Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารอิเล็กทรอนิกส์ v9

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ v9

Published by btagan888, 2022-06-13 02:19:31

Description: วารสารอิเล็กทรอนิกส์ v9

Search

Read the Text Version

นางประไพ ศรีนูเดชสม�ชิกสภ�องค์ก�รบริห�รส่วนจังหวัดสกลนครเขตอำาเภอกุดบากนางสาววารุณี งอยผาลาสม�ชิกสภ�องค์ก�รบริห�รส่วนจังหวัดสกลนครเขตอำาเภอเต่างอยอบจ.สกลนคร ๔๒

นายจิระศักดิ์ สร้อยคำาสม�ชิกสภ�องค์ก�รบริห�รส่วนจังหวัดสกลนครเขตอำาเภอนิคมน้ำาอูนนายคำาเพยง อินทะวงษ์ีนายชิตพล สระเสยงุีสม�ชิกสภ�องค์ก�รบริห�รส่วนจังหวัดสกลนครเขตอำาเภอเจริญศิลป์สม�ชิกสภ�องค์ก�รบริห�รส่วนจังหวัดสกลนครเขตอำาเภอสองดาว่อบจ.สกลนคร๔๓

อำ�เภอเมืองสกลนครอบจ.สกลนคร ๔๔๔๕

จ่าสิบเอกคำานึง พรหมพมพิ์นายอำาเภอเมืองสกลนครพ.ศ.๒๔๙๙ได้มีพระราชบัญญัติเลิกภาค และให้แต่ละจังหวัดปกครองตนเองโดยมีผ้ว่าราชการจังหวัดูเปนผ้รับผิดชอบ ข้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย และให้แบ่งเขตการปกครองภายในจังหวัดออกเป็นอำาเภอ และ็ูึเปลี่ยนอำาเภอ ธาตุเชิงชุม เปนอำาเภอเมืองสกลนคร มาจนถึงปจจุบัน็ัอำ�เภอเมืองสกลนครเปนอาเภอหน่งของจังหวัดสกลนครต้งอย่ทางภาคตะวันออกเฉียง็ำึัูเหนือของประเทศไทย เปนที่ราบสูง ล้อมรอบด้วยภูเขาและปาไม้ เส้นรุ้งที่ ๑๖ องศา ๔๕ ลิปดาถง ๑๘ องศา็่ึ๑๕ ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ ๑๐๓ องศา ๑๕ ลิปดา ถึง ๑๐๔ องศา ๓๐ ลิปดาตะวันออก มขนาดพ้นที่ประมาณ ีื๙๐๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๕๖๕,๕๐๓ ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๖๔๗ กิโลเมตร ทางรถยนต์ ห่างจากสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ ๒ จังหวัดมุกดาหาร ประมาณ ๑๒๐ กิโลเมตร และสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ ๓ จังหวัดนครพนม ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร ซึ่งเปนเขตแดนระหว่างประเทศไทย็กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จังหวัดสกลนครมีอาณาเขตติดต่อกับเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับอำาเภอกุสุมาลย์ และอำาเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนครทิศใต้ ติดต่อกับอำาเภอภูพาน และอำาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนครทิศตะวันออก ติดต่อกับอำาเภอโพนนาแก้ว และอำาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครทิศตะวันตก ติดต่อกับอำาเภอกุดบาก และอำาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนครประชากร : รวมทั้งสิ้น ๑๔๘,๕๗๙ คน ชาย ๗๒,๘๕๑ คน หญิง ๗๕,๗๓๔ คน ๕๓,๖๖๗ ครัวเรือน นับถือศาสนาพทธและศาสนาคริสต์ ุการปกครอง : มี ๑๕ ตำาบล ๑๗๓ หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๘ แห่งอำ�เภอเมืองสกลนครการศึกษา - จบ ม.ศ.๕ โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล ป พ.ศ.ี๒๕๒๔- ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช- ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเวสเทริ์น- จบหลักสูตรนายอำาเภอ รุ่นที่ ๕๙ประวัติการทำางานพ.ศ.๒๕๒๖ รับราชการทหารค่ายพระยอดเมือง ขวาง อำาเภอเมือง จังหวัดนครพนมพ.ศ.๒๕๓๕ ผู้ช่วยนายทะเบียน อำาเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ดพ.ศ.๒๕๓๗ ปลัดอำาเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ดพ.ศ.๒๕๓๘-๒๕๔๓ ปลัดอำาเภอวานรนิวาส จังหวัด สกลนครพ.ศ.๒๕๔๑ ปลัดอาเภอคาตากล้า จังหวัดสกลนครำำพ.ศ.๒๕๔๗ ปลัดอำาเภอค้อวัง จังหวัดยโสธรพ.ศ.๒๕๔๙ ปลัดอาเภอพงโคน จังหวัดสกลนครำัพ.ศ.๒๕๕๓ ปลัดอาเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนครำพ.ศ.๒๕๕๔ จ่าจังหวัดสกลนครพ.ศ.๒๕๕๗ นายอาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนครำพ.ศ.๒๕๕๘ นายอำาเภออากาศอำานวย จังหวัด สกลนครพ.ศ.๒๕๖๑ นายอำาเภอพงโคน จังหวัดสกลนครัพ.ศ.๒๕๖๔ นายอำาเภอเมืองสกลนครอบจ.สกลนคร๔๕

อำาเภอเมืองสกลนครนั้น ได้ชื่อว่า \"เมือง ๓ ธรรม\"กล่าวคือ อำาเภอเมืองสกลนคร มีบูรพาจารย์ที่เป็นอริยสงฆ์ อาทิ หลวงปม่น ภูริทัตโต ซ่งได้รับความเล่อมใสและการู ่ัึืสักการบูชามิเสื่อมคลาย รวมทั้งมีสถานที่สำาคัญทางศาสนา ที่สำาคัญ ดังนี้จึงมีพทธศาสนิกชนและประชาชนท่วไปมาเท่ยวชมอย่างต่อเน่อง ุัีืดังนั้น จึงได้ชื่อว่าเปน ็\"เมืองแห่งธรรมะ\"และจากการท่มีภูมิประเทศสวยงามอุดมสมบูรณี์ด้วยพชพนธ์ท่หลากหลายของเทือกเขาภูพาน อันเปนท่ตั้งืัุี็ีของอุทยานแห่งชาติภูพาน นอกจากนั้นยังมีหนองหาร เปน็แหล่งน้ำาจืดที่กว้างใหญ่ เปนอันดับ ๒ ของประเทศไทย็มีขนาดพ้นที่ ๑๒๓ ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะต่างๆืกว่า ๒๐ เกาะ เหล่านี้จึงได้ชื่อว่าเปน ็\"เมืองแห่งธรรมชาติ\"เปนเมืองท่มีแหล่งชุมชนต้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร็ีั์และเปนเมืองเก่าแก่ มีชนเผ่าพ้นเมือง ได้แก่ เผ่าภูไท เผ่าญ้อ ็ืไทโส้ ไทกะเลิง ไทลาวอีสาน และ ๒ เชื้อชาติ คือ คนไทยเชื้อสายจีน คนไทยเชื้อสายเวียดนาม และอีกประการหนึ่งก็คือ แต่ละเชื้อชาติมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นสืบทอดและยึดมั่นจากรนสรนเร่อยมา และอยดวยกนดวยความรก ุ ู่ ุ่ ่ืู ่้ั้ัสามัคคี เปนนาหน่งใจเดียวมาจนถึงทุกวันนี้ จึงเป็นท่มาของ ็้ำึี\"เมืองแห่งวัฒนธรรม\"อาเภอเมืองสกลนคร ประกอบด้วยแหล่งท่องเท่ยวำี- แหล่งท่องเที่ยวธรรมะ ได้แก่ วัดพระธาตุเชิงชุมวัดปาสุทธาวาส วดถาผาแด่น ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง ่ั้ำพระธาตุดุม - แหลงทองเท่ยวธรรมชาต ไดแก หนองหาร อทยาน่่ีิุ้่แห่งชาติภูพาน น้ำาตกคำาหอมและโค้งป ้ิงงู - แหล่งท่องเท่ยววัฒนธรรม ได้แก่ ศูนย์วัฒนธรรมีจังหวัดสกลนคร สะพานขอม หรือสะพานหินอบจ.สกลนคร ๔๖

ง�นประเพณีที่สำ�คัญนมัสการองค์พระธาตุเชิงชุมและหลวงพอพระองค์แสน่จัดขึ้นในวันขึ้น ๙ ค่ำา ถึง ๑๕ ค่ำา เดือนยี่ของทุกปี ณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวหาร ภายในวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารนั้น มีพระวิหารซึ่งประดิษฐานิหลวงพอพระองค์แสน ซึ่งเปนพระพทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสน่็ุขัดสมาธิราบก่ออิฐ ถือปน ลงรักปดทอง หน้าตักกว้าง ๒ เมตร สูงจากฐานูิถึงพระเมาลี ๓.๒๐ เมตร ประทับนั่งบนแท่นสูง ๑.๓๕ เมตร หันพระพกตร์ัไปทางทิศตะวันออก หันพระปฤศฎางค์เข้าหาองค์พระธาตุเชิงชุม เปน็พระพทธรูปค่บ้านค่เมืองของชาวสกลนคร ค่มากับพระธาตุเชิงชุม ุูููประดิษฐานเปนพระประธานอยู่ภายในพระวิหารเปนพระพทธรูปที่มี็็ุความศกด์สิทธิ์มากอีกองค์หนึ่งของประเทศ ัิอบจ.สกลนคร๔๗

ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งและแข่งขันเรือยาวการแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร จดข้นในช่วงออกพรรษา ระหว่างัึวันข้น ๑๒ - ๑๕ คา เดือน ๑๑ ของทุกปี มีการจัดการแข่งขันึ่ำเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร บริเวณหนองหาร และในตอนกลางคืนของวันขึ้น ๑๓ ค่ำา ก่อนวันทาการแห่ขบวนปราสาทผ้ง ชาวค้มต่างๆ จะนาำึุำปราสาทผ้งของตนท่ตกแต่งสวยงามประดับโคมไฟหลากสึีีมาต้งประกวดแข่งขันกัน ณ สนามม่งเมือง เพ่อให้ประชาชนัิืได้ชมความสวยงามอย่างใกล้ชิด สำาหรับวันขึ้น ๑๔ ค่ำาจะเปนวันแห่ขบวนปราสาทผึ้งที่ตกแต่งอย่างวิจิตร็สวยงามของคุ้มวัดต่างๆ ไปตามถนนในเขตเทศบาล ไปสู่วดพระธาตเชงชมวรวหาร ปราสาทผ้งแต่ละขบวนจะนำามาัุิุิึตั้งไว้เปนพทธบูชา ณ บริเวณวัดพระธาตุเชิงชุม ด้วย็ุความศรัทธาของชาวอีสาน ท่เช่อว่า ในเทศกาลออกพรรษาีืพระพทธเจาจะเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้ นดาวดึงส์ ุ้เพื่ อมาโปรดเวไนยสัตว์ในโลกมนุษย์ให้พนทุกข์้ประเพณีลอยพระประทีปพระราชทาน “สิบสองเพงไทสกล”็จัดขึ้น ณ บริเวณสระพงทองัโดยเปนสระนาโบราณซ่งก่อสร้างพร้อมกันกับพระธาตุเชิงชุม็้ำึเพื่อประกอบพธีกรรมต่างๆ ท้งน้ จังหวัดสกลนครเปนจังหวัดหน่งิัี็ึที่ได้รับพระราชทานพระประทีปและกระทงพระราชทาน จากพระบรมวงศานุวงศ์ ทุกป มีการเริ่มต้นขบวนอัญเชิญีพระประทปพระราชทาน จากรอบตวเมองสกลนครไปยงีัืัสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ โดยข้าราชการช้นผ้ใหญ่จะเป็นัูผู้นั่งบนรถขบวนแห่อัญเชิญพระประทีป หลังจากน้นจะมีการัอัญเชิญกระทงพระราชทานไปประดิษฐานที่แท่นรองรับที่จดไวหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ทุกพระองค์ ณ บริเวณั้มลฑลพธี สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสกลนคริมีการกล่าวคำาบูชาพระประทีปและกระทง และผู้อัญเชิญจะอญเชญพระประทปจากทกพระองคลอยลงสระพงทอง ัิีุ์ัตามลำาดับอบจ.สกลนคร ๔๘

ประเพณีแห่ดาวเทศกาลคริสต์มาสจังหวัดสกลนครจัดขึ้นเป็นประจำาทุกปี ในช่วงเทศกาลคริสต์มาส เพื่อเฉลิมฉลองการเกิดมาของพระเยซูเจ้า โดยจะมีการประดับตกแต่งรถแห่ดาว อย่างสวยงามตระการตา กว่า ๒๐๐ คัน ในวันที่ ๒๓ และ ๒๔ ธันวาคม จะเริ่มแห่รอบชุมชนท่าแร่ ซึ่งเปนชุมชนชาวคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกท่ใหญ่ท่สุดในประเทศไทย มีกิจกรรมต่างๆ ็ีีมากมาย อาทิ ซ้มประดิษฐ์ดาว ถนนคนเดิน การแสดงละครเทวดาการแห่ดาวุแบบด้งเดิมของชุมชนทาแรดวยการถือดวงดาวนอยใหญอยในมอ พธบชามสซา ัู่่้้่่ืิีูิณ อาสนวิหารอัครเทวดามีคาแอล นอกจากน้น ยังมีกิจกรรมน่งรถรางชมเมือง ััสัมผัสบรรยากาศตะวันรอนที่หนองหาร ชมสถาปตยกรรมอาคารบ้านเรือนัเก่าแบบโคโรเนียลที่ประดับตกแต่งด้วยดวงดาวระยิบระยับสวยงามส่วนในวันท่ ๒๕ ธันวาคม จะจัดข้นในตัวเมืองสกลนคร โดยเร่มจากีึิบริเวณหน้าลานพระบรมรูป รัชกาลที่ ๕ ศูนย์ราชการจังหวัดสกลนคร แห่รอบตัวเมืองไปยังบริเวณจัดงาน ณ สานักมิสซังโรมันคาทอลิกท่าแร่-หนองแสง ำ(โรงเรียนเซนต์ยอแซฟสกลนคร) ซ่งภายในงานจะมีการแสดงดนตรีบนเวที ึการสาธิตทำาดาว การจำาหน่ายอาหารและสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน การแสดงนิทรรศการขององค์กร หน่วยงาน และชุมชนต่างๆ พร้อมชมการแสดงละครเทวดาวันคริสต์สมภพ จินตลีลาประกอบเพลงการร้องเพลงประสานเสียง เพลงคริสต์มาส และชมพลุไฟเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสอันตระการตา เปนที่ประทับใจของนักท่องเที่ยว็อบจ.สกลนคร๔๙

