงการฝึกอบรม แพทรคิ เสนอว่าควรดำเนนิ การประเมนิ ใน 4 ลักษณะ คอื 1. ประเมนิ ปฏิกริ ยิ าตอบสนอง (ReactionEvaluation) เป็นการตรวจสอบความรสู้ ึกหรือความพอใจของผู้เขา้ รบั การอบรม 2. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Learning Evaluation) เปน็ การตรวจสอบผลการเรียนร้โู ดยควรตรวจสอบให้ ครอบคลมุ ทั้งด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และเจตคติ (Attitude) 3. ประเมนิ พฤติกรรมท่ีเปลี่ยนไปหลงั การอบรม (Behavior Evaluation) เปน็ การตรวจสอบว่าผผู้ า่ นการ อบรมไดป้ รบั เปลีย่ นพฤติกรรมเปน็ ไปตามความคาดหวงั ของโครงการหรือไม่ 4. ประเมินผลลพั ธท์ ่ีเกดิ ขนึ้ ต่อหนว่ ยงาน (Results Evaluation) เป็นการตรวจสอบว่าผลจากการอบรมได้ เกดิ ผลดตี ่อองค์กรหรือเกดิ ผลกระทบตอ่ องคก์ รในลักษณะใดบ้างคุณภาพขององค์กรดขี นึ้ หรอื มีคุณภาพขน้ึ ศูนยท์ ดสอบและประเมินเพื่อพฒั นาการศกึ ษาและวิชาชพี คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (มปป) 5.2.2 แนวคดิ การประเมินมารว์ นิ ซอี ัลตนิ (Marvin C. Alkin, 1969) ไดเ้ สนอรปู แบบการประเมนิ ทเ่ี รยี กว่า CSE (Center for the study of Evaluation Approach) จดุ เนน้ ของการประเมินตามแนวคิดของอัลคินคือการประเมินเพอ่ื การตัดสินใจอลั คนิ ไดใ้ ห้ความหมายของการประเมนิ ว่าเปน็ กระบวนการกำหนดขอบเขตของสงิ่ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการตัดสนิ ใจการ เลอื กข้อมูลขา่ วสารทีเ่ หมาะสมการเก็บรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมูลเพอื่ นำไปสู่การจดั ทารายงานสรุป ให้กบั ผมู้ อี านาจในการตัดสนิ ใจในการเลอื กแนวทางที่เหมาะสมกบั การดาเนินงานของโครงการ ขอบขา่ ยของการประเมนิ จากความหมายของการประเมินตามแนวคดิ ของอลั คนนัน้ การประเมนิ จะประกอบด้วยการจดั หาและ วิเคราะหข์ ้อมูลเพือ่ ท่จี ะนาไปใชใ้ นการตดั สินใจดงั ในการประเมนิ จาเปน็ จะตอ้ งประเมินในเรื่องต่างๆ 5 ด้าน ดงั นี้ 1. การประเมนิ ระบบ (SystemAssessment) เปน็ การอธบิ ายหรือพรรณนาสภาพของระบบเพือ่ เปรยี บเทียบ สภาพทีเ่ ป็นจรงิ กบั ความคาดหวงั ท่จี ะเกิดขึ้นการประเมระบบจะช่วยให้เราสามารถกำหนดขอบเขตและ วตั ถุประสงคท์ ่ีเหมาะสมสิง่ ท่ีจะตอ้ งศกึ ษา ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการของประชาชนชุมชนและสงั คมทมี่ ีตอ่ สภาพการณ์ปัจจุบนั สำหรบั การประเมินระบบแต่ละส่วนจำเป็นต้องใช้เทคนิควธิ ีการตา่ งๆกัน 2. การประเมนิ การวางแผนโครงการ (Program Planning) เปน็ การประเมินก่อนทจี่ ะมกี ารดำเนินโครงการ เพอื่ หาขอ้ มูลข่าวสารมาใชใ้ นการตัดสนิ ใจพิจารณาทางเลอื กท่เี หมาะสมของโครงการนกั ประเมนิ ต้องหาขอ้ มลู ที่แสดงความคาดหวังท่ีจะบรรลเุ ป้าหมายพร้อมกับประเมนิ ผลที่จะได้รับจากการใชว้ ธิ กี ารดำเนินงานตา่ งๆดว้ ย เพ่อื ให้สามารถเหน็ ข้อเปรยี บเทยี บในการหาทางเลือกทเ่ี หมาะสมโดยใชว้ ิธกี ารทแ่ี ตกต่างกันออกไปตาม ลักษณะของปัญหาโดยทวั่ ไปจะใชก้ ารประเมินจากเกณฑภ์ ายนอกและจากเกณฑ์ภายใน
18 3. การประเมินการนำไปใชเ้ พื่อการดำเนนิ โครงการ (Program Implementation) เป็นการประเมนขณะที่ โครงการกาลังดาเนินงานเพอื่ ตรวจสอบดวู ่าการดำเนินโครงการน้นั เปน็ ไปศนู ยท์ ดสอบและประเมนิ เพอ่ื พัฒนา การศึกษาวชิ าชพี คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ตามข้ันตอนตา่ งๆทไ่ี ดว้ างแผนไวห้ รอื ไม่ผลทเี่ กิดขึ้นมี ความสอดคลอ้ งกับสง่ิ ทวี่ างแผนไว้หรือคาดหวงั ไวเ้ พยี งไร 4. การประเมินเพ่อื ปรบั ปรงุ โครงการ (Programimprovement) เป็นการประเมนิ เพอ่ื หาข้อมูลทีน่ ำมาใช้ใน การดำเนนิ โครงการใหบ้ รรลุจดุ มงุ่ หมายและมผี ลทไ่ี ม่คาดคดิ มากอ่ นเกิดขึ้นบ้างหรือไมด่ ังนั้นนกั ประเมินจึงมี บทบาทสำคญั ในการทจี่ ะหาขอ้ มูลเก่ียวกับความสำเรจ็ หรอื ความล้มเหลวในทุกๆดา้ นของโครงการตลอดจน ผลกระทบของโครงการที่มีต่อโครงการอ่ืนเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรงุ โครงการต่อไป 5. การประเมนิ เพ่อื การยอมรบั โครงการ (Program Certification) ขน้ั ตอนนี้นักประเมินต้องหาขอ้ มลู ข่าวสาร รายงานต่อผ้มู อี านาจตัดสินใจเพอื่ ใช้ขอ้ มูลในการพจิ ารณาตดั สินคุณค่าของโครงการและศกั ยภาพในการสรุป อา้ งองิ ไปสสู่ ถานการณ์อนื่ ๆ หรอื นำไปใชก้ บั โครงการในสถานการณอ์ ืน่ ๆ ไดก้ ว้างขวางเพียงใดในข้นั นีข้ ้อมูลท่ี ไดจ้ ากนักประเมินจะทำให้ผบู้ ริหารได้ตัดสินใจว่าควรจะดำเนินกบั โครงการในลักษณะใดอาจจะยกเลกิ ปรับปรุงใหม่หรืออาจจะขยายโครงการต่อไปอีกเป็นตน้ ศนู ย์ทดสอบและประเมนิ เพื่อพฒั นาการศึกษาและ วิชาชีพคณะครศุ าสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, มปป) 5.2.3 แนวคิดการประเมินของโพรวัส (Provus) โพรวัส (Provus, 1969) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมินผลว่าเปน็ การเปรยี บเทยี บผลการ ปฏิบตั ิการกับมาตรฐานหรอื เป็นการคน้ หาความไมส่ อดคล้องระหว่างความคาดหวงั กับผลการปฏบิ ัติการของ แผนงานเขาอธิบายว่ามีความไมส่ อดคลอ้ งกัน 5 ชนดิ ทสี่ ามารถศึกษาไดจ้ ากการใชแ้ ผนงานคือความไม่ สอดคลอ้ งทสี่ ัมพันธ์กับข้นั ตอนต่างๆ ดงั น้ี ขัน้ ท่ี 1 การออกแบบโครงการคอื การกำหนดปัจจยั ท่ีทำให้เกดิ การดำเนนิ งานกำหนดกระบวนการ ดำเนินงานและกำหนดผลทคี่ าดหวงั ซงึ่ จะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน ขน้ั ท่ี 2 การเตรยี มพรอ้ มเป็นการนำปัจจยั ทที่ ำใหเ้ กิดการดำเนินงานเขา้ สู่กระบวนการ ขั้นท่ี 3 กระบวนการท่ใี ชเ้ พือ่ การดำเนินงาน ขั้นที่ 4 ผลผลิต ขน้ั ท่ี 5 การวเิ คราะหเ์ กย่ี วกบั การลงทนุ ตามรูปแบบน้ีการประเมินต้องทำโดยผ้ปู ระเมินคณะหนึง่ ท่ี ไดว้ างมาตรฐานตามความคาดหวังของโครงการเอาไว้ตอ่ จากนนั้ การประเมินทกุ อยา่ งต้องดำเนนิ ไปโดยการหา ขอ้ มลู ใหม่และทำการตดั สนิ ใจโดยใช้มาตรฐานท่ีวางไว้เปน็ เกณฑเ์ ปน็ รปู แบบท่ชี ว่ ยใหห้ าขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feedback) ในทุกข้ันตอนของการประเมนิ ดงั กล่าวขา้ งต้นและตลอดโครงการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งศนู ยท์ ดสอบและ ประเมินเพ่อื พัฒนาการศึกษาและวิชาชีพคณะครุศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, (มปป)
19 5.2.4 แนวคิดการประเมนิ ของสครฟิ เวน่ (Scriven, 1967) ไมเคลิ สครฟิ เว่น (Micheal Scriven) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมนิ คือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ต่างๆเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารตามระดับของเปา้ หมายทก่ี าหนดนอกจากน้ยี ังกล่าวถงึ หนา้ ทกี่ ารประเมนิ วา่ มี 2 ระดบั คือ 1. ระดับวิธกี ารเน้นจุดมุ่งหมายของการประเมนิ เพอื่ การตัดสินคุณค่า 2. ระดับการนำไปใชเ้ นน้ เร่ืองบทบาทของการประเมนิ เพ่อื การนำขอ้ มลู มาใชอ้ ยา่ งเหมาะสมจดุ ม่งุ หมายของ การประเมินจุดมุ่งหมายทสี่ ำคญั ของการประเมนิ มี 2 ประการคือ 2.1 การประเมินความก้าวหนา้ (Formative Evaluation) เป็นการประเมินระหวา่ งท่โี ครงการกา ลังดำเนนิ การอยู่โดยมีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ปรับปรุงโครงการใหด้ ีขึ้นเพราะการประเมินจะชว่ ยใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั ท่ี เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรงุ และพฒั นา 2.2 การประเมนิ ผลสรปุ (Summative Evaluation) เปน็ การประเมินเมอ่ื สนิ้ สดุ โครงการมี จดุ มุ่งหมายเพือ่ ตดั สินคณุ คา่ ของโครงการตลอดจนค้นหาสิง่ ทด่ี ีของโครงการเพอื่ นาไปใช้กับสถานการณอ์ ืน่ ท่ี คลา้ ยคลงึ กันต่อไปสคริฟเว่นไดเ้ สนอแนะวา่ ในเร่อื งการประเมนิ เพือ่ การปรบั ปรุงหรือดคู วามก้าวหน้าของ โครงการโดยทำการประเมนิ ความก้าวหนา้ (Formative Evaluation) ควรทีจ่ ะใช้นักวจิ ัยมอื อาชีพในการ ดำเนินการประเมนิ นน้ั ควรจะได้แยกหน้าทแี่ ละความรบั ผิดชอบของบคุ คลต่างๆให้ชัดเจนรวมทง้ั ควรจะไดม้ ี การปรึกษาหารอื กันระหว่างนกั ประเมนิ กบั ผ้ดู ำเนินงานในโครงการดว้ ยวธิ ีการประเมินในการประเมินมวี ิธีการ ทสี่ ามารถนามาใช้ได้ 2 วธิ ี คอื 2.2.1 การประเมนิ กอ่ นมกี ารปฏบิ ัตงิ านหรอื การประเมนิ คุณค่าภายใน (IntrinsicEvaluation) คอื การประเมนิ คุณคา่ ของเครอื่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เนอ้ื หาจดุ มงุ่ หมายกระบวนวิธกี ารให้ไดค้ ะแนน และเจตคตขิ องครูเปน็ การประเมนกอ่ นที่จะไดม้ ีการปฏิบตั ิงาน 2.2.2 การประเมนิ เมอ่ื มกี ารปฏบิ ตั งิ านแลว้ หรือการประเมินคณุ คา่ การปฏิบัติงาน (Pay-off Evaluation) เปน็ การตดั สินคุณค่าจากผลที่เกิดขึ้นจากการใช้เคร่อื งมอื กบั นกั เรียนเชน่ การประเมินมคี วาม แตกต่างระหว่างคะแนนการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนหรอื คะแนนทไี่ ด้จากกลุม่ ทดลองกบั กลุ่มควบคุม การประเมินโดยใช้การเปรียบเทยี บ สครฟิ เว่ นมีความคิดเห็นที่แตกตา่ งจากครอนบาคในเร่ืองของการใชก้ ล่มุ เปรียบเทยี บมาใชใ้ นการประเมินซง่ึ สครฟิ เวน่ เป็นบคุ คลที่เห็นวา่ การใชก้ ลมุ่ เปรียบเทียบมขี ้อดีมากกว่าการไม่ ใชก้ ลุ่มเปรียบเทียบการใชก้ ล่มุ เปรียบเทียบจะเปน็ การประหยดั กว่าไมต่ อ้ งทาการศกึ ษาในระยะยาวและใช้กลุ่ม ตัวอย่างมากไม่ต้องเสยี เวลาและค่าใช้จา่ ยมาก นอกจากนแี้ ลว้ สคริฟเวน่ ยงั เชอ่ื วา่ การศกึ ษากลุ่มย่อย (Micro-studies) ด้วยวธิ ีการเปรยี บเทียบจะ เป็นประโยชนม์ ากกว่าการศึกษาประชากรท้งั หมด (Cross studies) เพราะทำไดง้ า่ ยและบ่อยคร้ังกว่าคณุ ค่า และคา่ ใช้จ่ายในการดำเนนิ งานสคริฟเว่นเป็นนกั ประเมนิ ทใ่ี หค้ วามสำคัญของการประเมินค่าใช้จ่ายกบั ผลทีไ่ ด้
20 เขาเชื่อวา่ การประเมินจะขาดความสมบรู ณ์ถ้านกั ประเมนิ ไม่ไดพ้ จิ ารณาในดา้ นคุณค่าทไี่ ดร้ ับโดยการ เปรยี บเทยี บกับคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานของโครงการส่งิ ทต่ี อ้ งพิจารณามี 3 ประการคือ 1. ความเป็นประโยชน์นักประเมนิ ควรจะต้องพิจารณาดูวา่ สิง่ ทีไ่ ด้ลงทุนไปนั้นมีประโยชน์มากน้อยเพยี งใด คุม้ คา่ กับค่าใช้จ่ายทีต่ อ้ งใชไ้ ปหรือไม่ 2. ขวัญหรือกาลงั ใจหรือคณุ ธรรมเป็นส่ิงสำคัญมากในการดำเนนิ งานโครงการควรพิจารณาดว้ ยว่าผลของ โครงการจะทําใหข้ วญั หรอื กำลังใจหรอื คณุ ธรรมของผู้รว่ มโครงการเป็นอยา่ งไร 3. ค่าใชจ้ า่ ยเปน็ เรื่องทส่ี ำคัญมาก แต่นักประเมินไม่ค่อยใหค้ วามสนใจเนือ่ งจากมคี วามยงุ่ ยากในการประเมิน การประเมินไม่ผูกพันกบั จดุ มุง่ หมาย (Goal-Free Evaluation) การประเมินโดยทว่ั ไปนกั ประเมินจะยดึ จดุ หมายของโครงการเป็นหลักความสอดคล้องผลการปฏบิ ตั งิ านกบั จุดมุ่งหมายของโครงการ แต่สคริฟเว่นมีค วามเหน็ ว่านกั ประเมินไมค่ วรจะใหค้ วามสนใจเฉพาะจุดมุ่งหมายของโครงการท่ีตง้ั ไว้เพยี งอย่างเดยี ว แต่ควรจะ ใหค้ วามสนใจกับผลท่เี กิดขึน้ จากโครงการซง่ึ นอกเหนอื จากจดุ มุ่งหมายของโครงการไมว่ า่ ผลอันน้ีจะสอดคล้อง กบั จดุ มุ่งหมายของโครงการหรอื ไม่หรอื ผลบางอยา่ งอาจมคี วามสำคญั มากกไ็ ด้ศูนย์ทดสอบและประเมินเพ่อื พัฒนาการศกึ ษาและวิชาชีพคณะครศุ าสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , มปป)
กรอบแนวคดิ 21 โครงการ ทุเรียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ รปู แบบการประเมินโครงการ ปัจจัยส่วนบคุ คล CIPP Model 1. เพศ 2. อายุ C = Context 3. อาชีพ I = Input 4. การศึกษา P = Process 5. รายได้ P = Product ผลการประเมนิ โครงการทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธ์ิ โดยใชแ้ บบประเมิน CIPP MODEL มี 4 ดา้ น ดงั นี้ 1. ด้านสภาวะแวดลอ้ ม ( Context ) 2. ดา้ นปจั จัย ( Input ) 3. ดา้ นกระบวนการ ( Process ) 4. ด้านผลผลติ ( Product ) ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิด โครงการทุเรียนทอดสวนรุง่ สมั ฤทธ์ิ
22 บทที่ 3 วธิ กี ารประเมนิ โครงการ วิธีการประเมนิ ของโครงการทเุ รยี นทอดสวนรุ่งสมั ฤทธส์ิ รา้ งรายได้ มกี ระบวนการขั้นตอนในการ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี รปู แบบการประเมินโครงการ การประเมินโครงการ “ทุเรียนทอดรุง่ สมั ฤทธ์ิ” ใชร้ ปู แบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL ของสตฟั เฟลบมี ( D.L. Stufflebeam, 1997 ,P. 261-265 ) ดังน้ี ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม • หลกั การ ( Context Evaluation ) • วตั ถุประสงคข์ องโครงการ • เป้าหมายของโครงการ • การเตรียมการภายในโครงการ ประเมนิ การปัจจยั เบ้อื งตน้ • บคุ ลากร ( Input Evaluation ) • วสั ดอุ ุปกรณ์ • เครื่องมอื เคร่ืองใช้ • งบประมาณ ประเมนิ กระบวนการ • การดาเนินโครงการ ( Process Evaluation ) • กิจกรรมการดาเนินงานตาม โครงการ • การนิเทศติตามกากบั • การประเมนิ ผล การประเมนิ ผลผลติ • ผลการดาเนินโครงการ ( Product Evaluation ) • คุณภาพผเู้ รียน ภาพที่ 2 รปู แบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL
23 วธิ ีการประเมนิ โครงการ โครงการทเุ รียนทอดสวนรุง่ สมั ฤทธ์ิสร้างรายได้ มีวธิ กี ารประเมนิ โครงการแบบ การประเมนิ คณุ ภาพ โดยนำหลกั การวงจรเดมิ ม่ิง “PDCA” หรอื “CIPP” ของสตัฟเฟลบมี ในการตดิ ตามโครงการและประเมนิ ผล โครงการ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ผบู้ รโิ ภค ผูด้ ำเนนิ โครงการและผู้ปกครอง จำนวน 20 คน ซึง่ สามารถแสดงเปน็ ตารางได้ ดงั นี้ ประชากร จำนวน(คน) ผบู้ ริโภค 14 ผดู้ ำเนินโครงการ 2 ผปู้ กครอง 4 รวม 20 ตารางที่ 4 การประเมินโครงการประชากรกลุ่มตวั อย่าง กลุ่มตัวอยา่ ง คอื ผูบ้ ริโภค ผูด้ ำเนินโครงการและผปู้ กครอง จำนวน 20 คน ผูบ้ รโิ ภค จำนวน 14 คน สมุ่ ตวั อยา่ งจากผู้บริโภค จำนวน 14 คน โดยใชว้ ิธสี ่มุ ตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง ผูด้ ำเนินโครงการ จำนวน 2 คน สมุ่ ตวั อย่างจากผูด้ ำเนนิ โครงการ จำนวน 2 คน โดยใชว้ ิธีสมุ่ ตวั อยา่ ง แบบเฉพาะเจาะจง ผู้ปกครอง จำนวน 4 คน สมุ่ ตวั อยา่ งจากผ้ปู กครองท่ีเปน็ กลุม่ ตัวอย่าง เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมนิ โครงการ โดยการประเมินโครงการใช้กระบวนการศึกษาคณุ ภาพ จึงมเี คร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมินโครงการ ทุเรยี นทอดสวนร่งุ สมั ฤทธ์ิสร้างรายได้ ประกอบด้วย แบบสมั ภาษณ์ การสงั เกต การมสี ่วนร่วมและการ บนั ทึกภาพขณะดำเนินโครงการ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมินโครงการทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธิ์ มจี ำนวน 20 ฉบบั ดงั นี้ 1. แบบประเมินโครงการทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธิ์ โดยใชแ้ บบประเมนิ CIPP MODEL มี 4 ดา้ น จำนวน 12 ขอ้ ดงั นี้ 1. ดา้ นสภาวะแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ขอ้ 2. ด้านปจั จัย ( Input ) จำนวน 3 ขอ้ 3. ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ
24 4. ดา้ นผลผลติ ( Product ) จำนวน 3 ขอ้ การจัดทำและการศกึ ษาประสทิ ธิภาพของเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมินผลโครงการ 1. แบบประเมนิ โครงการทุเรียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธิ์ 1.1 ศึกษาวิธกี ารประเมนิ โครงการ และการจัดทำเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL 1.2 จดั ทำแบบประเมินโครงการทุเรียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ 4 ด้าน ดงั น้ี 1.2.1 การประเมนิ สภาวะแวดลอ้ ม ( Context) เกีย่ วกับ หลกั การ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ของโครงการ และการเตรียมการดำเนนิ โครงการ จำนวน 3 ข้อ 1.2.2 การประเมินปจั จัยนำ ( Input) เก่ียวกบั บคุ ลากร วสั ดุอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ และงบประมาณ จำนวน 3 ข้อ 1.2.3 การประเมินกระบวนการ ( Process) เกย่ี วกบั การดำเนินงาน กิจกรรมการ ดำเนินงานตามโครงการ การนเิ ทศตดิ ตามผล และการประเมินผล จำนวน 3 ขอ้ 1.2.4 การประเมินผลผลิตผลิต ( product ) เกยี่ วกบั ผลการดำเนนิ งานตาม โครงการ และคุณภาพผูเ้ รียนจำนวน 3 ขอ้ 1.3 นำแบบประเมนิ โครงการทุเรยี นทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ ไปใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญประเมินความสอดคล้องระหวา่ งข้อคำถามกบั ลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤตกิ รรม โดยใช้ IOC ผลการประเมินพบว่าคำถามท่มี คี วามสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
25 การเก็บรวบรวมข้อมลู การจัดเก็บข้อมูล โครงการทเุ รยี นทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธ์ิ สรา้ งรายได้โดยผ้จู ดั โครงการ จะทำการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดว้ ยตวั เอง โดยมีรายละเอยี ดในการจัดเก็บขอ้ มูล ดังน้ี 1. ผูจ้ ดั เก็บขอ้ มลู จะแจ้งให้ทราบว่าจะมกี ารติดต่อการสัมภาษณเ์ พอ่ื ประเมินผลโครงการทุเรยี นทอดสวน รุ่งสมั ฤทธ์ิ 2. ผู้จดั เก็บข้อมลู จะใช้เวลาในการสัมภาษณป์ ระมาณ 5-10 นาที ต่อผู้สมั ภาษณ์ 1 คนโดยประมาณ 3. ผู้จัดเกบ็ โครงการทำการตรวจความถกู ต้องสมบรู ณ์ เพ่อื นำไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลของโครงการทุเรยี น ทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ การวิเคราะห์ผลการประเมินโครงการ การวิเครผลการประเมินโครงการ โดยใช้การวเิ คราะห์เชงิ คณุ ภาพ การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชงิ คุณภาพ ส่วนที่ 1 ทำการเก็บรวบรวมขอ้ มูลและนำข้อมูลทีไ่ ด้มาจัดระเบียบข้อมลู โดยอาศยั ระบบหรือ หลักเกณฑ์ทม่ี าของขอ้ มลู เช่นขอ้ มลู ท่ีได้จากการสังเกตการสัมภาษณ์และจากเอกสาร สว่ นท่ี 2 การทำดัชนีหรอื การกำหนดรหัสของข้อมูล (Coding) เปน็ การจดั ขอ้ มูลใหเ้ ป็นหมวดหมู่หรอื เป็นประเภทตามขอ้ มูลทเ่ี กบ็ รวบรวมเปน็ การจดั ระเบยี บขอ้ มูลทางกายภาพ สว่ นที่ 3 การก้างัดขอ้ มลู หรอื สรา้ งข้อสรุปช่ัวคราวขน้ั ตอนนี้เป็นการสรปุ เช่อื มโยงดชั นคี ำหลกั เขา้ ดว้ ยกันภายหลงั จากผ่านกระบวนการทำดชั นีหรือกำหนดรหัสขอ้ มูลแลว้ การเชือ่ มโยงคำหลักเข้าด้วยกนั จะ เขียนเป็นประโยคข้อความที่แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งคำหลักและจากการเชอื่ มโยงดัชนคี ำหลักในตัวอยา่ ง เขา้ ดว้ ยกนั ส่วนที่ 4 การสรา้ งบทสรุปเป็นการเขยี นเชื่อมโยงข้อสรปุ ชว่ั คราวทีผ่ ่านการตรวจสอบยืนยันแล้วเข้า ด้วยกันการเชอื่ มขอ้ สรปุ ช่วั คราวนนั้ จะเชื่อมโยงตามลำดับข้อสรุปแตล่ ะข้อสรุปเป็นบทสรุปยอ่ ยและการ เช่ือมโยงแต่ละครงั้ จะพจิ ารณาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อมลู ทส่ี รปุ ว่าข้อมลู ชุดใดสมั พนั ธ์กับขอ้ มูลชุดใดและ สมั พันธใ์ นลกั ษณะ \"เปน็ สว่ นหนึง่ \" หรือ \"อยภู่ ายใตข้ อ้ มูลชุดใด\" นน่ั คอื การเช่อื มโยงจดั ลำดบั ขอ้ สรุปและ บทสรปุ ย่อยเข้าดว้ ยกนั นั้นจะมีลักษณะลดหลั่นตามลำดับข้นั ความสัมพนั ธ์หรืออธิบายถงึ ข้อเทจ็ จรงิ ไดอ้ ย่าง รอบด้าน ส่วนท่ี 5 การพิสจู นค์ วามน่าเชอื่ ถอื ของผลการวิเคราะห์ภายหลังจากท่ีไดส้ รา้ งบทสรปุ แลว้ กจ็ ะทำให้ ไดช้ ุดของขอ้ ความที่มลี ักษณะเปน็ นามธรรมเพอื่ จะให้บทสรปุ ดงั กลา่ วมคี วามน่าเชื่อถอื จงึ จำเป็นต้องยอ้ นกลบั ไปพิจารณาขอ้ มูลทีม่ ีลักษณะเปน็ รูปธรรมเพ่ือพิสจู น์วา่ บทสรุปนั้นสอดคลอ้ งกนั หรอื ไมซ่ งึ่ โดยทัว่ ไปแลว้ การ พิสูจน์นับสรปุ กม็ ักจะเปน็ การพจิ ารณาวธิ ีการเกบ็ ขอ้ มูลนน้ั วา่ ดำเนนิ การอย่างรอบคอบหรอื ไมเ่ พียงไรและ ข้อมูลทเี่ ก็บรวบรวมได้มานัน้ เปน็ ขอ้ มลู ทม่ี คี ุณภาพน่าเช่ือถอื หรือไม่
26 1. การศึกษาเชงิ คุณภาพ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ กลุม่ ลูกคา้ เพอื่ นและผปู้ กครอง จำนวน 20 คน โดยเลอื ก จากลกู คา้ ทซ่ี อื้ ผลิตภัณฑท์ ุเรียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธิ์ 2. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา การศกึ ษาเชงิ คุณภาพ สมั ภาษณเ์ พ่อื นศกึ ษาวธิ กี ารแปรรปู ผลิตภณั ฑท์ เุ รยี นทอดสวนรุ่ง สมั ฤทธิ์ โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลผู้ใหส้ ัมภาษณ์ โดยการสมั ภาษณ์เกยี่ วกับประเดน็ ข้อมลู สว่ นตัวเบ้ืองตน้ ตอนที่ 2 คำถามแบบประเมนิ โครงการ CIPP โมเดลโดยการสัมภาษณเ์ กีย่ วกบั ประเด็นกระบวนการ ดำเนนิ โครงการ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ เปน็ แบบสมั ภาษณ์ปลายเปดิ มีวัตถุประสงค์เพือ่ การศึกษาวธิ ีการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ทุเรยี นทอดสวนรุ่งสัมฤทธิ์ 3. การสรา้ งเครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาเชงิ คุณภาพ การศึกษาเชงิ คุณภาพ สมั ภาษณ์ กลมุ่ ลกู คา้ เพ่อื นและผ้ปู กครอง จำนวน 20 ฉบบั และนำไป วิเคราะห์ และสรปุ เปน็ ความเรยี ง 4. ข้นั ตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การศกึ ษาเชงิ คณุ ภาพ ผศู้ ึกษาดำเนินการเกบ็ ข้อมูลตามลำดับดังน้ี สัมภาษณ์ กลุ่มลูกค้า เพื่อนและผู้ปกครอง โดยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทั้ง 20 คน จำนวน 20 ฉบับ แจกแบบสัมภาษณ์โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียในโครงการ ทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธิ์ 5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติท่ใี ช้ การวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ จากเครอื่ งมือแบบสมั ภาษณ์ผลสัมฤทธิข์ องประชากรในโครงการทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำข้อมูลจากการจดบันทึกและข้อมูลจากเทปบันทึกเสียงที่ถอดเป็นบท สนทนามาวิเคราะหเ์ นือ้ หาตามหวั ขอ้ ทก่ี ำหนดแล้วนำเสนอเปน็ ข้อมลู เปน็ ความเรยี ง
27 บทท่ี 4 ผลการประเมินโครงการ การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้รบั ผิดชอบโครงการไดน้ ำเสนอผลการประเมนิ โครงการ จำนวน 4 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ผลการประเมินโครงการทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ หลังการดำเนินโครงการแสดงดัง ตารางต่างๆ คอื ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม ตารางที่ 2 ผลการประเมินโครงการด้านปจั จัย ตารางที่ 3 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลติ ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการทุเรียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธิ์ ตารางท่ี 1 แบบสอบถามข้อมลู ท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ผ้ปู ระเมนิ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา รายได้ ค้าขาย/ธรุ กิจส่วนตัว มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 20,001-30,000 บาท คนท่ี 1 ชาย 21-30 ปี คา้ ขาย/ธุรกจิ สว่ นตวั มธั ยมศึกษาตอปลาย 30,000-40,000 บาท นกั เรยี น/นักศกึ ษา ตำ่ กว่า 10,000 บาท คนท่ี 2 ชาย 21-30 ปี นักเรียน/นักศึกษา ปรญิ ญาตรี ต่ำกว่า 10,000 บาท พนักงานราชการ อนปุ ริญญา/ปวส. 20,001-30,000 บาท คนที่ 3 หญิง 21-30 ปี นักเรียน/นกั ศกึ ษา ตำ่ กว่า 10,000 บาท นกั เรยี น/นกั ศึกษา ปริญญาตรี 10,001-20,000 บาท คนท่ี 4 หญิง 21-30 ปี นักเรยี น/นกั ศึกษา ปริญญาตรี ตำ่ กวา่ 10,000 บาท นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ปริญญาตรี ตำ่ กวา่ 10,000 บาท คนที่ 5 ชาย 21-30 ปี นักเรยี น/นักศึกษา ปรญิ ญาตรี 10,001-20,000 บาท นกั เรยี น/นักศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ต่ำกวา่ 10,000 บาท คนที่ 6 หญิง 21-30 ปี นกั เรยี น/นกั ศึกษา ปรญิ ญาตรี ตำ่ กวา่ 10,000 บาท นกั เรยี น/นกั ศึกษา ปรญิ ญาตรี ตำ่ กว่า 10,000 บาท คนท่ี 7 หญงิ 21-30 ปี นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ตำ่ กวา่ 10,000 บาท นกั เรียน/นักศกึ ษา อนปุ ริญญา/ปวส. ตำ่ กว่า 10,000 บาท คนท่ี 8 หญิง 21-30 ปี นักเรียน/นักศึกษา ปริญญาตรี 20,001-30,000 บาท ค้าขาย/ธุรกจิ ส่วนตัว ปรญิ ญาตรี 20,001-30,000 บาท คนที่ 9 หญิง ต่ำกว่า 20 ปี ปริญญาตรี อนปุ รญิ ญา/ปวส. คนที่ 10 ชาย 21-30 ปี คนท่ี 11 ชาย 21-30 ปี คนที่ 12 ชาย 21-30 ปี คนท่ี 13 หญงิ 21-30 ปี คนท่ี 14 หญงิ 21-30 ปี คนท่ี 15 หญงิ ต่ำกวา่ 20 ปี คนที่ 16 หญิง 21-30 ปี คนท่ี 17 ชาย 31-40 ปี
28 ผู้ประเมิน เพศ อายุ อาชพี การศกึ ษา รายได้ คนท่ี 18 ชาย ตำ่ กวา่ 20 ปี นักเรยี น/นกั ศึกษา มธั ยมศึกษาตอปลาย 10,001-20,000 บาท คนที่ 19 ชาย 21-30 ปี นักเรียน/นักศึกษา ปริญญาตรี 10,001-20,000 บาท คนที่ 20 หญิง 31-40 ปี คา้ ขาย/ธุรกจิ สว่ นตัว ปริญญาตรี 30,000-40,000 บาท ตารางท่ี 5 แบบสอบถามขอ้ มลู ทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ โครงการทุเรียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธิ์ ตารางท่ี 1.1 ผลการประเมนิ โครงการด้านสภาวะแวดล้อม ผู้ประเมิน คำถามข้อที่ 1 : เหตุผลที่ท่านเลือกบรโิ ภคทเุ รยี นทอดกรอบสวนรุง่ สัมฤทธ์ิ คนท่ี 1 ชอบทาน คนท่ี 2 ความชอบ คนท่ี 3 มีความกรอบ คนท่ี 4 เพราะเปน็ ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคโดยท้วั ไปและมกี ำไรดี คนที่ 5 อร่อย คนท่ี 6 รสชาติอร่อย หวาน มนั และไม่ปรงุ แตง่ สารอันตราย เช่น สี เป็นตน้ คนที่ 7 มีความกรอบรสชาตอิ รอ่ ยหวานมัน ได้ปรมิ าณที่เหมาะสมกับราคา คนท่ี 8 น่าสนใจน่าเลอื กซอื้ มาบรโิ ภค คนท่ี 9 อร่อย หวาน มนั สะอาด คนท่ี 10 น่าสนใจ นา่ รับประทาน คนที่ 11 อร่อย กรอบ สะอาด คนที่ 12 สด ใหม่ หอม อร่อย สะอาด คนที่ 13 สะอาด คนที่ 14 กรอบอรอ่ ยคมุ้ คา่ กบั ราคา คนที่ 15 นา่ กิน คนท่ี 16 หอมหวานมันอรอ่ ยถูกหลักอนามัย คนที่ 17 มกี ารโฆษณาชกั ชวน ท่ีนา่ สนใจมีสีสันน่ารับประทาน
29 ผู้ประเมนิ คำถามข้อท่ี 1 : เหตุผลท่ที ่านเลือกบรโิ ภคทเุ รียนทอดกรอบสวนรุ่งสมั ฤทธิ์ คนท่ี 18 มีการขายผา่ น Facebook มสี ีสันนา่ รับประทาน คนท่ี 19 กรอบหวานมันอรอ่ ยราคายอ่ มเยาว์ คนที่ 20 กรอบอร่อย ตารางท่ี 6 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม (คำถามข้อท่ี 1) สรุปจากขอ้ คำถามที่ 1 : ทเุ รยี นมีคุณภาพดีสมบูรณ์ มีความกรอบรสชาตอิ ร่อยหวานมนั ไดป้ ริมาณท่ี เหมาะสมกับราคา อรอ่ ย นา่ รับประทานหอมหวานมัน ถูกหลักอนามัยและมีการโฆษณาชกั ชวน ท่นี า่ สนใจ ตารางท่ี 1.2 ผลการประเมนิ โครงการด้านสภาวะแวดล้อม ผู้ประเมิน คำถามข้อท่ี 2 : ผทู้ มี่ ีอทิ ธิพลตอ่ การบริโภคทุเรยี นทอดกรอบของท่าน คนท่ี 1 แฟนกช็ อบทาน คนที่ 2 ตัวเอง คนท่ี 3 มอี ิทธพิ ล คนที่ 4 คือผทู้ ่ีมอี ำนาจนอกเหนือนา่ ท่ี คนท่ี 5 ทุกวยั คนท่ี 6 พอ่ ค้าขายทุเรยี น คนที่ 7 พนักงานขาย คนท่ี 8 ลูกค้า คนท่ี 9 พอ่ แม่ ญาติ คนที่ 10 มีเพอ่ื นชี้นำว่าเจา้ นีอ้ ร่อย คนท่ี 11 พ่นี ้อง คนที่ 12 ตวั เอง เพราะชอบกิน และการโฆษนาขายท่มี กี ารทำท่นี ่ารปั ประทานและเคร่ืองมอื สะอาด คนที่ 13 เพ่อื น คนที่ 14 เพอ่ื น คนท่ี 15 คนรอบข้าง คนที่ 16 เพอื่ น พอ่ แม่ คนที่ 17 คนขายทเุ รียนทอด
30 ผปู้ ระเมิน คำถามขอ้ ท่ี 2 : ผู้ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การบริโภคทเุ รยี นทอดกรอบของท่าน คนท่ี 18 คนขายทเุ รยี นทอด คนท่ี 19 เพื่อน พอ่ แม่ คนท่ี 20 พอ่ แม่ ตารางท่ี 7 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดล้อม (คำถามขอ้ ท่ี2) สรปุ จากข้อคำถามที่ 2 : ผูท้ ่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การบริโภคทเุ รยี นทอดกรอบโดยส่วนใหญ่ เปน็ ผ้จู ำหน่ายทุเรยี นทอด กรอบในการจดั จำหนา่ ยใหผ้ ู้บริโภค ตารางท่ี 1.3 ผลการประเมนิ โครงการด้านสภาวะแวดล้อม ผู้ประเมิน คำถามขอ้ ท่ี 3 : ท่านคดิ วา่ ผู้จดั ทำโครงการทเุ รยี นทอดกรอบสวนรุง่ สมั ฤทธม์ิ คี ุณภาพท่ี สามารถนำไปตอ่ ยอดเป็นอาชีพเพอื่ สรา้ งรายได้ ไดห้ รือไม่ คนที่ 1 ไดร้ บั คนท่ี 2 ได้ คนที่ 3 ตอ่ ยอด คนท่ี 4 ได้ คนท่ี 5 ได้ คนท่ี 6 ได้ เพราะ ทเุ รียนท่ีไม่ผา่ นการแปรรูป มรี าคาค่อนขา้ งสูงอยแู่ ล้ว การนำมาแปรรูปที่มลี กั ษณะ แปลกใหม่ ทงั้ ในเรอ่ื งของรูปลักษณ์ภายนอกต่างๆ รสชาติ รวมไปถึง สสี นั ท่ีอาจจะสวยงามขนึ้ คนท่ี 7 ได้ เพราะทเุ รยี นทอดสวนรุ่งสมั ฤทธิ์มรี ปู แบบผลติ ภัณฑท์ ท่ี ันสมัยเหมาะกบั การบรโิ ภคไมว่ า่ จะ ทานเลน่ หรือซ้อื เปน็ ของฝากได้ คนท่ี 8 สามารถนำไปตอ่ ยอดสร้างรายไดไ้ ด้ คนท่ี 9 ได้ คนท่ี 10 ได้ เพราะสนิ ค้ามีคุณภาพ คนท่ี 11 ได้ คนท่ี 12 ได้ เพราะมกี ารจดั การวางแผนธรุ กิจทด่ี ี คนท่ี 13 ได้ คนท่ี 14 ได้ คนที่ 15 ได้
ผู้ประเมิน 31 คนท่ี 16 คำถามข้อท่ี 3 : ท่านคดิ วา่ ผ้จู ดั ทำโครงการทุเรียนทอดกรอบสวนรุ่งสัมฤทธ์มิ คี ุณภาพท่ี คนที่ 17 สามารถนำไปตอ่ ยอดเปน็ อาชีพเพอื่ สรา้ งรายได้ ไดห้ รือไม่ ได้ เพราะรปู แบบผลิตภณั ฑ์สวยงานเหมาะแกผู้ทบ่ี ริโภคเปน็ ของฝากได้ คนท่ี 18 สามารถนำไปตอ่ ยอดเปน็ อาชพี เพื่อสรา้ งรายได้ไดเ้ พราะมีการวางแผนงานและมกี ารออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ท่ีนา่ สนใจแก่ผู้บรโิ ภค คนที่ 19 ได้ เพราะ คนขายสามารถนำผลผลติ ท่ีบ้านมาต่อยอดเปน็ ผลิตภัณฑเ์ พ่อื สรา้ งรายไดไ้ ด้โดยมีตน้ ทนุ คนที่ 20 ที่ไมส่ งู จนเกินไป ได้ เพราะมีการออกแบบผลิตภณั ฑ์สวยน่ารับประทาน ต่อยอดได้ ตารางท่ี 8 ผลการประเมนิ โครงการด้านสภาวะแวดล้อม (คำถามขอ้ ท3่ี ) สรุปจากข้อคำถามท่ี 3 : สามารถนำไปต่อยอดเป็นอาชพี เพอ่ื สร้างรายได้ได้ เพราะ ทเุ รียนทไ่ี ม่ผ่านการแปร รปู มีราคาค่อนข้างสูงอยแู่ ลว้ การนำมาแปรรปู ทมี่ ลี ักษณะแปลกใหม่ มกี ารวางแผนงานและมกี ารออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ที่น่าสนใจแก่ผู้บริโภค ตารางท่ี 2.1 ผลการประเมนิ โครงการด้านปจั จัย ผปู้ ระเมนิ คำถามข้อท่ี 4 : วตั ถุประสงค์หลักท่ที า่ นเลือกซอ้ื ผลิตภัณฑท์ ุเรียนทอดกรอบ คนท่ี 1 ชอบทาน คนท่ี 2 ชอบกิน คนที่ 3 เพราะเป็นคนชอบทานทเุ รยี น คนท่ี 4 เพราะมนั มคี วามนา่ กิน คนท่ี 5 นา่ สนใจ คนที่ 6 รสชาตดิ ี ไม่มวี ัตถกุ นั เสีย คนท่ี 7 งา่ ยตอ่ การบริโภคและจัดเก็บได้เปน็ เวลานาน คนที่ 8 นา่ รบั ประทาน คนท่ี 9 กนิ เป็นขนม อาหารวา่ ง คนที่ 10 สว่ นตวั ชอบทุเรยี นทอดอยแู่ ล้ว คนท่ี 11 อร่อย คนที่ 12 ชอบกิน คนที่ 13 อร่อย
ผ้ปู ระเมิน 32 คนที่ 14 คนที่ 15 คำถามขอ้ ท่ี 4 : วัตถุประสงค์หลกั ทีท่ ่านเลอื กซ้ือผลิตภณั ฑท์ เุ รียนทอดกรอบ คนท่ี 16 แพ็กเกจดี และชิ้นใหญ่ อยากกนิ คนที่ 17 ชอบรับประทานทุเรยี นทอดมากกว่าทเุ รยี นสกุ เป็นลูกเพราะไมช่ อบกลิ่นของทุเรียน จงึ เปน็ เหตุผล คนท่ี 18 หลักๆท่ที ำใหห้ ันมาบริโภคทเุ รียนทอดกรอบ คนที่ 19 มสี สี นั น่ารบั ประทาน มีรปู แบบผลติ ภณั ฑแ์ ละการโฆษณาเชญิ ชวนที่น่าสนใจ คนที่ 20 มรี าคาที่ไม่แพง มคี วามสดใหมแ่ ผน่ ใหญ่ ทำสดใหม่ ไม่ใส่สใี ส่สาร ประมาณมาก ราคาไม่แพงเกินไป ตารางที่ 9 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นปัจจยั (คำถามขอ้ ท่ี1) สรุปจากข้อคำถามที่ 4 : วตั ถุประสงค์ที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกซอ้ื ทเุ รียนทอดกรอบ เพราะ มีความชอบโดย สว่ นตัว อร่อยและน่ารบั ประทาน มรี าคาท่ีไม่แพง มีความสดใหม่แผ่นใหญ่ ตารางท่ี 2.2 ผลการประเมินโครงการด้านปจั จยั ผู้ประเมนิ คำถามข้อที่ 5 : ความสามารถในการเกบ็ รกั ษาผลติ ภัณฑท์ เุ รียนทอดสวนรุง่ สมั ฤทธ์ิ คนท่ี 1 ดีครบั คนที่ 2 เกบ็ ไดน้ าน คนที่ 3 สามารถเก็บไดน้ าน คนที่ 4 ใสใ่ นภาชนะทีม่ ฝี าปดิ หรอื ถงุ พลาสตกิ ขนาดใหญท่ ่ีรองดว้ ยกระดาษซับมนั แล้วปดิ ปากถงุ ให้สนทิ หรอื จะนำไปใสใ่ นบรรจุภณั ฑ์จำหน่ายได้เลย (ในกรณีไม่มตี ูอ้ บ) **สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน 6 คนที่ 5 เดือน และ ควรเปล่ยี นกระดาษซับมันทุกอาทิตย์ คนท่ี 6 ยกไวไ้ ดน้ าน คนที่ 7 ค่อนข้างดี เพราะบรรจภุ ณั ฑ์สามารถคงความกรอบของเนอื้ ทุเรยี นทอดได้ยาวนาน คนท่ี 8 ถุงซิปลอ็ ค ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดความช้นื สามารถปอ้ งกนั รักษาผลติ ภัณฑ์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี คนที่ 9 สามารถเก็บไดน้ าน คนที่ 10 ดมี าก สามารถเก็บไดน้ าน คนที่ 11 เกบ็ ใส่ขวดโหลหรือถุงมีซปิ คนท่ี 12 สามารถเก็บไดน้ าน สามารถเก็บไดน้ าน
33 ผู้ประเมนิ คำถามข้อที่ 5 : ความสามารถในการเกบ็ รักษาผลติ ภณั ฑ์ทเุ รียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิ คนท่ี 13 สามารถเกบ็ ได้นาน คนท่ี 14 หากเก็บให้มิดชิดสามารถคงความกรอบไว้ไดน้ าน คนที่ 15 สามารถเกบ็ ได้นาน คนที่ 16 มกี ารอบผลติ ภณั ฑ์ทำใหไ้ มเ่ หมน็ หนื น้ำมนั และมีถุงซปิ ล็อกที่สามารถกนั ลมไดอ้ ยา่ งดี คนที่ 17 ทุเรยี นทอดไม่เหย่ี วและไม่เหมน็ หนื มคี วามกรอบอรอ่ ยไมอ่ มมนั คนท่ี 18 กนั ลมเข้าได้ดี เปิดปิดง่ายตอ่ การรับประทาน คนท่ี 19 วสั ดุท่ใี ช้ในการใสท่ เุ รยี นทอดกรอบเหมาะสมและงา่ ยตอ่ การพกพาและใช้งาน คนท่ี 20 สามารถเก็บได้นาน ตารางที่ 10 ผลการประเมนิ โครงการด้านปจั จัย (คำถามขอ้ ท่ี2) สรปุ จากข้อคำถามที่ 5 : การเกบ็ รักษาผลิตภัณฑท์ ุเรยี นทอดค่อนข้างดี เพราะบรรจุภัณฑ์สามารถคงความ กรอบของเน้อื ทุเรียนทอดได้ยาวนาน ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดความช้นื สามารถป้องกนั รกั ษาผลติ ภัณฑไ์ ด้เปน็ อย่างดี ทเุ รยี นทอดไม่เห่ยี วและไม่เหมน็ หนื ตารางที่ 2.3 ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั ผ้ปู ระเมนิ คำถามขอ้ ที่ 5 : ความสามารถในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ทุเรยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธิ์ คนที่ 1 ดีครับ คนท่ี 2 เกบ็ ได้นาน คนที่ 3 สามารถเกบ็ ได้นาน คนที่ 4 ใสใ่ นภาชนะที่มฝี าปิดหรอื ถุงพลาสตกิ ขนาดใหญ่ทร่ี องด้วยกระดาษซบั มนั แล้วปิดปากถุงใหส้ นทิ หรอื จะนำไปใสใ่ นบรรจภุ ัณฑ์จำหนา่ ยได้เลย (ในกรณไี ม่มีตู้อบ) **สามารถเก็บรกั ษาไวไ้ ดน้ าน 6 คนท่ี 5 เดือน และ ควรเปล่ยี นกระดาษซบั มนั ทกุ อาทติ ย์ คนท่ี 6 ยกไว้ได้นาน คนที่ 7 ค่อนข้างดี เพราะบรรจภุ ัณฑส์ ามารถคงความกรอบของเนือ้ ทุเรียนทอดได้ยาวนาน คนท่ี 8 ถงุ ซปิ ล็อค ปอ้ งกันไม่ให้เกิดความชืน้ สามารถปอ้ งกันรักษาผลิตภัณฑไ์ ดเ้ ป็นอย่างดี คนท่ี 9 สามารถเก็บไดน้ าน คนท่ี 10 ดีมาก สามารถเกบ็ ไดน้ าน คนท่ี 11 เก็บใสข่ วดโหลหรอื ถงุ มีซิป คนที่ 12 สามารถเกบ็ ได้นาน สามารถเก็บได้นาน
34 ผู้ประเมนิ คำถามข้อที่ 6 : ความทันสมัยของบรรจภุ ณั ฑท์ ุเรียนทอดกรอบของโครงการทุเรียนทอดสวน ร่งุ สัมฤทธ์ิ คนท่ี 14 มคี วามทันสมยั สามารถเก็บได้ไวน้ าน คนที่ 15 สวยงาม คนที่ 16 มโี ลโก้เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของผลติ ภัณฑ์ มกี ารคดั สรรแผน่ ทุเรยี นหลากหลายขนาดเหมาะสม กับผบู้ รโิ ภคทต่ี ้องการเลือกหลายๆราคา คนท่ี 17 มีความทันสมยั มีการออกแบบและบรรจุภัณฑไ์ ดส้ วยงาม คนท่ี 18 อยากใหอ้ อกแบบผลิตภณั ฑ์ใหส้ วยเหมาะกบั ทเุ รยี นทอดมากกวา่ น้ี คนที่ 19 มรี ูปแบบของผลิตภณั ฑ์ทที่ นั สมยั คนที่ 20 ถุงบรรจุภัณฑ์สวย ตารางที่ 11 ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั (คำถามขอ้ ท่3ี ) สรุปจากขอ้ คำถามท่ี 6 : ความทนั สมยั ของบรรจุภณั ฑ์ทุเรยี นทอดีความทนั สมัยเหมาะสม รปู แบบผลติ ภณั ฑ์มี ความทนั สมัยรูปรา่ งรูปทรงมีความโดดเด่นสามารถเปดิ ปิดไดง้ า่ ยสะดวกแก่การใช้งาน ดงึ ดดู ใจผซู้ ้อื มีโลโก้เป็น เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของผลติ ภัณฑ์ มกี ารคัดสรรแผ่นทเุ รียนหลากหลายขนาดเหมาะสมกบั ผู้บริโภคท่ีตอ้ งการ เลือกหลายๆราคา ตารางท่ี 3.1 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ คนที่ 1 คำถามข้อที่ 7 : รูปแบบบรรจภุ ัณฑข์ องโครงการทเุ รียนทอดกรอบสวนรุ่งสมั ฤทธ์ิท่านคิดว่า คนที่ 2 เหมาะแกก่ ารบรโิ ภคหรือไม่ คนท่ี 3 เหมาะสมแก่การบรโิ ภค คนที่ 4 เหมาะสมแก่การบริโภค คนที่ 5 เหมาะสมแกก่ ารบริโภค คนที่ 6 เหมาะสมแก่การบรโิ ภค คนที่ 7 มคี วามสวยงาม เหมาะสม เพราะมเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตัว สะดวกตอ่ การเลือกซือ้ และจดจำ คนท่ี 8 เหมาะสมแก่การบริโภค เพราะถงุ ซปิ ลอ็ คสามารถกันลมกันความชื้นไดด้ ี ทำให้ทุเรียนทอดเก็บได้ คนท่ี 9 นานไม่เหม็นหนื คนที่ 10 เหมาะสมแก่การบรโิ ภค คนท่ี 11 เหมาะสมแก่การบรโิ ภค เหมาะสมแก่การบรโิ ภค เหมาะสมแก่การบรโิ ภค
ผูป้ ระเมิน 35 คนท่ี 12 คำถามขอ้ ท่ี 7 : รูปแบบบรรจุภัณฑข์ องโครงการทุเรียนทอดกรอบสวนรุง่ สัมฤทธิท์ า่ นคดิ วา่ คนท่ี 13 เหมาะแก่การบริโภคหรอื ไม่ คนท่ี 14 เหมาะสมแก่การบริโภค คนที่ 15 เหมาะสมแก่การบริโภค คนที่ 16 เหมาะสมแก่การบริโภคและจัดเก็บได้งา่ ย คนที่ 17 เหมาะสมแก่การบริโภค เหมาะสมแก่การบรโิ ภค เพราะ รปู แบบผลติ ภัณฑส์ วยงามนา่ รับประทานและงา่ ยตอ่ การบริโภค คนท่ี 18 เหมาะสมแกการบริโภคสำหรบั ทุกๆวยั สามารถเก็บไว้รับประทานได้เปน็ เวลานานเพราะมีการ คนที่ 19 ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ดว้ ยถุงซปิ ล็อคแบบดี คนท่ี 20 เหมาะแกก่ ารบรโิ ภคเพือ่ ทานกนิ เล่น เหมาะสมแก่การบริโภค เหมาะสมแก่การบรโิ ภค ตารางที่ 12 ผลการประเมนิ โครงการด้านกระบวนการ (คำถามข้อท1่ี ) สรปุ จากขอ้ คำถามท่ี 7 : รูปแบบบรรจภุ ัณฑเ์ หมาะแก่การบริโภค มคี วามสวยงามมเี อกลักษณเ์ ฉพาะตัว สะดวกตอ่ การเลือกซื้อและจดจำเหมาะสมแกการบรโิ ภคสำหรับทกุ ๆวัยสามารถเกบ็ ไวร้ บั ประทานไดเ้ ป็น เวลานานเพราะมกี ารออกแบบผลติ ภัณฑด์ ้วยถงุ ซิปลอ็ คแบบดี ตารางที่ 3.2 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ ผู้ประเมนิ คำถามขอ้ ที่ 8 : ความสวยงามของบรรจุภัณฑ์และตราสินคา้ ทุเรยี นทอดสวนรุ่งสมั ฤทธิ์ คนท่ี 1 ดีครับ คนที่ 2 สวย น่ารับประทาน คนท่ี 3 มคี วามสวยงามเหมาะสม คนที่ 4 มีความสวยงามเเละทำให้ดูน่ากนิ ข้นึ ไปอกี คนท่ี 5 พอดี คนที่ 6 สวยมีสสี ันสดใส คนท่ี 7 มคี วามโดดเดน่ สวยงานและดงึ ดดู ความสนใจ คนที่ 8 มคี วามสวยงามน่าสนใจ คนที่ 9 สวยงาม คนที่ 10 มีความดงึ ดูดมาก
ผ้ปู ระเมิน 36 คนที่ 11 คนท่ี 12 คำถามข้อที่ 8 : ความสวยงามของบรรจภุ ณั ฑ์และตราสินคา้ ทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธ์ิ คนที่ 13 สสี ันดูชวนกิน คนท่ี 14 สวย น่ารบั ประทาน คนท่ี 15 สวย นา่ รบั ประทาน คนที่ 16 สวยทันสมยั นา่ รบั ประทาน สวย นา่ รับประทาน คนท่ี 17 ความแปลกใหมแ่ ละมีเอกลักษณข์ องโลโก้ทเุ รยี นทอดสวนร่งุ สมั ฤทธิท์ ไ่ี มซ่ ำ้ ใครทำให้ง่ายตอ่ การ คนที่ 18 จดจำ คนท่ี 19 สวย นา่ รับประทาน คนที่ 20 มีความสวยเหมาะสมกบั ราคา สวยงามแปลกใหม่มคี วามทันสมัย มคี วามเหมาะสม ตารางที่ 13 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ (คำถามข้อท่2ี ) สรปุ จากข้อคำถามท่ี 8 : ความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ สวยมีสีสันสดใสมีความโดดเด่นสวยงานและดึงดดู ความสนใจ มีความสวยงามเหมาะสม ความแปลกใหมแ่ ละมีเอกลกั ษณข์ องโลโก้ทุเรียนทอดสวนรุ่งสมั ฤทธทิ์ ไี่ ม่ ซ้ำใครทำใหง้ ่ายต่อการจดจำ ตารางที่ 3.3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ ผปู้ ระเมิน คำถามข้อท่ี 9 : ท่านคิดวา่ โครงการทุเรียนทอดสวนรงุ่ สัมฤทธิส์ ามารถนำไปตอ่ ยอดจำหน่าย ผา่ นชอ่ งทางออนไลนห์ รอื ชอ่ งอน่ื ๆได้หรือไม่ คนที่ 1 ได้ สามารถนำไปตอ่ ยอดจัดจำหน่ายช่องทางอนื่ ได้ คนท่ี 2 ได้ สามารถนำไปตอ่ ยอดจัดจำหน่ายชอ่ งทางอน่ื ได้ คนที่ 3 ได้ สามารถตอ่ ยอดเเละขายออนไลน์ได้ คนที่ 4 ได้ สามารถนำไปตอ่ ยอดจัดจำหน่ายช่องทางอน่ื ได้ คนท่ี 5 ได้ สามารถนำไปต่อยอดจดั จำหน่ายช่องทางอ่นื ได้ คนที่ 6 ได้ เพราะ สามารถโพสตข์ ายลงโซเชยี่ ลได้ทกุ ช่องทาง คนที่ 7 ได้ เพราะมรี ปู แบบผลติ ภณั ฑ์ท่สี วยนา่ รับประทานและสะดวกตอ่ การบรโิ ภค คนท่ี 8 ได้ สามารถนำไปต่อยอดได้ คนที่ 9 ได้ สามารถนำไปตอ่ ยอดจดั จำหนา่ ยช่องทางอื่นได้
ผู้ประเมิน 37 คนที่ 10 คำถามขอ้ ที่ 9 : ทา่ นคดิ วา่ โครงการทุเรียนทอดสวนรุ่งสัมฤทธส์ิ ามารถนำไปตอ่ ยอดจำหน่าย คนท่ี 11 ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์หรอื ชอ่ งอ่นื ๆได้หรอื ไม่ คนท่ี 12 ได้ สามารถนำไปต่อยอดจดั จำหนา่ ยชอ่ งทางอน่ื ได้ คนท่ี 13 ได้ สามารถนำไปต่อยอดจดั จำหน่ายชอ่ งทางอ่ืนได้ คนที่ 14 ได้ สามารถนำไปต่อยอดจัดจำหนา่ ยช่องทางอืน่ ได้ คนท่ี 15 ได้ สามารถนำไปต่อยอดจัดจำหน่ายชอ่ งทางอืน่ ได้ คนที่ 16 ได้ สามารถนำไปต่อยอดทางออนไลน์ได้ หรอื นำไปวางขายตามรา้ นคา้ ต่างๆได้ ได้ สามารถนำไปตอ่ ยอดจัดจำหนา่ ยช่องทางอืน่ ได้ คนที่ 17 ได้ เพราะมกี ารอบรดี น้ำนำ้ มันทำใหผ้ บู้ รโิ ภคสามารถนำไปขายตอ่ ไดเ้ พราะนอกจากอร่อยแล้วยงั คนท่ี 18 สามารถเกบ็ ไว้ไดน้ านพอสมควร คนที่ 19 ได้ สามารถนำไปตาอยอดไดใ้ นช่องทางอ่ืนๆ เพราะมกี ารวางแผนงานท่ดี ีและน่าสนใจ คนท่ี 20 ได้ สามารถขายตอ่ ยอดไดเ้ พราะเนอื้ ทุเรยี นทอด กรอบหอมอรอ่ ยกวา่ รา้ นทีอ่ ่ืนๆทีท่ ำขาย ได้ สามารถนำไปขายออนไลนแ์ ละช่องทางอ่นื ๆได้ ได้ สามารถนำไปต่อยอดจัดจำหน่ายช่องทางอนื่ ได้ ตารางที่ 14 ผลการประเมนิ โครงการด้านกระบวนการ (คำถามข้อท่3ี ) สรุปจากขอ้ คำถามท่ี 9 : ทุเรยี นทอดสวนรุง่ สัมฤทธิ์สามารถนำไปต่อยอดจำหนา่ ยผ่านช่องทางออนไลนไ์ ด้ เพราะมรี ปู แบบผลิตภัณฑท์ ่ีสวยนา่ รบั ประทานและสะดวกต่อการบริโภค มึการวางแผนงานท่ดี แี ละนา่ สนใจ ตารางที่ 4.1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลติ ผปู้ ระเมนิ คำถามขอ้ ท่ี 10 : ความพึงพอใจของผู้บริโภคทีม่ ตี ่อรูปแบบบรรจุภัณฑท์ ุเรยี นทอดสวนรุ่ง สมั ฤทธิ์ คนท่ี 1 มีความพงึ พอใจ คนที่ 2 มีความพึงพอใจ คนท่ี 3 มคี วามพึงพอใจมาก คนที่ 4 มคี วามพึงพอใจ คนท่ี 5 มคี วามพึงพอใจ คนที่ 6 มีความพึงพอใจมาก คนที่ 7 มคี วามกรอบรสชาตอิ ร่อยหวานมัน ได้ปริมาณทเ่ี หมาะสมกบั ราคา
ผู้ประเมนิ 38 คนที่ 8 คำถามข้อที่ 10 : ความพงึ พอใจของผู้บรโิ ภคทมี่ ตี อ่ รูปแบบบรรจภุ ณั ฑ์ทเุ รยี นทอดสวนรงุ่ คนที่ 9 สมั ฤทธิ์ คนท่ี 10 มีความพงึ พอใจ คนที่ 11 มีความพงึ พอใจมากๆๆ คนที่ 12 มีความพงึ พอใจ คนท่ี 13 มคี วามพงึ พอใจ คนที่ 14 มคี วามพงึ พอใจมาก คนท่ี 15 มีความพึงพอใจ คนที่ 16 มีความพึงพอใจ มคี วามพงึ พอใจมาก คนที่ 17 ทเุ รยี นทอดทม่ี ีความกรอบมันอร่อย แผ่นทุเรียนทอดไมบ่ างและเลก็ จนเกน็ ไปทำให้รูถ้ งึ รสชาตขิ อง คนท่ี 18 ทเุ รียนทแ่ี ท้จริง คนที่ 19 ขนาดทุเรยี นทอดกรอบไมบ่ างและเล็ก เหมาะสมกับราคา หอมหวานมันกรอบอรอ่ ย คนที่ 20 ใหม้ ากมีราคาไม่แพงจนเกินไป มีความพงึ พอใจมาก กรอบอร่อย ทุเรียนทอดมีเนอ้ื สัมผสั ยอดเยีย่ ม กรอบ มนั อร่อย และมเี นื้อหวานหอมในตวั เป็นลักษณะเฉพาะ ตารางท่ี 15 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต (คำถามขอ้ ที1่ ) สรุปจากขอ้ คำถามท่ี 10 : ความพึงพอใจของผู้บรโิ ภค มีความพงึ พอใจมาก ทเุ รยี นทอดมีเน้ือสัมผสั ยอดเยยี่ ม กรอบ มนั อรอ่ ย และมเี น้ือหวานหอมในตวั เป็นลักษณะเฉพาะ ตารางท่ี 4.2 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลิต ผปู้ ระเมิน คำถามข้อท่ี 11 : ท่านเลอื กซื้อผลติ ภณั ฑท์ เุ รยี นทอดกรอบจากทใี่ ดบอ่ ยท่สี ุด คนที่ 1 สวนรุ่งสัมฤทธิ์ คนที่ 2 เพจ Facebook คนท่ี 3 สอ่ื อนิ เทอรเ์ น็ต คนที่ 4 สวนรงุ่ สัมฤทธิ์ คนที่ 5 ร้านสะดวกซอ้ื คนท่ี 6 สวนรุ่งสัมฤทธ์ิ
39 ผ้ปู ระเมนิ คำถามข้อท่ี 11 : ท่านเลอื กซื้อผลติ ภัณฑ์ทุเรียนทอดกรอบจากท่ใี ดบ่อยท่สี ุด คนท่ี 7 สอ่ื อินเทอร์เน็ต/รา้ นขายของฝาก คนท่ี 8 สอ่ื อินเทอรเ์ นต็ คนที่ 9 สวนรุ่งสัมฤทธ์ิ คนท่ี 10 ทุเรียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธิ์ คนท่ี 11 ส่ืออินเทอรเ์ นต็ คนท่ี 12 รา้ นสะดวกซ้ือ คนที่ 13 สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ คนที่ 14 ร้านสะดวกซ้อื คนท่ี 15 เพ่อื น คนที่ 16 สื่ออินเทอร์เน็ต คนที่ 17 ส่อื อนิ เทอร์เนต็ /รา้ นสะดวกซอ้ื คนท่ี 18 สอื่ อินเทอรเ์ นต็ คนที่ 19 ร้านสะดวกซอ้ื คนท่ี 20 สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ /รา้ นขายของฝาก ตารางท่ี 16 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลิต (คำถามขอ้ ท่ี2) สรุปจากขอ้ คำถามที่ 11 : ผบู้ รโิ ภคโภคส่วนใหญเ่ ลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ทุเรียนทอด จาก สวนรุ่ง สมั ฤทธ์ิ เพจ Facebook สอื่ อนิ เทอร์เน็ต รา้ นสะดวกซ้ือ ร้านขายของฝาก เพอื่ น ตารางท่ี 4.3 ผลการประเมินโครงการด้านผลผลติ ผปู้ ระเมิน คำถามขอ้ ท่ี 12 : จากการทท่ี ่านได้บรโิ ภคทเุ รียนทอดสวนรงุ่ สมั ฤทธ์ิทา่ นคิดว่าผลิตภัณฑ์ คนที่ 1 ทุเรยี นทอดมคี ุณค่าทางโภชนาการและมปี ระโยชน์ต่อรา่ งกายอยา่ งไร คนท่ี 2 ดคี รับ อรอ่ ยครบั คนท่ี 3 สามารถทานเล่นได้ ธาตแุ มกนเี ซยี ม 30 มลิ ลกิ รมั ช่วยในการเผาผลาญไขมนั และเปล่ยี นเปน็ พลังงานและยงั ช่วย คนที่ 4 บรรเทาอาการปวดท้องประจำเดือนได้ ธาตุแมงกานีส 0.325 มิลลิกรมั ชว่ ยลดอาการหงดุ หงดิ และความเหนือ่ ยลา้ ได้ ธาตุโพแทสเซยี ม 436 มิลลิกรมั ช่วยกำจดั ของเสียในร่างกายและมสี ว่ น ชว่ ยในการควบคมุ สมดุลของน้ำในรา่ งกายและลดความดันโลหิต มปี ระโยชนใ์ นทกุ ๆดา้ น
ผูป้ ระเมนิ 40 คนท่ี 5 คำถามข้อที่ 12 : จากการทที่ ่านได้บริโภคทุเรียนทอดสวนร่งุ สมั ฤทธ์ิทา่ นคิดวา่ ผลิตภณั ฑ์ ทเุ รยี นทอดมีคณุ คา่ ทางโภชนาการและมีประโยชนต์ ่อรา่ งกายอย่างไร คนที่ 6 อาจจะมโี ทษมากกว่าประโยชนเ์ น่ืองจาก เป็นผลิตภณั ฑท์ มี่ รี สชาติหวาน และมใี ขมนั ไมค่ วร บริโภคมากเกนิ ไป และในผ้ปู ่วยท่มี โี รคประจำตัว เชน่ เบาหวาน อาจจะเกิดอันตรายได้ถ้าบริโภค คนท่ี 7 เกินขนาด คนที่ 8 เมื่อได้รบั ประทาน ทเุ รียนทอด ท่อี รอ่ ยแลว้ ยอ่ มสง่ ผลใหเ้ กิดการผอ่ นคลายความเครยี ด ทำให้ คนที่ 9 อารมณด์ ี เกดิ ความสบายใจ ทำให้ประสทิ ธภิ าพในการทำงานดียงิ่ ขึ้น คนท่ี 10 มปี ระโยชน์ทางโภชนาการ คนท่ี 11 ให้พลังงานและคารโ์ บไฮเดรตแก่ร่างกาย คนที่ 12 มีความอร่อย มคี วามสนกุ เพลิดเพลนิ ในช่วงดหู นัง ฟงั เพลง คนที่ 13 อรอ่ ย คนที่ 14 มีประโยชน์มาก คนท่ี 15 ขว่ ยลดบรรเทาอาการเหนบ็ ชา ไดร้ บั โปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จากทุเรียนทอด คนท่ี 16 ตอบสนองความต้องการสว่ นตัว ในทเุ รียนทอดมีวติ ามนิ มากมายไมว่ า่ จะเปน็ วิตามินบี 1,2,3,5,6,9และวติ ามนิ ซี ทช่ี ่วยให้ระบบ คนท่ี 17 ภมู ิคมุ้ กนั ของรา่ งกายแข็งแรงมากยิ่งขึ้น แตก่ ารดูดซมึ ก็จะตา่ งกันไปในแต่ละคน สำหรับวติ ามิน คนท่ี 18 ชนิดน้หี ากผ่านความรอ้ น จะส่งผลใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพลดนอ้ ยลงได้ ชว่ ยให้พลงั งานและความอบอนุ่ แก่รา่ งกาย ทำใหร้ า่ งกายสามารถเคลือ่ นไหวเพ่อื ทำงานหรอื ทำ กิจกรรมตา่ งๆได้ มปี ระโยชน์มากๆๆ มีประโยชนต์ ่อรา่ งกาย ชว่ ยใหอ้ าการหงุดหงิดลดลง สามารถท่านเพ่ือผอ่ นคลายความเครียดลงได้ คนที่ 19 ผ่อนคลาย มปี ระโยชนม์ าก คนท่ี 20 ช่วยเสรมิ สรา้ งการเจริญเตบิ โต ชว่ ยให้ระบบภมู ิค้มุ กนั ของรา่ งกายแข็งแรงมากย่งิ ขนึ้ ตารางที่ 17 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลิต (คำถามขอ้ ท3ี่ ) สรปุ จากข้อคำถามที่ 12 : คุณคา่ ทางโภชนาการและประโยชน์ของทุเรยี นทอด ประกอบด้วย • คารโ์ บไฮเดรต 27 กรัม ช่วยใหพ้ ลงั งานและความอบอุ่นแกร่ ่างกาย ทำใหร้ า่ งกายสามารถเคลือ่ นไหว เพ่ือทำงานหรอื ทำกิจกรรมตา่ งๆได้ และคารโ์ บไฮเดรตยังมคี วามจำเป็นตอ่ การเผาผลาญไขมันใน ร่างกายให้เปน็ ไปตามปกติ อีกทงั้ การทำงานของสมองจะต้องพง่ึ กลโู คส
41 • เสน้ ใย 3.8 กรัม ชว่ ยใหอ้ ม่ิ เรว็ ลดจำนวนของคลอเลสเตอรอลและไขมัน LDL ทำใหล้ ดความเส่ยี งใน การเปน็ โรคเก่ียวกบั หลอดเลือดหวั ใจและยังชว่ ยใหร้ ะบบการขับถา่ ยดีข้ึน ลดอาการท้องผกู ได้ • ไขมัน 5.33 กรมั ใหค้ วามอบอุ่นแกร่ า่ งกาย และช่วยในการดูดซมึ ของวิตามนิ ทลี่ ะลายในไขมนั เช่น วติ ามินเอ วิตามินดี วติ ามินอี และวติ ามนิ เค • โปรตนี 1.47 กรมั ช่วยซอ่ มแซมส่วนที่สึกหรอและเสริมสรา้ งการเจรญิ เติบโตของในรา่ งกาย • ธาตุแคลเซยี ม 6 มิลลกิ รมั ช่วยให้กระดกู และฟนั แขง็ แรง ไมแ่ ตกหรอื หกั ง่าย และแคลเซียมยังเปน็ ธาตุทีส่ ำคัญสำหรับผทู้ ่ีอายมุ าก ซึ่งมกั มปี ัญหาเรื่องกระดกู พรนุ หรอื กระดูกเสื่อมไดง้ ่าย • ธาตุฟอสฟอรัส 39 มิลลิกรมั ช่วยในกระบวนการเผาผลาญไขมันและแป้ง ทำใหร้ ่างกายสามารถดงึ เอาพลงั งานไปใช้ได้ • ธาตุเหลก็ 0.43 มลิ ลิกรัม ชว่ ยป้องกนั ภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตุเหลก็ และยังช่วยให้ผิวพรรณดี เนื่องจากมคี วามเปน็ กรด-เบส ท่ีสมดุล • ธาตแุ มกนีเซียม 30 มิลลิกรมั ชว่ ยในการเผาผลาญไขมนั และเปล่ียนเป็นพลังงานและยังช่วยบรรเทา อาการปวดท้องประจำเดือนได้ • ธาตแุ มงกานสี 0.325 มิลลิกรมั ช่วยลดอาการหงดุ หงิดและความเหนอื่ ยลา้ ได้ • ธาตุโพแทสเซยี ม 436 มิลลกิ รมั ชว่ ยกำจัดของเสยี ในรา่ งกายและมีสว่ นช่วยในการควบคุมสมดุลของ นำ้ ในรา่ งกายและลดความดนั โลหิต • ธาตโุ ซเดยี ม 2 มิลลกิ รมั ชว่ ยรักษาสมดลุ ของของเหลวท่ีอยูภ่ ายในร่างกาย • ธาตสุ งั กะสี 0.28 มลิ ลกิ รมั ชว่ ยใหป้ ระจำเดอื นมาสมำ่ เสมอและมาปกติ เน่อื งจากธาตุสังกะสี จะไป ปรับระดับฮอร์โมนใหเ้ ป็นปกติ • วิตามินเอ 44 มลิ ลกิ รมั ชว่ ยบำรงุ สายตา ทำใหม้ องเหน็ ได้ดีในตอนกลางคืน และยงั ชว่ ยให้ผวิ พรรณ เปลง่ ปล่งั ไม่แห้งกร้าน นอกจากน้ยี ังลดการอักเสบของสวิ ไดอ้ กี ด้วย • วติ ามินบี1 0.374 มลิ ลิกรัม สามารถบรรเทาโรคเหน็บชาไดแ้ ละยงั ช่วยยอ่ ยอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตได้ดีย่งิ ขน้ึ • วติ ามินบี2 0.2 มิลลกิ รัม ชว่ ยเสรมิ สรา้ งการเจริญเตบิ โตและช่วยบรรเทาอาการปวดหวั ไมเกรนได้ • วติ ามนิ บี3 1.74 มลิ ลกิ รมั ชว่ ยเผาผลาญไขมนั ในรา่ งกาย และช่วยให้ระบบยอ่ ยอาหารทำงานไดด้ ขี น้ึ • วิตามนิ บี5 0.23 มิลลกิ รัม ช่วยบรรเทาอาการเหนบ็ ชา • วติ ามินบี6 0.316 มิลลิกรมั ช่วยป้องกันการเกิดนวิ่ ในไต และชะลอวยั ได้ • วติ ามินบี9 0.036 มิลลกิ รัม หรอื เรียกว่า กรดโฟลิค สามารถลดความเสยี งตอ่ การเกดิ โรคโรคหัวใจได้ • วติ ามนิ ซี 19.7 มลิ ลกิ รัม เป็นท่ที ราบกันดวี ่าสามารถชว่ ยตอ่ ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอความแกแ่ ละลด การเกดิ ริว้ รอยแหง่ วัย
42 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ วัตถุประสงคข์ องการประเมินโครงการ 1. เพอ่ื ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้บริโภคทเุ รยี นทอดสวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ 2. เพ่ือประเมนิ ถึงวัตถุประสงคท์ ผี่ บู้ รโิ ภคเลือกซือ้ ผลิตภัณฑท์ เุ รียนทอดสวนร่งุ สมั ฤทธ์ิ 3. เพอ่ื ประเมนิ ถงึ รูปแบบของบรรจุภณั ฑ์ที่ทางกลุ่มได้เลือก 4. เพอ่ื ประเมนิ ถงึ ความเป็นไปไดใ้ นการนำผลติ ภณั ฑ์มาตอ่ ยอดเพอื่ สร้างรายไดเ้ สรมิ รูปแบบการประเมิน การประเมนิ โครงการทุเรียนทอดสวนรุง่ สัมฤทธิ์ในรปู แบบการประเมินแบบ CIPP MODEL โดย ประเมนิ ในด้านสภาวะแวดลอ้ ม (Context) ดา้ นปัจจัย (Input) ดา้ นกระบวนการ (Process) และด้าน ผลผลิต(Product) การประเมินโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการไดป้ ระเมินผลหลงั การดำเนินโครงการโดยใชแ้ บบประเมนิ โครงการทเุ รียนทอด สวนรงุ่ สัมฤทธ์ิ ในดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม ด้านปัจจัย ด้านกระบวนการ และดา้ นผลผลิต การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ 1. วเิ คราะหก์ ารประเมนิ โครงการโดยใช้ รปู แบบการประเมนิ แบบ CIPP MODEL 2. วิเคราะห์จากการแระเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม ด้านปัจจยั ดา้ นกระบวนการ และดา้ น ผลผลิต สรปุ ผลการประเมินโครงการ 1. ขอ้ มูลทว่ั ไป ผลการวเิ คราะห์ปัจจยั สว่ นบุคคล พบว่า กล่มุ ตวั อยา่ งเปน็ เพศหญงิ จำนวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ย ละ 55 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-30 ปี จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75 ส่วนใหญ่ สว่ นใหญม่ ีอาชพี นักเรียน/นกั ศกึ ษา จำนวน 16 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 สว่ นใหญม่ รี ะดบั การศึกษาปริญญาตรี จำนวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75 ส่วนใหญม่ รี ายได้ตอ่ เดอื นตา่ กว่า 10,000 บาท จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50
Search