Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore R2R : แนวทางการพัฒนาการขับเคลѡือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีѡศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด

R2R : แนวทางการพัฒนาการขับเคลѡือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีѡศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด

Published by สสว ปทุมธานี, 2021-09-27 07:20:12

Description: R2R : แนวทางการพัฒนาการขับเคลѡือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด
ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีѡศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด

Search

Read the Text Version

R2R | แนวทางการพัฒนาการขบั เคล่อื นงานศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม สายด่วน 1300 จงั หวัด 86 แนวทำงกำรพฒั นำกำรขบั เคลอ่ื นงำนศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คม สำยดว่ น 1300 จงั หวัด ศกึ ษำเฉพำะกรณี กำรปฏบิ ัติงำนของเจ้ำหนำ้ ที่ ศนู ยช์ ่วยเหลอื สงั คม สำยด่วน 1300 จังหวดั อ่ำงทอง 86

R2R | แนวทางการพฒั นาการขับเคล่อื นงานศูนยช์ ว่ ยเหลือสังคม สายดว่ น 1300 จังหวดั 87 1. บทนำ 1.1 ควำมสำคัญและที่มำของปัญหำกำรวิจัย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 มีภารกิจหลักในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม เป็นศูนย์กลางรับเร่ืองร้องทุกข์ให้คาปรึกษา แนะนาประสานการส่งตอ่ และใหค้ วามช่วยเหลือในทกุ ประเดน็ ปญั หาทางสงั คมในทกุ กลุม่ เป้าหมายครอบคลุม ทั้ง 10 ประเด็นปัญหาความมั่นคงของมนุษย์หลักๆ ได้แก่ ปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และ คนพิการ การตั้งครรภใ์ นวัยร่นุ การคา้ มนุษย์ ยาเสพติด คนเร่ร่อน/ไร้ที่พ่ึงคนขอทาน เด็กและเยาวชน บุคคล สญู หาย ผูส้ ูงอายุ และผู้พกิ าร ทง้ั การให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ สายด่วน 1300 การให้บริการประชาชนที่มา ติดต่อขอใช้บริการด้วยตนเอง การเฝ้าระวังผ่านสื่อสังคมต่างๆ นอกจากน้ีได้จัดบริการหน่วยเคล่ือนที่เร็ว เพ่ือออกปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคมในภาวะวิกฤติได้อย่างทันท่วงที โดยมี นักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมบูรณาการดาเนินงานซ่ึงเป็นช่องทางในการเข้าถึง บริการของรัฐ จากสถานการณป์ ญั หาทางสังคมและการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19) สง่ ผลให้ประชาชนและผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมติดต่อขอรับบริการเพ่ิมขึ้นเป็นจานวนมาก เพ่ือให้ประชาชน และผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้รับบริการท่ีมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทันท่วงที รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (นายจุติ ไกรฤกษ์) ได้มีนโยบายให้ศู นย์ช่วยเหลือสังคม เร่งดาเนินการถ่ายโอนคู่สายโทรศัพท์ สายด่วน 1300 จากส่วนกลางสู่ส่วนภูมิภาค เนื่องจากกระบวนการ ทางานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม พบว่า ข้ันตอนการประสานส่งต่อข้อมูลผู้ประสบปัญหาสังคม จากส่วนกลางอาจก่อให้เกิดความล่าช้า ไม่ทันต่อเหตุการณ์ รวมถึงความละเอียดอ่อนในบริบทพื้นท่ี เพื่อให้ ประชาชนและผปู้ ระสบปญั หาสังคมสามารถโทรศัพท์ขอรับคาปรึกษาโดยตรงจากเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่มีความรู้ ในกระบวนงานสังคมสงเคราะหแ์ ละมีความเข้าใจในบริบทพ้ืนที่เป็นอย่างดี ช่วยให้ผู้ประสบปัญหาสังคมได้รับ บริการที่รวดเร็ว ตรงตามสภาพปัญหาความต้องการ และเพื่อรองรับวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และให้ การช่วยเหลอื ประชาชนผู้ประสบปญั หาทางสังคมไดอ้ ย่างทันท่วงที สอดคล้องกับวกิ ฤตการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนใน ปัจจบุ นั และในอนาคต สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ มีอานาจหน้าที่ พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนษุ ย์ ให้สอดคลอ้ งกบั พนื้ ทแ่ี ละกล่มุ เป้าหมาย ส่งเสรมิ และสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูล สารสนเทศ ใหค้ าปรึกษาแนะนาแก่หนว่ ยงานบริการทุกกลุ่มเปา้ หมายในพน้ื ทใ่ี หบ้ ริการในความรับผิดชอบของ กระทรวง พม. รวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานที่เก่ียวข้อง องค์กรภาคเอกชน และประชาชน ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์ และสภาพแวดล้อม เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม และ ผลกระทบรวมทั้งใหข้ ้อเสนอแนะการพฒั นาสงั คมและจัดทายทุ ธศาสตรใ์ นพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด และสนับสนุนการ นิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบาย และภารกิจของกระทรวงในพ้ืนท่ีกลุ่ม 87

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคลอ่ื นงานศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จงั หวัด 88 จงั หวัดประกอบด้วย ได้แก่ กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี นครนายก ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ สระบรุ ี และอ่างทอง จากนโยบายการถ่ายโอนคู่สายโทรศัพท์สายด่วน 1300 จากส่วนกลางสู่ส่วนภูมิภาคน้ัน ส่งผลให้ บุคลากรหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในพื้นท่ีรับผิดชอบของ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 มีบทบาทหน้าท่ีในการขับเคลื่อนการถ่ ายโอนคู่สายโทรศัพท์ สายด่วน 1300 การให้คาปรึกษาและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมในพ้ืนที่จังหวัดนนทบุรี นครนายก ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ สระบุรี และอ่างทอง ในการน้ีสานักงานส่งเสริมและ สนับสนุนวิชาการ 1 จึงสนใจท่ีจะศึกษาแนวทางการพัฒนาการขับเคลื่อนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด โดยศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จงั หวัดอา่ งทอง เพ่ือท่จี ะได้ทราบถงึ ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาการขับเคลื่อนงาน ศูนย์ชว่ ยเหลอื สงั คม สายด่วน 1300 ตอ่ ไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัตงิ านของเจา้ หนา้ ที่สายด่วน 1300 จงั หวัดอ่างทอง 2) เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศกึ ษาเฉพาะกรณี การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทสี่ ายด่วน 1300 จังหวดั อา่ งทอง 1.3 ขอบเขตในกำรศกึ ษำ 1.3.1 ขอบเขตด้ำนเนอื้ หำ 1) ศึกษาเอกสาร งานวิจัย ทบทวนวรรณกรรม บทความ และแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับแนว ทางการพัฒนาการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หน้าทศี่ ูนย์ชว่ ยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จงั หวดั อ่างทอง 2) ศกึ ษาแนวนโยบายของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ทีเ่ ก่ยี วข้อง 3) ศกึ ษาปญั หา อปุ สรรค และแนวทางการพฒั นาในการขับเคลื่อนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง 1.3.2 ขอบเขตดำ้ นประชำกร / กลุ่มเป้ำหมำย บุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ที่ปฏิบัติ งานศูนย์ช่วยเหลือ สังคม สายด่วน 1300 จงั หวัดอา่ งทอง 1.3.3 ขอบเขตดำ้ นระยะเวลำ ระหวา่ งเดือนตลุ าคม 2563 – เดอื นกันยายน 2564 88

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคลื่อนงานศนู ย์ช่วยเหลือสังคม สายดว่ น 1300 จังหวัด 89 1.4. นยิ ำมศพั ท์ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัด หมายถึง ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 มภี ารกิจหลักในการให้ความช่วยเหลอื ผู้ประสบปัญหาสังคม ท้ังการให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ สายด่วน 1300 การให้บรกิ ารประชาชนท่ตี ิดต่อขอใช้บริการด้วยตนเอง การเฝ้าระวังผ่านส่ือสังคมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีการถ่ายโอนคู่สาย โทรศัพทส์ ายดว่ น 1300 จากสว่ นกลางสูส่ ่วนภูมิภาคในจังหวัดตา่ งๆ กำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่สำยด่วน 1300 จังหวัดอ่ำงทอง หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ จ้างเหมาบริการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดอ่างทอง ท่ีปฏิบัติหน้าที่รับสายรับเร่ืองราวร้องทุกข์ของศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด อา่ งทอง 1.5 ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะได้รับ 1) ทราบถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จงั หวัด ศกึ ษาเฉพาะกรณี การปฏิบตั ิงานของเจ้าหนา้ ทสี่ ายดว่ น 1300 จงั หวัด 2) ทราบถงึ แนวทางการพฒั นาการขับเคลื่อนงานศูนย์ช่วยเหลอื สังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษา เฉพาะกรณี การปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หน้าทสี่ ายด่วน 1300 จงั หวัด 2. เอกสำรและงำนวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง การพัฒนางานประจาส่งู านวจิ ยั (R to R : Routine to Research) เร่ืองแนวทางการพัฒนาการ ขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง กาหนดขอบเขตในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกย่ี วขอ้ ง เพื่อนามาเปน็ แนวทางในการศกึ ษา ดงั น้ี 1. ทฤษฎแี ละแนวคดิ ของการบริหารจดั การแบบ 6 M 2. แนวคดิ เกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน 3. ข้อมลู ศนู ย์ชว่ ยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด 2.1 ทฤษฎแี ละแนวคดิ ของกำรบริหำรจัดกำรแบบ 6 M (6 M's of Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการดาเนินการระดับการกาหนดนโยบายหรือ กระบวนการบริหารงานใด ๆ ขององค์การท่ีไม่ต้องการผลกกาไรหรือผลประโยชน์ขององค์การผู้บริหาร พยายามบริหารงานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การผลสาเร็จขององค์การมิได้คานึงถึงผลตอบแทนที่ สมาชิกจะได้รับ การบริหารมักจะใช้กับองค์การภาครัฐหรือหน่วยงานสาธารณะท่ีไม่หวังผลกาไร ซ่ึงมีความ เช่ือมโยงสอดคล้องตามแนวคิดของ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2553 : 46 อ้างถึงในมานัส มหาวงศ์, 2559 : 14) 89

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคล่อื นงานศูนย์ชว่ ยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวดั 90 ได้กล่าวไว้ว่าปัจจัยที่มีส่วนสาคัญต่อการจัดการทรัพยากรบริหารจัดการหรือทรัพยากรจัดการ 6 M ประกอบด้วย บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุ (Material) เครื่องจักรหรือเคร่ืองมือ (Machine) การบรหิ ารระบบ(Management) และ ขวัญและกาลงั ใจ (Morale) อธบิ ายได้ดงั นี้ 1. Man หมายถึง บุคลากร ผู้ที่จะต้องเก่ยี วขอ้ งกับระบบงานหรือหมายถึงทุกคนท่ีเกี่ยวข้องกับระบบ นั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่างๆ ซ่ึงจะมีท้ังผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดับ ปฏิบัติงาน และอาจประกอบด้วยนักวิชาการในระดับต่างๆ แต่จะนับรวมลูกค้า หรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มี ความสาคญั ไม่นอ้ ยของระบบดว้ ยหรือไมก่ ย็ อ่ มสุดแล้วแตน่ กั วิชาการทางด้านบริหารระบบจะตัดสินใจ 2. Money หมายถึง เงนิ หรือทรพั ย์สินทีม่ ีคา่ เป็นเงนิ ของระบบ ซง่ึ นบั เป็นหัวใจที่สาคัญอย่างหน่ึงของ ระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน เงินคาใช้จ่าย หรือ เงินรายรับ รายจ่ายต่างๆเหล่าน้ี เป็นต้น ถ้า การเงินของระบบไม่ดีพอแล้ว ระบบน้ันย่อมจะประสบกับความยุ่งยากหรืออาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะน้นั ระบบธรุ กิจทุกชนิดจะต้องมีความระมัดระวงั ในเรือ่ งของการเงนิ เปน็ พิเศษ 3. Material หมายถึง วัสดุที่ใช้ในการดาเนินงาน ซึ่งเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งท่ีมีความสาคัญของ ระบบไม่นอ้ ย ปัญหาในเรื่อง Material มี 2 ประการ คือ ประการแรก การขาดแคลนวัสดุดาเนินงาน ส่งผลให้ ไม่สามารถดาเนินงานได้ ผลก็คือไม่บรรลุเป้าหมาย และประการที่สอง คือการมีวัสดุดาเนินงานเกินความ ตอ้ งการ ทาใหง้ บประมาณไปจมอยกู่ ับวสั ดุ ทาให้เกดิ การจัดการที่ไม่ดี 4. Machine หมายถงึ เครื่องจกั ร อุปกรณ์ และเครื่องมอื เคร่ืองใช้ในการดาเนินงานหรือในสานักงาน ซ่ึงนับว่าเป็นองค์ประกอบท่ีสร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสาคัญประการหนึ่งเหมือนกัน ปัญหาท่ีทาให้ไม่ สามารถดาเนนิ การไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งมกั เกิดจากเครื่องจักรและอุปกรณ์การทางานเป็นส่วนใหญ่ เช่น เคร่ืองมือ เก่า หรือเป็นเครื่องที่ล่าสมัยทาให้ต้องเสียค่าซ่อมบารุงสูงมีประสิทธิภาพในการทางานต่างๆ แต่ค่าใช้จ่ายใน การซ่อมบารงุ หรอื ค่าทางานทล่ี า่ ช้า ทางานไมท่ ันกาหนดเวลาทกี่ าหนดไว้ ทาให้เกิดความเสียหายและไม่บรรลุ ตามเปา้ หมาย 5. Management หมายถึง การบริหารระบบ ซงึ่ เปน็ อกี เรอ่ื งหนงึ่ ท่ีทาให้ระบบเกิดปัญหา เพราะการ บริหารท่ไี ม่ดีหรอื การบริหารทไ่ี มท่ ันตอ่ การเปลย่ี นแปลง ของสภาวะแวดล้อมหรือไมท่ ันต่อการเปล่ียนแปลงต่อ สงั คม เศรษฐกิจและการเมอื ง ทเี่ รียกกนั วา่ ไมเ่ ปน็ ไปตามโลกานุวัตรหรอื การได้ผบู้ ริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมา บรหิ ารงาน ซงึ่ ส่วนมากมกั เกิดขน้ึ ในระบบราชการ สาหรับระบบทางธุรกิจของเอกชนจะถือว่าการบริหารงาน เป็นเรื่องท่ีสาคัญท่ีสุด เพราะถ้าการบริหารไม่ดีแล้วธุรกิจน้ันก็ไม่สามารถท่ีจะอยู่ได้ กิจการต้องล้มเลิกไปใน ทส่ี ดุ 6. Morale หมายถงึ ขวัญและกาลังใจของบุคคลในระบบ หรือหมายถึง ค่านิยมของคนที่มีต่อระบบ หรือต่อองค์กรมากกว่า ซ่ึงเป็นค่านิยมของคนในระบบท่ีมีขวัญ และกาลังใจในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธภิ าพ และเป็นค่านิยมของผู้บริโภคหรือบุคคลภายนอกทเี่ กยี่ วข้อง เพื่อสนับสนุนให้ระบบอยู่รอด และ กระตุ้นจูงใจดว้ ยวิธตี า่ งๆ ก็มจี ดุ มุ่งหมายในสง่ิ น้รี ะบบท่ีขาดค่านยิ มหรอื ขาดความเชอ่ื มนั่ ของบุคคล ระบบน้ันก็ มกั จะอยูต่ อ่ ไปไม่ได้ จะตอ้ งประสบกับความลม้ เหลวในทีส่ ดุ 90

R2R | แนวทางการพัฒนาการขบั เคลื่อนงานศนู ย์ชว่ ยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จงั หวัด 91 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับประสทิ ธภิ ำพในกำรปฏิบัตงิ ำน ความหมายของประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน มิลเลท (Millet) ให้นิยามคาว่า ประสิทธิภาพ หมายถึงผลการปฏิบัติงานท่ีทาให้เกิดความพึงพอใจ และได้รับผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ซ่ึงความพึงพอใจ หมายถึงความพึง พอใจในการบริการให้แก่ ประชาชน โดยพิจารณาจาก (1) การให้บริการอย่างเทา่ เทียมกนั (Equitable Service) (2) การบรกิ ารอย่างรวดเร็วทนั เวลา (Timely Service) (3) การให้บรกิ ารอยา่ งทนั เวลา (Ample Service) (4) การใหบ้ รกิ ารอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Continuous Service) (5) การให้บริการอย่างก้าวหน้า (Progression Service) ไซมอน (Simon) ให้ความหมายของคาว่า ประสิทธิภาพในเชิงธุรกิจเก่ียวกับ การทางานของ เคร่ืองจักรโดยพิจารณาว่างานใดมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ ใหด้ จู ากความสมั พันธร์ ะหว่าง ปัจจัยนาเข้า (Input) และ ผลผลติ (Output) สมิธ (Smith) ใหก้ รอบแนวคดิ ขององค์ประกอบการดาเนินงานองค์กรที่นาไปสู่ ความมีประสิทธิภาพ ของการผลติ มดี งั น้ี (1) องคป์ ระกอบด้านปัจจยั (Input) (1.1) ปัจจัยมนุษย์ (Human) ได้แก่ กาลังคน (Manpower) ความสามารถ (Abilities) พลัง (Energies) ความต้องการ (Needs) ความคาดหวงั (Expectations) (1.2) ปัจจัยนอกจากมนุษย์ (Non-Human) ได้แก่ เงินทุน (Money) เครื่องมือเครื่องจักร (Machines) วสั ดุ (Materials) เทคนคิ วิธกี าร (Methods) ทดี่ นิ (Land) (2) องค์ประกอบดา้ นกระบวนการ (Process) (2.1) การจดั การองค์กร ได้แก่ จัดโครงสร้าง จัดศักยภาพการปรับเปลี่ยน (Dynamics) การ วิเคราะห์ (Analysis) การกาหนดวตั ถุประสงค์ การกาหนดกลยุทธ์ (Tactics) (2.2) การจัดระบบตัดสินใจและระบบข้อมูล ได้แก่ กระบวนการตัดสินใจ การใช้ระบบ สารสนเทศเพอ่ื การจดั การ (Management Information System) และการจดั ระบบ สนับสนุน (2.3) การวางแผนและควบคุม ได้แก่ การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning Systems) รูปแบบการวางแผนและวิธีการที่ใช้ (Planning Methods and Models) การ วางแผนงาน โครงการ (Project and Program Planning) การจัดระบบควบคุมและคอมพิวเตอร์ช่วย ควบคุม (Control Systems and Cybernetics) การวิเคราะห์ทุนและกาไรเพิ่มประสิทธิผล (CostBenefit Analysis and Effectiveness) และการบริหารบุคลากรและการประเมนิ (Human Systems Management Evaluation) 91

R2R | แนวทางการพัฒนาการขบั เคลอ่ื นงานศนู ยช์ ว่ ยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวดั 92 (3) องคป์ ระกอบดา้ นผลผลิต (Outputs) (3.1) สนิ ค้าและการบรกิ าร (Product and Service) (3.2) ความสามารถในการปฏิบตั ขิ ององคก์ ร (Performance) (3.3) ระดบั การเพม่ิ ผลผลติ (Productivity) (3.4) นวตั กรรม (Innovation) (3.5) การเติบโตและพัฒนาการขององค์กร ได้แก่ การขยายสถานที่ (Plant) การขยายทุน (Capital) การขยายตลาด (Markets) การใช้เทคโนโลยี (Technology) และการขยาย บุคลากร (Personnel) (3.6) ภาพพจนข์ ององค์กร (Image) (3.7) ความมุ่งมัน่ ขององคก์ ร (Commitment) (3.8) แรงจูงใจขององคก์ ร (Motivation) (3.9) ความพอใจของบุคลากร (Satisfaction) วิรัช สงวนวงศ์วาน กล่าวว่า ประสิทธิภาพของการบริหารงานจะเป็นเคร่ืองชี้ ความเจริญก้าวหน้า หรือความล้มเหลวขององค์กรงานท่ีสาคัญของการบริหารองค์กรก็คืองานใน หน้าที่ของการบริหาร ซึ่งจะ เหมอื นกนั เปน็ สากลไม่ว่าจะเป็นองค์กรขนาดใด มีจุดประสงค์ใดเป็น เคร่ืองมือช่วยให้การบริหารที่เหมาะสม กบั องค์กรของตนเอง สถานการณต์ า่ งๆ และนาไปปรับใช้ให้ เกดิ ประโยชนแ์ ก่องค์กรมากทส่ี ุด Certo ไดเ้ สนอแนวคิดเก่ียวกบั ประสิทธภิ าพของการปฏบิ ัตงิ านไว้เปน็ ประเด็นตา่ งๆ ดังน้ี (1) ความสามารถในการแยกแยะเรอ่ื งราว หมายถึง การท่ีจะสามารถมองเห็น ความแตกต่างระหว่าง 2 ส่ิง หรือมากกว่า หรือความสามารถในการที่จะบอกได้ถูกต้องว่างานสาคัญได้ เสร็จส้ินลุล่วงไปแล้ว หรือ สามารถเหน็ ถงึ ความแตกตา่ งวา่ อันใดถูกตอ้ งและอนั ใดไมถ่ ูกต้อง (2) ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา หมายถึง กระบวนการของการสามารถ หาคาตอบเพ่ือ แก้ปัญหาต่างๆ ความสามารถในการแก้ปัญหานี้จะกระทาได้โดยการสอนพนักงานให้ เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างอาการและสาเหตทุ ่จี ะเกดิ ข้ึนตลอดแนวทางแก้ไข (3) ความสามารถจาเรื่องที่ผ่านมา หมายถึง การสามารถรู้ได้ว่าจะต้องทาอะไร หรือต้องใช้อะไร ตลอดจนสามารถรู้ลาดับหรือระเบียบของการปฏิบัติงานของงานใดงานหน่ึง สิ่ง เหล่าน้ีล้วนแต่เป็น ประสทิ ธภิ าพและความสามารถเชงิ สติปญั ญา (4) ความสามารถในการดัดแปลง หมายถึง ความสามารถในการรู้จักเครื่องมือ หรือเคร่ืองกลต่างๆ เพื่อท่จี ะปฏบิ ตั ิงานทตี่ ้องการใหเ้ สรจ็ ส้ินลงไปได้ (5) ความสามารถในการพูด หมายถึง ความสามารถในเชิงการพูดเป็นสิ่งสาคัญ ในการส่ือความรู้ ความเข้าใจ ซ่ึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งสาหรับประสิทธิภาพในการทางาน ดังนั้น ประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานจึงเป็นสิ่งท่ีแสดงให้เห็นว่าพนักงานนั้นมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ได้ตามมาตรฐานการท า งานท่ีกาหนดไว้หรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองของปริมาณงานท่ีออกมา คุณภาพ ของชิ้นงาน อัตราผลผลิต 92

R2R | แนวทางการพัฒนาการขับเคลอื่ นงานศนู ย์ช่วยเหลอื สงั คม สายด่วน 1300 จังหวัด 93 ตลอดจนปริมาณผลผลิตที่สูญเสียไปซึง่ สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของ อลงกรณ์ มสี ทุ ธา ได้กล่าวถึงมาตรฐานในการ ปฏิบตั ิงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพจะชว่ ยใหพ้ นักงานปฏบิ ัตงิ านได้ อย่างถูกต้อง ช่วยให้การเปรียบเทียบผลงานที่ ทาได้กับที่ควรจะเป็น มีความชัดเจน ช่วยให้เห็น แนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้เกิดผลได้มากกว่า ปัจจัยทใี่ ช้และชว่ ยใหม้ กี ารฝกึ ฝนตนเองปรบั เข้าสู่มาตรฐานการท างานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพได้ 2.3 ขอ้ มูลศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สำยด่วน 1300 จงั หวัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 มีภารกิจหลักในการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม ทั้งการให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ สายด่วน 1300 การให้บริการประชาชนท่ีติดต่อขอใช้บริการด้วยตนเอง การเฝ้าระวังผ่านสื่อสังคมต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ประชาชนและผู้ ประสบปัญหาทางสงั คมติดต่อขอรับบริการเพิ่มขึ้นเป็นจานวนมาก เพื่อให้ประซาชนและผู้ประสบปัญหาทาง สงั คมได้รบั บริการท่มี ีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทันท่วงที เมือ่ วันท่ี 10 พฤษภาคม 2563 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (นายจุติ ไกรฤกษ์) ได้มีนโยบายให้ศูนย์ช่วยเหลือสังคมเร่ง ดาเนินการ ถ่ายโอนคู่สายโทรศัพท์สายด่วน 1300 จากส่วนกลางสู่ส่วนภูมิภาค เน่ืองจากในกระบวนการ ทางานให้ความช่วยเหลือผู้ประลบปัญหาสังคม พบว่า ช้ันตอนการประสานส่งต่อข้อมูลผู้ประสบปัญหาสังคม จากส่วนกลางอาจก่อให้เกิดความล่าข้า ไม่ทันต่อเหตุการณ์ รวมถึงความละเอียดอ่อนในบริบทพื้นท่ี เพ่ือให้ ประชาชนและผู้ประสบปญั หาสังคมสามารถโทรศัพท์ขอรับคาปรึกษาโดยตรงจากเจ้าหน้าท่ีในพ้ืนท่ีที่มีความรู้ ในกระบวนงานสังคมสงเคราะห์และมีความเข้าใจในบริบทของพื้นท่ีเป็นอย่างดี ช่วยให้ผู้ประสบปัญหาสังคม ได้รับบริการท่ีรวดเร็ว และตรงตามสภาพปัญหาความต้องการ ท้ังน้ีศูนย์ช่วยเหลือสังคมส่วนกลางจะปรับ บทบาทเปน็ หน่วยให้บริการของส่วนกลาง และทาหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนด้านข้อมูลองค์ความรู้ต่าง ๆ แก่ส่วน ภูมิภาค รวมท้ังติดตามผลการดาเนินงานในภาพรวมเพ่ือนาเสนอต่อผู้บริหารในการน้ี สานักงานปลัด กระทรวงฯ จึงขอความรว่ มมือท่านมอบหมายสานกั งานพฒั นาสังคมความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด เพื่อเตรียม ความพร้อมในการถ่ายโอนคสู่ ายโทรศัพทส์ ายด่วนจากสว่ นกลางสูส่ ว่ นภมู ิภาค เพือ่ รองรับวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น ในปัจจุบัน และให้การช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้อย่างทันท่วงที สอดคล้องกับ วกิ ฤตการณ์ต่างๆ ทเี่ กิดข้นึ ในปัจจบุ ันและในอนาคต 93

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคล่อื นงานศูนย์ช่วยเหลอื สังคม สายด่วน 1300 จงั หวดั 94 2.4 กรอบควำมคดิ กำรขับเคลื่อนงำนศนู ยช์ ่วยเหลือสงั คม แนวทำงกำรพฒั นำกำรขับเคล่ือนงำน ศูนย์ชว่ ยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัด สำยด่วน 1300 จังหวดั ศกึ ษำเฉพำะกรณี ศึกษำเฉพำะกรณี กำรปฏิบัตงิ ำนของเจำ้ หนำ้ ท่ี กำรปฏิบตั งิ ำนของเจ้ำหน้ำที่ศูนย์ช่วยเหลอื สงั คม ศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม สำยดว่ น 1300 จังหวัด สำยดว่ น 1300 จังหวดั อ่ำงทอง อ่ำงทอง - รปู แบบการขับเคล่ือนงานศูนย์ชว่ ยเหลือสังคมฯ - ปัจจยั ท่ีทาใหเ้ กิดความเขม้ แข็ง - ปัจจยั ภายในหนว่ ยงานท่ที าให้เกดิ จุดอ่อน - ปจั จยั ภายนอกหน่วยงานทเ่ี ออ้ื ประโยชน์ - ปัจจัยด้านงบประมาณ - ปจั จยั ความสาเรจ็ - ปัญหาและอปุ สรรค - แนวทางการพฒั นาการขบั เคล่อื นงานศูนย์ฯ 3. วิธกี ำรดำเนนิ กำรวจิ ยั การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R to R : Routine to Research) เร่ืองแนวทางการพัฒนาการ ขับเคลื่อนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี สายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง 2) เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการขับเคลื่อนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง โดย ศกึ ษากลมุ่ เปา้ หมายบุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ท่ีปฏิบัติงานศูนย์ช่วยเหลือ สังคม สายดว่ น 1300 จังหวดั อ่างทอง ในประเด็น รูปแบบการขับเคลื่อนงาน ปัจจัยที่ทาให้เกิดความเข้มแข็ง ปัจจัยภายในหน่วยงานที่ทาให้เกิดจุดอ่อน ปัจจัยภายนอกหน่วยงานที่เอ้ือประโยชน์ ปัจจัยด้านงบประมาณ ปัจจัยความสาเร็จ และปญั หาและอปุ สรรค 94

R2R | แนวทางการพัฒนาการขบั เคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลอื สังคม สายดว่ น 1300 จังหวดั 95 3.1 พ้ืนทใี่ นกำรศึกษำ จงั หวดั อา่ งทอง 3.2 ประชำกร บุคลากรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ท่ีปฏิบัติ งานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายดว่ น 1300 จงั หวดั อา่ งทอง 3.3 เครอื่ งมือในกำรศกึ ษำ 1) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม (Survey Research) แบบคาถามปลายเปิดจากกลุ่ม ตวั อยา่ งทใ่ี ช้โดยการสุ่มตวั อยา่ งแบบบงั เอิญหรือใช้ความสะดวก (Zceidental or Convencnce Sampling) 3.4 ข้นั ตอนกำรดำเนินกำรวิจัย 1) ศึกษาเอกสาร งานวิจัย ทบทวนวรรณกรรม บทความ และแนวทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางกรอบ การศกึ ษา 2) ศกึ ษา รวบรวม ข้อมูล ประเดน็ ที่นา่ สนใจ และประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสาหรับเก็บข้อมูลเชิง ลึกในพ้ืนทห่ี น่วยงานจังหวดั อา่ งทอง 3) เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม จากบุคลากรที่ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สายด่วน 1300 จังหวัด อ่างทอง 4) รวบรวมและวเิ คราะห์ผลจากการเก็บแบบสอบถาม 5) สรุปผลการวจิ ัย จัดทารปู เล่ม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป 3.5 วิธีกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล จากการทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง 2) การเก็บขอ้ มูลเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม 3.6 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากแบบสอบถามเป็นคาถามเก่ียวกับความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะในด้านอืน่ ๆ ประกอบด้วยคาถามปลายเปิด เป็นการวิเคราะห์เน้ือหาของข้อมูล โดย การพรรณนารายละเอียด ตีความ และการค้นหาเอกสารที่ เกย่ี วขอ้ ง 3.7 ระยะเวลำทำกำรวิจัย ระยะเวลาทาการวิจัย ตงั้ แตเ่ ดอื นตลุ าคม 2563 – กันยายน 2564 95

R2R | แนวทางการพัฒนาการขับเคลื่อนงานศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม สายดว่ น 1300 จังหวัด 96 4. สรุปผลกำรศึกษำ 4.1 แนวทำงกำรขบั เคลอ่ื นงำนศูนยช์ ว่ ยเหลอื สังคม สำยดว่ น 1300 จังหวดั อ่ำงทอง พบวำ่ 1) รูปแบบกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัด กรณีกำรปฏิบัติงำน ของเจ้ำหน้ำท่ีสำยดว่ น 1300 จงั หวัด ของหน่วยงำน คอื  การแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานกรณีท่ีมี Case เร่งด่วนจะมีการประสานสนง.พมจ. และภาคเี ครอื ข่าย  การให้คาปรึกษาแนะนาเพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการช่วยเหลือตามสิทธิและสวัสดิการท่ี เหมาะสม  เจ้าหน้าท่ีสายด่วน 1300 จังหวัดอ่างทอง มีการผลัดเปล่ียนเวรประจาวัน วันละ 2 เวร คอยรับโทรศัพท์ และส่งตอ่ ข้อมูลใหก้ ับหน่วยงานท่รี ับผิดชอบตามบทบาทภารกิจดาเนินการ พิจารณาใหค้ วามชว่ ยเหลือ 2) ปัจจยั ทีท่ ำให้เกิดควำมเข้มแขง็ หรอื เป็นจุดแขง็ ของหน่วยงำนท่ีส่งผลตอ่ กำรขบั เคลือ่ นงำนศนู ย์ ช่วยเหลอื สังคม สำยด่วน 1300 จงั หวัด กรณกี ำรปฏิบตั งิ ำนของเจำ้ หนำ้ ทสี่ ำยด่วน 1300 จังหวัด คือ  การร่วมมือกันทางานของทีมผปู้ ฏบิ ตั งิ านสายด่วน 1300 จังหวดั  การบูรณาการการทางานร่วมกันของทีม พม.อ่างทอง ที่ขับเคล่ือนงานร่วมกับหน่วยงานท่ี เกีย่ วขอ้ งและเครือขา่ ยในพ้ืนท่ี  การบูรณาการความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงาน One Home จงั หวัดอา่ งทอง 3) ปัจจยั ภำยในหนว่ ยงำนท่ีทำใหเ้ กิดควำมอ่อนแอหรือเป็นจุดอ่อนท่ีส่งผลต่อกำรขับเคลื่อนงำน ศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คม สำยดว่ น 1300 จังหวัด กรณกี ำรปฏบิ ัตงิ ำนของเจ้ำหน้ำทสี่ ำยด่วน 1300 จงั หวดั คือ  การทางานของหนว่ ยงานมีหลากหลายภารกจิ แต่สามารถดาเนินการขับเคลื่อนงานสายด่วน 1300 จังหวัดควบค่ไู ปได้  การรู้เท่าทันตามสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการปฏิบัติงาน โดย เจ้าหน้าที่ตอ้ งมอี งคค์ วามรทู้ ่สี ามารถใหค้ าปรกึ ษาแนะนากลมุ่ เปา้ หมายได้  จานวนบคุ ลากรทม่ี ีจากัด 4) ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำนที่เอ้ือประโยชน์ให้ซ่ึงเป็นโอกำสที่ส่งผลต่อกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ ชว่ ยเหลอื สงั คม สำยด่วน 1300 จงั หวัด กรณกี ำรปฏิบัตงิ ำนของเจำ้ หนำ้ ทีส่ ำยดว่ น 1300 จงั หวดั คือ  การใหค้ วามรว่ มมือของภาคเี ครือขา่ ย 96

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคลื่อนงานศูนยช์ ่วยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จังหวดั 97  การไดร้ ับความรว่ มมอื จากหน่วยงานภายนอกในการขับเคลือ่ นงานในพนื้ ท่เี ป็นอย่างดี  เครือข่ายในการขับเคล่ือนงานศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด เช่น อพม. อปท. ผนู้ าท้องถ่ินทอ้ งท่ี เพอื่ ส่งตอ่ การช่วยเหลอื ให้ผ้รู บั บรกิ ารได้รับประโยชนส์ งู สดุ 5) ปจั จัยด้ำนงบประมำณในกำรดำเนินงำนทสี่ ง่ ผลต่อกำรขบั เคลอื่ นงำนศนู ย์ชว่ ยเหลอื สังคม สำย ดว่ น 1300 จังหวัด กรณกี ำรปฏบิ ตั งิ ำนของเจำ้ หนำ้ ที่สำยดว่ น 1300 จังหวดั คอื อะไร  งบประมาณสนับสนุนด้านอุปกรณ์เคร่ืองมือท่ีทันสมัยในการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือ สงั คม สายดว่ น 1300 จงั หวดั 6) ปัจจัยควำมสำเร็จท่ีส่งผลต่อกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัด กรณกี ำรปฏิบัตงิ ำนของเจำ้ หน้ำท่ีสำยดว่ น 1300 จังหวัด คอื อะไร  การรว่ มมอื ของทีม One Home จังหวัดอ่างทอง  การมี Mindset ท่ที ันต่อปจั จยั และสถานการณท์ ม่ี ีการเปล่ียนแปลงในปจั จบุ ัน  ความรว่ มมอื ของหนว่ ยงาน และการประสานงานท่รี วดเร็วเพอื่ ใหผ้ ้รู ับบริการไดก้ ารช่วยเหลือ ตรงตามสภาพปญั หา 4.2 ปญั หำและอุปสรรคในกำรขับเคลื่อนงำนศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สำยดว่ น 1300 จังหวดั อ่ำงทอง พบวำ่ 1) ปัญหำและอุปสรรคภำยในหน่วยงำนที่ส่งผลต่อกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำย ดว่ น 1300 จงั หวดั กรณกี ำรปฏิบตั งิ ำนของเจำ้ หนำ้ ท่ีสำยด่วน 1300 จังหวดั คือ  ขอ้ จากัดในการใหค้ วามช่วยเหลอื ทาใหไ้ มต่ อบสนองตอ่ ความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย  ภารกจิ งานของบุคลากรที่มีงานท่ีต้องรับผิดชอบหลากหลาย อาจส่งผลให้การขับเคล่ือนงาน บางครง้ั มีความล่าช้า 2) ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำนที่เป็นอุปสรรคต่อกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวดั กรณกี ำรปฏบิ ัตงิ ำนของเจำ้ หน้ำทสี่ ำยด่วน 1300 จงั หวัด คอื  สถานการณภ์ ายนอกทเ่ี ปล่ยี นแปลง เชน่ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ Covid-19 ทาใหไ้ มส่ ามารถปฏบิ ตั ิหน้าทีเ่ วรไดอ้ ยา่ งเป็นปกติ 4.3 แนวทำงกำรพฒั นำกำรขบั เคล่อื นงำนศนู ยช์ ่วยเหลอื สงั คม สำยดว่ น 1300 จังหวัดอำ่ งทอง แนวทำงกำรพัฒนำกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัดกรณีกำร ปฏบิ ตั งิ ำนของเจำ้ หน้ำทสี่ ำยดว่ น 1300 จงั หวดั คือ 97

R2R | แนวทางการพัฒนาการขับเคลือ่ นงานศูนย์ช่วยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จงั หวดั 98  ถอดบทเรยี นเพื่อพัฒนาการทางาน  การขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ โดยระดมสรรพกาลังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม โดยอาศยั ความรว่ มแรง ร่วมมอื ร่วมใจ ในหลายระดบั เปน็ กลไกในการขับเคลื่อนงาน  การถอดบทเรียนการขับเคล่ือนงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จังหวัด ระหว่าง หนว่ ยงานที่บูรณาการทางานร่วมกัน 4.4 ข้อเสนอแนะในกำรขบั เคลอื่ นงำนศนู ย์ช่วยเหลอื สงั คม สำยด่วน 1300 จังหวดั อ่ำงทอง พบวำ่ ข้อเสนอแนะในภำพรวมต่อกำรขับเคล่ือนงำนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำยด่วน 1300 จังหวัด กรณี กำรปฏบิ ัติงำนของเจำ้ หน้ำที่สำยด่วน 1300 จงั หวัด คือ  การจดั ประชุมเพ่ือให้ความรทู้ ี่เป็นประโยชน์ในการดาเนินงาน  การเสริมพลังเครือข่ายทุกภาคส่วนในการขับเคล่ือนงานให้เกิดการบูรณาการในพื้นที่ให้ สามารถช่วยเหลอื กลุ่มเป้าหมายไดต้ รงกบั สภาพปัญหา  การประชุมซักซ้อมการทางานและบริการผู้รับบริการ และการอัปเดตข้อมูลนโยบายสาคัญ ของรัฐบาลและข้อมูลที่ประชาชนสนใจ ควรเพ่ิมในคลังปัญญาเพ่ือการแนะนาและตอบข้อ สงสยั ทถี่ ูกต้องและรวดเร็ว  ควรมีการจ้างเจ้าหน้าที่เฉพาะตาแหน่งสายด่วน 1300 ประจาจังหวัด รับผิดชอบในการ รับสายและประสานส่งต่อข้อมูลการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ และการพัฒนาระบบ เครอื ขา่ ยอปุ กรณ์โทรศพั ทใ์ ห้สามารถรบั สายได้ ณ ท่ีตัง้ หน่วยงาน One Home ทกุ หนว่ ย 98



R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคล่อื นงานศูนย์ช่วยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 จังหวดั 99 ภำคผนวก 99

R2R | แนวทางการพัฒนาการขับเคล่ือนงานศูนยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม สายดว่ น 1300 จังหวัด 100 จงั หวัด…………………………………… …… แบบสอบถำม แนวทำงกำรพฒั นำกำรขับเคลื่อนงำนศูนย์ช่วยเหลอื สังคม สำยดว่ น 1300 จงั หวดั ศึกษำเฉพำะกรณี กำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำท่สี ำยด่วน 1300 จงั หวัด 1.ช่ือหนว่ ยงำน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 2. แนวทำงกำรพฒั นำกำรขบั เคล่ือนงำนศูนยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สำยดว่ น 1300 จังหวัด 2.1 รปู แบบการขับเคลอ่ื นงานศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จงั หวดั กรณกี ารปฏบิ ัติงานของ เจ้าหน้าที่สายดว่ น 1300 จังหวดั ของหนว่ ยงานคืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 ปจั จัยที่ทาใหเ้ กดิ ความเขม้ แข็งหรือเป็นจดุ แข็งของหน่วยงานทส่ี ่งผลตอ่ การขับเคลือ่ นงานศูนย์ ชว่ ยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 จงั หวดั กรณีการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีสายด่วน 1300 จงั หวัด คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 ปัจจัยภายในหน่วยงานทท่ี าใหเ้ กดิ ความออ่ นแอหรอื เป็นจุดออ่ นที่ส่งผลต่อการขบั เคล่อื นงานศูนย์ ช่วยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 จังหวดั กรณกี ารปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หน้าที่สายด่วน 1300 จังหวัด คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.4 ปจั จยั ภายนอกหนว่ ยงานท่เี อือ้ ประโยชนใ์ หซ้ ่ึงเปน็ โอกาสที่ส่งผลต่อการขบั เคลือ่ นงานศนู ย์ ช่วยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 จังหวดั กรณกี ารปฏบิ ัตงิ านของเจา้ หนา้ ที่สายด่วน 1300 จังหวดั คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.5 ปจั จัยภายนอกหนว่ ยงานที่เปน็ อปุ สรรคต่อการขบั เคลอื่ นงานศนู ย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จงั หวัด กรณีการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหน้าทสี่ ายดว่ น 1300 จังหวัด คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 100

R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคลอื่ นงานศูนย์ช่วยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 จงั หวดั 101 2.6 ปญั หาและอุปสรรคภายในหนว่ ยงานท่สี ่งผลต่อการขับเคลอื่ นงานศนู ย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 จงั หวดั กรณกี ารปฏิบัติงานของเจา้ หน้าทสี่ ายดว่ น 1300 จังหวัด คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.7 ปจั จยั ด้านงบประมาณในการดาเนินงานที่ส่งผลต่อการขับเคล่อื นงานศนู ยช์ ว่ ยเหลือสังคม สาย ดว่ น 1300 จังหวดั กรณกี ารปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ท่ีสายด่วน 1300 จงั หวัด คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.8 ปัจจยั ความสาเรจ็ ที่ส่งผลต่อการขบั เคล่ือนงานศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 จังหวัด กรณี การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่สายด่วน 1300 จงั หวัด คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.9 แนวทางการพัฒนาการขบั เคลอ่ื นงานศูนย์ช่วยเหลอื สังคม สายด่วน 1300 จงั หวัดกรณีการ ปฏิบัตงิ านของเจา้ หนา้ ที่สายดว่ น 1300 จังหวัด คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.10 ข้อเสนอแนะในภาพรวมต่อการขบั เคลอ่ื นงานศูนย์ชว่ ยเหลอื สังคม สายด่วน 1300 จงั หวัด กรณี การปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหน้าที่สายดว่ น 1300 จังหวดั คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ มลู ณ วนั ที.่ ...............เดอื น................พ.ศ.............. ลงชอ่ื ..............................................................ผู้ตอบแบบสอบถาม (.........................................................) ตาแหนง่ ............................................................. หมายเลขโทรศพั ท์............................................................. 101



R2R | แนวทางการพัฒนาการขับเคลอ่ื นงานศูนยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม สายดว่ น 1300 จงั หวัด 102 บรรณำนกุ รม มานัส มหาวงศ์. องค์ประกอบกำรจัดกำรขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตร พิมำน จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม, 2559. ภูวเดช สว่างแสง. แนวทำงกำรขับเคล่ือนยุทธศำสตร์กำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติด กองทัพอำกำศ พ.ศ.2558-2562 ไปสู่แผนปฏิบัติกำร. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ, 2560 วิรัช สงวนวงศ์วาน. ประสบกำรณ์ในกำรบริหำรงำนบุคลำกร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2531. อัครวฒั น์ นิธิจริ วงศ์. ประสทิ ธิภำพกำรปฏบิ ัติงำนของเจ้ำหน้ำที่เทศกิจตำมแผนปฏิบัติงำนฝ่ำย เทศกิจ กรุงเทพมหำนคร. คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559. Certo, C.S. Modern management. New Jersey: Prentice Hall, 2000. Millet. Management in the Public Service. The quest for effective performance. New York: McGraw-Hill Book, 1964. Simom, A. Administrative behavior. New York: The Mcmillion, 1960. Smith, M. Educational leadership: culture and diversity. Gateshead: Athenaeum Press, 1980. 102



R2R | แนวทางการพฒั นาการขบั เคล่อื นงานศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม สายดว่ น 1300 จงั หวัด 103 คณะผ้จู ดั ทำ ที่ปรึกษำ นำยพสิ ิฐ พลู พิพัฒน์ ผู้อำนวยกำรสำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชำกำร 1 นำงวรรทณำ นวลย่อง หวั หนำ้ กลมุ่ กำรวิจยั และกำรพัฒนำระบบเครือขำ่ ย ผู้จดั ทำเนื้อหำ/ออกแบบรปู เล่ม นำงสำวปทุมมำ ไชยบุญ นักพฒั นำสงั คม จัดพิมพ์เผยแพร่ สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 1 103





Routine to Research การพัฒนางานประจาํ สงู่ านวิจยั สาํ นักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 1 สาํ นักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมันคงของมนุษย์ เลขที 1/2 หมู่ที 2 ตําบลรงั สติ อําเภอธญั บุรี จงั หวัดปทุมธานี 12110 โทร.0 2577 1857 http://tpso1.m-society.go.th