อบจ.สกลนคร ๕๐

ตรุษไทสกล คนจีน เวียดนามจัดเปนประจำาทุกปในช่วงเทศกาลวันตรุษจีน็ีเปนการเฉลิมฉลองวันข้นปใหม่ของชาวจีน็ึีและเวยดนาม และสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีีพธีกรรมของพ่น้องชาวไทยเช้อสายจีนและิีืเวียดนาม ให้ยังดารงสืบเน่องต่อไป โดยมีกิจกรรมำืภายในงาน ไดแก พธไหวเจาเสรมมงคลปใหมจน้่ิี้้ิี่ีพธีไหว้เจ้าแม่กวนอิม ขบวนแห่วัฒนธรรมิที่สวยงามตระการตา การเชิดสิงโตมังกรที่ตื่นตาต่นใจ การแสดงศิลปวัฒนธรรม ื๓ เช้อชาต พรอมอ่มอรอยในถนนอาหาร ืิ้ิ่วัฒนธรรมสานสัมพนธ์ ๓ เชื้อชาติ ไทย จีน ัเวียดนามอบจ.สกลนคร๔๗๕๑

พพธภัณฑ์อาจารย์มั่น ภูริทัตโต ิิตั้งอยู่ในวัดปาสุทธาวาส อ.เมืองสกลนคร ตรงข้ามศูนย์ราชการจังหวัด ่พพธภัณฑ์มีลักษณะการก่อสร้างแบบสถาปตยกรรมสมัยใหม่ประยุกต ิิั์สร้างด้วยกระเบ้องดนเผา ภายในพพธภัณฑ์มีรูปหล่อเหมือนืิิิองค์ของพระอาจารย์มั่น ในท่านั่งสมาธิ และมีตู้กระจกบรรจุอฐิของทานท่แปรสภาพเปนแก้วผลกใสสีขาว ยกฐานสูงพ้นปดวยั่ี็ึืู้หินอ่อน พร้อมทั้ง ตู้แสดงเครื่องอัฐบริขาร รวมทั้งประวัติความเปนมาของท่านต้งแต่เกิดจนมรณภาพ พระอาจารย์ม่นกำาเนิดใน็ััสกุลแก่นแก้วท่ตาบลโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชาีำเปนสามเณรเมื่ออายุ ๑๔ ป และอุปสมบทเมื่ออายุ ๒๒ ป ที่วัด็ีีเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี ท่านเปนพระท่ยึดมั่นในปฏิมาธุดงด็ี์กรรมฐานเปนวัตร มีพระในสายเดียวกับท่านอีกหลายองค์ที่ได้เข้ามาปฏิบัติและฝกวิปสสนากรรมฐานตามแนวของท่าน เช่น็ึัหลวงปฝ ู้ ่ัน อาจาโร, หลวงปขาว อาลนาโย, หลวงปแหวน สุจินต์โน เปนต้น ต่อมาท่านได้ย้ายจากการธุดงค์กรรมฐานเข้ามา ู ู่ ่็จำาพรรษาที่วัดปาสุทธาวาส และมรณภาพเม่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ภายในบริเวณวัดร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ มี่ืพระอุโบสถท่สวยงาม เด่นเปนสง่า ซ่งพระอุโบสถหลังน้เคยเปนกุฏิท่พระอาจารย์ม่น ภูริทัตตเถระ ได้มรณภาพ และยังเปนท่ใช้ในการี็ึี็ีั็ีประชุมเพลิงพระอาจารยม่น ภูริทัตตเถระ ภายในพระอุโบสถมีพระพุทธรูปประจำาวัด อาคารหลังนี้ใช้เป็นสถานที่ในการประกอบพิธี์ัทางศาสนาต่างๆ ซึ่งสถานที่แห่งนี้มีความสำาคัญและสวยงามมากๆนอกจากนั้นยังมี พพธภัณฑ์หลวงปหลุย จันทสาโร ิิู ่ตั้งอย่ในวดปาสทธาวาส สรางข้นเพ่อบรรจอฐธาตหลวงปหลย ูัุ่้ึืุัิุู ุ่(๒๔๔๔-๒๔๓๒) ซ่งเปนพระเถระช้นผ้ใหญ่สายวิปสสนาศิษย์ของึ็ัูัพระอาจารย์มั่น หลวงปหลุยเปนผู้ที่มีปฏิปทาชอบจาริกไปในที่ต่างๆ ู ่็จนถงวาระ สุดทายแห่งชีวิตทาน เม่อท่านมรณภาพและพระราชทานึ้่ืเพลิงศพแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัวฯ ทรงมีพระราชกระแสูว่า \"ควรสร้างเจดีย์ที่วัดป่าสุทธาวาส อำาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ที่วัดน้มีอัฐิธาตุของพระอาจารย์ม่นภูริทัตตเถระ ท่านจะได้อยู่ใกล้กัน\"ีัพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ร่างแบบเจดีย์องค์นี้ด้วยพระองค์เองอบจ.สกลนคร ๔๘๕๒

วัดถาผาแด่น้ำตั้งอย่ระหว่าง เทือกเขาภูพาน และภูผายล ใกล้หม่บ้านดงน้อย ตาบลดงมะไฟ อาเภอเมือง จังหวัดููำำสกลนคร อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ๑๗ กม. เชื่อกันว่าในอดีตนั้นเปนสถานที่ที่หลวงปมั่น ภูริทัตโตและคณะครูบาอาจารย์็ู ่สายวัดปากรรมฐาน เคยธุดงค์มาปกกลด บำาเพญเพยร เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๓่ั็ีโดดเด่นด้วยรูปป ้ันองค์พญานาคปรกขนาดใหญ่ ภาพแกะสลักบนหน้าผาหินมีเอกลักษณ์วิจิตรงดงาม พญาเต่าภูผาแด่นงดงามอลังการ ตัววัดตั้งอยู่บนภูเขาสูงท่ามกลางธรรมชาติร่มรื่น มีการจัดสวนด้วยดอกไม้สีสันสดใส ต้นไม้ต่างๆ และนาตกจาลอง มีร้านกาแฟ้ำำให้นั่งพก สัมผัสธรรมชาติท่ร่มรื่น สามารถชมทิวทัศน์มองเห็นวิวัีภูเขาเขียวขจีได้แบบพาโนรามาอีกด้วยการเดินทางมาท่ วัดถาผาแด่น ต้องจอดรถไว้ท่ลานจอดด้านล่าง ี้ำีจากน้นใช้บริการรถสองแถวของทางชุมชน ค่าบริการคนละ ๒๐ บาท ั(ไป-กลบ) มีรถออกตลอดท้งวัน เม่อมาถึงด้านหน้าจะผ่านปายช่อวัด ััื้ืและสวนแมกไมใบไมมอสตะไครนาสวยงามและโดดเดนตลอดทาง ้้่้ำ่ได้ยินเสียงน้ำาไหล นกร้อง เหมือนภาพในสารคดีปาเขตร้อนชื้น่ภายในวัดถ้ำาผาแด่น ยังมีแลนด์มาร์คสำาคัญที่หลายๆ คนตั้งใจเดินทางมาเพ่ อเยี่ยมชม นั่นก็คือ ภาพแกะสลักหน้าผาหินืบอกเลาเร่องราวตางๆ ในพระพทธศาสนา และดานบนประดษฐาน่ืุ่้ิเจดีย์ก้อนหินสีทองขนาดใหญ่ท่มองเห็นได้จากระยะไกล เปนส่อแทนี็ืถึงยอดเขาพระสุเมรุนอกจากนี้ ยังมีรอยพระพทธบาทขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ตรงกลางพ้นุืของทางวัดให้ประชาชนได้มาสักการะบูชา และท่ถือได้ว่าเปนจุดแลนด์มาร์คี็สำาคัญของวัดถ้ำาผาแด่น นั่นคือ องค์พญานาคปรกขนาดใหญ่ที่มีรูปป ้ันองค์พระสัมมาสัมพทธเจ้าประดิษฐานอย่ใต้เศียรพญานาค ุูเปนจุดถ่ายรูปสวยงาม น่าเกรงขามเปนอย่างยิ่ง็็อบจ.สกลนคร๕๓

พพธภัณฑ์ภูพานิิเปนแหลงเรยนรเก่ยวกบ็่ีู้ีัจังหวัดสกลนคร ท่เรียกว่าเปนดินแดนแห่งธรรม ๓ ธรรม ได้แก ี็่ธรรมะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ ภายในจัดแสดงแบ่งเปน ๙ โซน ็คือโซนที่ ๑ โหมโรง : ชมวิดีทัศน์ \"เปดเรื่อง\" นำาเสนอ ิอัตลักษณ์ของจังหวัดสกลนครว่า \"เมืองแห่ง ๓ ธรรม\" และความเปน \"เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว\" ผู้คนเป ่ยมด้วยอัธยาศัยไมตรี ็ีใช้ชีวิตบนพ้นฐานของความพอเพยงหลากหลายชาติพนธุ์ืีัอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขโซนท่ ๒ นิทรรศการมหัศจรรย์ภูพานี : ภูพาน มหัศจรรย์ขุนเขาแห่งชีวิต ร่องรอยทางประวัติศาสตร์เมื่อหลายพนปของสิ่งมีชีวิต และไดโนเสาร์ยุคครีเทเซียส ร่องรอยบนแผ่นหินอายุ ๒,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ป ภาพเขียนศิลาขนาดใหญ่ ัีีโซนท่ ๓ ห้องปาบ่งปาทาม ปาพรุอีสานีุ่่่ : เปนบริเวณท่ราบนาท่วมถึง ริมฝ ่็ี้ำังแม่น้ำา เกิดจากการทับถมดินตะกอนตามธรรมชาติจนเกิดความอุดมสมบูรณ์ของผืนปาและแหล่งน้ำา่โซนท่ ๔ ห้องหนองหารกับการต้งเมืองสกลนครีั : แหล่งนาจืดขนาดใหญ่ของจังหวัดสกลนครท่สาคัญในการดารงชีวิต้ำีำำของชาวสกลนคร มีความอุดมสมบูรณ์พชพรรณอาหารพ้นบ้านเปนบ่อเกิดหลากหลายวัฒนธรรมอันดีงามมาหลายชั่วอายุคนืื็โซนที่ ๕ ห้องคนสกลนคร : ประกอบด้วย ๖ กลุ่มชาติพนธุ์ ได้แก่ ภูไท ไทย้อ ไทโย้ย ไทกะเลิง ไทลาว ไทโส้ และ ๒ เชื้อชาติ ัคนไทยเชื้อสายจีน และคนไทยเชื้อสายเวียดนามโซนที่ ๖ ห้องอาศิรวาทองค์ราชัน องค์ราชินี : พระบาทยาตราจังหวัดสกลนคร ในการเสด็จพระราชดำาเนินเยือนจังหวัดสกลนครของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณแก่พสกนิกรทุกหมู่เหล่าโซนท่ ๗ ห้องนิทรรศการเทิดพระเกียรติฯี : เปนการอัญเชิญกระแสพระราชดารัส \"เศรษฐกิจพอเพยง\" ท่พระบาทสมเด็จ็ำีีพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทยเพ่อใช้เป็นแนวทางในการดำาเนินชีวิตอย่างมีความสุขืโซนที่ ๘ ห้องดินแดนแห่งธรรม : สกลนคร คือ แหล่งสัปปายะแห่งพระสายวัดปา คือ สถานที่เอื้อต่อการอบรมขัดเกลาจิต ่โดยมีพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ได้วางรากฐานแนวทางปฏิบัติด้านธุดงค์กรรมฐาน เพ่อประโยชน์การบำาเพ็ญสมณธรรมืให้บรรลุธรรมชั้นสูงโซนที่ ๙ ประติมากรรม ณ ลานกลางแจ้ง : นิทรรศการกลางแจ้งที่นำาเสนอด้วยงานประติมากรรม ที่สะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น สื่อความหมายถึง \"ดินแดนแห่ง ๓ ธรรม\" คือ ธรรมชาติ ธรรมะ และวัฒนธรรมอบจ.สกลนคร ๕๔

VDOอุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติฯ สร้างข้นเม่อึืป พ.ศ. ๒๕๕๓ เพ่อเปนแหล่งรวบรวมบัวพนธ์ต่างๆ และีื็ัุรองรับการประชุมวิชาการบัวนานาชาติป พ.ศ.๒๕๕๓ ท่จัดีีขึ้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ ิจงหวดสกลนคร นอกจากน้ยังเปนสถานท่ศึกษา ค้นคว้า ของััี็ีนสต นักศึกษา และประชาชนท่วไป รวมท้งยังเปนแหล่งพกิิัั็ัผ่อนหย่อนใจ และเปนแหล่งท่องเท่ยวแห่งใหม่ของจังหวัด็ีสกลนครปจจุบันอุทยานบัวแบ่งออกเปน ๓ ส่วนดังนี้ั็ส่วนรวบรวมพนธุ์บัว เปนการรวบรวมพนธุ์บัวทั้งในและต่างประเทศทั้งหมด ๓๔ สายพันธุ์ เช่น บัวกระด้ง บัวสาย ั็ับัวผัน-เผื่อน และบัวฝรั่ง รวบรวมไว้ในรูปแบบสระบัวบนพ้นที่ ๑๐ ไร่ โดยมีทางเดินที่สามารถเดินลงไปชมบัวได้ อย่างใกล้ชิดืส่วนแสดงพนธุ์บัว โดยนำาบัวพนธุ์จำานวน ๗๔ สายพนธุ์มาจัดโชว์บนกระถาง เพ่อให้ผู้สนใจได้ใกล้ชิดกับบัวมากขึ้นัััืส่วนนิทรรศการ ได้จัดแสดงไว้ในช้นล่างของอาคารวิจัยและพัฒนา ซึ่งเป็นนิทรรศการความรู้และความเป็นมาของับัวพนธุ์ต่าง ๆ เหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าได้เปนอย่างดี ซึ่งภายในห้องนิทรรศการประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับบัวต่างๆ ดังนี้ั็๑.การจำาแนกพนธุ์บัว ๒.ประวัติบัวในไทย ั๓.การปลูกบัว ๔.การดูแลรักษา ๕.โรคและศัตรูที่สำาคัญ๖.การปรับปรุงพนธุ์ ๗.การทำานาบัว ั๘.ประโยชน์จากบัวอบจ.สกลนคร๕๕

อำ�เภอสว่�งแดนดินอบจ.สกลนคร ๕๖

ว่าที่ร้อยตรีรวยรุ่ง ใครบุตรนายอำาเภอสว่างแดนดินอำ�เภอสว่�งแดนดินสว�งแดนดิน่เปนอาเภอหน่ง็ำึของจังหวัดสกลนคร เดิมมาจากเมืองสว่างแดนดิน จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น อำาเภอสว่างแดนดินในป พ.ศ. ๒๔๘๒ ได้ย้ายที่ว่าการอำาเภอมาจากีบ้านหัน มาตั้ง ณ หมู่ที่ ๑๑ ตำาบลสว่างแดนดิน ซึ่งเปนท่ตั้งในปัจจุบัน อาเภอสว่างแดนดินมีระยะห่าง็ีำจากตัวจังหวัดสกลนคร ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร มีพื้นที่กว้างขวางถึง ๙๗๐ ตารางกิโลเมตร มีพนที่ื้ครอบคลุม ๑๖ ตำาบล ๑๘๙ หมู่บ้านอาเภอสว่างแดนดินต้งอย่ทางทิศตะวันตกำัูของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอบ้านดุง (จังหวัดำอุดรธานี) และอำาเภอเจริญศิลป์ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอวานรนวาสและำิอำาเภอพงโคนัทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอวาริชภูมิ อาเภอำำส่องดาว และอำาเภอไชยวาน (จังหวัดอุดรธานี)ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอหนองหาน ำอำาเภอทุ่งฝน และอำาเภอบ้านดุง (จังหวัดอุดรธานี) ประชากร : รวมทั้งสิ้น ๔๖,๔๓๐ ครัวเรือน ประชากรท้งหมดประมาณ ๑๕๐,๓๔๘ คน แยกเปนั็ประชากรชายประมาณ ๗๔,๖๐๓ คน ประชากรหญิงประมาณ ๗๕,๗๔๕ คนมีหน่วยงานราชการท่สาคัญท่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ีำีอาทิ ศาลจังหวัดสว่างแดนดิน สานักงานอัยการำจังหวัดสว่างแดนดิน และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน เปนต้น็การศึกษาการอบรมประวัติการทำางานพ.ศ. .................... พ.ศ. .................... อบจ.สกลนคร๕๗

ตั้งอย่ท่บ้านพนนา อย่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๗๐ ูีัูกิโลเมตร ในเส้นทางสายสกลนคร-อุดรธานีลักษณะของปราสาทมียอดเดียว ฐานส่เหล่ยมผืนผ้า สร้างด้วยศิลาแลง บริเวณใกล้กับีีตัวปราสาทมีสระน้ำารูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ก่อด้วยศิลาแลงเป็นชั้นๆ มีนาขังตลอดป เช่อว่าสร้างสมัยเดียวกับปราสาทพระธาตุภูเพ็ก ้ำีืปราสาทบางส่วนยังคงสภาพสมบูรณ์ กู่พนนาัเปนศาสนสถานประจำา สถานพยาบาลเรียกว่า ็\"อโรคยศาล”สร้างขึ้นในราวพทธศตวรรษที่ ๑๘ สมัยพระเจ้าุชยวรมนท่ ๗ แหงอาณาจกรขอม ประกอบดวย ปราสาทประธานััี่ั้ทรงส่เหล่ยมก่อมุข ทางด้านหน้าหรือด้านทิศตะวันออก และวิหารีีที่ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ที่มุขด้านหน้าก่อด้วยศิลาแลงและหินทรายล้อมรอบด้วยกาแพงศิลาแลง มีโคประำุหรือประตูซ้มขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออก นอกกาแพงด้านุำทิศตะวันออกเฉียงใต้มีสระนารูปส่เหล่ยมผืนผ้ากรุด้วย ศิลาแลง ้ำีีจากการขุดแต่งในป ๒๕๔๒ พบโบราณวัตถุท่สำาคัญ ีีได้แก่เศียรพระวัชรธร ช้นส่วนพระโพธิสัตว์วัชรปราณีทรงครุฑ ิพระยมทรงกระบือ พบช้นส่วนพระกรพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ิประติมากรรมเหล่าน้เปนรูปเคารพ ในพทธศาสนาลัทธิมหายาน ี็ุรูปแบบเขมรแบบบายน (ราว พ.ศ. ๑๗๒๐-๑๗๘๐) กรมศิลปากรประกาศ \"ก่พนนา\"ูั เปนโบราณสถานของชาติเม่อ ๘ มีนาคม ็ื๒๔๗๘ และประกาศขอบเขต เมื่อ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๕ พื้นที่ ๔ ไร่ ๑ งาน ๓๓ ตารางวา นอกจากน้ที่บ้านพนนา ตาบลพนนา อาเภอสว่างแดนดินีัำัำยังพบเคร่องป ้ืันดินเผายุคบ้านเชียง เปนจานวนมากในช้นเหนือดิน็ำัขึ้นมา พบภาชนะดินเผาและโบราณวัตถุ สมัยทวาราวดี และสมัยลพบุรี จนมาถึงสมัยล้านช้างในพทธศตวรรษที่ ๒๓ุปราสาทขอมบ้านพนนา ัปราสาทขอมบ้านพนนา ัอบจ.สกลนคร ๕๘

วัดใหม่บ้านตาลตำาบลโคกสี อำาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พระบรมธาตุเจดีย์นี้ หลวงปคำาบ่อ ฐิตปญโญ ไดนาู ่ั้ำชาวบ้านตาลและชาวบ้านใกล้เคียง คณะศิษยานุศิษย์และพทธศาสนิกชน ท่มีความศรัทธาในพระพทธศาสนา ร่วมกันสรางข้นเม่อุีุ้ึืวันอังคารที่ ๑๕ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๕ แรม ๑๐ ค่ำาเดือน ๖ ปีมะโรง และแล้วเสร็จเมื่อวันศุกร์ที่ ๑๑ พฤศจิกายนพ.ศ. ๒๕๕๙ ขึ้น ๑๒ ค่ำา เดือน ๑๒ ปีวอก รวมระยะเวลาในการก่อสร้าง ๔ ปี ๕ เดือน ๒๗ วัน เป็นพระบรมธาตุ ๙ ยอด (โลกสุตรธรรม ๙) ฐานสี่เหลี่ยมทรงระฆังคว่ำาขนาดกว้าง ๓๖.๕๐× ยาว ๓๙.๕๐ × สูง ๔๑.๙๑ เมตรประดษฐาน ณ วดบานิั้ตาล ตำาบลโคกสี อำาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร แบ่งเปน ๓ ชั้น็ชั้นบนสุด มีเจดีย์ประธาน ขนาดกว้าง ๑๔.๙๐ × ยาว ๑๔.๙๐ × สูง ๒๕.๙๐ เมตรและเจดีย์บริวารทั้ง ๔ ทิศ ใต้ฐานเจดยประธานเปนห้องมณฑปจตุรมุข ภายในประดิษฐานี์็พระบรมสารีริกธาตุบนบุษบกไม้สักทองชั้นกลาง มีเจดีย์บริวาร ๔ ทิศ ภายในเปนห้องมี็ทางเดินโดยรอบชั้นล่าง เปนท่ประดิษฐานพระประธานสมเด็จพระโลกนาถ็ีศาสดา (พระศาสดาผู้เปนที่พึ่ งของสัตว์โลก) หน้าตักกว้าง็๖๐ นิ้ว สูง ๑๓๒ นิ้ว ปางสมาธิทรงเครื่องแบบกษัตริย์ประดับด้วยทอง พลอย และคริสตัล ที่ฐานพระประธานโดยมีรูปเหมือนครูบาอาจารย์ เช่น หลวงปเสาร์ กันตสีโล ู ่หลวงปมั่น ภูริทัตโต เปนต้น และใช้เปนสถานที่ปฎิบัติธรรมู่็็วัดใหม่บ้านตาล (พระบรมธาตุเจดีย์ศรีมงคล)อบจ.สกลนคร๕๙

บ้านพนนาัเปนหม่บ้านท่มีประเพณี วัฒนธรรมท่ยาวนาน สืบทอดมาหลายช่วอายุคน ปรากฎหลักฐานทาง็ูีีัประวัติศาสตร์ เปนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่แตกต่างจากหมู่บ้านอื่นๆ ในตำาบลเดียวกัน ได้แก่ ปราสาทขอม ศิวลึงค์ ็และมีการขุดพบเคร่องป ้ืันดินเผา ลายเขียนสี ห่วงคอ กาไลสัมฤทธ์ในยุคแห่งวัฒนธรรมบ้านเชียง มีประเพณีบุญข้าวจี่ยักษ์ที่ำิใหญท่สดในโลก มภาษาพดท่ชาวบานเรยกวาภาษา \"ศรภม\" วถชวตของคนในหมบานมความผกพนพ่งพาอาศยกน ปฏบต่ีุีูี้ี่ีูิิีีิู ่้ีูัึััิัิตอกนในชมชนอยางจรงใจและมคณคา สบสานวฒนธรรมอนดงามต้งแตอดต จวบจนถงปัจจบน ดังคาขวญของบานพัน่ัุ่ิีุ่ืััีั่ีึุัำั้นาทั้งสามหมู่บ้านการแต่งกายแต่งกายด้วยเสื้อผ้าฝายของชนเผ่าลาวอีสาน้ภาษา ชาวพนนาเปนสังคมแบบโบราณ มีภาษาพดที่โดดเด่น แตกต่างจากหมู่บ้านอื่นๆั็ูเรียกว่า \"ภาษาศรีภูมิ\"อาหาร เปนอาหารพ้นถิ่นทั่วไป เช่น ข้าวเหนียว ปลา ไก่ ผักพ้นบ้าน็ืืที่อยู่อาศัย อาศัยในชุมชน ๓ หมู่บ้าน ประชากรและครัวเรือนค่อนข้างหนาแน่นอบจ.สกลนคร ๖๐

อำ�เภอว�นรนิว�สอบจ.สกลนคร๖๑

การศึกษา - มหาวิทยาลัยรามคำาแหง (ปริญญาตรี )- สถาบันบัณฑิตพฒนบริหารศาสตร์ัหรือ NIDA (ปริญญาโท)นางสาวจิราภรณ์ เบิกบานดีนายอำาเภอวานรนิวาสอำ�เภอว�นรนิว�สการอบรม- หลักสูตร ปลัดอำ�เภอง�นทะเบียนและบัตร- หลักสูตร ปลัดอำ�เภอง�นท้องถิ่น รุ่นที่ ๒- หลักสูตร ปลัดอำ�เภอง�นก�รข่�ว- หลักสูตร สืบสวน สอบสวน พนักง�นฝ�ย่ปกครอง รุ่นที่ ๖ , ๑๐- หลักสูตร ปลัดอำ�เภอ รุ่นที่ ๑๒๕- หลักสูตร น�ยอำ�เภอ รุ่นที่ ๖๕ ลำ�ดับที่ ๑๐ประวัติการทำางาน- ปลัดอำ�เภอบึงก�ฬ จังหวัดบึงก�ฬ (เดิมจังหวัดหนองค�ย)- ปลัดอำ�เภอหนองห�น จังหวัดอุดรธ�นี- ปลัดอำ�เภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธ�นี- ปลัดอำ�เภอบ้�นดุง จังหวัดอุดรธ�นี- ผู้ช่วยปองกันจังหวัดอุดรธ�นี้- ปลัดอำ�เภอหัวหน้�กลุ่มง�นบริห�รปกครอง (ปลัดอ�วุโส) อำ�เภอพงโคน จังหวัดสกลนครั- ปลัดอำ�เภอหัวหน้�กลุ่มง�นบริห�รปกครอง (ปลัดอ�วุโส) อำ�เภอว�นรนิว�ส จังหวัดสกลนครอบจ.สกลนคร ๖๒

พ.ศ.๒๓๗๘ พระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองนครพนมได้เสร็จราชการสงครามแล้ว จึงกลับเมืองยโสธรตามเดิม ท้าวจันโสมซ่งเปนเพ้ย(ข้าราชการอีสานโบราณ) ึ็ีบ้านม่วงริมยาม ซึ่งคงจงรักภักดีต่อพระสุนทรราชวงษามากได้หาสมัคร พรรคพวกได้ประมาณพนคนเศษตามพระสุนทรัราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ไปตั้งครอบครัวที่บ้านกุดลิงแขวงเมืองยโสธร โดยคำาว่า \"กุด\" หมายถึงลำาน้ำาที่ไหลไม่หยุดส่วน \"ลิง\" หมายถึงต้นหูลิง (มิใช่มีลิงอยู่มาก)ต่อมา ท้าวจันโสมเห็นว่า บ้านกุดลิงคับแคบ ลำาบากในการทามาหากิน และพระสุนทรราชวงษา(ท้าวฝาย) เจ้านายำ่อสัญกรรมจึงหมดความผูกพนธ์ อีกทั้งคิดถึงญาติพ่น้องัีชาวโย้ยเดิมท่บ้านม่วงริมยาม จึงไดอพยพกลับมาใกล้บริเวณเดิมี้ที่บ้านท่าแร่(ตำาบลแร่ อำาเภอพังโคนในปัจจุบัน) และคงชื่อ \"บ้านกดลง\" ตามเดิม แตภายหลังเกิดภยแลง จงอพยพมาอยุิ่ั้ึู่บ้านชุมแสงหัวนา (บ้านและตาบลวานรนิวาสในปจจุบัน) และำัยังคงใช้ชื่อบ้านกุดลิงเช่นเดิมจนกระท่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ั(รัชกาลที่ ๔) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อเมืองสกลทวาปของชาวย้อเปน \"เมืองสกลนคร\" เมื่อป พ.ศ. ี็ี๒๓๘๑ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านกุดลิงของชาวโย้ยให้เปนเมืองน้องของเมืองสกลนคร โดยมช่อ็ีืคล้องจองกันว่า เมืองวานรนิวาส เมื่อวันจันทร์ แรม ๑ ค่ำา เดือน ๘ ประกา ตรีศก จ.ศ.๑๒๒๓ ตรงกับวันจันทร์ที่ ๖ ีกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๐๔ และทรงตั้งท้าวจันโสมเปนหลวง็ประชาราษฎร์รักษา(ฉิม ศรีถาพร) เปนเจ้าเมืองคนแรก็อำ�เภอว�นรนิว�สอบจ.สกลนคร๖๔

ว�นรนิว�สเปนอำาเภอหนึ่งในจังหวัดสกลนคร ็เปนอำาเภอชั้นสอง มีตราประจำาอำาเภอเปนตราหนุมาน็็มีโรงเรียนมัธยมวานรนิวาสเปนโรงเรียนประจำาอำาเภอ มีพนที่็ื้ประมาณ ๑,๑๑๑ ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ ๖๒๕,๖๒๕ ไร่ อำาเภอวานรนิวาส ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกค่อนไปทางทศิเหนอของจงหวด ห่างจากตัวจังหวัดสกลนคร ๘๒ กโลเมตร ืััิและห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ ๗๘๐ กิโลเมตร ลักษณะพ้ นที่โดยทั่วไป เป็นพื้ นราบลุ่ม อยู่สูงกว่าืระดับน้ำาทะเลโดยเฉลี่ย ๑๗๐ เมตร ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำาเภอเปนปาดงอีบ่า ปาดงคำาพล ส่วนทางทิศตะวันตก็ู่่เฉยงเหนอ เปนปาดงผาลาทางทิศเหนือ มีสภาพเปนพ้นที่สูง ีื็่็ืในบริเวณบางส่วนเปนลูกคล่นลอนลาดสลับท่ราบบางส่วน ็ืีพื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การทำานา มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับอำาเภอบ้านม่วงและอำาเภอคำาตากล้าทิศตะวันออก ติดต่อกับอำาเภออากาศอำานวยทิศใต้ ติดต่อกับอำาเภอพรรณานิคมและอำาเภอพงโคนัทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสว่างแดนดินและอาเภอำำเจริญศิลป์ประชากร : รวมท้งสิ้น ๑๒๐,๑๗๗ คน เปนชาย ั็๕๙,๙๗๔ คน หญิง ๖๐,๒๐๓ คน ประชากรจานวน ๒๗,๙๕๑ ำครัวเรือน นับถือศาสนาพทธร้อยละ ๙๕.๑ ศาสนาคริสต์ร้อยุละ ๔.๘ ศาสนาอิสลามร้อยละ ๐.๑การปกครอง แบ่งออกเปน ๑๔ ตำาบล ๑๘๓ หมู่บ้าน ็พระมหาธาตุเจดีย์ หลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโม เปนที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และ็เพื่อถวายเปนพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัว็ูภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙พระมหาธาตุเจดีย์องค์น้ มีขนาดกว้าง ๓๐ เมตร ยาว ี๓๐ เมตร สูง ๔๕ เมตร จำานวน ๓ ชั้น ยอดของพระเจดีย์ทาด้วยทองคา งบประมาณค่าก่อสร้างประมาณ ๕๐ ล้านบาท ำำระยะเวลาก่อสร้าง ๒ ป ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ีชั้นที่ ๑ เปนสถานท่ประกอบพธีกรรมทางพระพทธ็ีิุศาสนา และเปนสถานที่ปฏิบัติธรรม็ชั้นที่ ๒ เปนที่ประดิษฐานอัฐิธาตุ พระบูรพาจารย์็พระธุดงค์กรรมฐาน เปนที่ประดิษฐานรูปเหมือนพระบูรพาจารย์็พระธุดงค์กรรมฐาน ๕ องค์ ได้แก่ ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระธรรมเจดีย์ (หลวงปจูม พนธุโล) หลวงปฝ ู้่ัู ่ัน อาจาโรหลวงปสีลา อิสสโร และหลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโม รวมท้งู ่ัเปนพพธภัณฑ์หลวงตาแตงอ่อน กัลยาณธัมโม็ิิชั้นที่ ๓ เปนที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ็อบจ.สกลนคร ๖๕

พระใหญ่หลวงพอตะเคียนทอง ่วัดเสบุญเรือง อาเภอวานรนิวาสำจังหวดสกลนคร เปนพระพทธรูปปางมารวชัย ทาจากไม้ตะเคยนทอง สร้างเม่อปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ั็ุิำีืสร้างโดยพระอาจารย์สงค์ ผู้ทรงพทธอาคม ได้ร่วมกับชาวบ้านสร้าง เพอเปนุื่็เคร่องยึดเหน่ยวจิตใจของพทธศาสนิกชน โดยได้แกะสลักจากตนตะเคยนใหญ ืีุ้ี่ขนาด ๕ คนโอบ อายุหลายร้อยป ใช้ระยะเวลาแกะสลักอยู่ ๓ เดือน พอทำาเสร็จีได้ทำาการเคลื่อนย้ายจากป่า มาที่วัดเสบุญเรือง โดยเวลา ๑๕ วันจึงมาถึงวัด และทำาพธีพทธาภิเษก ๓ วัน ๓ คืน ิุต่อมา ทางวัดได้ทาการบูรณะเพราะเห็นว่าองค์พระมีการชารุดทรุดโทรมำำไปตามกาลเวลา โดยสร้างพระพทธองค์ใหม่ เปนแบบปนป ุ้็ูันครอบองค์เดิมไว้ดังที่มองเห็นในปจจุบันัท่องเท่ยวเชิงวิถีชีวิตบ้านกุดจิกีชมบ้านโบราณศูนย์การเรียนร้ชุมชนูพกโฮมสเตย์ชุมชน ที่ยังคงมีกลิ่นอายวิถีชีวิตคนสมัยก่อน ที่นิยมเลี้ยงสัตว์ไว้ัใตถนบาน มชานบานย่นออกมาจากตวบานสำาหรบพักผอนและรบแขก ตลอดจนุ้้ี้ืั้ั่ัห้องครัวขนาดเล็กท่แยกออกมาจากตัวบ้าน สามารถเข้าไปถ่ายรูปแล้วมองเห็นภาพีการดำารงชีวิตของคนสมัยกอนไดเปนอยางด่้็่ีอบจ.สกลนคร๖๗

อำ�เภอพรรณ�นิคมอบจ.สกลนคร ๖๘

นายวิชาญ อิทธิฤกษ์มงคลปลัดอำาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำานาญการพเศษ)ิรกษาราชการแทนนายอำาเภอพรรณานิคมัอำ�เภอพรรณ�นิคมเม่อปี ขาล พ.ศ. ๒๓๘๕ ในสมัยพระบาทสมเด็จืพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระราชทานยศถาบรรดาศักด์ ให้เจ้าลีเปนพระเสนาณรงค ิ็์เจ้าเมืองพรรณานิคม และแต่งต้งเจ้านวลเปนอาชญาั็อุปฮาด เม่อพระเสนาณรงค(ล) ตนสกล แกวกา ถงแกื์ีุ้้่ึ่กรรม เจ้านวลผู้เปน อาชญาอุปฮาด ได้รับแต่งตั้งเปน็็พระเสนาณรงค์คนท่ ๒ เม่อพระเสนาณรงค์(นวล) ีืถึงแก่กรรมลง เจ้าคาขันธ์(เปนบุตรเจ้าลุน หลานพระำ็เสนาณรงค์(ลี)ได้รับแต่งต้งเปนพระเสนาณรงค์ คนท่ ๓ั็ีต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๔๕ ได้มีการเปล่ยนแปลงระบอบการปกครอง หัวเมืองต่างๆ ถูกยุบีเปนอำาเภอ โดยเมืองพรรณานิคม เปล่ยนเปนอาเภอ็ี็ำพรรณานิคม ข้นกับจังหวัดสกลนคร โดยพระเสนาณรงค ึ์คนท่ ๔ (ลูกของเจ้าอินทร์ ผ้เปนพ่ชายของพระเสนาณรงค ีู็ี์(นวล)ได้รับแต่งต้งเป็นนายอาเภอคนแรกของอาเภอัำำพรรณานิคมอำ�เภอพรรณ�นิคมตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับอำาเภออากาศอำานวย จังหวัดสกลนคร และอำาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนมทิศใต้ ติดต่อกับอำาเภอกุดบาก และอำาเภอนิคมน้ำาอูน จังหวัดสกลนครทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำาเภอเมือง จังหวัดสกลนครทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำาเภอพงโคน จังหวัดสกลนครัประชากร : จำานวนประชากรทั้งสิ้น รวม ๗๙,๙๖๔ คน ประชากรชาย รวม ๓๗,๙๗๐ คน ประชากรหญิง รวม ๓๘,๕๔๗ คนการปกครอง : ออกเปน ๑๐ ตำาบล ๑๒๓ หมู่บ้าน็การศึกษา- พ.ศ. ๒๕๔๓ ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)เกียรตินิยมอันดับ ๒ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง- พ.ศ. ๒๕๖๔ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครประวัติการทำางาน-พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๖๐ ปลัดอำาเภอกุดบากพ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๖๐ ปลัดอำาเภอกุดบากจังหวัดสกลนครจังหวัดสกลนคร- พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๒ ปลัดอำาเภอ หัวหน้า-พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๒ ปลัดอำาเภอ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง อำาเภอบ้านม่วงกลุ่มงานบริหารงานปกครอง อำาเภอบ้านม่วงจังหวัดสกลนครจังหวัดสกลนคร- พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ปลัดอำาเภอ หัวหน้า-พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ปลัดอำาเภอ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง อำาเภอเมืองกลุ่มงานบริหารงานปกครอง อำาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนครสกลนคร จังหวัดสกลนคร- พ.ศ. ๒๕๖๔-ปจจุบัน นายอำาเภอโพนนาแก้วั-พ.ศ. ๒๕๖๔-ปัจจุบัน นายอำาเภอโพนนาแก้วจังหวัดสกลนครจังหวัดสกลนครอบจ.สกลนคร๖๙

บ้านคาข่า ำตาบลไร่ อาเภอพรรณานิคม ส่งศักด์สิทธ์ประจาำำิิิำหม่บ้านคาข่าท่ชาวบ้านศรัทธาคือ หลักชัยใจบ้านที่เปรียบเหมือนูำีศาลหลักเมืองประจาหม่บ้าน พร้อมต้อนรับนักท่องเท่ยวำูีที่มาเยือน ด้วยการฟ้อนรำาพื้นบ้านสวยงามชุมชนแห่งน้มีกล่มแม่บ้านทอผ้าฝายเข็นมือ นักท่องเท่ยวีุ้ีสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าครามทอมือบ้านคําข่าหมู่ที่ ๔ ตาบลไร่ อาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เมื่อประมาณ ๒๐๐ กว่าปี ชาวภูไทอพยพมาจากำำเมืองน้ำาน้อยอ้อยหนู อยู่ ๑๒ จูไท ในอาณาเขต สิบสองปนนาใกล้ประเทศจีน เกิดภัยแล้ง เกิดโรคระบาดอย่างรุนแรง จึงัอพยพมาอยู่เวียงจันทร์ ต่อมาย้ายไปอาศัยอยู่เมืองวัง (เมืองไชยบุรี) และต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ ได้อพยพมาอยู่ฝ ่ังไทย และกลุ่มของตาเพชร ตาเพ สองพ่น้องได้พากันมาตั้งบ้านอยู่ในบริเวณหนองน้ำา ที่มีน้ำาซึมไหลออกมาตลอดเวลา โบราณีเรียกว่าน้ำาคา หรือน้ำาซับ บริเวณริมหนองน้ำามีสุมทุมพมไม้และมีต้นข่าจานวนมาก จึงตั้งชื่อหมู่บ้านตามลักษณะเด่นของที่ำุ่ำตั้งหมู่บ้าน ชื่อ บ้านคาข่าตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา มีนายประวิทย์ จุลณีย์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน คนปัจจุบันำบ้านคำาข่าน้อย จัดตั้งหมู่บ้าน เมื่อพ.ศ. ๒๕๑๐ เป็นหมู่บ้านที่แยกออกมาจากบ้านคาข่า หม่ท่ ๔ ตาบลไร่ อาเภอำูีำำพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ห่างจากท่ว่าการอาเภอีำพรรณานิคม ประมาณ ๑๕ กิโลเมตรชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีบ้านคาข่า มีผลิตเด่น คือ ผ้าย้อมครามมีผลิตภัณฑ์ำอบจ.สกลนคร ๗๐

ภายในพพธภัณฑ์มีรูปป ้ น พระอาจารย์ฝ ้ นิิััมีขนาดเท่ารูปจริง ในท่านั่งห้อยเท้า และถือไม้เท้าไว้ในมือ มีตู้กระจกบรรจุอัฐิ และแสดงเครื่องอัฐบริขารที่ท่านใช้เมื่อยามมีชีวิต รวมท้งประวัติความเปนมาต้งแต่เกิดั็ัจนมรณภาพ พระอาจารย์ฝ ้ น อาจาโร กำาเนิดในั\"สกุลสุวรรณรงค\" เม่อวนท่ ๒๐ สงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ์ืัีิที่บ้านม่วงไข่ อำาเภอพรรณานิคม และได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๙ ป ณ วัดโพนทอง จนอายุครบ ๒๐ ป ีีจึงอุปสมบทในพทธ ศาสนาฝายมหานิกาย ต่อมาุ่ไดถวายตวเปนลกศษย ตดตามพระอาจารยม่น ภรทตโต้ั็ูิ์ิ์ัูิัความเปนมาเจดีย์พพธภัณฑ์พระอาจารย์ฝ ้็ิิัน อาจาโร ในคืนวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ พระอาจารย์ฝ ้น ัได้มรณภาพท่วัดป่าอุดมสมพร รวมอายุได ๗๘ ปี ี้และหลังจากพระราชทานเพลิงศพท่านเม่อวันท่ ๒๑ ืีมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ท่วัดป่าอุดมสมพร ตาบลพรรณา ีำอาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เปนท่เรียบร้อยแล้ว ำ็ีคณะศิษย์ท้งฝายบรรพชิตและฆราวาสได้มการประชุมั่ีปรึกษาจะสร้างส่งก่อสร้างเปนเคร่องระลึกถึงพระอาจารย์ฝ ้น ิ็ืัผ้เปนพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ โดยสร้างเจดีย์พพธภัณฑู็ิิ์ตรงบริเวณที่พระราชทานเพลิงศพของท่านพพธภัณฑ์อาจารย์ฝั ้ น อาจาโริิตั้งอยู่ที่วัดปาอุดมสมพร ตำาบลพรรณา อาเภอ่ำพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ลักษณะพพธภัณฑ ิิ์เปนรูปเจดีย์ฐานกลมกลีบบัวสามชั้น็ความเปนมาในการสร้างเจดีย์พพธภัณฑ็ิิ์พระอาจารย์ฝ ้ัน อาจาโร ได้มีพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัวฯ รัชกาลท่ ๙ ูีภายหลังจากการสรงนาศพพระอาจารย์ฝ ้้ำัน อาจาโร ว่า \"ในฐานะท่เราเปนลูกศิษย์ของพระอาจารย์ ขอใหี็้ทุกคนได้สามัคคีกัน อย่าให้เกิดความแตกแยกและขอให้ยึดม่นในคาสอนของท่านไว้ให้ม่นคง ขอให้เก็บัำัอัฐิของท่านพระอาจารย์ไว้แห่งเดียวกัน เครื่องอัฐบริขารของท่านอาจารย์ ถ้าสามารถเก็บรวมรักษาไว้เปนที่เดียวกันก็จะดี\"็อบจ.สกลนคร๗๑

วัดถ้ำาขาม หรือ ภูขาม ชาวบ้านมักเรียกว่า\"ภูคำาขาม\" อยู่ในเขตบ้านคำาปา ตั้งอยู่บนภูขาม ซึ่งเป็น่เขาลูกหนึ่งบนเทือกเขาภูพาน วัดถ้ำาขามนี้เดิมเป็นที่ปฏิบัติธรรมของ พระอาจารย์ฝ ้ นอาจาโร ท่านได้ัจาพรรษาอย่ท่วัดน้จนถึงประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๗ ท่านอาพาธำูีีจึงได้ไปจาพรรษาท่วัดปาอุดมสมพร นอกจากน้ยังเปนำี่ี็วัดหนึ่งที่เก็บอัฐิของพระอาจารย์เทศก์ เทศรังสี ซึ่งมีผู้คนยังเดินทางมาสักการะบูชาอยู่เปนประจำา็วัดถาขาม เปนวัดท่พระอาจารย์ฝ ้้ำ็ีัน อาจาโร เป็นผสรางข้น ตั้งอยูบนเทอกเขาภพาน ตาบลไร ู ้้ึ่ืูำ่อาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ตามเส้นทางำสายสกลนคร-อุดรธานี (ถนนนิตโย) ก่อนถึงอาเภอำพรรณานิคมเล็กน้อย มีทางเข้าได้หลายเส้นทาง เช่น เส้นทางเข้าพระธาตุภูเพก ทางบ้านไร่็วดคาประมงัํตาบลสว่าง อาเภอพรรณานิคมำำจังหวัดสกลนคร เดิมนั้น วัดคำาประมงยังไม่เจริญ ต้องขุดน้ำา ไฟฟ้า ยาไม่มี กุฏิชาวบ้านก็มาช่วยกันปกเสา เลื่อยไม้ ัทำากุฏิจำานวน ๕ หลัง มุงหญ้า ฝาทำาด้วยใบตองตึงและถุงปน พระสงฆ์พอจำาพรรษาได้จำานวน ๕ รูป เมื่อออกพรรษา ูเหลือท่านเพยงรูปเดียว ต่อมาได้ดำาเนินการสร้างอุโบสถีแล้วเสร็จในป พ.ศ.๒๕๓๓ีวัดคาประมง มีอโรคยศาล (THAI HERBAL ำNURSING HOME) หรือ สถานอภิบาลพกฟื ้นผ้ปวยัู่ด้วยสมุนไพรตามธรรมชาติ ไปจนกว่าอาการของผู้ปวย่จะทุเลาเบาบางลงไป หรือหมดไปส้นไปด้วยวิถีแห่งธรรมะิและธรรมชาติบำาบัดและหรือการแพทย์แบบองค์รวมอบจ.สกลนคร ๗๒

อำ�เภออ�ก�ศอำ�นวยอำ�เภออ�ก�ศอำ�นวยอบจ.สกลนคร๗๓

นายกานต์ กาญจนวงศ์สกุลนายอาเภออากาศอานวยำำอำ�เภออ�ก�ศอำ�นวยอบจ.สกลนคร ๗๔

อำ�เภออ�ก�ศอำ�นวย เปนกิ่งอาเภอในจังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๐๖ และ็ำเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๐๘ กระทรวงมหาดไทย ประกาศยกฐานะกิ่งอาเภออากาศอานวย ขึ้นเป็นอำาเภออากาศอานวยำำำอย่ห่างจากจังหวัดสกลนคร ๕๗ กิโลเมตร มีพ้นที่ประมาณ ๕๕๕ ตารางกิโลเมตร เปนท่ราบล่ม มีลานายามและลานาูื็ีุำ้ำำ้ำสงครามไหลผ่าน อาชีพส่วนใหญ่ของชาวอาเภออากาศอานวย ประกอบอาชีพด้านการเกษตรเปนหลัก(นาป นาปรัง ยางพารา ำำ็ีแตงโม ประมง ปศุสัตว์) การหัตถกรรม (การทอผ้า จักสาน) และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการย้อมคราม (ผ้าย้อมครามและเครื่องประดับต่างๆ) อำาเภออากาศอำานวย มีอาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ อาเภอนาทม จังหวัดนครพนม ำำทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนครำทิศตะวันออก ติดต่อกับอำาเภอศรีสงคราม อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ำทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอวานรนิวาส อำาเภอคาตากล้า จังหวัดสกลนคร ำำประชากร : รวมท้งส้น ๗๒,๐๑๖ ัิคน ชาย ๓๕,๙๗๗ หญิง ๓๖,๐๓๙ คน ๒๔,๐๖๕ ครัวเรือน มี ๓ ชนเผ่า ได้แก่ ไทโย้ย ไทลาว และไทญ้อ นับถือศาสนาพทธเปนส่วนใหญ ุ็่และศาสนาคริสต์ รายได้เฉล่ยประมาณ ี๗๓,๑๐๒ บาท ต่อคน/ต่อปีการปกครอง : มี ๙ การองค์กรปกครองท้องถิ่น ๖ เทศบาลตำาบล ๓ องค์การบริหารส่วนตำาบล มี ๘ ตำาบล ๙๔ หมู่บ้านอบจ.สกลนคร๗๕

ประเพณีบุญเดือนอ้าย ไหว้พระธาตุเมืองอากาศ บุญมหาชาติ บุญประทายเข้าเปลือก และประเพณีบุญตูบเปนประเพณีที่ชาวไทโย้ย ที่ถือปฏิบัติ็สืบทอดกันมาต้งแต่โบราณกาล และถือปฏิบัติต่อเน่องเป็นประจำาัืทุกป หลังจากเสร็จจากฤดูกาลเก็บเก่ยวขาว ทาไรทานาเสรจ ีี้ำ่ำ็เดือนธันวาคม-เมษายน ในช่วงน้เปนช่วงเทศกาล ประเพณี็ีบญตบ ตามแต่โอกาสจะเอื้ออำานวย ส่วนมากจะเริ่มในเดือนุูมกราคม-กุมภาพนธ์ เพราะเปนช่วงข้าวใหม่ปลามัน ป-ปลา ั็ูอาหารต่างๆ ก็ยังอุดมสมบูรณ์หาได้ง่าย น้ำากินน้ำาใช้ตามแหล่งน้ำาต่างๆ ก็ยังไม่เหือดแห้ง ขั้นตอนของการจัดงานบุญตูบ (เอาบุญตูบ-บุญมหาชาติ ประจำาป-หรือ บุญพระเวสสันดร) ีซึ่งชาวไทโย้ย เรียกช่อ งานบุญน้ได้หลายช่อดังกล่าวข้างต้นืีืเช้าของวันรวมบุญ(ม้อโฮมบุญ) ชาวกล่มต่างๆ ืุเรียกว่าเจ้าภาพศรัทธาจะต้องตกแต่งสถานท่(ตูบ) ท่สรงน้ำาพระีีให้เรียบร้อย แล้วแบ่งงานช่วยกัน ให้นำาเสื่อสาด อาสนะ น้ำาดื่มหมากพลู บุหร่ รองรับด้วยขันหมากเบ็ง ออกไปรอรับีพระคุณเจ้า และญาติโยมที่จะเดินทางมาอยู่ที่ทุ่งนาท้ายบ้าน ซึ่งได้กำาหนดนัดหมายท่านไว้ก่อนแล้ว ตอนท่ไปส่งฉลากบอกบุญและก็ปูเสื่อรอที่ร่มไม้ชายทุ่งีที่เห็นว่าเหมาะสม เมื่อท่านมาถึงก็จะได้นิมนต์ ท่านเข้าพกในัที่จัดไว้ และพกชั่วคราวก่อนที่จะนิมนต์เข้าวัด และนำาเข้าที่พักัตูบนั้นเอง กึ่งกลางระหว่างห้องพระกับห้องญาติโยมนั้น เปนท่แขวนตะกร้า สำาหรับบรรจขนมข้าวต้มมัด ข้าวตมป่น ็ีุ้เปนภาษาพ้นบ้านเรียกกัน็ืช่วงบ่ายของวันรวมบุญ จะมีการแห่พระเวสสันดร ซ่งคณะกรรมการชาวบ้านได้จัดทาเปนแท่นระแนงไม้ไผ่อย่างึำ็แข็งแรง สามารถทานน้ำาหนักพระคุณเจ้าได้ ๒ องค์ ภาษาพ้นบ้านเรียกฮ้านพระเวสสันดรหรือหอพระเวสสันดร เพราะรอบสี่ด้านืจะต้องนำาแผ่นผ้าที่เขียนเป็นรูประบายสี เรื่องราวพระเวสสันดรชาดก ทั้ง ๔ กัณฑ์บริบูรณ์ขบวนแห่จะแห่รอบโบสถ์(สิม) หรือศาลาการเปรียญ(หัวแจก) ๓ รอบเสร็จสิ้นขบวนอันเชิญแห่พระเวสสันดรก็จะแยกย้ายกันทำาบุญตามอัธยาศัย ซึ่งจัดไว้เปนแผนกรับบริจาค มีบาตรสวรรค์ บาตรประจำาวันเกิด บาตรต่ออายุ เซียมซีเสี่ยงทาย เสี่ยงพระ ็และยังมีแผนกรับบริจาคข้าวเปลือกด้วยมหรสพสมโภช ตอนกลางคืนก็จะมีคณะหมอลา และอ่นๆ ตามแต่จะหาได้ เพื่อให้งานคึกคร้นรื่นเริง พอสมควร ำืืสมัยก่อนนับย้อน ๕๐ ป เมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๓ มีการจัดมวยชก มีรถไต่ถัง ซึ่งถือว่าเปนการจัดงานดัง และยิ่งใหญ่มากีี็ในครั้งนั้นVDOอบจ.สกลนคร ๗๖

ประเพณีบุญข้าวสาก แข่งเรือ และไหลเรือไฟในอดีตของอำาเภออากาศอำานวย เดือนสิบเพงหรือ ขึ้น ๑๕ ค่ำา เดือน ๑๐็ของทุกปชาวโย้ยบ้านอากาศ จะมีกิจกรรมท่ สาคัญข้นอยู่ ๒ กิจกรรม ีีำึคือ ประเพณีบุญข้าวสาก(สลากภัตต์) เปนพธีกรรมของทางพทธ็ิุศาสนา ประเพณีบุญไหลเรือไฟ (ชาวโย้ยพดเฮือไพ หรือ ห้านบูชาไฟ) ูซึ่งเปนประเพณีท่สืบทอดกันมาต้งแต่ บรรพบุรุษ ตามความศรัทธา็ีัและความเชื่ออย่างเหนียวแน่นจนถึงปจจุบันัประเพณีบุญข้าวสาก(สลากภัตต์) ชาวโย้ยปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด เพ่อเป็นการทำาบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้แก่ผู้ที่ล่วงืลับไปแล้วให้ได้รับผลทานที่อุทิศไปให้นั้น ในคืนวันขึ้น ๑๔ ค่ำา เดือน ๑๐ ชาวค้มวัดจะชักชวนกันไปรวมกันท่วัด เพ่อคบงันต้นกัลปพฤกษุีื์บุญข้าวสาก พอเวลา ๖ โมงเช้าของวันข้น ๑๕ คา ก็จะนาพาข้าวครัวึ่ำำเรือนละ ๑ พา มาทำาบุญตักบาตรที่วัด พาข้าว ประกอบด้วย อาหารหวาน คาว หมาก พลู บุหรี่ ผลไม้ ขนม ข้าวต้ม ตามกำาลังศรัทธาของแต่ละครัวเรือน ที่สำาคัญในพาข้าวแต่ละพานั้น จะต้องมีสลากเปนก็ระดาษแผ่นเล็ก ๆ เขียนข้อความอุทิศส่วนกุศลผลบุญที่ได้กระทำา อุทิศให้แก่ใครและขอให้ผลบุญนั้นค้ำาจุนให้พนจากทุกข์ ให้ได้รับความสุข จาก้นั้นนาถวายพระ เสร็จจากถวายภัตตาหารเช้า ก็จะน่งฟังเทศน์ตลอดำัทั้งวัน จนถึง ๒ - ๓ ทุ่ม แต่ละคุ้มวัดก็จะเวียนกันไปทอดถวายต้นกัลปพฤกษ์ตามวัดต่างๆ จนครบทุกวัด โดยวิธีเดินเท้าพร้อมเครื่องดนตรี กลองเลงประโคมไปด้วยสนุกสนานมากเปนอันว่าเสร็จพธีกรรมบุญข้าวสากของปนั้น ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำา เดือน ๑๐็ิีชาวโย้ยเรียกว่า มื่อโฮมภาคกลางวัน วัยหน่ม- สาวชาวโย้ยจะมีกิจกรรมท่สร้างุีความสามัคคและความสนุกสนานรวมกน คอ การแข่งขันเรือพายี่ัืในลำาน้ำายาม เรือที่ใช้ในการแข่งขันจุคนได้แต่ละลำาไม่เกิน ๑๐ คน มีคนหน่งตีกลองเปนจังหวะการพาย แข่งขันกันระหว่างค้มวัด วัดใดึ็ุชนะก็ได้รับคำาชมเชยมีรางวัลให้ คือ เหล่าโท (สาโท) แข่งขันกันเสร็จก็พากันกลับบ้านเรือน เพ่อเตรียมไปชมเรือไฟหรือไปร่วมไหลเรือไฟืในภาคกลางคืนอบจ.สกลนคร๗๗

ภาคกลางคืน พระภิกษุ สามเณร หลังจากสวดมนต์เย็น(ทาวัตรเย็น) เสร็จ เตรียมอุปกรณำ์เรือไฟไปที่ท่าน้ำา ผู้เฒ่าผู้แก่ คนหนุ่ม ชาวคุ้มวัดต่างก็พากันไปประดับตกแต่งเรือไฟค้มวัดของตนเอง ุเคร่องประดับตกแต่งบนเรือไฟ ประกอบด้วย ืก้านจู้ ก้านกล้วย ต้นอ้อย กิ่งไผ่ เพ่อแขวนกล้วย ืขนม ข้าวตม เหมอนต้นกลปพฤกษ บ้งไฟ ม้ืั์ัีบั้งไฟหาง บั้งไฟตะไล (บั้งไฟกง) บั้งไฟนกขุ่ม เตรียมอุปกรณ์ลงเรือไปท่ท่าน้ำาวัดเหนือ (วัดีจอมแจ้งในปจจุบัน บริเวณปากอุปคุต เคร่องัืดนตรีประโคมหรือกลองเลง) พอถึงเวลา ๑๙.๐๐ น. ก็เร่มทาพธีปล่อยิำิแม่วอง ผ้เปนผ้เชิญก็จะกล่าวเพ่อขอขมาแม่คงคา ู็ูืและอัญเชิญผีเงือกท้งหลายให้กลับไปยังแม่นาั้ำสายใหญ่ ซ่งต่อไปลานาสายน้ก็จะแห้งลง เม่อึำ้ำีืกล่าวเสร็จปล่อยแม่วองให้ไหลลง แล้วตามด้วยเรือไฟของคุ้มวัดทั้ง ๖ คุ้มวัด ในบางป ๒ วัด ีร่วมกันทาเรือไฟ ๑ ลาก็มี เน่องจากไม่มีการำำืประกวด ไม่มีรางวัล เม่อเรือไฟลาสุดท้ายไหลเรือืำลงมาเสร็จ ชาวบ้านท่มาชมก็พากันเดินทางกลับีบ้านเรือนโดยไม่มีมหรสพคบงันแต่อย่างใดอบจ.สกลนคร ๗๘

กลองเลงชาวโย้ยบ้านอากาศมีมาต้งแต่สมัยัโบราณแต่ไม่มีการบันทึกเปนลายลักษณ์อักษรไว้ แต่เคยมีผู้เฒ่าผู้แก่็เล่าว่า กลองเลงทำาด้วยไม้ประดู่ มีลักษณะเปนกลองสองหน้า็ห้มด้วยหนังวัว หนังควาย กลองเลงใช้ตีในงานบุญมหาชาติ งานบุญุพระเวสสันดร (บุญตูบ) เวลาตีใช้ไม้หามสองคนหันหน้าเข้าหากัน ตีคนละหน้าไปตามจังหวะ ตึมตึบ ตึมตึบ ตึมตึบ… การเล่นกลองเลงจะนิยมเล่นในก่อนวันรวมบุญ ๑ วัน พอคาลงเวลาประมาณ ๑ ท่ม ก็จะมีหัวหน้าไปชักชวนกันหลายๆ ่ำุคนมารวมกัน แล้วก็จะพากันนำากลองเลงไปเล่นตามหมู่บ้านหรือชุมชนใกล้เคียงเพ่ อแผ่ปจจัย ข้าวต้ม ขนม สุรา สาโท เปนต้นืั็การเลนกลองเลงจะเลนไปเร่อย ๆ ทกหลงคาเรอน โดยจะมหวหนา่่ืุัืีั้พาเซิ้งไปตามจังหวะ “โอ้ โฮ๊ะ โอ สา โอ้ โฮ๊ะ โอ” ในสมัยก่อน การเล่นกลองเลงจะเล่นจนสว่าง แล้วนาเอาปจจัยท้งหลายไปถวายวัดำััในตอนเช้าของวันรวมบุญ จึงแยกย้ายกันกลับบ้านเมื่อถึงเวลาประมาณ ๙-๑๐ โมงเช้า จะนำาเอา กลองเลงมาเล่นอีก หรือตีไปแต่ละตูบไปเร่อยๆ จนถึงเวลาแห่พระเวสสันดร ืแล้วจึงไปแห่พระเวสสันดรเข้าสู่วัด โดยเวลาแห่มาตามถนนจะมีการฟ้อนตามจังหวะกลองเลงทั้งชายหญิงการแสดงท่าประกอบดนตรีกลองเลง เดิมไม่มีการกาหนดำท่าราแต่อย่างใด ใครใครจะออกแขน ออกขา ออกเท้า อย่างไรก็ได้ำตามความถนัดของแต่ละคน ซ่งเอาความสนุกเข้าว่า ต่อมาทางึศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยได้ให้มีการฟื ้นฟศิลปวัฒนธรรมูท้องถิ่น อำาเภออากาศอำานวย ได้นำาเอาประเพณีวัฒนธรรมการเล่นกลองเลงออกไปแสดงที่งานฉลองครบรอบ ๑๕๐ ปี จังหวัดสกลนครด้วย ปรากฎว่า ได้รับความชื่นชมมากในด้านเสียงดนตรี แต่ท่ารำาประกอบยังขาดรูปขบวน ขาดความเปนหนึ่ง อันเนื่องจากแต่ละคนรำาตามถนัด ทาง็ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด จึงขอให้ศูนย์วัฒนธรรมอาเภอช่วยหารูปแบบแสดงความเปนหน่งเดียวของการแสดงท่ารา จึงำ็ึำได้ศึกษาหาข้อมูลประวัติความเปนของการเล่นกลองเลงทราบว่ามีมาต้งแต่บรรพบุรุษจากฮ่อมท้าวฮูเซ ซ่งปรากฏอย่ใน็ัึูบทกลอนลาเกร่นก่อนเล่นกลองเลง บท “กลอนลา” น้ลาดับโดยผ้ใหญ่อุทร ใยแก้ว ผ้สืบเช้อสายโย้ยโดยตรงจากบรรพบุรุษ ำิำีำููืส่วนท่าราประกอบน้นไม่มีลักษณะเฉพาะ จึงให้คณะกลองเลงราท่าฟรีสไตล์ (Free style) ให้ดูแล้วจึงจับ “ท่ารา” ท่มีผสมผสานำัำำีอยู่ในท่าฟรีสไตล์นั้นออกมาทีละท่า โดยอาจารย์พรรณนภา ชายกวด (อาจารย์สอนอยู่โรงเรียนบ้านอากาศ) อาจารย์ประดิษฐ์ คิอินธิ (อาจารย์สอนอยู่โรงเรียนบ้านอากาศ) และอาจารย์พนา วิริยะเจริญกิจ (อาจารย์สอนอยู่โรงเรียนบ้านอากาศ) เปนแม่แบบ็กำาหนดท่าให้แล้วนำาไปประยุกต์เข้ากับความเปนอยู่ในชีวิตประจำาวัน็อบจ.สกลนคร๗๙

อำ�เภอบ้�นม่วงอบจ.สกลนคร ๘๐

บ้�นม่วงเปนหมู่บ้านที่ตั้งขึ้นมาประมาณ ๑๐๐ ปเศษ ชนกลุ่มแรกที่มาอาศัยอยู่ที่บ้านม่วง็ีอพยพมาจากท้องที่อำาเภอคำาชะอี จังหวัดมุกดาหาร ส่วนมากเป็นเผ่าภูไท ที่ได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า \"บ้านม่วง\"เพราะขณะท่มาต้ง หม่บ้านคร้งแรกมีต้นมะม่วงขนาดใหญ่ จำานวน ๓ ต้น อยู่ในบริเวณที่ตั้งหมู่บ้าน เดิมบานมวงีัูั้่เปนที่ตั้งของเมือง \"จาปา นาพ่น\" ช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๔๔๐ มีพระบำารุงนิคมเขตเป็นเจ้าเมือง ประมาณว่า็ำ้ำตั้งอยู่ได้ ๑๐ ป จึงได้ย้ายเมืองไปตั้งที่ บ้านนาเหมือง อำาเภอพงโคนปจจุบัน) ต่อมาทางราชการีััได้ประกาศตั้งอำาเภอวานรนิวาส บ้านม่วงจึงเปนหมู่บ้านหนึ่งของ ตำาบลมาย ขึ้นตรงต่ออำาเภอวานรนิวาส ็เน่องจากตาบลมายมีอาณาเขตกว้างขวาง และอย่ไกลจากท่ตั้งที่ว่าการอาเภอวานรนิวาส ประมาณ ๔๐ กิโลเมตร ืำูีำโดยเฉพาะการติดต่อคมนาคมกับอาเภอเปนไปด้วยความยากลาบาก ด้วยสาเหตุ ดังกล่าว ในวันท่ ๒๐ มีนาคม ำ็ำี๒๕๑๑ กระทรวงมหาดไทยจึงได้ต้ง ก่งอาเภอบ้านม่วงข้น ต่อมากระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศยกฐานะเป็นัิำึอาเภอบ้านม่วง เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ เปนต้นมาำ็อำ�เภอบ้�นม่วงนายคเณศวร เกษอินทร์นายอำาเภอบ้านม่วงการศึกษาการอบรมประวัติการทำางานพ.ศ. .................... พ.ศ. .................... อบจ.สกลนคร๘๑

บ�นม่วง้เปนอาเภอหน่็ำึงในจานวน ๑๘ อาเภอำำของจังหวัดสกลนคร พ้นที่ส่วนใหญ่อย่บนท่ราบสูงของ ืูีเทือกเขาภูพาน อากาศร้อนในฤดูร้อน ฝนตกปานกลางในฤดูฝน และอากาศหนาวจัดในฤดูหนาว มีพ้นที่ทั้งหมด ื๔๔๒,๓๕๓.๑๒ ไร่ หรือ ๗๗๑.๗๖๕ ตารางกิโลเมตร คิดเปน็ร้อยละ ๘.๐๓๔ ของพ้นที่ทั้งหมดของจังหวัดสกลนคร ืห่างจากตัวจังหวัดสกลนคร ๑๒๐ กิโลเมตร แบ่งพ้นที่ืการปกครองออกเปน ๙ ตำาบล ๙๘ หมู่บ้าน มีองค์กร็ปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๐ แห่งสภาพพ้นที่ เป็นที่ลุ่มที่ดอนสลับกัน มีพื้นที่สูงตาื่ำเปนปาไร ท่นาและแหลงนาธรรมชาต ปาสวนใหญเปนปาเตงรง ็่่ี่้ำิ่่่็่็ัด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือของอาเภอ มีลำานาสงครามำ้ำเปนแนวแบ่งเขต บริเวณพ้นท่ติดลานาจะเปนท่ราบล่ม นา็ืีำ้ำ็ีุ้ำท่วมถึง มีลาห้วยน้อยใหญ่เปนจานวนมาก พ้นที่ส่วนใหญ่ำ็ำืใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเหมืองเกลืออาเภอบ้านม่วง ต้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดำัของจงหวด มอาณาเขตติดตอกบเขตการปกครองขางััี่ั้เคียงดังต่อไปนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอโซ่พสัยและอาเภอำิำพรเจริญ (จังหวัดบึงกาฬ)ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอพรเจริญ (จังหวัดำบึงกาฬ) และอำาเภอคำาตากล้าทศใติ้ ติดต่อกับอาเภอวานรนิวาสและอาเภอำำเจริญศิลป์ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอบ้านดุง (จังหวัดำอุดรธานี) และอำาเภอเฝาไร่ (จังหวัดหนองคาย)้อบจ.สกลนคร ๘๒

พระธาตุพทธนิมิตเจดีย์ุหรือ วัดปาดงหวาย ลักษณะ่องค์พทธนิมิตเจดีย์มีรูปทรงแปดเหลี่ยม มีความหมายว่า มรรคมีองค์แปดุมความสง ๗๒ เมตร หมายเอาอาการ ๓๒ ของคนเรา ประตูทั้งสี่ทิศ หมายถึง ีูอริยสัจสี่ บันไดขึ้นสามทิศ หมายถึง ไตรลักษณะสาม ในอนาคตข้างหน้าเมื่อพระพทธศาสนาเสื่อมลง พระภิกษุไม่รักษาศีล ไม่นั่งสมาธิภาวนาุการทำาบุญกับพระเช่นนี้ จึงมีอานิสงค์น้อยกว่าได้ไปกราบพระเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์สมเด็จสัมมาสัมพทธเจ้า พระอาจารย์ศรีธาตุ ฐานรโต ุพระลูกชายหลวงปรวบรวม เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพนธ์ พทธศักราช ๒๕๖๐ู่ัุพระอัฐิฐาตุหลวงปู่แฟ็บ สุภัทโทมีนามเดิมว่า ญาติ กุลวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พทธศักราช ๒๔๖๕ ตรงกับวันอาทิตย์ ขึ้น ๑๕ ค่ำา เดือน ๒ ปีจอ ณ บ้านคำาชะอี ุอำาเภอคำาชะอี จังหวัดนครพนม(จังหวัดมุกดาหารในปจจุบัน) โยมบิดา-โยมมารดาชื่อันายพรหมมา และ ทุมมา กลวงศ์ ครอบครัวประกอบอาชีพทาไร่ทานา ตามวิถีชีวิตชาวชนบทอีสาน ำำมีพ่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๗ คน ท่านเปนบุตรคนที่ ๕ เพราะเหตุบางประการี็ในการแจ้งช่อในทะเบียนทหารกองเกิน เม่อช่วงอายุ ๑๗-๑๘ ปี ทาให้ต้องเปล่ยนช่อเป็น \"แฟ้บ\" ืืำีืและวันเวลาเกิดก็ผิดพลาดไปด้วย จึงต้องใช้ชื่อวันและเวลาเกิดใหม่จากนั้นเปนต้นมา ต่อมา็ลูกศิษย์ลูกหาได้เรียกชื่อเพ้ยนเปนหลวงป \"แฟ้บ\" หรือ \"แฟ็บ\" ไปี็ู่หลวงปเปนพระกัมมัฏฐานที่วัตรเรียบง่ายปฏิปทาอันงดงาม ด้วยครองตนอยู่ในู ่็ผ้ากาสาวพสตร์อย่างสมถะ ไม่สะสมทรัพย์สินใดๆ มักน้อย ถือสันโดษ มีเมตตาธรรมสูงัจนเปนท่เล่อมใสศรัทธาของผ้ได้พบเห็น และเปนร่มโพธ์ทองของบรรดาพทธศาสนิกชนท้งหลาย็ีืู็ิุัอบจ.สกลนคร๘๓

ศูนย์ศิลปาชีพบ้านจารอาเภอบ้านม่วง ได้ดาเนินการพฒนากลุ่มอาชีพต่างๆ ทั้งทอผ้าไหม ทาผ้าย้อมครามำำัำหัตถกรรมจักสาน และอ่นๆ อีกท้งยังส่งเสริมให้กล่มอาชีพต่างๆ ผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์เพ่อเพ่มมูลค่าให้กับ ืัุืิผลตภณฑและให้ตรงความต้องการของตลาด พร้อมท้งส่งเสริมการตลาดโดยการให้กล่มอาชีพต่างๆ เข้าร่วมจำาหน่าย ิั์ัุตลาดประชารัฐ ตลาดนัดชุมชนและร่วมจาหน่ายในงานที่หน่วยงานราชการจัดขึ้น ทำาให้รายได้ชุมชนเพ่มสูงขึ้นำิอบจ.สกลนคร ๘๔

งานประเพณีบุญเดือน ๓ อําเภอบ้านม่วง งานประเพณีบุญเบิกฟ้าเดือน ๓ ตรงกับวันข้น ๓ คา เดือน ๓ ึ่ำของทุกป คนชนเผ่าพ้นเมืองและเผ่าภูไท ถือว่าเปนวันมงคลีื็มีการยกบ้านใหม่และเปนปใหม่องชาวภูไทหรือตรุษจีนภูไทก็ว่าได ็ี้จะมีการสู่ขวัญ ผูกแขนให้ผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีอายุตั้งแต่ ๕๐ ขึ้นไป เปนการระลึกถึงบุญคุณพอแม่ อวยพรให้พอแม่อายุม่นขวัญ็่่ัยืนเปนร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลาน ซึ่งจัดเป็นประจำาทุกปี็อบจ.สกลนคร๘๕

วัดป่าดงหม้อทอง(ศิลาอาสน์)บ้านดงหม้อทองตาบลดงหม้อทองใต้ อาเภอบ้านม่วงจังหวัดสกลนครำำสถานที่ท่องเที่ยว๑.วัดป่าดงหม้อทอง หรือศิลาอาสน เปนสถานที่รวมใจ็ของชาวอาเภอบ้านม่วงและอาเภอใกล้เคียง มีหม้อทองคำา ถาพระ ำำ้ำถาเสือ ถางู มีโขดหินสูงใหญ่ เปนต้นนาห้วยหินพนามีสัตว์ปานานาชนิด ้ำ้ำ็้ำ่และสถานปฏิบัติธรรม ๒.นาตกแกงเตา้ํ่่ เปนนาตกท่เปนทางไหลผ่านของแม่นา็้ำี็้ำสงคราม-ยามอูน ซ่งถูกสายนากัดเซาะเปนโขดหินสวยงามคล้ายเต่าึ้ำ็ตัวใหญ่อยู่กลางลำาน้ำาสงคราม หัวไปทางจังหวัดหนองคาย ซึ่งแก่งเต่าน้มีผ้คนไปเท่ยวมาก ท้งทางจังหวัดหนองคายและสกลนคร ีูีัมีนาที่ใสนาลงเลน แมน้ำาสงครามเป็นแมน้ำาท่กั้นระหวางจงหวด้ำ่่่่ี่ััหนองคายกับสกลนคร อยู่ทางด้านทิศเหนือของจังหวัดสกลนคร ๓.หล่ผีโขดหินขวางแม่น้ําสงครามี เปนแหล่งท่องเท่ยว็ีโดยเฉพาะเดือนเม ษายนของทุกป จะมีประชาชนมาเที่ยวกันเปนี็จำานวนมากอบจ.สกลนคร ๘๖

อำ�เภอพังโคนพังโคนอำ�เภอพังโคนอำ�เภออบจ.สกลนคร๘๗

นายบรรลือ สัมฤทธิ์จินตนานายอาเภอพงโคนำัอำ�เภอพังโคนอบจ.สกลนคร ๘๘

อำ�เภอพังโคนเดิมคือ เมือง”จัมปาชนบท”อันเปนนามของดอกไม้ (บ้านจัมปา ซึ่งปจจุบันคือ บ้านนาเหมือง็ัหมู่ ๒ ตำาบลพงโคน) โดยมีท้าวแก้ว เปนหัวหน้าั็ต่อมาป พ.ศ. ๒๔๒๐ รัชกาลท่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯีีให้ยกบ้านจัมปาขึ้นเปน เมืองจัมปาชนบท ขึ้นตรงกับเมืองสกลนคร็และโปรดเกล้าฯแต่งต้งให้ ท้าวแก้ว วงศ์ประทุม เปน ั็\"พระบารุงนิคมเขต\" ำเจ้าเมืองจัมปาชนบท เปนผู้มองกาลไกล จึงได้ชักชวนชาวบ้าน็กรมการท่อยู่ในเขตแดนเมืองจัมปาชนบทให้ทำานาเป็นอาชีพ ตัวท่านีและครอบครัวก็ทำานาเปนตัวอย่างแก่ราษฎรทั้งหลาย ที่นาของท่าน็อยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือของ \"หนองสิม\" เรียกว่า \"ทุ่งนาเหมือง\" มาจนถึงปจจุบัน ต่อมา มีการยุบเมืองให้เปนอำาเภอ ั็เจ้าเมืองเปลี่ยนเปน นายอำาเภอ อุปราชหรืออุปฮาด เปนปลัดอำาเภอ ็็ราชวงศ์ เปนสมุห์บัญชีอำาเภอ และราชบุตร เปนเสมียนอำาเภอ็็เมื่อพระบารุงนิคมเขต(แก้ว)ถึงแก่กรรม (เปนต้นตระกูล ำ็\"วงศ์ประทุม\") ท้าวคำาไข ตำาแหน่งอุปราช(อุปฮาด) ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เปนเจ้าเมืองจัมปาชนบท ในบรรดาศักด์ที่พระบารุง็ิำนิคมเขต (คำาไข) สืบต่อมาเมื่อป พ.ศ.๒๔๔๕ มหาอามาตย์โท พระยามหาอามาตยาธิบด ีำำีปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทยได้มาตรวจราชการ จึงได้ส่งัเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองหัวเมืองใหม่ คือ ให้ยุบลงเป็นอำาเภอหรือยุบไปข้นกับอาเภอท่มีอาณาเขตใกล้ชิดกัน เมืองจัมปาชนบท จึงึำีถูกยุบโอนขึ้นกับอำาเภอพรรณนานิคมเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๑ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งกิ่งอำาเภอพังโคน โดยแบ่งท้องที่ตำาบลม่วงไข่ ตำาบลแร่ และตำาบลไฮหย่อง แยกจากอำาเภอพรรณนานิคม ทั้งนี้มีพ่อค้าประชาชนชาวอาเภอพงโคนได้ร่วมบริจาคเงินซ้อที่ดินจานวน ๓๕ ไร่ ให้เปนสถานท่ตั้งำัืำ็ีที่ว่าการอำาเภอ และศูนย์ราชการกิ่งอำาเภออยู่ห่างจากสี่แยก ๒ วาไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๑ กิโลเมตร เม่อท้องท่กิ่งอำาเภอพังโคนืีเจริญข้น ทางราชการจึงมีพระราชกฤษฎีกา ยกฐานะก่งอาเภอึิำพงโคน เปน “อำาเภอพงโคน” โดยแบ่งเขตการปกครอง ออกเปน ั็ั็๕ ตำาบลบ้านพังโคนมีประวัติเล่ามาว่า เมื่อวันเดือนปใดไม่ปรากฏ นครเวียงจันทน์เกิดกบฏ พวกกบฏีได้ปล่อยช้างมงคลหรือพลายคำามิ่ง ตัวผู้มีงากับช้างดอ ชื่อ มิ่งมงคล ไม่มีงา และช้างพัง ชื่อโคน รวม ๓ เชือก ของเจ้านครเวียงจันทน์ข้ามโขงมาฝ ่ังของไทย เมืองเจ้านครเวียงจันทน์ไปปราบกบฏเปนที่เรียบร้อยแล้ว จึงสั่งให้บรรดา็ควาญช้างต้นข้ามโขงมาตามเอาช้างม่งมงคลท่ปล่อยมาน้นคืน ได้ติดตามมาพบช้างท่ริมหนองอีนาง เขตท้องท่อาเภอิีัีีำพรรณานิคม จึงพากันจับช้างดอชื่อมิ่งมงคลที่หนองอีนางนั่นเองส่วนอีก ๒ เชือก คือพลายคำามิ่งกับพังโคนตามไปพบที่ดอนตูม ซึ่งอยู่กลางทุ่งนา มีต้นตูมขึ้นอยู่มากใกล้กับหมู่บ้านจัมปา จึงจับพลายคำามิ่งได้ ส่วนช้างพังที่ชื่อโคนจับไม่ได้ จึงลงความเห็นว่าต้องใช้ปืนยิงที่เท้าให้เจ็บเสียก่อนจึงจะจับได้ เมื่อถูกยิงแทนที่จะจับได้กลับอาละวาดเปนการใหญ่ บรรดาควาญช้างจึงลงความเห็นควรจะจับตาย ็จงใช้ปนยิงให้ตายแล้วจึงนำาซากช้างพงที่ชื่อโคนมาฝงไว้บริเวณดอนตูมแห่งนี้ แล้วจึงพากันนำาช้าง ๒ เชือก ึืัักลับนครเวียงจันทน์ต่อมาชาวบ้านจึงพากันเรียกดอนตูมแห่งน้ว่า \"ดอนพงโคน\" ตามนามของช้างท่ชื่อ \"พงโคน\" และบริเวณดอนีัีัอีนางก็เรียกว่า \"บ้านช้างม่ง\" ตามนามช้าง ตลอดจนทุกวันน้ (บ้านช้างม่งปัจจุบันคือตาบลช้างม่ง อาเภอพรรณานิคม ิีิำิำเปนชุมชนชาวคริสต์อีกชุมชนหนึ่งในสกลนคร) ็อบจ.สกลนคร๘๙

พังโคนเปนอาเภอท่ตั้งอย่เกือบก่งกลางจังหวัด็ำีูึสกลนคร และเปนอาเภอท่มีความเจริญมากอีกอาเภอหน่ง รองจาก็ำีำึอำาเภอเมืองสกลนคร และอำาเภอสว่างแดนดิน ถือเปนศูนย์กลาง็ทางด้านการค้าและการคมนาคมขนส่งทางตอนกลางของจังหวัด อาเภอพงโคนต้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางทิศตะวันำััตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำาเภอวานรนิวาสทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำาเภอพรรณานิคมทิศใต้ ติดต่อกับ อำาเภอพรรณานิคมและอำาเภอวาริชภูมิทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำาเภอสว่างแดนดิน แบ่งพ้นที่การปกครองออกเปน ๕ ตำาบล ๗๐ หมู่บ้าน ื็องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๖ แห่ง อบจ.สกลนคร ๙๐

ผ้าย้อมมูลควายผ้าย้อมมูลควายบ้านนาเชือกรวมกล่มกันทอผ้ามีช่อว่า “กล่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเชือก ุืุ(มูลควาย)” บ้านนาเชือก หมู่ที่ ๙ ตำาบลแร่ อำาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๓ โดยมีคุณสายสุณี ไชยหงษา ประธานกล่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาตุิบ้านนาเชือก (มูลควาย) มีสมาชิกในกลุ่มเริ่มแรก ๑๒ คนมีการลงทุนกัน หุ้นละ ๑๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๑,๒๐๐ บาท็นำาเงินที่ได้ไปซื้อวัสดุมาทอผ้า ทางกลุ่มได้ช่วยกันผลิตสินค้าทาเปนช้นงานต่างๆ ไม่ได้คิดค่าแรง โดยนามูลควายมาย้อมสีเส้นด้ายำ็ิำนำามาทอเปนผ้าผืนและตัดเย็บพฒนาแบบเปนเสื้อผ้า ตุ๊กตา ็ั็จำาหน่ายภายใต้แบรนด์ “ก็ฝาย” ก่อให้เกิดธุรกิจสร้างรายได้้ให้ให้ชุมชน ขึ้นแท่นสินค้าโอทอป ๕ ดาว ในการส่งประกวดเพยงครั้งแรก และก่อให้เกิดเปนธุรกิจในชุมชนสร้างรายได้ี็ไม่น้อยไม่น่าเชื่อว่า มูลควายจะนำามาใช้ประโยชน์และสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย ซ่งชาวบ้านนาเชือกนามูลควายึำมาย้อมเปนสีของผ้าได้ แถมให้สีที่เปนธรรมชาติปราศจากสารเคมี ็็ไอเดียน้เกิดจากการร่วมมือระหว่างพระสงฆ์กับชาวบ้านช่วยกันคิดีชวยกันทา แต่เดิมชาวบ้านท่นี่ส่วนใหญ่จะเล้ยงวัว เล้ยงควาย ่ำีีีเพราะท่ตั้งของหม่บ้านสภาพแวดล้อมเปนที่ราบสูงไม่สามารถีู็ปลูกข้าวได้ ลูกหลานบางคนจึงต้องย้ายถิ่นฐานไปทำางานในกรุงเทพฯ พระอาจารย์ฉัฐกรณ์ มหาปญโญ เจ้าอาวาสุวัดปาภูมิธนารักษ์ธรรมาราม อาเภอพงโคน จังหวัดสกลนคร ซ่งท่านเป็นท้งนักคิดและนักพัฒนาจบสถาปัตย์ด้านดีไซน์ ่ำัึัมีความคิดอยากให้ชาวบ้านสามารถพ่งพาตนเองได้ด้วยความสามารถของตนเอง และใช้ของท่มีอย่ในหม่บ้าน จึงนาึีููำเอาประสบการณ์ที่เคยทำางานมาแนะนำาให้ชาวบ้านลองนำาประโยชน์จากมูลควาย มาทำาเปนสินค้าเพ่อหารายได้เข้าชุมชน็ืVDOอบจ.สกลนคร๙๑

น้ำาตกแม่อูน(น้ำาตกเสียสาว) หลังจากที่มีฝนตกลงสม่ำาเสมอในพ้นที่จังหวัดสกลนคร ทำาให้มีน้ำาไหลเข้าสู่เขื่อนน้ำาอูนืเปนจำานวนมาก ส่งผลให้น้ำาตกแม่อูน ซึ่งเปนน้ำาตกที่รับน้ำาไหลมาจากเขื่อนน้ำาอูน มีปริมาณน้ำาสูงขึ้น ดึงดูดนักท่องเที่ยว็็ให้เข้ามาเท่ยวในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ นาตกแม่อูน ต้งอย่ท่ใต้สันเข่อนนาอูน พื้นท่บ้านหนองไฮน้อย หม่ ๗ ตาบลแร่ อาเภอี้ำัูีื้ำีูำำพงโคน จังหวัดสกลนคร เปนแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกหนึ่งแห่งของจังหวัดสกลนคร โดยในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ั็ที่ผ่านมามีนกท่องเท่ยวจานวนมาก ท้งที่มาเป็นครอบครัว และมากับกล่มเพื่อนฝูงเดินทางมาท่องเท่ยวเล่นนาคลายร้อนัีำัุี้ำพร้อมดื่มด่ำาบรรยากาศธรรมชาติ เนื่องจากน้ำาตกแม่อูนมีทัศนียภาพที่สวยงามร่มรื่นมีโขดหินมากมาย เหมาะแก่การพักผ่อนเปนอย่างมาก จึงได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่มักพาครอบครัวมานั่งรับประทานอาหารในช่วงวันหยุด็เขื่อนน้ำาอูน ตั้งอยู่ที่อำาเภอพงโคน จังหวัดสกลนคร เปนเขื่อนดินกั้นแม่น้ำาอูนซึ่งเป็นสายหนึ่งของแม่น้ำาสงคราม ั็ซึ่งมีต้นน้ำามาจากเทือกเขาภูพาน ลักษณะการใช้ประโยชน์ของเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ำาไว้ใช้ในการชลประทานบรรยากาศทั่วไปเหมาะสาหรับการพกผ่อนหย่อนใจ สภาพโดยท่วไปเป็นพื้นที่กว้างใหญ่รายล้อมด้วยเทือกเขาภูพานและป่าไม้ท่สวยงาม ำััีบริเวณใกล้กับสันเข่อนเป็นนาตกขนาดเล็กท่เกิดจากการระบายนาออกจากเข่อน ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๕๔ กิโลเมตร ื้ำี้ำืเก็บน้ำาได้ ๕๒๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ใช้ประโยชน์เพ่ อการเพาะปลูกในฤดูฝน ๑๘๕,๘๐๐ ไร่ ในฤดูแล้ง ๖๓,๐๐๐ไร่และืช่วยบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำาอูนเขื่อนนาอูน้ำเปนเข่อนดิน็ืสรางก้นลานาอน ซ่งเป็นสายหน่งของ้ัำ้ำูึึแม่น้ำาสงคราม มีต้นน้ำามาจากเทือกเขาภูพาน ลักษณะการใช้ประโยชน์ของเข่อนืเพื่ อเก็บกักน้ำาไว้ใช้ในการชลประทานบรรยากาศท่วไปเหมาะสาหรับการพกผ่อนัำัหย่อนใจ สภาพโดยท่วไป เปนพ้นที่ั็ืกวางใหญ รายลอมดวยเทอกเขาภพาน้่้้ืูและปาไม้ท่สวยงาม บริเวณใกล้กบ่ีัสันเข่อนเป็นน้ำาตกขนาดเล็กที่เกิดจากืการระบายนาออกจากเข่อน ใช้ระยะเวลา ้ำื๑๕ ป (ป พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๔) ในการีีก่อสร้างจนเสร็จอบจ.สกลนคร ๙๒

เซิ้งผีโขน บ้านไฮหย่อง แห่ผีโขนหรือผีวูดูเมืองไทย การละเล่นเซิ้งผีโขนโดยส่วนมากคนมักเข้าใจผิดมักเรียกว่า \"ผีตาโขน\" เหมือนกันกับอำาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย แต่จริงๆแล้วต่างกัน การละเล่นเซิ้งผีโขนบานไฮหย่องสนนิษฐานวา ไดมาจากการเลนผโขนในเมืองสกลนคร ต้งแต้ั่้่ีั่สมัยเจ้าเมืองสกลนครคนแรก โดยจะมีการแห่ผีโขนไปตามคุ้มต่างๆในช่วงเดือน ๖ อันเปนเทศกาลบุญมหาชาติ (เทศกาลงานบุญพระเวส) ็เพื่อเร่ยไรเงินในการนำาไปทำาบุญตามวัดที่สำาคัญ ดังปรากฎว่า บรรดาผีมเหสักข์ีหลักเมือง ในบ้านไฮหย่องมีช่อว่า \"ผีจันต์\" อย่ในกล่มผีระดับสูง ท่เข้าร่วมืูุีขบวนแห่พระเวสสันดร การแต่งกายของผีโขนท่พงโคนีั มีลักษณะคล้ายคลึงกับผีวูดูของพวกฝรั่ง มีลักษณะของใบหน้า ยาว ใหญ่ จมูกโตยาว ใบหูกางยาว คางยื่นยาว ปากกว้างใหญ่มองดูน่าเกลียด น่ากลัว บริเวณใบหน้าของหน้ากาก มีการตกแต่งสีให้น่ากลัวยิ่งขึ้น โดยได้นำาเอาไม้งิ้วหรือไม้นุ่นมาตัดให้มีขนาดกว้าง ๓๐ เซนติเมตร ยาว ๕๐ เซนติเมตร แล้วแกะสลักให้มีความน่ากลัวที่สุด ตามจินตนาการของแต่ละคนว่า รูปร่างหน้าตาของผีจะต้องเปนอย่างน้หรืออย่างน้น ต่อจากน้นมีการเอาปนขาวและดินหม้อ็ีััูมาทาให้เกิดลวดลายพอสวยงาม ในสมัยต่อมา เมื่อเทคโนโลยีเจริญขึ้นมสวทยาศาสตรมากมายผลิตออกมาจาหนาย ผคนเลยใชสเหลาน้นมาระบายีีิ์ำู่้้ี่ัให้ดูสวยงามและแปลกตาออกไปอีก ส่วนเคร่องแต่งกายื ผู้ที่จะเล่นต้องไปขอผ้าจีวรเก่าท่ไม่ใช้แล้ว ีจากพระภิกษุสงฆ์ตามวัดวาอารามต่างๆ มาตัดเปนเส้อร่มร่ามยาวคลุมถึงน่อง ็ืุเส้นผมใช้กาบกล้วยแห้งมาถักให้ยาวตกถึงน่อง และติดกับหน้ากากโขน หนวดเครา ใชเครอหก(เศษผ้าจากการทอผาพ้นบ้าน)มาทำาเป็นหนวดเครายาวๆ ้ืู้ือาวุธของผี มีดาบ หน้าไม้ และอวัยวะเพศเทียมที่ทำาจากไม้นุ่นงานบุญมหาชาติและบุญบ้งไฟัอาเภอพงโคน จัดข้นในเขตเทศบาลตาบลพงโคน ในสัปดาห์แรกำัึำัของเดือนพฤษภาคมของทุกป กิจกรรมประกอบด้วย การประกวดบ้งไฟทางไกล เทศน์มหาชาติ เทศกาลอาหารแซบีัพงโคน และการประกวดขบวนแห่บั้งไฟ ประชาชนอำาเภอพังโคน ทั้ง ๕ ตำาบล ได้ตกแต่งบั้งไฟและขบวนแห่ัเข้าประกวดแข่งขันกันอย่างคึกคัก ซ่งแต่ละขบวนแต่งกายด้วยเส้อผ้าอาภรณ์ย้อนยุค อย่างสวยงาม ทาใหึืำ้บรรยากาศเปนไปอย่างสนุกสนาน ท่ามกลางความสนใจของผ้ชมซ่งมีท้งชาวไทยและชาวต่างชาติ แต่ละขบวน็ูึัประดับประดาบั้งไฟกันอย่างสุดฝมือีVDOอบจ.สกลนคร๙๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook