Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บท3

บท3

Published by emosingza, 2018-09-06 03:22:11

Description: บท3

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 3 โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย เสนอ ครู เพยี รวทิ ย์ ขาทวี จดั ทาโดย นายวรษิ ฐ์ หวงั พงึ่ เดชปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (ม.6) เลขท่ี 12

ลกั ษณะการเชือ่ มตอ่ เครอื ขา่ ยลักษณะของการเชอื่ มโยงออกเปน็ 4 ลักษณะ คอื1.เครอื ข่ายแบบดาว (Star Network) จะมีคอมพิวเตอร์หลกั เป็นโฮสต์ (Host) ตอ่ สายสื่อสารกบัคอมพวิ เตอร์ย่อยท่ีเปน็ ไคลเอนต์ (Client) คอมพวิ เตอรท์ ่ีเปน็ ไคลเอนตแ์ ต่ละเครื่องไม่สามารถตดิ ต่อกนั ไดโ้ ดยตรง การติดต่อจะตอ้ งผ่านคอมพวิ เตอร์โฮสตท์ ่เี ปน็ ศนู ยก์ ลาง ขอ้ ดขี องเครอื ข่ายแบบดาว1.) มีความคงทนสงู คือ หากสายเคเบิลของบางโหนดเกดิ ขาดกจ็ ะไม่ส่งผลกระทบตอ่ ระบบโดยรวม โดยโหนดอ่นื ๆ ยังสามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ2.) เนอ่ื งจากมีจุดศนู ยก์ ลางอยูท่ ีฮ่ บั (Hub) ดงั นั้น การจดั การและการบริการจะง่ายและสะดวก ข้อเสยี ของเครือขา่ ยแบบดาว1.) ใช้สายเคเบิลมากเท่ากบั จานวนเครือ่ งที่เช่อื มตอ่ หมายถึง คา่ ใชจ้ า่ ยทสี่ ูงขึ้นดว้ ย แต่ก็ใชส้ ายเคเบิลมากกวา่ แบบ BUS กบั แบบ RING2.) การเพิ่มโหนดใด ๆ จะตอ้ งมพี อร์ตเพยี งพอต่อการเช่อื มโหนดใหม่ และจะตอ้ งโยงสายจากพอร์ตของฮับ (Hub) มายงั สถานทท่ี ีต่ ัง้ เครอ่ื ง3.) เนอื่ งจากมจี ดุ ศนู ย์กลางอยู่ทฮ่ี บั (Hub) หากฮับเกิดขอ้ ขัดขอ้ งหรือเสยี หายใช้งานไม่ได้คอมพวิ เตอร์ตา่ ง ๆ ทเ่ี ช่ือมต่อเขา้ กบั ฮบั (Hub) ดังกลา่ วกจ็ ะใช้งานไมไ่ ดท้ ้งั หมด

2. เครอื ขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือขา่ ยทเี่ ชื่อมต่อคอมพิวเตอรด์ ว้ ยสาย เคเบิลเดยี วในลักษณะวงแหวนไมม่ เี ครื่องคอมพวเตอร์เปน็ ศนู ยก์ ลาง ข้อมลู จะตอ้ งผ่านไปยัง คอมพวิ เตอร์รอบ ๆ วงแหวน และผา่ นเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทุกเครอื่ งเพ่ือไปยงั สถานีท่ี ต้องการ ซึง่ ข้อมูลท่ีสง่ ไปจะไปในทิศทางเดยี วกนั การวิ่งของขอ้ มลู ในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ ทิศทางเดียวเท่านัน้ เมอื่ คอมพิวเตอรเ์ ครื่องหนึง่ ส่งขอ้ มลู จะส่งไปยังเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ตัว ถัดไป ถ้าขอ้ มลู ท่ีรบั มาไมต่ รงตามทค่ี อมพวิ เตอรต์ น้ ทางระบกุ จ็ ะส่งผา่ นไปใหค้ อมพวิ เตอร์ เคร่ืองถัดไป ซง่ึ จะเปน็ ขน้ั ตอนแบบน้ไี ปเร่อื ย ๆ จนกวา่ จะถงึ คอมพิวเตอร์ปลายทาง ทีถ่ กู ระบุตามทอ่ี ยู่จากเครอ่ื งตน้ ทาง ขอ้ ดขี องเครือข่ายแบบวงแหวน1.) แตล่ ะโหนดในวงแหวนมีโอกาสท่ีจะส่งขอ้ มลู ได้เทา่ เทยี มกนั2.) ประหยดั สายสญั ญาณ โดยจะใชส้ ายสญั ญาณเท่ากบั จานวนโหนดทเี่ ช่อื มตอ่3.) ง่ายตอ่ การตดิ ตง้ั และการเพิม่ /ลบจานวนโหนด ข้อเสยี ของเครือข่ายแบบวงแหวน1.) หากวงแหวนเกดิ ขาดหรอื เสยี หายจะสง่ ผลตอ่ ระบบทง้ั หมด2.) ยากตอ่ การตรวจสอบ ในกรณีทม่ี ีโหนดใดโหนดหน่ึงเกดิ ขดั ข้อง เนือ่ งจากต้องตรวจสอบทีละจดุ ว่าเกิดขอ้ ขัดข้องอย่างไร

3. เครือขา่ ยแบบบัส (Bus Network) จะมกี ารเช่อื มต่อคอมพวิ เตอรบ์ นสายเคเบลิ ซึง่ เรยี นวา่บสั คอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งหนึง่ ๆ สามารถส่งถา่ ยขอ้ มลู ไดเ้ ปน็ อสิ ระในการสง่ ขอ้ มลู นนั้ จะมเี พยี งคอมพิวเตอร์ตัวเดยี วเท่านนั้ ท่สี ามารถสง่ ขอ้ มลู ได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จากนนั้ ข้อมูลจะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบลิ แลว้ คอมพิวเตอรป์ ลายทางจะรบั ข้อมูลทีว่ ิ่งผ่านมา ข้อดขี องเครอื ข่ายแบบบัส1.) เป็นโครงสร้างทไ่ี มซ่ บั ซอ้ น และติดตั้งง่าย2.) งา่ ยต่อการเพิม่ จานวนโหนด โดยสามารถเชอ่ื มต่อเขา้ กับสายแกนหลักได้ทันที3.) ประหยัดสายสง่ ข้อมูล เนื่องจากใช้สายแกนเพียงเสน้ เดียว ข้อเสียของเครือขา่ ยแบบบัส1.) หากสายเคเบลิ ท่เี ปน็ สายแกนหลักขาดจะส่งผลใหเ้ ครือขา่ ยตอ้ งหยดุ ชะงกั ในทนั ที2.) กรณีระบบเกิดข้อผิดพลาดใด ๆ จะหาขอ้ ผิดพลาดได้ยาก3.) ระหวา่ งโหนดแต่ละโหนดจะต้องมรี ะยะหา่ งตามขอ้ กาหนด

4. เครอื ข่ายแบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ผี สมผสานระหวา่ งรูปแบบต่าง ๆ หลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั คือ มีเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครอื ขา่ ยเพ่ือให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสุดในการทางานเครือข่ายบรเิ วณกวา้ ง ซึ่งเครือขา่ ยทถ่ี ูกเชอื่ มต่ออาจจะอยูห่ า่ งกนั คนละจังหวด หรืออาจจะอยู่คนละประเทศก็เปน็ ได้

ลักษณะโครงสร้างเครอื ข่ายโครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (NETWORK TOPOLOGY)คอื การนาคอมพวิ เตอรม์ าเชือ่ มตอ่ กนั เพอื่ ประโยชนข์ องการส่อื สารรปู แบบการจดั วางคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ แตล่ ะแบบก็มีจุดเดน่ ที่ตา่ งกนั สามารถแบ่งตามลักษณะของการเชอ่ื มตอ่ หลกั ได้ดงั นี้1.โครงสรา้ งเครือขา่ ยแบบแมช (mesh topology) เป็นรูปแบบของการเช่อื มต่อทีม่ คี วามนยิ มมากและมปี ระสทิ ธิภาพสงู เน่อื งจากถ้ามเี สน้ ทางของการเช่ือมตอ่ คใู่ ดคหู่ นง่ึ ขาดจากกัน การติดตอ่ สอื่ สารระหวา่ งคู่นน้ั ยงั สามารถตดิ ตอ่ ไดโ้ ดยอุปกรณจ์ ดั เสน้ ทาง (router) จะทาการเชอ่ื มตอ่ เส้นทางใหมไ่ ปยังจุดหมายปลายทางอตั โนมตั ิ การเชือ่ มต่อแบบนี้มักนยิ มสร้างบนเครือข่ายแบบไร้สาย รปู รา่ งเครือข่ายแบบแมช ระบบน้ียากต่อการ เดินสายและมีราคาแพงมากจงึ ยงั ไม่เปน็ ท่นี ยิ มมากนัก

2.โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบดาว (star topology)โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบดาว ภายในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์จะตอ้ งมจี ุกศูนย์กลางในการควบคุมการเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์ หรอื ฮับ (hub) การสอื่ สารระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ต่างๆ จะสอ่ื สารผ่านฮับกอ่ นท่จี ะสง่ ขอ้ มลู ไปสู่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์เครื่องอืน่ ๆ โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ แบบดาวมขี ้อดี คอื ถา้ ตอ้ งการเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองใหม่กส็ ามารถทาไดง้ ่ายและไมก่ ระทบต่อเคร่อื งคอมพวิ เตอร์อื่นๆ ในระบบ สว่ นข้อเสยี คือ ค่าใช้จา่ ยในการใช้สายเคเบล้ิจะค่อนข้างสูง และเมอื่ ฮบั ไมท่ างาน การสอื่ สารของคอมพิวเตอรท์ ง้ั ระบบกจ็ ะหยดุ ตามไปด้วย3.โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน (ring topology)โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน มกี ารเช่ือมต่อระหวา่ งเครือ่ งคอมพวิ เตอรโ์ ดยท่แี ต่ละการเชอ่ื มต่อจะมีลกั ษณะเปน็ วงกลม การส่งขอ้ มลู ภายในเครือขา่ ยน้ีกจ็ ะเปน็ วงกลมดว้ ยเชน่ กนั ทศิ ทางการส่งขอ้ มูลจะเป็นทิศทางเดยี วกันเสมอ จากเคร่อื งหนึง่ จนถงึ ปลายทาง ในกรณีท่ีมีเครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งใดเคร่ืองหนง่ึ ขดั ขอ้ ง การสง่ ข้อมลู ภายในเครอื ข่ายชนิดน้ีจะไม่สามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดขี องโครงสรา้ ง เครือข่ายแบบวงแหวนคอื ใชส้ ายเคเบิล้ นอ้ ย และถา้ตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสยี ออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลต่อการทางานของระบบเครือขา่ ยนี้ และจะไมม่ กี ารชนกันของขอ้ มูลท่แี ตล่ ะเครือ่ งสง่4.โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน (ring topology)โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน มกี ารเชอื่ มตอ่ระหว่างเครื่องคอมพวิ เตอรโ์ ดยที่แตล่ ะการ เชอ่ื มตอ่ จะมีลักษณะเป็นวงกลม การสง่ ขอ้ มูลภายใน เครอื ข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการสง่ ข้อมลู จะเป็นทิศทางเดยี วกนั เสมอ จากเครอ่ื งหนึ่งจนถึง

ปลายทาง ในกรณีทีม่ ีเครอื่ งคอมพิวเตอร์เครอ่ื งใดเคร่ืองหน่งึ ขดั ข้อง การสง่ ข้อมลู ภายในเครือขา่ ยชนดิ น้จี ะไมส่ ามารถทางานต่อไปได้ ขอ้ ดขี องโครงสร้าง เครอื ขา่ ยแบบวงแหวนคอื ใช้สายเคเบล้ิ น้อย และถา้ ตดั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทเ่ี สยี ออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลต่อการทางานของระบบเครือขา่ ยนี้ และจะไมม่ ีการชนกนั ของขอ้ มลู ที่แตล่ ะเคร่ืองส่ง5. โครงสรา้ งเครือขา่ ยแบบผสม (Hybrid Topology) คอื เป็นเครอื ขา่ ยทผี่ สมผสานกันทงั้ แบบดาว แบบวงแหวน และแบบบสัเชน่ วิทยาเขตขนาดเล็กที่ มีหลายอาคาร เครอื ข่ายของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบสั เช่อื มต่อกบัอาคารอ่ืนๆทใ่ี ชแ้ บบดาว และแบบวงแหวน

สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย Network Component ในชวี ติ ประจาวนั ของเราน้ันเกี่ยวขอ้ งกบั เครอื ข่ายตลอดเวลา เพระทกุ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารนั้นตอ้ งผ่านระบบเครอื ขา่ ยมาแล้วทงั้ สน้ิ ไมว่ า่ จะเป็น โทรศพั ท์ SMS ATM วิทยุโทรทัศน์ ลว้ นเปน็ ระบบเครอื ขา่ ยท้งั ส้ิน โดยท่ี Internet เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยทีใ่ หญ่ทีส่ ุดในโลกในท่นี ้ีจะกลา่ วถงึ ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย ซึง่ ประกอบไปด้วย- เครอ่ื งบรกิ ารข้อมลู (Server)- เครอื่ งลูกข่ายหรอื สถานี (Client)- การ์ดเครอื ข่าย (Network Interface Cards)- สายเคเบลิ ท่ใี ชบ้ นเครอื ขา่ ย (Network Cables)- ฮับหรอื สวิตช์ (Hubs and Switches)- ระบบปฏิบัตกิ ารเครอื ข่าย (Networkoperating System)เครอื่ งศนู ย์บริการข้อมูลโดยมักเรียกว่า เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทาหนา้ ทบ่ี ริการทรัพยากรให้กับเคร่ืองลกูข่าย เชน่ การบริการไฟล์ การบริการงานพิมพ์ เป็นต้น เนอ่ื งจากเคร่อื งเซฟเวอร์มักต้องรบั ภารกิจหนกั ในระบบจงึ มกั ใช้เครือ่ งทม่ี ีขดี ความสามารถมาเปน็ เครื่องแม่ขา่ ย

เคร่อื งลูกข่ายหรอื สถานเี ครอื ข่ายเครื่องลูกขา่ ยเปน็ คอมพวิ เตอรท์ ่ีเช่ือมตอ่ เข้ากบั ระบบเครอื ขา่ ย ซึ่งอาจเรยี กวา่เวิรก์ สเตชนั ก็ได้ โดยมกั เปน็ เคร่ืองของผู้ใช้งานทวั่ ไปสาหรบั ตดิ ตอ่ เพอื่ ขอใชบ้ รกิ ารจากเซิร์ฟเวอร์ ซึง่ สามารถจะขอหรอื นา software ท้งั ขอ้ มูลจากเครอ่ื งแม่ขา่ ยมาประมวลผลใชง้ านไดแ้ ละยงั ตดิ ต่อสอื่ สาร รบั -สง่ ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งอนื่ ๆในเครอื ข่ายได้การ์ดเครอื ข่ายแผงวงจรสาหรบั ใช้ในการเชอ่ื มตอ่ สายสัญญาณของเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ทุกเครอื่ งในเครือข่ายจะตอ้ งมอี ปุ กรณน์ ี้ และหนา้ ทีของการด์ กค็ อื แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสญั ญาณทาใหค้ อมพิวเตอร์ในเครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี นขอ้ มลู กนั ได้สายเคเบิลทใ่ี ชบ้ นเครือขา่ ยเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมสี ายเคเบิลเพ่อื ใช้สาหรบั เชื่อมตอ่ คอมพิวเตอรต์ า่ ง ๆใหอ้ ยูบ่ นเครอื ข่ายเดียวกันเพอื่ สือ่ สารกนั ได้ นอกจากน้ีเครอื ขา่ ยยงั สามารถสอื่ สารระหวา่ งกันโดยไม่ใช้สายกไ็ ด้ เรียกวา่ เครอื ข่ายไรส้ ายโดยสามารถใชค้ ลนื่ วทิ ยหุ รอื อินฟาเรด เปน็ ตัวกลางในการปลงสัญญาณ อีกทง้ั ยังสามารถนาเครอื ขา่ ยแบบมสี ายและเครือขา่ ยแบบไรส้ ายมาเชอื่ มตอ่ เขา้ ด้วยกนั เป็นเครอื ข่ายเดยี วกันได้ฮบั และสวติ ช์เปน็ อปุ กรณ์ฮบั และสวติ ช์มักนาไปใชเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางของสายเคเบิลท่ีเชือ่ มต่อเครือขา่ ยเขา้ ไว้ดว้ ยกนั ซง่ึ ฮบั หรอื สวิตชจ์ ะมพี อร์ตเพ่อื ใหส้ ายเคเบลิ เชือ่ มตอ่ เข้าระหวา่ งฮบั กับคอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอรต์ จะขึน้ อยู่กบั แต่ละชนิด เชน่ แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอรต์ยงั สามารถนาฮับหรือสวติ ชห์ ลายๆตวั มาเชื่อมตอ่ เข้าด้วยกนั เพอ่ื ขยายเครือข่ายไดอ้ กีดว้ ย

ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ข่ายเครอ่ื งแม่ขา่ ยของระบบจาเปน็ ตอ้ งติดตง้ั ระบบปฏบิ ัตกิ ารเครอื ข่ายไว้ เพอื่ ทาหน้าที่ควบคมุ และรองรบั การทางานของเครอื ข่ายไว้ เครอื ขา่ ยท่ีมีประสทิ ธภิ าพจาเปน็ ตอ้ งพ่ึงSoftware ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพตามดว้ ยเช่นกัน

รปู แบบของเครอื ขา่ ยแบง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่1. เครอื ขา่ ยแบบ Client/Server2. เครือข่ายแบบ Peer To Peerเครือข่ายแบบ Client/Serverเปน็ เครือข่ายทีม่ ีคอมพวิ เตอร์เคร่อื งหน่ึงทาหน้าทีเ่ ป็นเซริ ์ฟเวอร์ ไวค้ อยบริการข้อมลู ให้กับลูกเครอื ข่าย โดยมฮี บั หรอื สวติ ซเ์ ปน็ ตวั กลาง โดยคอมพวิ เตอรท์ กุ เครอ่ื งจะถูกเชื่อมตอ่ กับฮับเพื่อทาหนา้ ท่ีเชือ่ มตอ่ ระห่างกนั และสมารถขอใช้บริการ web server , mail server , file server และprint server ได้ เครอื ขา่ ยประเภทนอ้ี าจมเี ซฟเวอร์ตวั หน่งึ ทาหน้าที่หลายๆหนา้ ทบี่ นเครอ่ื งเดยี วหรอื อาจทาหน้าที่เฉพาะกไ็ ด้ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของระบบ Client/Serverข้อดี1.เครอื ขา่ ยมีเสถียรภาพสูง และสามารถเพิ่มลดไดต้ ามตอ้ งกัน2.มีความปลอดภยั สูงทง้ั ดา้ นข้อมูลและการจัดการ userขอ้ เสีย1.ตอ้ งใชท้ ุนในการลงทนุ สงู2.ตอ้ งพ่งึ พาผคู้ วบคุมทมี่ คี วามรู้ มคี วามเชยี่ วชาญ

เครอื ข่าย Peer To Peerเป็นระบบทเ่ี ครื่องคอมพวิ เตอร์ทกุ เคร่อื งบนเครือขา่ ยมฐี านะเทา่ เทียมกันโยทที่ กุ เครอื่ งจะต่อสายเคเบลิ เขา้ กบั ฮับหรือสวิตซท์ ุกเคร่ืองสามารถใช้ไฟล์ในเครอ่ื งอน่ื ได้และสามารถใหเ้ ครอ่ื งอ่นื มาช้ไฟล์ของตนเองไดเ้ ช่นกัน ระบบเครือขา่ ยประเภทน้มี ักจะใชง้ านในหนว่ ยงานขนาดเล็กหรอื ใช้คอมพวิ เตอรไ์ ม่เกิน 10 เคร่อื ง อาจมปี ัญหาเรื่องความปลอดภยั ในระบบเนือ่ งจากขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ความลบั ถกู ส่งไปยังคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอ่นื ด้วยเชน่ กันขอ้ ดี ขอ้ เสียของระบบ Peer To Peerขอ้ ดี1.ลงทุนต่า2.ไมต่ อ้ งดแู ลผู้ดแู ลระบบ3.ติดตัง้ ง่ายข้อเสยี1. มขี ีดความสามารถจากัด2. มรี ะบบความปลอดภยั ต่า3. มปี ัญหาเกยี่ วกับการขยายเครือขา่ ย

อุปกรณท์ ใ่ี ชเ้ ชอ่ื มตอ่ ระบบเครอื ขา่ ยรพี ีตเตอร์(Repeater) : ในระบบ Lan โดยทว่ั ไปน้นั ย่งิ คอมพิวเตอรแ์ ต่ละเคร่ืองอยไู่ กลกนั มากเท่าไร สัญญาณทจี่ ะสื่อถงึ กนั เร่ิมเพย้ี นและจะจางหายไปในทสี่ ดุ จงึ ต้องมีอุปกรณเ์ สรมิ พิเศษที่เรียกว่า รีพตี เตอร์ ขน้ึ มาทาหนา้ ทใ่ี นการเดนิ สญั ญาณคอื ช่วยขยายสัญญาณไฟฟา้ ที่ส่งบนสายLan ให้แรงข้ึนและจดั รปู สัญญาณท่เี พืย้ นใหก้ ลบั เป็นเหมือนเดมิฮับ(Hub) : ทาหน้าท่เี ปรยี บเสมอื นศนู ยก์ ลางทีก่ ระจายขอ้ มูลชว่ ยใหค้ อมพวิ เตอร์ตา่ งๆบนเครอื ขา่ ยสามารถส่อื สารถึงกนั ได้ คอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเคร่ืองจะต่อเข้ากับฮบั โยสายเคเบิลแล้วส่งขอ้ มูลจากคอมพิวเตอร์จากเคราองหน่งึ ไปยงั อีกเครอื หน่ึงโยงผ่านฮบั ฮับไมส่ ามารถระบุแหล่งทีม่ าข้อมูลและปลายทางของข้อมลู ท่สี ง่ ไปได้ ดังน้ันฮบั จะส่งข้อมลู ไปให้กับเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีเชอื่ มตอ่ กบั ฮับทุกเครอ่ื งรวมถงึ เครือ่ งทีส่ ง่ ขอ้ มลู ดว้ ย ฮบั ไมส่ ามรถรบั และสง่ ขอ้ มูลไดใ้ นเวลาเดียวกนั จึงทาให้ฮับทางานชา้ กว่าสวติ ซ์ การเช่อื มต่อแบบน้ี หากเชริ ฟ์ เวอรไ์ มไ่ ด้เปดิ ใช้งานอยู่ เครือ่ งลูกขา่ ยกไ็ มส่ ามารใช้งานบริการได้

สวิตซ์(Switch) : อุปกรณค์ อมพิวเตอรท์ ีพ่ ฒั นามาจากฮบั ลกั ษณะทางกายภาพของเน็กเวิรด์สวติ ซ์นั้นจะเหมอื นกับเนต็ เวิรด์ ฮับทุกอย่าง แตกต่างกนั ตรงที่- สวติ ส์จะเลอื กสง่ ข้อมลู ถึงผู้รบั เทา่ นนั้- สวติ ส์มีความร็วสูง- มคี วามปลอดภยั สูงกวา่- สามารถรับสง่ ขอ้ มูลได้ในเวลาเดยี วกนับรดิ จ์(Bridge) : เป็นอุปกรณเ์ ครอื ข่ายที่เชอื่ ม 2 เครือขา่ ยเข้าดว้ ยกัน เสมือนเป็นสะพานเชอื่ มโยงระหว่าง 2 เครือข่ายบรดิ จม์ ีความสามารถมากกว่าฮบั และรพี ีตเตอร์ กลา่ วคอื สามารถกรองข้อมูลทีจ่ ะสง่ ได้ โดยตรวจสอบวา่- ตรวจสอบความสามารถของข้อมูล- สง่ ข้อมลู ไปในเครื่องทตี่ อ้ งการเท่านัน้- จัดการความหนาแน่นของขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

เรา้ เตอร์(Router) : จะช่วยใหเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถสอ่ สารหากันได้และสามารส่งผา่ นขอ้ มูลระหว่าง 2 เครือข่าย เช่น เครอื ขา่ ยในบ้านกบั อินเตอร์เนต็ โยท่แี บบมสี ายและไรส้ ายนอกจากนี้เร้าเตอร์ยงั มรี ะบบรักษาความปลอดภยั คือ ไฟล์วอร์เกตเวย์(Gateway) : เปน็ อุปกรณท์ ี่ทาหน้าทเี่ ชอ่ื มตอ่ เครือข่ายตา่ งๆให้เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 2ระบบมีความแตกต่างกัน คอื- มีโปรโตคลอทตี่ ่างกัน- มขี นาดเครอื ข่ายต่างกัน- มีระบบเครือข่ายต่างกน เชน่ เครื่อง PC และ เครื่อง MAX ทาให้สามารถเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายระหว่างกันได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook