Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

Published by สสว ปทุมธานี, 2021-12-07 03:02:49

Description: การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

Search

Read the Text Version

นอกจากนี้ ยังนำร่องรูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนคุ้มครองเด็กใน 4 ตำบลนำร่อง โดยการ ส่งเสริมให้ตำบลตระหนักในสิทธิเด็กและงานคุ้มครองเด็กในชุมชน วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านเด็กและ เยาวชนในพื้นที่ ประเมินศักยภาพของการจัดการปัญหาในพื้นที่ มีกลไกการขับเค ลื่อนงานในรูป คณะกรรมการ/คณะทำงาน มีบันทึกข้อตกลงร่วมกันเพื่อกำหนดบทบาท นโยบายและยุทธศาสตร์ แผนงาน ด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลร่วมกัน ระดมทรัพยากรและออกแบบโครงการหรือกิจกรรมสำหรบั เดก็ และเยาวชนท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทของพ้ืนท่ี รวมทง้ั จัดบริการสำหรบั เด็กซ่งึ เนน้ การให้ความคมุ้ ครอง ชว่ ยเหลือ เด็กกลุม่ เสี่ยงและเดก็ ท่ปี ระสบปัญหา และการเสริมสรา้ งความรู้และทกั ษะตามบริบทของพ้ืนท่ี นอกจากนี้ ยังมีบ้านพักเด็กและครอบครัว 77 จังหวัด เป็นหน่วยงานประสานให้เกิด ความคุ้มครอง ช่วยเหลือเด็กและครอบครัว โดยประสานงานกับทีมสหวิชาชีพและพนักงานคุ้มครองเด็กในจังหวัด เพื่อให้ ความคุ้มครองช่วยเหลือเด็กตามกระบวนการสังคมสงเคราะห์ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงเตรียมความพร้อมเด็ก ครอบครวั และชุมชน เพือ่ คนื เดก็ สูค่ รอบครัวและชมุ ชนอย่างปลอดภยั สามารถใชช้ ีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ สุข และกองทนุ คมุ้ ครองเด็กท่ีจะส่งเสริมให้หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมีการดำเนินโครงการ/กิจกรรม เพ่ือคุ้มครอง สวัสดภิ าพเด็ก และใหค้ วามคุม้ ครองช่วยเหลือเดก็ เป็นรายกรณดี ้วย การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 46 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

1.11 ขอบเขต / กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ภาพที่ 9 แสดงผงั แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ตัวแปรต้น ตวั แปรควบคมุ / ตวั แปรตาม สมมติฐานในการวจิ ัย ระดับจงั หวดั ตัวแปรควบคุม ถ้าจังหวดั มีระบบฐานข้อมลู เด็กและ - เป็นพื้นที่ดำเนินงานตำบล เยาวชนทุกกลุ่ม และกลไกขับเคลื่อน - มกี ารมอบหมายจาก กระบวนการคมุ้ ครองเด็กท่ีชัดเจน จะทำ คณะกรรมการค้มุ ครอง คุ้มครองเด็กในระดับตำบล ให้ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ อยากเขา้ มามสี ว่ นรว่ มใน เดก็ ในการพฒั นาระบบ เหมอื นกนั การพฒั นาศนู ย์ชุมชนคุม้ ครองเด็กใน ข้อมลู เดก็ และเยาวชนทกุ - เปน็ พนื้ ที่ท่ีมผี บู้ ริหาร ตำบล กลุ่มทชี่ ัดเจน บริหารงานตอ่ เน่ืองไมน่ อ้ ยกว่า 4 ปี หากผบู้ รหิ าร เจ้าหน้าที่ และแกนนำที่ ระดับพ้ืนท่ี - มคี ำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการ เกย่ี วข้องในตำบลมีความร้แู ละเข้าใจ ศูนยช์ มุ ชนคมุ้ ครองเด็กตำบล นโยบาย มาตรการ และแนวทางสนับสนนุ - การสร้างความเขา้ ใจ เป็นลายลกั ษณ์อักษร ศนู ยช์ ุมชนคุม้ ครองเด็กในตำบล กจ็ ะ ผูบ้ รหิ าร เจา้ หนา้ ที่ และ สามารถขับเคลื่อนงานไดอ้ ยา่ งมี แกนนำที่เกยี่ วขอ้ งในพื้นที่ ตัวแปรตาม ประสิทธภิ าพ - การดำเนินงานขบั เคลือ่ น - มรี ะบบฐานข้อมูลเดก็ และ หากคณะกรรมการคุม้ ครองเดก็ ระดบั ศนู ยช์ มุ ชนคุ้มครองเด็ก ตำบล ได้รบั การอบรมพฒั นาศกั ยภาพ มี ระดับตำบล เยาวชนทกุ กลุ่มและกลไก ชดุ องค์ความรู้เกย่ี วกบั ระบบการคุ้มครอง ( ครบ 8 ข้นั ตอน ) ขับเคลอื่ นกระบวนการคุ้มครอง เดก็ ในพ้นื ที่ รวมทงั้ มีส่วนร่วมในการ เด็กทชี่ ดั เจน ดำเนินการคุ้มครองเด็กหรอื ชว่ ยเหลือเดก็ - เจ้าพนกั งานทอ้ งถ่นิ และ - จำนวนคณะกรรมการคุ้มครอง ในพ้นื ที่ กจ็ ะมสี ่วนร่วมในการสรรหา คณะทำงาน มีการสรรหา เด็กระดบั ตำบล ทไี่ ดร้ บั การ Case และรว่ มขบั เคลือ่ นศนู ย์ชุมชน Case เพื่อขอรับเงนิ อบรมพฒั นาศักยภาพตามเกณฑ์ คมุ้ ครองเดก็ ในตำบลไดอ้ ย่างมี สนับสนุน ( ครบ 8 ข้ันตอน ) ประสทิ ธภิ าพ - จำนวนเจา้ หน้าที่ และพนักงาน - มเี จ้าหน้าท่รี ับผิดชอบ ทอ้ งถน่ิ รู้เขา้ ใจบทบาทในการ ถ้า อปท. มีเจา้ หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ ไดร้ บั การ ไดร้ ับการอบรมระบบ จดั การ Case ตามมาตรฐานได้ อบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) ฐานข้อมลู ( CMST / เอง และปรับปรงุ ขอ้ มลู Case ให้เปน็ ปัจจบุ นั CPIS : Child Protection - จำนวน อปท. ทม่ี ีการพฒั นา กจ็ ะทำใหก้ ารดำเนนิ งานของศูนยช์ มุ ชน Information System) ระบบฐานข้อมลู ( CMST / CPIS คุม้ ครองเดก็ ในตำบลดำเนนิ งานไดอ้ ย่าง และ ปรับปรงุ ข้อมูล Case ) ร่วมกับหนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ ง ตอ่ เนอ่ื ง ทกุ กล่มุ ใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั - จำนวนปัญหาในพื้นท่ีทเี่ ก่ยี วขอ้ ง กับเดก็ เยาวชน และครอบครวั ท่ี หากคณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กระดับ - มีแผนการให้ความชว่ ยเหลือ ลดลง ตำบล สรา้ งการมสี ่วนรว่ ม และ วางแผน รายบุคคล / รายกิจกรรม เชงิ - จำนวน อปท. ทม่ี ีการตรา ใหค้ วามชว่ ยเหลือ รายบคุ คล / ราย ป้องกนั และพัฒนาตาม ขอ้ บัญญัติ และพฒั นารปู แบบ กิจกรรม ชัดเจน อปท. กจ็ ะผลักดนั ให้ตรา ศักยภาพ กระบวนการจัดการปญั หาใน ข้อบัญญตั ิ สนบั สนุนงบประมาณเพ่อื พน้ื ที่แบบเบ็ดเสร็จ สนับสนุนใหก้ ารคุม้ ครองเด็กเปน็ ไปอย่าง - การสรุปบทเรยี นพื้นที่ มีประสทิ ธภิ าพ ต้นแบบที่เป็นศูนยช์ มุ ชน คุ้มครองเด็กระดบั ตำบล 12 47 ตำบล

ภาพท่ี 10 แสดงโครงสรา้ งและความเช่อื มโยงของการบริหารจดั การกองทนุ คมุ้ ครองเดก็ จังหวดั มหาสารคาม คณะอนกุ รรมการบรหิ ารกองทนุ คมุ้ ครอง เดก็ จงั หวดั มหาสารคาม แปลงยทุ ธศาสตรก์ องทุน การกล่นั กรอง พิจารณา กลุม่ เป้าหมายท่มี ีอายุต่ำกวา่ คุ้มครองเดก็ 2561 - 2564 18 ปี มาตรา 32,40 อื่นๆ อนมุ ตั ิเงินกองทนุ ฯ - รายบุคคล ระเบียบ ประกาศ หลกั เกณฑ์ ของกองทนุ ฯ ( วงเงนิ ไมเ่ กิน - รายครอบครัว - - การประชาสัมพันธ์ 150,000 บาท ) - - ความสอดคลอ้ ง / หลกั ฐาน - รายโครงการ รูปแบบการบรหิ ารจัดการ การสอบข้อเทจ็ จริงตาม บคุ คล / ครอบครวั อุปถัมภ์ / กองทนุ คุม้ ครองเดก็ แบบฟอร์มของหน่วยงาน และ หนว่ ยงาน / องคก์ รทเ่ี ก่ียวข้อง - ระบบฐานขอ้ มูลเด็ก พิจารณาใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตาม ในการคุ้มครองเด็กและขอรับ - ระบบสารสนเทศ ประกาศหลักเกณฑฯ์ การสงเคราะห์ - ระบบการสอ่ื สาร - สมรรถนะบุคลากร การพฒั นากลไกเพ่ือเสรมิ พลงั การค้มุ ครองสวัสดภิ าพเด็ก - การจัดการความรู้ ในพืน้ ที่ให้สามารถเขา้ ถงึ ปัญหา การเยย่ี มเยยี น ใหค้ ำปรึกษาแก่ - การแลกเล่ยี นเรยี นรู้ ของกลมุ่ เปา้ หมายและเชอื่ มโยง - การตดิ ตามประเมนิ ผล กบั การเขา้ ถึงกองทุน เดก็ / ผปู้ กครอง ( มาตรา 49 ) การพฒั นาศักยภาพและส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของเครือขา่ ยเพ่ือสง่ เสริม การสรปุ บทเรยี นพ้ืนทต่ี ำบล พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ พ้นื ทีส่ ร้างสรรค์ และทักษะชวี ิตของเดก็ ร่วมกำกับ คุ้มครองเด็กตน้ แบบในการ ตดิ ตามสนบั สนุนการทำงานในพ้ืนที่ ดำเนนิ งานในรอบปี การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 48 สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

สว่ นที่ 2 กระบวนการวิจยั ในกระบวนการวิจยั ทีม one home จงั หวัดมหาสาคาม ได้กำหนดให้ บา้ นพักเดก็ และครอบครวั จังหวดั มหาสารคามเป็นกลไก หรือ เจา้ ภาพหลกั ในการดำเนนิ การวจิ ยั โดยมพี น้ื ทท่ี ำงานศูนยค์ ุม้ ครองเดก็ ใน ชมุ ชนท่ี อปท. ให้การสนับสนุน 12 แหง่ และการทำงานใกลช้ ดิ กับคณะอนกุ รรมการค้มุ ครองเด็กระดับ จงั หวัด มีการกำหนดกระบวนการวิจัยไว้ 6 ขั้นตอน คอื ๑. การเตรียมความพร้อมของทีม ๒. การวางแผนการวจิ ัย ( 11 ข้ันตอนยอ่ ย ) ๓. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ( การสงั เคราะห์ขอ้ มูลมอื สอง / แบบสอบถาม ) ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ( สรปุ รว่ มกันในทีม One home ) ๕. การสนทนากลุม่ ( สะทอ้ นขอ้ มูล / คนื ข้อมลู / ตรวจสอบรา่ งผลการวจิ ัย ) 6. การเขยี นรายงานการวจิ ยั 2.1 การเตรยี มความพร้อม / ทีมวจิ ยั 1) เตรยี มความพรอ้ มในส่วนของข้อมลู ผลการดำเนินงานขบั เคลือ่ นศนู ยช์ มุ ชนคุมครองเดก็ 12 พื้นท่ี 2) ทบทวนแนวทาง/วรรณกรรมที่เกย่ี วข้องกบั ระบบคมุ้ ครองเดก็ และการดำเนินงานศนู ยช์ มุ ชนคมุ ครอง เด็กในระดับตำบล 3) ประสานเจา้ หน้าท่ีท่ีเกีย่ วข้องเป็นตัวแทนศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็กเพ่ือการถอดบทเรยี นการดำเนินงาน ศนู ยช์ มุ ชนคมุ้ ครองเดก็ ในระดบั ตำบล 4) ทีมวิจัยประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มหาสารคาม และบ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวดั มหาสารคาม 2.2 แผนการวจิ ัย ( 11 ข้นั ตอน ) 1. การกำหนดเรื่อง และปญั หาการวิจัย (Research Problem/Question) 2. การทบทวนวรรณกรรมท่เี กีย่ วข้อง (Literature Review) 3. การกำหนดตวั แปร(Variables) วตั ถุประสงค์ (Objective)/ สมมตุ ิฐาน (Hypothesis) 4. การกำหนดกรอบแนวคิดในการวจิ ัย (Conceptual Framework) 5. การออกแบบการวจิ ยั (Research Design) 6. การเตรียมและพฒั นาเครือ่ งมือวิจยั (Research Instrument) 7. การกำหนดประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง (Population and Sample) การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 49 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

8. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู (Data Collection) 9. การจดั การและวเิ คราะห์ขอ้ มูล (Data Processing and Analysis) 10. การแปลผล อภิปรายและสรุปผล (Interpretation, Discussion and Conclusion of Results) 11. การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั (Reports and Presentation) ตารางท่ี 1 แสดงลำดบั ขนั้ ตอนและกระบวนการพฒั นางานวจิ ยั สู่งานประจำ ลำดบั แผนงาน / เทคนคิ / เคร่ืองมอื / ความเช่อื มโยงกบั ระยะเวลา งบ เจา้ ภาพ กิจกรรม วิธีการ / อุปกรณ์ งานประจำ และ เริ่มต้น สิ้นสดุ ประมาณ กระบวนการ นำไปใชป้ ระโยชน์ 1 การกำหนด ทบทวนและ ทบทวน ผลจากการ ก.พ.64 ม.ี ค.64 การ สนง.พมจ. จดั การ มค. และ เร่อื ง / ปญั หา รวบรวมขอ้ มลู เอกสารท่ี ทบทวน ถอด ภายใน บพด.มค. ของ บพด. การวจิ ัย ปญั หา เกี่ยวขอ้ ง และ บทเรียนนำไปสู่ อุปสรรคใน การถอด การออกแบบ การขบั เคลื่อน บทเรยี นการ ข้ันตอน งานศูนย์ ขับเคลอื่ นงาน กระบวนการใหม่ ชุมชนคุ้มครอง 3 ปยี อ้ นหลัง รวมทัง้ กิจกรรมใน เด็ก การขับเคลือ่ นงาน และการจัดต้ัง/ คดั เลอื กพ้นื ท่ี ดำเนินการใหม่ 2 การทบทวน ทบทวนจาก คูม่ อื แนวทาง เป็นการทบทวน มี.ค.64 พ.ค.64 - สนง.พมจ. มค. และ วรรณกรรมท่ี คู่มือ/แนว และงานวิจัยที่ องค์ความรู้เดมิ บพด.มค. เกีย่ วข้อง ทางการ เกีย่ วข้อง เพือ่ พัฒนาตอ่ ยอด ดำเนินงาน ในการขบั เคลอื่ น ศูนย์ชมุ ชน งาน คุ้มครองเด็ก ในระดับตำบล และงานวจิ ัยที่ เก่ียวข้องกบั ระบบคุ้มครอง เดก็ 3 การกำหนดตวั วิเคราะหแ์ ละ กระบวนการ เพอ่ื การค้นหา ม.ี ค.64 พ.ค.64 สนง.พมจ. มค. และ แปร สรปุ จากผล ประชมุ ถอด ขอ้ สรุปแนว บพด.มค. วัตถปุ ระสงค์ การประชมุ บทเรียน ทางการขบั เคลอ่ื น สมมุติฐาน ถอดบทเรยี น งานจากโจทย์วิจยั การ 50

ดำเนินงาน มี.ค.64 พ.ค.64 สนง.พมจ. ย้อนหลังท่ี พ.ค.64 ม.ิ ย.64 มค. และ ผ่านมา บพด.มค. 4 การกำหนด ศึกษาแนวทาง คู่มือ/แนว เพอื่ เปน็ การ กรอบแนวคิด รายละเอยี ด ทางการ กำหนดกรอบ สนง.พมจ. ในการวจิ ยั ขอบเขตงาน ดำเนินงาน แนวคิด มค. และ ของการ ศูนย์ชุมชน บพด.มค ดำเนนิ งาน คมุ้ ครองเดก็ สนง.พมจ. ศูนยช์ มุ ชน ในระดบั ตำบล มค. และ คมุ้ ครองเดก็ บพด.มค 5 การออกแบบ การวจิ ยั 6 การเตรียม พ.ค.64 มิ.ย.64 และพฒั นา เครื่องมอื วิจัย 7 การกำหนด พ.ค.64 มิ.ย.64 สนง.พมจ. ประชากรและ มค. และ กลุ่มตวั อยา่ ง บพด.มค. 8 การเกบ็ ก.ค.64 ก.ย.64 สนง.พมจ. รวบรวมขอ้ มูล มค. และ บพด.มค. 9 การจัดการ ก.ค.64 ก.ย.64 สนง.พมจ. และวิเคราะห์ มค. และ ขอ้ มลู บพด.มค. 10 การแปลผล ก.ค.64 ก.ย.64 สนง.พมจ. อภิปรายและ มค. และ สรุปผล บพด.มค. 11 การเผยแพร่ เป็นการประสานงานของ สสว. 5 และ ทมี One ก.ย.64 ต.ค.64 สนง.พมจ. ผลงานวจิ ัย home เพ่อื สร้างโอกาสในการเผยแพร่ผลการวิจยั มค. และ บพด.มค หมายเหตุ – หากการดำเนนิ งานวจิ ยั สิน้ สุดตลอดโครงการ ต้องมกี ารสรุปบทคัดยอ่ และเพอื่ เผยแพร่ผลการวจิ ยั ( ตามโอกาส และความเหมาะสม ) 51

2.3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู การส่งแบบสอบถาม 2 ชดุ ไปท่ี คณะอนกุ รรการคมุ้ ครองเดก็ ระดบั จังหวัด และพ้นื ท่ีนำรอ่ ง 12 อปท. ( ตัวแทน อปท. และชุมชน 35 คน ) 2.3.1 การสรุปและสังเคราะห์ขอ้ มลู จากแบบสอบถาม 2 ชุด – สว่ นใหญเ่ ป็นหน้าที่ บพด. 2.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู ( สรปุ ร่วมกันในทมี One home ) – ปรึกษาเปน็ การภายใน 2.5 การสนทนากลมุ่ ( สะท้อนข้อมูล / คนื ข้อมลู / ตรวจสอบร่างผลการวิจัย ) – ไม่ไดด้ ำเนินการ ( เน่ืองจากสถานการณ์โรคระบาดโควดิ – 19 จึงไมไ่ ดจ้ ัดสนทนากลมุ่ / และคืนข้อมูล ) 2.6 การเขียนรายงานการวิจัย การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 52 สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

ส่วนท่ี 3 บทสรุป 3.1 ข้อค้นพบจากการวิจยั 1. แนวปฏิบตั ิในการชแี้ จงทำความเข้าใจแก่องคก์ รภาคใี นพน้ื ท่เี ปา้ หมาย มุ่งเนน้ ใหค้ วามสำคัญกับการ คัดเลือกผู้ประสานงานระดับจงั หวัด ซึ่งต้องมคี ุณสมบัติที่เอื้อต่อกระบวนการทำงาน มีความเป็นผู้นำมีความ น่าเชอ่ื ถือ สามารถทำหน้าที่ ให้คำแนะนำให้คำปรึกษาทางเลือก เพอ่ื ช้ีใหเ้ หน็ ถงึ จุดออ่ น จดุ แข็งของทางเลือก ต่าง ๆ ในการขับเคลือ่ นกิจกรรมให้บรรลุเปา้ หมาย 2. แนวปฏิบตั ใิ นการจดั กจิ กรรมการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล เนน้ สร้าง ความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการทำงานคุ้มครองเด็กในชุมชนให้กบั คณะทำงานพัฒนาและคุ้มครองเด็กในชุมชน ทั้งความรใู้ นเชิงวิชาการ และทกั ษะต่าง ๆ ท่จี ำเปน็ สำหรับผปู้ ฏิบัตงิ านคุ้มครองเด็ก 3. แนวปฏิบัตใิ นการจดั กจิ กรรมการบรกิ ารสำหรบั เด็กในพื้นท่ี คณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดับตำบล เป็นผู้ มีบทบาทหลักในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยมีผู้ประสานงานพื้นที่ทำหน้าทีป่ ระสานงาน ให้คำปรึกษา แนะนำ เปน็ พี่เลี้ยงเพอ่ื ออกแบบกิจกรรมให้มีความสอดคล้องและสนองตอบตอ่ สถานการณป์ ัญหาด้านเด็กใน พ้ืนท่ซี ง่ึ แตกต่างกนั ออกไป 4. แนวปฏิบตั ิในการจดั กจิ กรรมระดมทรัพยากรและผลกั ดนั เข้าสูแ่ ผนพฒั นาทอ้ งถิน่ ผลลัพธ์ คือการ จัดกจิ กรรมการระดมทรัพยากร และผลกั ดันเขา้ ส่แู ผนพัฒนาท้องถ่ินมีความคาดหวังต่อผลลพั ธ์(Output) ที่ได้ จากการทำกจิ กรรมหลายประการด้วยกนั ได้แก่ (1) แหล่งทุนหรือช่องทางในการแสวงหาทรัพยากร ซึ่งประกอบด้วย แหล่งทุนภายในพื้นที่ชุมชน ได้แก่ งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกองทุนต่าง ๆ ของชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน เครือข่าย อาสาสมคั ร อาคารสถานท่ีของหน่วยงานภายในชมุ ชน เป็นตน้ และแหลง่ ทนุ ภายนอก และแหล่งทุนภายนอก ระดับจังหวัด ได้แก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพื้นทอ่ี งค์กรภาคประชาสังคมต่าง ๆ ส่วนราชการในพื้นที่ส่วนระดับชาติ ได้แก่ กรมกิจการเด็กและเยาวชน สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ( สสส. ) สำนักงาน หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 53 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

(2) ลักษณะของทรัพยากรที่จะนำมาใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่อไป ซึ่งคณะทำงานสามารถ เลอื กใชท้ รัพยากรที่มีอย่ทู ั้งในและนอกชุมชนได้หลากหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ 1) ทรัพยากรมนุษย์หรอื ตวั บคุ คล 2) ทรัพยากรในรูปแบบสถานที่ทำกิจกรรม 3) ทรัพยากรในรูปแบบสภาพแวดล้อมธรรมชาติหรือชุมชน 4) ทรัพยากรองค์ความรู้ ซึ่งอาจปรากฏอยู่ ในสื่อสารสนเทศหนังสือ เอกสาร หรือบุคคล หากคณะทำงานนำ ทรัพยากรที่ไม่ใช่ตัวเงนิ นี้มาใช้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพจะสามารถช่วยประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายทรัพยากรใน รูปแบบตัวเงินและเสริมสร้างสำนึกที่ดีและเป็นการแสดงน้ำใจ ความเสียสละ และการร่วมไม้ร่วมมือของ คณะทำงาน เครอื ข่าย และสมาชกิ ในชมุ ชน 5. แนวปฏิบัติรูปแบบการเสริมสร้างความเขม้ แข็งของชุมชนคุ้มครองเดก็ ระบบการเสรมิ สร้างความ เขม้ แข็งของชมุ ชนคมุ้ ครองเดก็ ประกอบดว้ ย กลไกการประสานความรว่ มมอื ในแนวระนาบระหว่างตัวแสดงท่ี เกี่ยวข้องใน 3 ระดับ ได้แก่ กลไกการประสานความร่วมมือในระดับตำบล กลไกการประสานความรว่ มมือใน ระดับจังหวัด และกลไกการประสานความร่วมมือในส่วนกลาง ซึ่งการทำงานของกลไกแต่ละระดับมี จุดมุ่งหมายเฉพาะในมิติที่แตกต่างกัน ซึ่งในอนาคตระบบการขับเคล่ือนโครงการเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของ ชุมชนคุ้มครองเด็กไปสู่การปฏิบัติให้ครอบคลุมพื้นที่ ตำบลทั่วประเทศจะต้องดำเนินการใน 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเกื้อหนุน เป็นบทบาทหลักของกรมกิจการเด็กและเยาวชนในการจัดทำกรอบแนวคิด คู่มือ ประสานงานกับส่วนราชการระดับกรมในส่วนกลางที่เกี่ยวข้องและมีส่วนราชการในระดับพื้นที่ ขั้นตอนการ เตรียมการ กรมกิจการเด็กและเยาวชนประสานงานกับกลไกระดับจังหวัด ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด และคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อรับทราบและ ร่วมกนั ขบั เคลอื่ นกิจกรรมในพื้นที่ ขัน้ ตอนการสรา้ งเครือขา่ ย องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ มบี ทบาทหลักในการ จบั เคลื่อนการจัดทำข้อตกลงความรว่ มมือในการพัฒนาและคุ้มครองเด็กในชุมชน และประสานงานกับองค์กร ภาคี เพื่อจัดทำแผนปฏิบตั ิงานรว่ มกัน ขั้นตอนการขบั เคล่ือนกจิ กรรม คณะทำงานพฒั นาและคุม้ ครองเด็กใน ชุมชน จะเป็นผ้ขู ับเคลอื่ นกิจกรรมใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลุขอ้ ตกลงความรว่ มมือ นอกจากกจิ กรรมที่ เนน้ สร้างความรแู้ ละทักษะเกย่ี วกับการคุ้มครองเด็กในชมุ ชนแลว้ คณะทำงานดังกล่าวยงั ต้องมีการประชุมเพ่ือ ประเมินผล ถอดบทเรียนและทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมาทั้งหมด โดยพิจารณาเชื่อมโยงกับข้อมูล แนวโน้มสถานการณ์และกลุ่มเสี่ยงหรือประเด็นปัญหาในพื้นที่ เพื่อนำผลวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นฐานในการ กำหนดแผนงานและออกแบบกิจกรรมสำหรับผลักดนั เข้าสูก่ ระบวนการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานและ องคก์ รภาคี ตลอดจนระดมทรัพยากรจากแหลง่ ต่าง ๆ สำหรับขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน การพฒั นางานประจำสูง่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 54 สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

3.2 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็กฯ และตัวแทนหนว่ ยงาน one home ผลจาการทำแบบสอบถาม คณะอนกุ รรมการจังหวัดและหน่วยงาน One Home • คณะอนุกรรมการ ได้รับรู้ รับทราบในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของการจัดตั้ง “ศูนย์ ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล” และมีส่วนร่วมในการวางแผนในการให้ความช่วยเหลือ เด็กที่ประสบปัญหาทางสังคม และเสนอแนะประเมินผลเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก และได้ รับทราบระบบสารสนเทศเพอื่ การคมุ้ ครองเด็ก (CPIS) ระบบรบั แจ้งเหตุ และระบบคัดกรอง เพื่อสนับสนนุ การเล้ียงดูเดก็ ตามมาตรฐานขั้นต่ำในตำบล (CMST) ของกรมกิจการเด็กและ เยาวชน กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ • ระบบฐานข้อมูลจงั หวัดมี แต่ยังไม่ครอบคลุมด้านเด็กกลุ่มเสี่ยงทกุ สังกัด และไม่บูรณาการ ความร่วมมอื ของแต่ละสังกัด • คณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็กระดับจงั หวัด ควรมีแผนงานและครอบคลมุ ทุกสังกัดดา้ นการ พัฒนาเด็ก เช่น สังกัดสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน สพฐ. อปท. สามารถระบุเป้าหมายการ พัฒนาและการค้มุ ครองเด็กทช่ี ดั เจนรว่ มกนั • อยากเหน็ ระบบการรายงานภาพรวมทุกมติ ิดา้ นเด็กอย่างเปน็ ระบบ ตั้งแต่เด็กแรกเกดิ -18 ปี ที่เป็นระบบ อปท. มสี ว่ นร่วม และ ตอ่ เน่อื ง • อยากให้ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และแกนนำได้รับการพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับระบบคุ้มครอง เดก็ /การประเมนิ สภาวะเด็กรอบด้าน / การประสานส่งตอ่ • ต้องการให้สนับสนุนงบประมาณด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ โดยเฉพาะเด็กอย่างชัดเจนโดย บรรจุลงในข้อเทศบัญญัติมีการพัฒนาเด็กทุกคน โดยวางแผนการพัฒนาเป็นรายบุคคล มี การตดิ ตามสง่ เสรมิ เด็กและครอบครวั จนเดก็ อายุ 18 ปี และรายงานผลการพัฒนาส่งเสริมมา ให้พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ได้ติดตามกำกับ ผลสัมฤทธิ์ ของแต่ละ พ้ืนทเี่ พ่อื ให้ได้มาตรฐานเดียวกัน 3.3 ผลการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามจากตวั แทนพื้นที่นำร่อง 12 อปท. ผลจากการสอบถามตวั แทน 35 คน สำหรับคณะกรรมการศนู ยช์ มุ ชนคุม้ ครองเด็ก 12 พื้นท่ีนำรอ่ ง • ส่วนใหญเ่ ป็นเจา้ หนา้ ทอี่ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล ฝ่ายกองสวัสดกิ ารสงั คมซ่งึ ปฏิบัตงิ าน หน้าทใี่ นการช่วยเหลอื หรอื คมุ้ ครองสวสั ดิภาพเดก็ ทปี่ ระสบปัญหาทางสังคมในพ้ืนที่ เดก็ ถูก ทอดทิง้ เด็กถกู กระทำความรนุ แรงในครอบครวั อยูแ่ ลว้ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 55 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

• จังหวัดยังไมม่ รี ะบบฐานขอ้ มลู เดก็ และเยาวชน ซ่ึงปัจจบุ ันฐานข้อมลู จะอยกู่ บั หน่วยงานตน้ เร่อื งที่ทำงานเก่ยี วกบั เดก็ และเยาวชน ยังไมค่ รอบคลุม ยังไม่เปน็ ระบบที่สมบรู ณ์ /หรอื มีแต่ ยงั ไม่ทกุ กลุ่ม/เยาวชนยงั ไม่ใหค้ วามรว่ มมือเต็มที่ • อยากให้จัดทำระบบฐานข้อมูลดา้ นเดก็ และเยาวชน เชื่อมโยงทุกระดับและสามารถดงึ ข้อมูล มาใช้ประโยชน์ได้ • เสริมสรา้ งองค์ความรู้ใหก้ บั เจ้าหนา้ ที่ในระดบั เจ้าหนา้ ทีเ่ ก่ียวกบั การสงเคราะหแ์ ละคุม้ ครอง สวสั ดิการสังคม • ขาดแคลนบคุ ลากรในการทำงาน • อยากใหล้ ดข้ันตอนในกระบวนการคมุ้ ครองเดก็ แบบฟอรม์ มีความเขา้ ใจง่าย • ระบบฐานข้อมูลควรจะมีการอบรมกอ่ นนำมาใช้งาน • สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการให้กบั อปท. • สรา้ งเครอื ข่าย และสนบั สนุนทรัพยากร / กระบวนการชว่ ยเหลือคมุ้ ครองเด็กให้มีความ รวดเรว็ • มคี ณะทำงานทีส่ ามารถเข้าไปให้ความช่วยเหลือไดอ้ ย่างรวดเร็วเมอื่ มกี รณีเกดิ เหตขุ น้ึ กบั เดก็ • การมีสว่ นรว่ มและรบู้ ทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการขับเคลอื่ นงาน • อยากให้ลงมาชว่ ยเหลือเดก็ ทย่ี ากจนและสภาพความเปน็ อยลู่ ำบากและปญั หายาเสพตดิ ใน ตำบล • อยากให้จังหวัดลงพ้นื ที่ดว้ ยตวั เองจะได้ทราบถึงปัญหาของพ้ืนที่ • ดูแลเรื่องยาเสพติด / สนับสนนุ อาชีพเสรมิ ให้เด็ก / เด็กยากจน / เด็กด้อยโอกาส • ให้ท้องถ่ินหรือชมุ ชนมีสว่ นรว่ มมากที่สุด • อยากใหค้ ุ้มครองและพฒั นาในเร่อื งเดก็ ตั้งครรภ์กอ่ นวยั อนั ควร • อยากใหพ้ ฒั นารูปแบบและกลไกทกุ ประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกบั เด็ก • ผู้บริหาร /เจ้าหนา้ ที่ /แกนนำ ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจ หรอื ยังมีน้อยมากในการขบั เคล่อื น การทำงานคุ้มครองเดก็ และไมม่ ีแผนงานทช่ี ัดเจน การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 56 สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

• อยากให้ผบู้ รหิ าร เจา้ หนา้ ท่ี และแกนนำอบรมเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพในทกุ ด้าน เช่น ด้าน กฎหมาย ดา้ นการประสานส่งต่อ ด้านการบริหารทรัพยากร ด้านการคัดกรองเด็ก ด้าน การศกึ ษา ด้านการฝึกอาชพี ด้านเกยี่ วกบั การดูแลเดก็ ไรท้ ีพ่ ึง่ ด้านยาเสพติด ดา้ นสิทธเิ ดก็ เบือ้ งตน้ ด้านการดูแลสุขภาพจิตใจ ด้านการเรยี นรูใ้ นการดำรงชีวิต ด้านการกระทำความ รนุ แรง ดา้ นการกลา้ แสดงออกของเด็กแต่ละคนเพือ่ เน้นหาพรสวรรค์ในตวั บุคคล • เหน็ ดว้ ย ตอ้ งการผลักดนั ตราขอ้ บญั ญตั /ิ เทศบัญญตั ิ บรรจเุ ป็นแผนงาน กจิ กรรม โครงการเพ่อื สามารถใชง้ บประมาณได้ /เหน็ ด้วย จะทำให้การช่วยเหลอื เด็กในพ้นื ทม่ี ีความ รวดเร็ว/ จะไดเ้ ขา้ ทำการช่วยเหลือได้โดยตรง และเต็มที่ / กำหนดขอบเขตการดำเนนิ การที่ ชดั เจน / เด็กจะได้รับงบประมาณโดยตรง / มสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดำเนนิ งาน อยา่ งเข้าใจและมแี ผนงานทชี่ ัดเจน /จะได้ทำใหม้ งี บประมาณสนบั สนุนการพฒั นาเด็กใน พื้นที่ / อปท.อยูใ่ กล้ชดิ ประชาชนมากทสี่ ดุ / อยากให้ขบั เคลือ่ นแบบจรงิ ๆจังๆ / รัฐบาล ต้องมีงบประมาณสนับสนุนให้ด้วย • เด็กที่มปี ญั หายังต้องการหนว่ ยงานที่จริงจงั และต่อเนอ่ื งต้องมีผูเ้ สียสละและเข้าใจในปญั หา นน้ั ๆอย่างแท้จริง • ควรผลักดนั ศูนย์คมุ้ ครองเด็กระดบั ตำบลใหเ้ ป็นรูปธรรมยงิ่ ขนึ้ ถา้ ไดค้ รอบคลมุ จะดมี าก • บุคลากรที่ดูแลงานด้านเด็กและเยาวชนมนี ้อย • ใหด้ แู ลเด็กท่ยี ากไรไ้ ด้ท่วั ถึง และเดก็ ท่ีถูกกระทำความรนุ แรง • อยากใหร้ ะบบการดำเนินงานดกี วา่ นี้ 3.4 ผลการจดั เวทีประชาคมถอดบทเรยี น 12 พ้ืนทนี่ ำรอ่ ง เนอื่ งจากสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID - 19) จึงทำใหไ้ ม่สามารถดำเนนิ การ จดั ประชมุ ถอดบทเรยี น ท้ัง 12 พืน้ ทนี่ ำร่องได้ 3.5 การทดสอบสมมตฐิ านในการวจิ ยั 1. ถา้ จังหวัดมีระบบฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกกลมุ่ และกลไกขบั เคลอ่ื นกระบวนการคุ้มครองเด็ก ทช่ี ดั เจน จะทำใหช้ มุ ชนท้องถิน่ อยากเขา้ มามีส่วนร่วมในการพัฒนาศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบล การพฒั นางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 57 สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

พบว่า ปัจจุบันจังหวัดยังไม่มีระบบฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกกลุ่ม ยังไม่ครอบคลุม ยังไม่เป็น ระบบที่สมบูรณ์ หรอื มีแต่ยงั ไม่ครอบทุกกลมุ่ และเยาวชนยงั ไม่ให้ความร่วมมือเต็มที่ ซึ่งปัจจุบันฐานข้อมูล จะอยู่กับหน่วยงานตั้งต้นของเจา้ ของเร่อื งทีร่ บั ผดิ ชอบหรอื ทที่ ำงานเกย่ี วกบั เดก็ และเยาวชนโดยตรง แตถ่ า้ จังหวดั จะทำใหก้ ารเชอ่ื มโยงระบบท่ีเก่ียวกับเด็กทุกระดับ และมรี ะบบการรายงานภาพรวมทุก มติ ดิ า้ นเด็กและเยาวชน ต้งั แต่เดก็ แรกเกดิ - 18 ปี และเยาวชนทกุ กลมุ่ จะสามารถดงึ ข้อมูลเดก็ และเยาวชน มาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างครอบคลมุ อยากให้ระบบดกี ว่านี้ 2. หากผู้บริหาร เจา้ หนา้ ท่ี และแกนนำท่ีเกยี่ วขอ้ งในตำบลมีความรู้และเข้าใจนโยบาย มาตรการ และ แนวทางสนบั สนนุ ศูนย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็กในตำบล ก็จะสามารถขับเคลอ่ื นงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พบว่า ถ้ากำหนดขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน จะทำให้การทำงานของผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี แกนนำ และคณะกรรมการศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กตำบล สามารถเข้าไปให้ความช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ได้ โดยตรง เตม็ ท่ี รวดเร็ว และทันตอ่ เหตุการณ์ 3. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ มีชุดองค์ความ รูเ้ กย่ี วกบั ระบบการค้มุ ครองเด็กในพื้นท่ี รวมทง้ั มีส่วนรว่ มในการดำเนนิ การคุ้มครองเด็กหรือช่วยเหลือเด็กใน พื้นที่ ก็จะมีส่วนร่วมในการสรรหา Case และร่วมขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ พบว่าสมมติฐาน ข้อ 1 แล 2 ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ แกนนำ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการคุ้มครองเดก็ และอยากเขา้ อบรมเพ่ือพฒั นาศักยภาพในทุกดา้ น เชน่ ด้านกฎหมาย ดา้ นการประสานสง่ ต่อ ดา้ นเกย่ี วกับการดแู ลเด็กไร้ทพี่ ่งึ ด้านการคัดกรองเด็ก ด้านการศึกษา ดา้ นการฝกึ อาชีพ ดา้ นเกยี่ วกับการดูแลเด็กไรท้ พ่ี ึ่ง ด้านยาเสพติด ด้านสิทธเิ ดก็ ดา้ นการดูแลสุขภาพจิตใจเด็ก ด้านการเรยี นรู้ในการดำรงชีวิต ดา้ นการกระทำความรุนแรง ดา้ นการกลา้ แสดงออกของเด็กแต่ละคนเพ่ือเน้น หาพรสวรรค์ในตัวบุคคล เพือ่ เสริมสร้างองค์ความรู้ให้กบั เจ้าหน้าที่ในระดับเจ้าหนา้ ท่ีเก่ียวกับการสงเคราะห์ และคมุ้ ครองสวสั ดิการสังคม อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยเหลือเด็กที่ยากจนและสภาพความเป็นอยู่ลำบากและปัญหายา เสพตดิ ในตำบล / ให้จงั หวดั ลงพนื้ ที่ด้วยตัวเองจะได้ทราบถึงปัญหาของพื้นที่ / ใหท้ อ้ งถนิ่ หรือชมุ ชนมีส่วนร่วม มากทส่ี ดุ 4. ถ้า อปท. มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ได้รับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) และปรับปรงุ ข้อมูล Case ให้เป็นปัจจบุ ัน ก็จะทำให้การดำเนนิ งานของศนู ยช์ ุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลดำเนนิ งานได้อยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง การพัฒนางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 58 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

พบว่า ขาดแคลนบุคลากรในการทำงาน ระบบฐานข้อมูลควรจะมีการอบรมก่อนนำมาใช้งาน อยากใหล้ ดข้นั ตอนในกระบวนการคุ้มครองเด็ก แบบฟอรม์ มีความเข้าใจง่ายขนึ้ 5. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สร้างการมีส่วนร่วม และวางแผนให้ความช่วยเหลือ รายบุคคล / รายกิจกรรม ชัดเจน อปท. ก็จะผลักดันให้ตราข้อบัญญัติ สนับสนุนงบประมาณเพือ่ สนับสนุนให้ การคมุ้ ครองเด็กเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ พบว่า ต้องการผลักดันตราข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติ บรรจุเป็นแผนงาน กิจกรรมโครงการเพ่ือ สามารถใชง้ บประมาณได้ เพื่อท่จี ะทำให้การช่วยเหลือเด็กในพื้นที่มีความรวดเร็ว ช่วยเหลือได้โดยตรง และ เต็มที่ / มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดำเนินงานให้ความช่วยเหลืออย่างเข้าใจและมแี ผนงานที่ชัดเจน / ให้มีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาเด็กในพื้นที่ / อปท.อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด / อยากให้ขับเคลื่อน แบบจรงิ ๆจังๆ 3.6 การดำเนินงานตามตวั แปร ตวั แปร ปัจจัย การปฏบิ ัติของอนุกรรรมการฯ และ 12 อปท. มาก ปานกลาง น้อย ไม่ไดป้ ฏิบตั ิ - มกี ารมอบหมายจากคณะกรรมการ / คมุ้ ครองเดก็ ในการพัฒนาระบบขอ้ มูล เด็กและเยาวชนกลุ่มปกติ (สเี ขียว) กลมุ่ เสย่ี ง หรอื เปราะบาง (สเี หลือง) และกล่มุ ทีป่ ระสบปัญหา (สีแดง) ท่ี ชดั เจน - การสรา้ งความเขา้ ใจผบู้ รหิ าร / / เจา้ หน้าที่ และแกนนำท่เี ก่ียวข้องใน / พ้ืนที่ - การดำเนนิ งานขบั เคล่ือนศูนยช์ ุมชน ตวั แปรตน้ ค้มุ ครองเดก็ ระดับตำบล (ครบ 8 ขน้ั ตอน ) - เจา้ พนักงานท้องถิ่นและคณะทำงาน / / มกี ารสรรหา Case เพอื่ ขอรบั เงินสนบั สนุน - มีเจ้าหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ได้รับการ อบรมระบบฐานข้อมลู (CMST / CPIS : Child Protection Information System) และ ปรบั ปรงุ ข้อมลู Case ทุกกล่มุ ให้เป็น ปจั จุบนั / 59

ตวั แปร - มแี ผนการใหค้ วามช่วยเหลือ 2 / / ควบคมุ รายบุคคล / รายกจิ กรรม เชิงปอ้ งกัน / / และพัฒนาตามศักยภาพ / ตวั แปร / ตาม - การสรปุ บทเรยี นพนื้ ทตี่ น้ แบบทีเ่ ป็น 6 / ศนู ย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็กระดับตำบล 6 รวม 12 ตำบล คะแนน - เปน็ พ้ืนท่ีดำเนินงานตำบลคุ้มครอง เด็กในระดบั ตำบลเหมือนกนั - เป็นพื้นทีท่ มี่ ผี บู้ รหิ าร บริหารงาน ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 ปี - มีคำสง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการศนู ย์ ชมุ ชนคุม้ ครองเด็กตำบล เป็นลาย ลกั ษณอ์ กั ษร - มรี ะบบฐานขอ้ มลู เด็กและเยาวชนทุก กล่มุ และกลไกขับเคลือ่ นกระบวนการ คุ้มครองเด็กท่ีชดั เจน - จำนวนคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล ที่ไดร้ ับการอบรมพฒั นา ศกั ยภาพตามเกณฑ์ ( ครบ 8 ขั้นตอน ) - จำนวนเจ้าหนา้ ที่ และพนกั งาน ท้องถิน่ ร้เู ขา้ ใจบทบาทในการจัดการ Case ตามมาตรฐานได้เอง - จำนวน อปท. ท่มี ีการพฒั นาระบบ ฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) รว่ มกับ หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง - จำนวนปัญหาในพื้นที่ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เด็ก เยาวชน และครอบครัวท่ีลดลง - จำนวน อปท. ท่มี กี ารตราขอ้ บัญญตั ิ และพัฒนารปู แบบกระบวนการ จัดการปญั หาในพื้นที่แบบเบ็ดเสรจ็ - หมายเหตุ – ตวั แปรควบคุม บาง อปท. ผ้บู ริหาร บริหารงานตอ่ เนือ่ งไม่ถงึ 4 ปี 60 สรุประดบั การปฎบิ ัติของศูนยค์ ุ้มครองเดก็ ในชุมชน ของ อปท. 12 แห่ง อยใู่ นระดับ น้อย – ปานกลาง

3.7 ปัจจัยความสำเร็จ ในการดำเนินงานขบั เคล่ือนศนู ย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล มีความจำเป็นทห่ี น่วยงาน เจ้าหนา้ ที่ทเี่ กีย่ วข้อง พนกั งานเจ้าหนา้ ที่ตามกฎหมาย จะตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเชิงของภาพรวมระบบ การค้มุ ครองเด็ก รวมทัง้ การจัดการผู้ประสบปญั หาเปน็ รายกรณี ทั้งนี้ ความสำคัญของการคุ้มครองเด็กอยู่ที่ชุมชน โดยคนทั้งในครอบครัวและภายในชุมชน เองที่จะช่วยเฝ้าระวัง เป็นหูเป็นตา หรือช่วยค้นหากลุ่มเด็กที่อยูใ่ นสภาวะเสี่ยง หรือต้องได้รับการช่วยเหลือ อย่างเร่งด่วน แล้วช่วยกันแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น โดยจะมีหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่คือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นซึ่งได้จดั ตัง้ ในรปู แบบของคณะกรรมการท่ีเป็นผูแ้ ทนมาจากทุกภาคส่วนในพืน้ ที่ ที่จะเป็นกลไกในการ ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และหาทางออกในการแก้ไขปัญหาร่วมกันจากผู้แทนและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง โดย จำเปน็ อยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งมีการเสรมิ พลังคณะกรรมการ รวมทง้ั เสริมสร้างศกั ยภาพให้มอี งคค์ วามรู้ ทกั ษะในการ คุ้มครองเด็กในพืน้ ที่ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ในส่วนของบ้านพกั เด็กและครอบครัวในฐานะท่ีมีบทบาทในการ ช่วยสง่ เสริม สนบั สนุนการขบั เคล่ือนงานของศูนย์ชุมชนคุ้มครองเดก็ ในระดับตำบลควรทำงานใกล้ชิดกับศูนย์ ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล รวมทั้งอีกบทบาทภารกิจหนึ่งคือเป็นหน่วยงานในการจัดการปัญหาที่เกิด ขนึ้ กบั เด็กที่ตกอยใู่ นภาวะเสี่ยงหรอื ใหก้ ารช่วยเหลือ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ก็จะต้องดำเนินการ ตามกระบวนงานที่เก่ยี วข้องใหม้ ีประสิทธิภาพ สอดประสานการทำงานร่วมกับศูนย์ชุมชนค้มุ ครองเด็กในระดับ ตำบลและชุมชนที่เป็นพื้นที่ที่ประสบปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดให้เกิดกับเด็ก โดยมี ขนั้ ตอน / กระบวนงาน สามารถดูรายละเอียดตามแนวปฏบิ ัตกิ ารคัดกรองและช่วยเหลือเดก็ และคุ้มครองทาง สงั คม ตามแผนภาพที่ 11 การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 61 สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

ภาพท่ี 11 แสดงขั้นตอน / กระบวนการ พฒั นาความรแู้ ละวางแผนการคมุ้ ครองทางสังคม ขน้ั ตอน/การพัฒนาความรแู้ ละวางแผน และกำหนดกลไกในการคมุ้ ครองทางสงั คม ( 1 ) 1 พัฒนาองคค์ วามรู้ ทบทวน/วิเคราะห์สถานการณ์ ผเู้ กีย่ วขอ้ ง กำหนดทีมสหวทิ ยาการชุมชน -พมจ. สงั เคราะหน์ โยบายกฎหมาย พรบ. -บพด -อปท. -ตำรวจ อาสาฯ วิเคราะห์ภารกจิ /บทบาทผเู้ กีย่ วข้อง 2 ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการผเู้ ก่ียวข้อง ทมี สห/ ภาคี พฒั นาคู่มอื /แนวทางปฏบิ ตั ิ ผูน้ ำ พัฒนาความรู้ อาสาฯ /จนท อปท. จนท. อปท. อาสาฯ พฒั นาฐานขอ้ มูลและข้อมลู กลุ่มเสยี่ ง 3 แผน/กลไกการทางาน กาหนดแผนปฏิบตั ิระดบั พนื้ ที่ อปท/ จดั ทาฐานขอ้ มลู กลมุ่ เสี่ยง ผนู้ า ประสาน อปท./ศพค./ ภาคี /ศพค. พมจ. บพด. ประชาสมั พนั ธ์ / รณรงค/์ ปอ้ งกนั 62

ขน้ั ตอน/การพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ฟ้ืนฟู และสร้างข้อตกลง ( 2 ) 4 เฝา้ ระวัง ใหค้ วามรูก้ ลมุ่ เส่ียง/ผถู้ กู กระทา ผนู้ า/อาสา/สอดสอ่ งดแู ล ใหข้ อ้ มลู กลมุ่ เสย่ี งรว่ มกบั ทีมสห วิทยาการ/แจง้ เหตุ 5 การฟนื้ ฟแู ละพัฒนา สง่ เสรมิ กล่มุ เสียงใหไ้ ดร้ บั การฟื้นฟูตาม ศักยภาพ ศกั ยภาพของตน 6 สรา้ งขอ้ ตกลงรว่ ม ความรว่ มมอื พอ่ แม/่ ญาติ/ในการดแู ลกล่มุ เส่ียง เตรยี มกองทนุ และกระบวนการฟื้นฟู พฒั นามาตรการทางสงั คม / กตกิ าชมุ ชน ขอ้ ตกลงกลมุ่ เสยี ง / ครอบครวั กลมุ่ เสีย่ ง การสงเคราะห/์ ช่วยเหลอื และกาหนด แนวทางฟื้นฟูรายครอบครวั การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 63 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

ข้นั ตอน/กระบวนการติดตาม ประเมนิ และรายงาย ( 3 ) 7 ติดตาม ติดตามพฤติกรรมกลมุ่ เสี่ยง ( รายบุคคล ) เยี่ยมบา้ นกลมุ่ เส่ียง / แนะนา / ใหค้ าปรกึ ษา ใหค้ วามรูพ้ อ่ -แม/่ ญาตมิ ติ ร 8 ประเมนิ สรุปบทเรียนสหวิทยาการทีม 9 รายงาน ประเมินทมี สหวทิ ยาการ และจนท.ผปู้ ฏบิ ตั ิ ประเมินแผนการปฏิบตั งิ าน ( P-D-C-A ) พฒั นาตน้ แบบ / แหล่งเรียนรู้ สงั เคราะห์ KM / การถอดบทเรียน จดั ทารายงาน/ เผยแพรข่ ่าวสาร การพฒั นางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 64 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแก่น (สสว.5)

สรปุ ขัน้ ตอน / กระบวนการในการจ่ายเงนิ ชดเชยในกระบวนการคุม้ ครองเดก็ รายบุคคลกรณีทตี่ อ้ งรบั เงนิ สงเคราะหเ์ ร่งดว่ น ขัน้ ตอนการ กระบวนงานสำคญั การปฏบิ ัติทีส่ ำคัญ การชว่ ยเหลือ คมุ้ ครอง - พฒั นาองค์ความรู้ - เด็ก ครอบครัว และครอบครัว จนท. สำนกั งานพัฒนา - ประชุมเชิงปฎบิ ตั ิการ อุปถมั ภ์ ท่ีประสบปญั หา สงั คมและ พฒั นาความรูแ้ ละ - วางแผน / กลไกการ ความเดอื ดรอ้ น/พนกั งาน ความม่ันคงของมนุษย์ วางแผน และ ทำงาน เจา้ หน้าที่ฯ ยนื่ เรือ่ ง จังหวดั อำนวยความ กำหนดกลไก - สอบข้อเทจ็ จรงิ ตามแบบฟอร์ม สะดวก ของหน่วยงาน และ พิจารณาให้ความชว่ ยเหลือตาม ประกาศหลกั เกณฑ์ฯ - เฝ้าระวัง -พมจ. จดั ทำรายละเอียดตาม กรณเี สนอสงเคราะห์ไม่ - ฟน้ื ฟูและพัฒนา การพฒั นาระบบ ศักยภาพ แบบ คคด. 01 เสนอต่อที่ประชุม ผา่ น / หรอื หลกั ฐานไม่ เฝ้าระวงั ฟื้นฟู - สรา้ งขอ้ ตกลงร่วม และสร้างขอ้ ตกลง คณะอนกุ รรมการ ครอบคลุม พมจ. ต้องเร่ง - ติดตาม บริหารกองทุนฯ จงั หวดั เพอ่ื ประสานทันที่ - ประเมิน - รายงาน พจิ ารณาอนมุ ัติ การตดิ ตาม -แจง้ ผขู้ อรับการ ประเมิน และ สงเคราะห์ รายงาน - พมจ.จา่ ยเงินใหแ้ กผ่ ู้รับการ ผรู้ ับการสงเคราะห์ต้องมี สงเคราะห์ โดยจัดทำใบสำคัญรับ สำเนาหลกั ฐาน เพ่อื เงนิ ลงช่ือ ตรวจสอบและยนื ยันกบั - ผ้รู บั เงนิ และผจู้ ่ายเงนิ เพ่ือใช้ พมจ. ได้ เป็นหลกั ฐานแสดงการจ่ายเงนิ - พมจ.สำเนาใบสำคัญรบั เงินของ ผู้รับการสงเคราะห์ พร้อมรบั รอง สำเนาถูกตอ้ ง สง่ กบท. เพือ่ เปน็ เอกสารประกอบการบนั ทึกบญั ชี - พมจ.ติดตามผล และดำเนินการ สรุปผลการใหค้ วามช่วยเหลือเดก็ ครอบครวั ฯ เป็นรายเดือน 65

แนวปฏิบตั กิ ารคัดกรองและชว่ ยเหลอื เด็ก เครอื ข่ายชมุ ชน ค้นหา พบเหน็ คัดกรองเด็ก แบบคัดกรองเพื่อสนบั สนุนการเล้ียงดเู ด็กตามมาตรฐานขั้นต่ำ : CMST) เดก็ ปกติ เด็กกลุ่มเส่ยี ง เดก็ ที่ต้องช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษ รวบรวมข้อมูลเพ่ือประชุม คณะทำงานระบบคุม้ ครองเด็กระดบั ท้องถน่ิ คน้ หาข้อเท็จจริงเชงิ ลกึ (กาย จติ สงั คมแวดลอ้ ม ครอบครวั ให้บรกิ ารตามแผน และการติดตาม การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 66 สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

แนวปฏบิ ัตกิ ารคัดกร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (คณะอนกุ รรมการหรือคณะทำงานคมุ้ ครองเด็ก) 1. ตรวจสอบ/วิเคราะห์ขอ้ มลู 3. ขนึ้ ทะเบียนเคสทกุ กรณี (แบบบนั ทกึ ประวัตเิ ดก็ เด็กปกติ เดก็ กลุ่มเสย่ี ง เดก็ ท่ีตอ้ งชว่ ยเหลอื เปน็ พิเศษ กจิ กรรม 2. ประเมินเบอ้ื งตน้ (เดก็ เสย่ี งท่จี ะไม่ มีความเสย่ี งที่เด็กจะไม่ ประเดน็ ในการพิจารณา ปอ้ งกัน ปลอดภยั หรอื ไม่ และประเมินกาย จติ สังคม) ปลอดภยั 1.ความแตกตา่ งของเด็ก แวดล้อม ครอบครวั ) หรือกรณเี ดก็ ถูกทารณุ กรรม ตอ้ งการรับการพัฒนาของ 2.ความสามารถในการเป ไมม่ คี วามเสีย่ งท่ีเด็กไมป่ ลอดภัย (Parenting capacity)ข 3.ปจั จยั ทางดา้ นครอบคร 4. สบื ค้นขอ้ เท็จจริงและประเมนิ ความตอ้ งการ ส่ิงแวดล้อมอนื่ ทสี่ ง่ ผลกระ รับบริการของเด็กและครอบครัว ของเดก็ และความสามารถ ของผูป้ กครอง 4.จำเป็นต้องจดั บริการทา และครอบครวั 5. กำหนดแนวทางการดำเนินการ แนวทางการดำเนินการ ประกอบ (แบบประชุมคณะทำงาน) 1.ลกั ษณะของบรกิ ารที่จำเปน็ ต้อง 2.ผู้รบั ผดิ ชอบดำเนินการหรอื จัดบ 6. ใหบ้ ริการตามแผน ประสานงาน 3.แหล่งทม่ี าของทรัพยากรในการจ แผนปฏิบัตกิ าร ระบถุ งึ 7. ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิงาน 1.เป้าหมายการใหบ้ รกิ าร (แบบประชมุ คณะกรรมการ , แบบคัดกรอง CMST) 2.เปา้ หมายลำดบั ใหบ้ ริการแต่ละส 3.รายละเอียดบริการทตี่ อ้ งจัดใหแ้ 8. ปิดเคสและยตุ ิการใหบ้ ริการ 4.กรอบหรือตารางเวลาสำหรับปฏ 5.กระบวนการสำหรบั การตดิ ตาม เพ่อื ยุติการใหบ้ รกิ าร

รองและช่วยเหลอื เดก็ บา้ นพกั เด็กและครอบครวั / ทีมสหวชิ าชีพระดบั จงั หวดั รายงานแ ้จงเหตุ 1. รบั แจง้ หรอื รบั รายงานเหตุ 3. ข้นึ ทะเบียนเคสทุกกรณี (แบบบนั ทกึ ประวตั ิเด็ก) 2. ประเมินเบอ้ี งต้น (เดก็ เสย่ี งท่ีจะไมป่ ลอดภัย) มีความเส่ียงทเ่ี ดก็ จะไมป่ ลอดภยั หรอื กรณีเดก็ ถูกทารุณกรรม เมือเทยี บกับความ ไม่มคี วามเสยี่ งท่ี กำหนดวิธกี ารเฉพาะหนา้ เพื่อใหเ้ ด็กปลอดภัย งเด็ก เดก็ จะไม่ปลอดภยั ป็นพ่อแม่ ของผูป้ กครอง กำหนดวิธีการใหผ้ ู้ปกครอง/ญาตขิ องเด็ก ไม่จำเปน็ ตอ้ งแยกเดก็ จำเป็นตอ้ งแยกเด็ก รัวและสังคม หรอื ผ้กู ระทำต่อเด็กต้องปฏบิ ัติหรอื หา้ มปฏิบัติ ออกจากครอบครัว ออกจากครอบครวั ะทบตอ่ พฒั นาการ ถในการเป็นพอ่ แม่ 4. สบื ค้นขอ้ เทจ็ จริงและประเมินความตอ้ งการ รบั บรกิ ารของเด็กและครอบครวั างสงั คมใหก้ บั เด็ก บด้วย 5. กำหนดแนวทางการดำเนนิ การ งจดั ให้แกเ่ ด็กและครอบครวั 6. ใหบ้ รกิ ารตามแผน ประสานงาน บริการใหแ้ กเ่ ด็กและครอบครัว 7. ตดิ ตามผลการปฏิบัตงิ าน จัดบริการให้แกเ่ ดก็ และครอบครัว 8. ปดิ เคสและยตุ ิการใหบ้ ริการ สว่ น แกเ่ ด็กและครอบครัว ฏบิ ตั ิงาน ม ทบทวนปฏิบตั กิ ารและประเมนิ 67

3.8 การนำงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ งานวจิ ยั น้ี เปน็ งานวิจัยเพอ่ื ม่งุ ตอบคำถามว่าการขับเคลอื่ นงานหรือโครงการศนู ย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็ก ในระดับตำบล ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ซึ่งเป็นงานประจำที่ได้ดำเนินงานในทุกปี พบกับ ปัญหา หรอื อปุ สรรคในการดำเนนิ งานอย่างไรให้เกิดประสิทธภิ าพ คาดหวังว่า 1) จะเป็นการถอดบทเรียนจากการขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในช่วงระหว่างปี 2561 – 2563 ที่ผ่านมา ซึ่งจะสามารถนำผลการศึกษาวิจัยไปปรับปรุง พัฒนา และต่อยอดการ ขบั เคล่อื นงานศนู ยช์ มุ ชนคมุ้ ครองเดก็ ในระดับตำบลได้ รวมทั้งเป็นการพฒั นางาน 2) เป็นจุดริเริ่มกระบวนการวิจัยเบื้องต้น ที่มีข้อจำกัดด้านเวลา สถานการณ์โรคระบาด การลง พืน้ ที่ และ การพัฒนาเครอื่ งมอื วจิ ยั ท่ยี ังไมค่ รอบคลมุ ในปีถัดไปจงึ เป็นบทเรียนท่ีต้องปรับปรุง ทบทวนให้งานวิจัยมคี ุณภาพมากข้ึน 3) การพัฒนาทักษะ สมรรถนะ ในทีมวิจัยยังมีข้อจำกัดด้านกรอบความคิดมาตรงกัน ภารกิจและ การทมุ่ เทให้กบั งานวิจยั ท่ีมีสัดสว่ นตา่ งกัน ความร้คู วามเขา้ ใจในขน้ั ตอน เคร่อื งมือ การ เกบ็ รวบรวม และ วิเคราะหข์ ้อมลู ทมี่ ีฐานประสบการณ์ตา่ งกนั ซ่ึงต้องหลอ่ หลอมและสรา้ งความ เปน็ เอกภาพในปถี ัดไป 3.9 ปญั หา / ข้อจำกดั 1) งบประมาณในการขับเคลื่อนโครงการมีจำกัด ขาดการพัฒนาแผนงาน / โครงการเสนอต่อ หน่วยงานและแหลง่ ทุนภายนอก 2) การส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดตำบลคุ้มครองเด็ก เป็นการดำเนินงานในเชิงคุณภาพ ต้องอาศัย ระยะเวลาในการดำเนินการ รวมทง้ั ตอ้ งมีการติดตาม และประเมนิ ผลอย่างต่อเนื่อง 3) พนักงานเจ้าหนา้ ทีข่ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ในฐานะผู้ปฏิบัติงานดา้ นการคุ้มครองเด็กใน พื้นที่ส่วนใหญ่สายงานจะเป็นนักพัฒนาชุมชนที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านการ คุ้มครองเด็ก/ระบบคุ้มครองเด็ก ซึ่งอาจจะทำให้ขาดทักษะ ความเชี่ยวชาญด้านกระบวนการ คมุ้ ครอง หรือใหก้ ารชว่ ยเหลือเดก็ ทีป่ ระสบปญั หาทางสังคมได้อยา่ งเป็นระบบ 3.10 ขอ้ เสนอแนะ / ความท้าทาย 1) ความท้าทายในการขยายพ้นื ที่ตำบลคมุ้ ครองเดก็ เชงิ คุณภาพให้ครอบคลุมทกุ พื้นที่ภายในจังหวัด เนื่องจากเป็นการดำเนินงานในเชิงคุณภาพ การพัฒนางานประจำส่งู านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 68 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแก่น (สสว.5)

2) หน่วยงานในระดับกระทรวงทเี่ ก่ยี วข้อง อาทิ กระทรวง พม. และกระทรวงมหาดไทย ควรกำหนด แนวทางการขับเคลื่อนงานร่วมกันทั้งในส่วนกลาง และในระดับพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้เกิดตำบล คมุ้ ครองเดก็ และสร้างระบบคุม้ ครองเด็กในตำบลใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรม 3) กระบวนการเสริมพลัง อปท. ในการกำหนดบุคลากร แผนงาน งบประมาณ และ การพัฒนา โปรแกรม CMST ที่สอดคล้องและทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง เป็นวาระร่วมกนั ในชุมชนทอ้ งถิ่นในดา้ น การเฝา้ ระวงั และคุ้มครองเด็กในทกุ มิติ 4. เอกสารอา้ งอิง กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย.์ (2563). คมู่ ือการ พฒั นาระบบคมุ้ ครองเด็กในระดับตำบล. กรงุ เทพฯ : กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน. กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์. ไมป่ รากฏปที พ่ี มิ พ์ . แนวปฏบิ ัติการพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กระดบั ทอ้ งถิ่น. กรุงเทพฯ : กรมกิจการเดก็ และเยาวชน. กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2560). คู่มือปฏิบัติ และข้อตกงร่วมกัน เรื่อง การคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กในภาวะเสี่ยง และเป็นผู้เสียหายจากการละเมิด ละเลย ทอดทิ้ง แสวงประโยชน์ และความรุนแรง. กรงุ เทพฯ : กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน. พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ.2546 มูลนธิ ศิ ูนย์พทิ ักษ์สิทธิเดก็ . รายงานความกว้าวหน้าและกา้ วตอ่ ไปในการขจัดความรนุ แรงตอ่ เดก็ . ไม่ ปรากฏปีทพ่ี มิ พ.์ กรงุ เทพฯ : มลู นธิ ศิ นู ย์พิทักษ์สิทธเิ ด็ก. กรมกจิ การเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์.(2560). ยุทธศาสตร์ การคุ้มครองเดก็ แห่งชาติ พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ : กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน. https://www.unicef.org/thailand/th วนั ที่ 27 มีนาคม 2564 https://www.thailandplus.tv/archives/210120 วันท่ี 27 มีนาคม 2564 การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 69 สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

5. ภาคผนวก จำนวน 12 พื้นท่ี ทีบ่ ้านพักเดก็ และครอบครวั จงั หวัดมหาสารคาม ไดด้ ำเนนิ การจัดต้งั “ศูนยช์ ุมชนคุ้มครองเดก็ ” ในตำบล ลำดบั ที่ รายชอ่ื อำเภอ 1 องค์การบริหารส่วนตำบลเสอื โก้ก อำเภอวาปีปทมุ 2 องคก์ ารบริหารส่วนตำบลหนองโก อำเภอบรบอื 3 องคก์ ารบริหารส่วนตำบลแกดำ อำเภอแกดำ 4 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลพระธาตุ อำเภอนาดนู 5 องค์การบรหิ ารส่วนตำบลดอนกลาง อำเภอโกสุมพสิ ยั 6 เทศบาลตำบลชืน่ ชม อำเภอชนื่ ชม 7 องค์การบริหารส่วนตำบลโพนงาม อำเภอโกสุมพสิ ัย 8 องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบวั คอ้ อำเภอเมอื ง 9 องคก์ ารบริหารส่วนตำบลหนองไฮ อำเภอวาปีปทุม 10 องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลหวั เรอื อำเภอวาปีปทมุ 11 องค์การบรหิ ารส่วนตำบลทา่ สองคอน อำเภอเมือง 12 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุง อำเภอแกดำ การพฒั นางานประจำสูง่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 70 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

- ตวั อยา่ ง - คำส่ังองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล................/เทศบาล.......................... ที่ /25..... เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะกรรมการศนู ย์ชมุ ชนคมุ้ ครองเด็กตำบล................................ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้การระดมทรัพยากรทุกภาคส่วน เข้ามาร่วมดูแลปกป้องคุ้มครองเด็ก โดยอาศยั การทำงานแบบสหวิชาชพี โดยการส่งเสริมหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบของครองครัว ชุมชน ภาครฐั และภาคเอกชน ในการร่วมมอื กันคมุ้ ครองเด็ก เพ่ือให้การดำเนินการคุม้ ครองเดก็ ตำบล...........................................ประสบผลสมั ฤทธิ์ตามวัตถปุ ระสงค์สามารถดำเนินงานร่วมกัน ของเครือขา่ ยในพื้นทตี่ ำบล............................... ผา่ นกลไกและช่วยเหลอื เด็กอย่างเปน็ ระบบ โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน) มาตรา 67 (6) จึงแต่ งต้ัง คณะกรรมการศูนย์ชมุ ชนคมุ้ ครองเด็กในชมุ ชนตำบล โดยมีองคป์ ระกอบและอำนาจหน้าท่ี ดงั น้ี 1. ช่ือ ........................... พัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวดั ทีป่ รกึ ษา 2. ชือ่ .......................... หน. บพด. ทป่ี รกึ ษา 3. ชอ่ื ........................... นายก อบต. ............. ประธานกรรมการ 4. ชอ่ื ........................... กำนัน ตำบล................ รองประธานคณะกรรมการ 5. ช่ือ............................ผูใ้ หญบ่ า้ นหมูท่ .ี่ .......... คณะกรรมการ 6 ช่อื ........................... ผ้ใู หญบ่ า้ นหมทู่ .ี่ .......... คณะกรรมการ 7. ชอื่ ........................... ผู้แทนส่วนราชการ/รพ.สต./โรงเรยี น คณะกรรมการ 8. ช่ือ.............................อสม./อพม. คณะกรรมการ 9. ชอ่ื .............................สภาเดก็ /แกนนำเยาวชน คณะกรรมการ 10. ชื่อ.............................ปลัดเทศบาล/อบต. คณะกรรมการและเลขานุการ 11. ช่ือ............................นักพฒั นาชุมชน/นักสังคมฯ คณะกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ให้คณะกรรมการมอี ำนาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ 1. จดั เกบ็ และรวบรวมข้อมูลเด็กและเยาวชนในตำบล.................... 2. วเิ คราะห์ประมวลผลขอ้ มูล และจัดทำแผนการให้ความช่วยเหลอื คมุ้ ครองสวสั ดิภาพเด็ก 3. ดำเนนิ การให้ความช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชนในตำบล.................... 4. สรุปผลการดำเนินงานของศนู ย์ชุมชนค้มุ ครองเดก็ ทงั้ น้ี ต้งั แต่บัดนีเ้ ปน็ ต้นไป ส่ัง ณ วนั ที่ ........... เดือน............ พ.ศ............ (ลงช่ือ)........................................................ (.......................................................) 71 นายก............................................ การพฒั นางานประจำส่งู านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 72 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 73 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 74 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 75 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 76 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 77 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 78 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 79 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 80 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 81 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 82 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 83 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

คณะผ้จู ัดทำ ทป่ี รกึ ษา ผูอ้ ำนวยการสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ ๕ นายสเุ มธ ทรายแก้ว หวั หนา้ กลุ่มการวจิ ัยและการพัฒนาระบบเครือขา่ ย นกั พฒั นาสังคมปฏบิ ัตกิ าร คณะทำงาน นกั พัฒนาสังคมปฏิบตั กิ าร เจ้าพนกั งานพัฒนาสงั คมปฏบิ ัตงิ าน นางอรทัย แพงโสภา นักพัฒนาสงั คม นางพลอยวรินทร์ จันดา เจ้าหน้าทีศ่ นู ยบ์ ริการทางวชิ าการ นายเศรษฐศักดิ์ มลู ดามาตย์ นางสาวกุลยา ทรัพย์สกุล นางจฬุ าลักษณ์ คำสีแก้ว นางสาวจริ าพร ชวิ ขุนทด การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 83 สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook