Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

Published by สสว ปทุมธานี, 2021-12-07 03:02:49

Description: การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย R2R สสว.5

Search

Read the Text Version

คำนำ การศึกษาวิจัย การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research :R2R) ปี 2564 เรื่องการ พัฒนารูปแบบการคุ้มครองเด็กโดยการมีส่วนรว่ มของชุมชนท้องถ่ิน ซึ่งตามพระราชบัญญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 24 กำหนดใหป้ ลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ผ้วู า่ ราชการจงั หวัด หรือ ผบู้ ริหารองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น มีหนา้ ท่ีค้มุ ครองสวัสดภิ าพเด็กท่อี ยใู่ นพนื้ ทเี่ ขตพ้นื ทที่ ่รี ับผิดชอบ เป็นการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 จึงจำเป็นต้องมีการจัดตั้ง ศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบล โดยให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผลักดันให้เกิดกลไกการดำเนินงานการคุ้มครองเด็กในชุมชนเพื่อให้การช่วยเหลือเด็กที่อยู่ในภาวะ เสี่ยง หรือตกเป็นเหยื่อของการใช้ความรุนแรง การกระทำมิชอบ การแสวงหาประโยชน์ การละเลย ทอดทิ้ง เดก็ ให้เด็กเลา่ นไ้ี ดอ้ ย่ใู นสภาวะแวดลอ้ มที่ปลอดภยั สามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข โดย สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับทีม One home ร่วมกันทำงานวิจัย การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R–Action Plan) ปี 2564 ขึ้นมา เพ่ือผลประโยชน์ สูงสุดของเด็กเปน็ สำคญั คณะผศู้ กึ ษา การพัฒนางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

สารบัญ เนือ้ หา หน้า บทสรุปผ้บู ริหารงานวิจยั R2R 1 เนือ้ หารายละเอียดการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research :R2R) ปี 2564 : ส่วนที่ 1 บทนำ 13 สว่ นท่ี 2 กระบวนการวิจัย 39 ส่วนท่ี 3 บทสรุป 42 ภาคผนวก 57 การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ชอ่ื เรือ่ ง การพัฒนารปู แบบการคุ้มครองเด็กโดยการมสี ว่ นร่วมของชุมชนทอ้ งถนิ่ ผวู้ จิ ัย สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัดมหาสารคาม ร่วมกบั ทมี One home หนว่ ยงาน พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มหาสารคาม ปีทด่ี ำเนนิ งาน 2564 บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาระบบ และรูปแบบการคุ้มครองเด็กโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการช่วยเหลือเด็กที่ประสบปัญหาทางสังคมให้ได้รับการปกป้องคุ้มครองสวัสดิ ภาพตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 โดยการจัดเก็บข้อมูลด้านเด็กและเยาวชน ตามแบบคัด กรองเพื่อสนับสนุนการเล้ียงดูเด็กตามมาตรฐานขั้นต่ำ (CMST) กลุ่มสีเขียว (ปกติ) สีเหลือง (เสี่ยง) สแี ดง (เร่งด่วน) และมีระบบฐานข้อมลู จงั หวัดท่คี รอบคลุมเดก็ ทกุ ด้าน ของการบรู ณาการร่วมมือกนั ทุกสังกัด ที่ทำงานเก่ียวกบั เด็ก เพื่อผลประโยชน์สงู สุดของเด็กเปน็ สำคัญ 2) หาแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากร มีชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบการคุ้มครองเด็กในพื้นที่ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการช่วยเหลือผู้ ประสบปัญหาในพื้นที่ได้รวดเร็ว และทันเหตุการณ์ 3) จัดตั้งศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลให้ครอบคลุม ทุกตำบล 4) ผลักดันตราข้อบัญญัติ / เทศบัญญัติ บรรจุเป็นแผนงานกิจกรรมโครงการเพื่อสามารถ ใช้งบประมาณได้ 5) จัดทำแบบสอบถาม จำนวน 2 ชุด ให้กับคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด/ หน่วยงาน One Home และตัวแทนจากพื้นที่นำร่อง 12 อปท. 6) ติดตามผลการดำเนินงานศูนย์ชุมชน คุ้มครองเดก็ เพอื่ ประโยชนใ์ นการติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงาน เม่อื สถานการณม์ ีการปรับเปลี่ยน อาจมกี ารประเมินโดยใช้แบบคดั กรอง CMST ซำ้ เพ่อื พิจารณาวระดบั ความเส่ยี งมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ผลการวิจัยพบวา่ 1. ถา้ จงั หวัดมรี ะบบฐานข้อมูลเดก็ และเยาวชนทุกกลุ่ม และกลไกขบั เคลื่อนกระบวนการคุ้มครองเด็ก ที่ชัดเจน จะทำให้ชุมชนท้องถิ่นอยากเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบล พบว่า ปัจจุบนั จังหวดั ยงั ไม่มีระบบฐานข้อมลู เดก็ และเยาวชนทุกกลมุ่ ยังไม่ครอบคลุม ยังไม่เปน็ ระบบทสี่ มบูรณ์ หรือ มีแต่ยงั ไมค่ รอบทุกกลุ่ม และเยาวชนยงั ไม่ให้ความร่วมมือเต็มที่ ซง่ึ ปจั จุบันฐานข้อมูลจะอยู่กับหน่วยงานต้ัง ต้นของเจ้าของเรื่องที่รับผิดชอบหรือที่ทำงานเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนโดยตรง แต่ถ้าจังหวัดจะทำให้การ เชอ่ื มโยงระบบที่เกี่ยวดบั เด็กทุกระดับ และมีระบบการรายงานภาพรวมทกุ มติ ิดา้ นเด็กและเยาวชน ตัง้ แต่เด็ก แรกเกิด - 18 ปี และเยาวชนทุกกลมุ่ จะสามารถดงึ ขอ้ มูลเด็กและเยาวชน มาใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างครอบคลุม อยากให้ระบบดกี ว่าน้ี การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

2. หากผู้บริหาร เจา้ หน้าท่ี และแกนนำท่ีเก่ียวขอ้ งในตำบลมคี วามรูแ้ ละเข้าใจนโยบาย มาตรการ และ แนวทางสนับสนุนศูนย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็กในตำบล ก็จะสามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ถ้ากำหนดขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน จะทำให้การทำงานของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ แกนนำ และ คณะกรรมการศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กตำบล สามารถเข้าไปให้ความช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ได้โดยตรง เตม็ ทไ่ี ด้รวดเรว็ ทันตอ่ เหตกุ ารณ์ 3. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ มีชุดองค์ความรู้ เกี่ยวกับระบบการคุม้ ครองเดก็ ในพื้นที่ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดำเนินการคุ้มครองเด็กหรือช่วยเหลือเด็กใน พื้นที่ ก็จะมีส่วนร่วมในการสรรหา Case และร่วมขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ พบว่าสมมตฐาน ข้อ 1 แล 2 ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ แกนนำ คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ระดับตำบล ยังขาดความรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการคุ้มครองเด็ก และอยากเขา้ อบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพใน ทุกด้าน เช่น ด้านกฎหมาย ด้านการประสานส่งต่อ ด้านเกี่ยวกับการดูแลเด็กไร้ที่พึ่ง ด้านการคัดกรองเดก็ ด้านการศึกษา ด้านการฝึกอาชีพ ด้านเกี่ยวกับการดูแลเด็กไร้ที่พึง่ ด้านยาเสพตดิ ด้านสิทธิเด็ก ด้านการดูแล สุขภาพจิตใจเด็ก ด้านการเรยี นรู้ในการดำรงชีวิต ดา้ นการกระทำความรุนแรง ด้านการกล้าแสดงออกของเด็ก แต่ละคนเพื่อเน้นหาพรสวรรค์ในตัวบุคคล เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ในระดับเจ้าหน้าท่ี เกยี่ วกบั การสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิการสงั คม อยากให้หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องช่วยเหลือเด็กท่ียากจนและ สภาพความเป็นอยู่ลำบากและปัญหายาเสพติดในตำบล / ให้จังหวัดลงพื้นที่ด้วยตัวเองจะได้ทราบถึงปัญหา ของพืน้ ท่ี / ใหท้ อ้ งถ่นิ หรอื ชุมชนมีสว่ นร่วมมากทีส่ ุด 4. ถ้า อปท. มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ได้รับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) และปรับปรงุ ข้อมูล Case ให้เป็นปัจจบุ ัน ก็จะทำให้การดำเนินงานของศนู ย์ชุมชนคุม้ ครองเด็กในตำบลดำเนนิ งานได้อยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง พบว่า ขาดแคลนบคุ ลากรในการทำงาน ระบบฐานขอ้ มูลควรจะมกี ารอบรมก่อนนำมาใช้งาน อยากใหล้ ดขน้ั ตอนในกระบวนการคุ้มครองเดก็ แบบฟอร์มมีความเข้าใจงา่ ยขนึ้ 5. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สร้างการมีส่วนร่วม และวางแผนให้ความช่วยเหลือ รายบุคคล / รายกิจกรรม ชัดเจน อปท. ก็จะผลักดนั ให้ตราข้อบัญญัติ สนับสนุนงบประมาณเพือ่ สนบั สนุนให้ การคุ้มครองเด็กเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ พบว่า ต้องการผลักดันตราข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติ บรรจุเป็น แผนงาน กิจกรรมโครงการเพื่อสามารถใช้งบประมาณได้ เพื่อที่จะทำให้การช่วยเหลือเด็กในพื้นที่มีความ รวดเร็ว ช่วยเหลอื ได้โดยตรง และเต็มที่ / มีส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ นในการดำเนนิ งานใหค้ วามชว่ ยเหลืออย่าง เข้าใจและมีแผนงานที่ชดั เจน /ให้มีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาเด็กในพ้ืนที่ / อปท.อยู่ใกล้ชิดประชาชน มากท่ีสุด / อยากใหข้ ับเคล่อื นแบบจริงจัง การพฒั นางานประจำส่งู านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

บทสรปุ ผู้บริหาร สว่ นที่ 1 บทนำ ตามพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 24 กำหนดใหป้ ลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็กที่อยู่ในพื้นท่ีเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ เป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพตาม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 จึงจำเป็นตอ้ งมกี ารจดั ตง้ั ศนู ยช์ มุ ชนค้มุ ครองเด็กในตำบล โดยใหท้ ุกภาคส่วนในพ้ืนท่ี ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน ผลักดันให้เกิดกลไกการดำเนินงานการคุ้มครองเด็กใน ชุมชนเพื่อใหก้ ารช่วยเหลือเด็กที่อยูใ่ นภาวะเส่ียง หรือตกเป็นเหยือ่ ของการใช้ความรุนแรง การกระทำมิชอบ การแสวงหาประโยชน์ การละเลย ทอดทิ้งเด็ก ให้เด็กเล่านี้ได้อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ปลอดภัย สามารถ ดำรงชีวติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างปกตสิ ุข เพือ่ เปน็ การสรา้ งระบบคุม้ ครองเดก็ ในระดบั ชุมชน หรอื การสรา้ งเครอื ขา่ ยค้มุ ครองเดก็ ในระดับตำบล จงึ เป็นยทุ ธศาสตร์สำคัญของกรมกิจการเดก็ และเยาวชน ในการมงุ่ ส่งเสรมิ และผลกั ดันให้องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นในระดบั ตำบล มบี ทบาทการทำงานดา้ นการปกปอ้ งคมุ้ ครองเดก็ อย่างเขม้ แข็งและครบวงจร โดยเฉพาะ ในระดบั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลและเทศบาล เพอื่ การพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบลให้สามารถทำ หน้าที่คุ้มครองเด็ก คล้ายคลึงกับคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดด้วยการริเริ่มการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือในระดบั ตำบล เพอื่ นำรอ่ งการปกป้องคุ้มครองเด็กร่วมกับภาคีในระดบั ชุมชน อาทิ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล (รพ.สต.) อาสาสมัครในชุมชน กำนนั ผู้ใหญ่บ้าน ครู ผู้นำศาสนา มุ่งสร้างระบบและกลไกคุ้มครองเด็กในระดบั ชุมชนใหเ้ ป็นผลสำเรจ็ แล้ว ยังจำเป็นต้องคน้ หารูปแบบ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนคุ้มครองเดก็ เพื่อแสวงหาปัจจัยการสร้างระบบและกลไกการคุ้มครอง เดก็ ในระดับชุมชนท่มี ีประสิทธิภาพ โดยวิเคราะห์ กระบวนงาน แนวทาง และวิธกี ารดำเนนิ การของระบบและ กลไกการคุ้มครองเด็กในแต่ละพืน้ ท่ีนำร่อง เพื่อเป็นเครื่องมอื ในการสร้างระบบและกลไกการคุ้มครองเด็กใน ระดบั ตำบลในพนื้ ท่อี ื่น ๆ ใหส้ ามารถดำเนินการไดอ้ ย่างเขม้ แข็งและมคี วามย่ังยนื คณะกรรมการคุ้มครองเด็กในพื้นท่ี ประกอบด้วยผบู้ ริหารท้องถ่ิน เจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยงานรัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ อยู่อาศัยในเขตพื้นที่ อำนาจหน้าที่คณะกรรมการคุม้ ครองเด็กพื้นที่ จัดทำแผน งบประมาณในการคุ้มครอง เด็ก จัดระบบฐานข้อมูลพนักงานคุ้มครองเด็ก ส่งเสริมใหม้ พี นักงานคุ้มครองเด็กในองค์กรบริหารส่วนท้องถิน่ จัดให้มีครอบครัวทดแทน กำกับดูแลการทำงานของพนักงานคุ้มครองเด็กในพื้นที่ และรายงานประจำปี เกี่ยวกับสถานการณ์ดา้ นเดก็ และครอบครัวในเขตพื้นที่เสนอต่อคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ จังหวดั มหาสารคาม คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 1 สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการ ผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ ผทู้ รงคุณวฒุ ิซง่ึ ผู้วา่ ราชการจังหวัดแตง่ ตั้งไม่เกนิ สามคน เป็นอนุกรรมการ และใหพ้ ัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษยจ์ งั หวดั เป็นอนกุ รรมการและเลขานุการ การคมุ้ ครองเด็ก หมายความว่า การจัดใหเ้ ด็กอยใู่ นสภาพแวดล้อมทางสังคมไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา หรอื สถานที่อืน่ ใดที่เด็กต้องพ่งึ พาอาศยั และเปน็ สมาชิกผ้หู น่ึง โดยต้องให้การอปุ การะเลี้ยง ดูและพัฒนาเดก็ มใิ ห้ตกอยใู่ นภาวะอนั น่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกาย จติ ใจหรือพัฒนาการ รวมทง้ั พฒั นาเด็กให้ มพี ฤติกรรมทีด่ ีทสี่ ามารถแสดงบทบาทหนา้ ที่ของตนไดอ้ ย่างเหมาะสม กระบวนการคุ้มครองเด็ก • หนา้ ทผ่ี ู้พบเห็นแจ้ง/ผปู้ ระกอบวิชาชีพรายงาน ตอ่ พนกั งานค้มุ ครองเดก็ หรือผูม้ ีหน้าท่ีคุ้มครองเด็ก • ใหอ้ ำนาจพนักงานคุ้มครองเดก็ เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่เกดิ เหตุ เพือ่ สืบเสาะพินจิ หา วิธกี ารคุ้มครองเด็กทเ่ี หมาะสม แยกตัวเดก็ จากครอบครวั โดยอาจสง่ ตัวเด็กไปอาศัยอยู่กับ ครอบครัวทดแทน หรอื สถานดแู ลเดก็ ต่างๆ • การสง่ ตัวเด็กไปอยู่กับครอบครัวทดแทนหรอื สถานดูแลเด็กต่างๆ ระหว่างการสบื เสาะและ พินิจทำไดไ้ มเ่ กิน 7 วนั ขยายเวลารวมแลว้ ไม่เกนิ 30 วัน • ห้ามผปู้ กครองเข้าไปในสถานที่ตา่ งๆ หรือเขา้ ใกลเ้ ด็ก ฝ่าฝนื ยืน่ คำรอ้ งต่อศาลเพือ่ มากกั ขัง • จัดใหต้ รวจรักษาทางรา่ งกายและจิตใจแก่เดก็ และดำเนินการพิสจู น์ทราบ • กำหนดแผนบำบัดฟื้นฟูปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทำผิด ยื่นต่อพนักงานสอบสวน/ อัยการประกอบคำฟอ้ ง • กรณีเหน็ สมควรให้เดก็ อยู่ร่วมกบั ผู้ปกครอง ใหว้ างข้อกำหนดรว่ มกับผู้ปกครอง • กำหนดวิธีการคุ้มครองเด็ก พนักงานคุ้มครองเด็ก/อัยการ ยื่นคำร้องขอต่อศาลเพื่อออก คำส่ังค้มุ ครองเด็ก • ถา้ ทำบนั ทึกขอ้ ตกลงวธิ กี ารคุ้มครองเดก็ ไดไ้ มต่ ้องย่ืนคำรอ้ งต่อศาล • พนักงานคมุ้ ครองเด็กเตรียมความพร้อมและติดตามชว่ ยเหลือ • กรณีเด็กไมม่ ผี ู้ปกครอง/ไม่สามารถอปุ การะเลย้ี งดูได้ พนกั งานคมุ้ ครองเดก็ สง่ เด็กเขา้ รับ • การอุปการะเลี้ยงดูในครอบครัวทดแทนหรือส่งสถานต่างๆ โดยเสนอศาลอนุญาตพร้อม แผนบำบัดฟืน้ ฟูสขุ ภาพ พฒั นาการและพฤติกรรมของเด็ก โดยมีมาตรฐานกระบวนงาน การพฒั นางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 2 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเป็นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งสมัชชาใหญ่ องค์การสหประชาชาติ ได้ลงมติที่จะกำหนดหลักกฎหมายเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เพื่อให้เด็กของโลกได้ เติบโตอย่างมีความสุข โดยปัจจุบันประเทศไทยได้ลงนามรับรองอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กซึ่งมีข้อกฎหมาย จำนวนทัง้ สน้ิ 54 มาตรา โดย 40 มาตราแรก มสี าระสำคญั เกี่ยวกบั สทิ ธิพนื้ ฐานเดก็ 4 ประการ คือ 1. สิทธิท่ีจะมชี วี ิตรอดหรอื การดำรงชวี ิต ครอบคลมุ สทิ ธใิ นการมีชีวิตและสทิ ธทิ ่ีจะได้รับการดูแลทาง สุขภาพอนามัยตามมาตรฐานสูงสุด เช่น โภชนาการ ความรัก ความอบอุ่น การดูแล เอาใจใส่จากครอบครัว สงั คม บรกิ ารด้านสขุ ภาพ ทักษะชวี ิตทถี่ ูกตอ้ ง 2. สทิ ธทิ ี่จะไดร้ บั การปกป้องค้มุ ครอง หมายถึง สทิ ธทิ ่ีจะไดร้ ับการปกป้องจากการล่วงละเมิดการทำ รา้ ย การทอดท้ิง เดก็ ไม่มีครอบครวั กำพรา้ อพยพ การถูกเลอื กปฏิบตั ิ การกลัน่ แกล้ง รังแก ความเป็นส่วนตัว เด็กพิการ ชื่อและสญั ชาติ แรงงานเด็ก การซอ้ื ขาย การเคล่อื นย้ายและการลักพาตัว การเอารดั เอาเปรียบเดก็ 3. สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา หมายถึง สิทธิที่จะได้เล่น พักผ่อน ได้รับการศึกษาทั้งในระบบและนอก ระบบโรงเรียน ท่ีเหมาะสมกับรา่ งกาย สติปัญญา จติ ใจ ศีลธรรม และสังคม เชน่ การไดร้ บั ข่าวสาร การพฒั นา สขุ ภาพรา่ งกาย สทิ ธทิ ่จี ะมีผรู้ ับฟงั 4. สิทธิที่จะมีส่วนร่วม หมายถึง สิทธิในการแสดงความคิดเห็นในทุกเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็ก การเปิดโอกาสให้เด็กมีบทบาทในชุมชน การแสดงทศั นะของเดก็ ตลอดจนเสรภี าพในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร อนสุ ัญญาวา่ ด้วยสทิ ธเิ ด็ก สถานการณ/์ ปัญหา ในงานประจำของบ้านพกั เดก็ และครอบครวั จังหวัดมหาสารคาม พบว่า 1) ข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนทั้งระบบ (ของจังหวัด) และ อปท. ยังไม่เป็นปัจจุบัน ยังขาด กระบวนการมสี ่วนรว่ มอย่างจรงิ จงั ซ่ึง อปท. ท้งั หมด 142 แห่ง ได้จัดตั้งศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็ก ตำบล 12 แห่ง (ปี 2561-2563) 2) ผู้บริหาร อปท. แกนนำ และเจ้าหน้าที่ของ อปท. ที่เกี่ยวข้อง ยังไม่เข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บทบาทและภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็กในพื้นที่ การผลักดันนโยบายคุ้มครองเด็กสู่ อปท. / การตราขอ้ บัญญัติ เปน็ เรื่องยุ่งยาก ไมม่ ีงบประมาณขบั เคล่ือนต่อเน่ือง 3) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทุกพ้ืนท่ี แต่ขาดกระบวนการพัฒนาศักยภาพและขับเคล่ือนของศูนย์ ชุมชนคมุ้ ครองเดก็ ระดับตำบลอย่างต่อเน่ือง รวมทัง้ ขาดการถอดบทเรยี นตำบลคุ้มครองเด็ก 12 พนื้ ที่เปา้ หมาย เพอ่ื เสริมพลังในการขบั เคลือ่ น การพฒั นางานประจำสูง่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 3 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

สมมติฐานในการวิจัย 1. ถา้ จังหวัดมรี ะบบฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทกุ กล่มุ และกลไกขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครองเด็ก ที่ชัดเจน จะทำให้ชุมชนท้องถ่นิ อยากเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพัฒนาศนู ย์ชมุ ชนคมุ้ ครองเดก็ ในตำบล 2. หากผูบ้ รหิ าร เจ้าหน้าท่ี และแกนนำทเ่ี กี่ยวขอ้ งในตำบลมคี วามรแู้ ละเข้าใจนโยบาย มาตรการ และ แนวทางสนบั สนุนศนู ยช์ ุมชนคุ้มครองเด็กในตำบล กจ็ ะสามารถขับเคลือ่ นงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ มีชุดองค์ความรู้ เกี่ยวกับระบบการคุม้ ครองเด็กในพื้นที่ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดำเนินการคุ้มครองเด็กหรือช่วยเหลือเด็กใน พื้นที่ ก็จะมีส่วนร่วมในการสรรหา Case และร่วมขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 4. ถ้า อปท. มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ได้รับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST/CPIS ) และปรับปรุง ข้อมูล Case ให้เป็นปัจจุบัน ก็จะทำให้การดำเนนิ งานของศูนยช์ ุมชนคุ้มครองเดก็ ในตำบลดำเนินงานได้อยา่ ง ต่อเนอื่ ง 5. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สร้างการมีส่วนร่วม และ วางแผนให้ความช่วยเหลือ รายบุคคล / รายกิจกรรม ชัดเจน อปท. ก็จะผลักดันให้ตราข้อบัญญตั ิ สนับสนุนงบประมาณเพ่ือสนับสนุนให้ การคุ้มครองเดก็ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ พื้นท่ี / กลุม่ เป้าหมาย / กลุ่มตวั อยา่ ง • พื้นทใี่ นการศึกษาวจิ ยั คือ ภาพรวมสถานการณ์ขอ้ มลู เดก็ และเยาวชนทงั้ จังหวดั โดยใช้กลมุ่ ตัวอย่างของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม ในการให้ข้อมูล รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน • คณะกรรมการศนู ย์ชุมชนคมุ้ ครองเด็กระดบั ตำบล 12 พื้นทนี่ ำรอ่ ง เชน่ จนท. อปท. ตวั แทน สภาเด็กและเยาวชน แกนนำชุมชน อาสาสมัคร และ ประชาชนทวั่ ไป จำนวนพ้ืนที่ละ 1 คน รวม 12 คน • ผู้แทนหน่วยงาน One home จำนวน 5 คน รวมกลุม่ ตัวอย่าง 32 คน การพัฒนางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 4 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ระเบยี บวิธีวิจยั / การออกแบบวิจัย การพัฒนารปู แบบการคมุ้ ครองเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชมุ ชนท้องถน่ิ ในคร้งั น้ี การออกแบบวจิ ัย คือ • การออกแบบเครื่องมือ / แบบสอบถาม 2 ชุด เพื่อสอบถามคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็ก จังหวัดมหาสารคามทุกคน และสอบถาม 12 พื้นที่นำร่อง เช่น จนท. อปท.ตัวแทนสภาเดก็ และเยาวชน แกนนำชุมชน อาสาสมัคร และ ประชาชนทวั่ ไป • ประสานงานและการถอดบทเรียน 12 พนื้ ท่นี ำรอ่ ง โดย อปท. สนบั สนนุ การจดั ตงั้ ศนู ย์ชมุ ชน คุ้มครองเดก็ ระดบั ตำบล เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวิจยั • แบบสอบถาม 2 ชุด คอื เพื่อสอบถามคณะอนุกรรมการคุ้มครองเดก็ จังหวัดมหาสารคามทกุ คน และสอบถาม 12 พืน้ ท่นี ำรอ่ ง • การประชมุ สนทนากลุม่ 12 พ้นื ท่ีนำรอ่ ง ขั้นตอน/กระบวนการจัดตั้งและขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล (โครงการ เสรมิ สรา้ งศักยภาพเครอื ข่ายในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน) 1. บ้านพักเด็กและครอบครัว ดำเนินการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (พื้นที่ใหม่) เพื่อ ดำเนนิ การโครงการสร้างเครือขา่ ยคุ้มครองเดก็ ในระดบั ตำบล (ศนู ย์ชมุ ชนคุม้ ครองเด็กในระดับตำบล) 2. แต่งต้งั คณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดบั ตำบล บ้านพักเด็กและครอบครัว จัดให้มีการดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล โดยผู้บริหารจงั หวดั หรอื ผู้บรหิ ารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เป็นผ้ลู งนามในคำสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการฯ 3. พัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดบั ตำบล การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ มุ่งเป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบล ประกอบดว้ ย ข้ันตอนที่สำคัญ คอื การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 5 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

4. จัดเก็บขอ้ มูล โดยใช้แบบคัดกรองตามมาตรฐานการเล้ียงดูเดก็ ข้ันตำ่ (Child maltreatment surveillance tool: CMST) และกำหนดแผนการใหค้ วามชว่ ยเหลือรายกรณี ประสานสง่ ตอ่ ติดตาม และทบทวนแผนการให้ความชว่ ยเหลอื 5. การจดั ทำฐานข้อมูลเดก็ ระดับตำบล ขอ้ มูลเหล่านี้ จะถกู ส่งต่อให้กับคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล เพ่ือให้มีการวางแผนให้ความ ช่วยเหลือและดำเนินการช่วยเหลอื ตอ่ ไป โดยเฉพาะในกรณีเด็กท่ีมีความเสี่ยงสูงนัน้ จำเป็นต้องได้รับการดแู ล ช่วยเหลืออยา่ งเรง่ ด่วนโดยไมช่ ักช้า การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 6 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

สว่ นท่ี 2 กระบวนการวจิ ัย ในกระบวนการวิจัย ทมี one home จงั หวัดมหาสาคาม ไดก้ ำหนดให้ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดมหาสารคามเป็นกลไก หรอื เจ้าภาพหลกั ในการดำเนินการวจิ ัย โดยมพี นื้ ทีท่ ำงานศนู ย์คมุ้ ครองเดก็ ใน ชุมชนที่ อปท. ให้การสนบั สนนุ 12 แหง่ และการทำงานใกลช้ ิดกับคณะอนกุ รรมการค้มุ ครองเด็กระดับ จังหวัด มีการกำหนดกระบวนการวจิ ัยไว้ 6 ขน้ั ตอน คอื 1. การเตรียมความพร้อมของทีม 2. การวางแผนการวิจยั ( 11 ข้ันตอนย่อย ) 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู (การสงั เคราะหข์ อ้ มลู มือสอง / แบบสอบถาม ) 3.1) การสง่ แบบสอบถาม 2 ชุดไปที่ คณะอนุกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดบั จงั หวัด และพ้ืนที่นำรอ่ ง 12 อปท. ( ตัวแทน อปท. และชุมชน 35 คน ) 3.2) การสรปุ และสงั เคราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถาม 2 ชุด – ส่วนใหญเ่ ปน็ หน้าท่ี บพด. 4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ( สรปุ ร่วมกนั ในทมี One home ) – ปรึกษาเป็นการภายใน 5. การสนทนากลมุ่ ( สะทอ้ นข้อมลู / คืนขอ้ มูล / ตรวจสอบร่างผลการวจิ ยั ) - ไมไ่ ดด้ ำเนินการ ( เน่ืองจากสถานการณ์โรคระบาดโควดิ – 19 จึงไมไ่ ดจ้ ัดสนทนากลุ่ม / และคืนขอ้ มูล ) 6. การเขยี นรายงานการวจิ ยั การพฒั นางานประจำส่งู านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 7 สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

ส่วนท่ี 3 บทสรุป 3.1 ข้อคน้ พบจากการวจิ ัย 1. แนวปฏิบัติในการชีแ้ จงทำความเข้าใจแก่องคก์ รภาคีในพื้นที่เปา้ หมาย มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับ การคัดเลือกผู้ประสานงานระดับจังหวัด ซึ่งต้องมีคุณสมบัติที่เอื้อต่อกระบวนการทำงาน มีความเป็นผู้นำ มีความน่าเชื่อถือ สามารถทำหน้าที่ ให้คำแนะนำให้คำปรึกษาทางเลือก เพื่อชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อน จุดแข็งของ ทางเลือกต่าง ๆ ในการขับเคล่อื นกจิ กรรมใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย 2. แนวปฏิบัตใิ นการจัดกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดับตำบล เนน้ สร้าง ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับการทำงานคมุ้ ครองเด็กในชุมชนให้กับคณะทำงานพัฒนาและคุ้มครองเด็กในชุมชน ท้งั ความรใู้ นเชิงวชิ าการ และทกั ษะตา่ ง ๆ ท่ีจำเปน็ สำหรับผูป้ ฏิบตั งิ านค้มุ ครองเดก็ 3. แนวปฏบิ ตั ใิ นการจดั กิจกรรมการบรกิ ารสำหรบั เด็กในพ้ืนที่ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล เป็นผู้มีบทบาทหลักในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยมีผู้ประสานงานพื้นที่ทำหน้ าที่ประสานงาน ให้คำปรึกษาแนะนำ เปน็ พี่เลยี้ งเพ่อื ออกแบบกจิ กรรมใหม้ คี วามสอดคล้องและสนองตอบตอ่ สถานการณ์ปัญหา ด้านเดก็ ในพื้นท่ีซ่งึ แตกต่างกันออกไป 4. แนวปฏบิ ัติในการจดั กจิ กรรมระดมทรัพยากรและผลกั ดนั เข้าสู่แผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ ผลลัพธ์ คือการ จัดกิจกรรมการระดมทรพั ยากร และผลกั ดันเขา้ สู่แผนพัฒนาท้องถ่ินมีความคาดหวังตอ่ ผลลัพธ์(Output) ที่ได้ จากการทำกิจกรรมหลายประการดว้ ยกนั ได้แก่ (1) แหล่งทุนหรือช่องทางในการแสวงหาทรัพยากร ซึ่งประกอบด้วย แหล่งทุนภายในพื้นที่ชุมชน ได้แก่ งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกองทุนต่าง ๆ ของชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน เครือข่าย อาสาสมัคร อาคารสถานท่ีของหน่วยงานภายในชมุ ชน เป็นต้น และแหล่งทนุ ภายนอก และแหล่งทุนภายนอก ระดับจังหวัด ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพื้นที่องค์กรภาคประชาสังคม ต่าง ๆ ส่วนราชการในพื้นที่ส่วนระดับชาติ ได้แก่ กรมกิจการเด็กและเยาวชน สำนักงานปลัดกระทรวงการ พัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ (2) ลกั ษณะของทรพั ยากรท่ีจะนำมาใช้ในการขับเคล่ือนกิจกรรมตอ่ ไป ซง่ึ คณะทำงานสามารถเลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งในและนอกชุมชนได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ 1) ทรัพยากรมนุษย์หรือตัวบุคคล 2) ทรัพยากรในรูปแบบสถานที่ทำกิจกรรม 3) ทรัพยากรในรูปแบบสภาพแวดล้อมธรรมชาติหรือชุมชน 4) ทรัพยากรองค์ความรู้ ซึ่งอาจปรากฏอยู่ ในสื่อสารสนเทศหนังสือ เอกสาร หรือบุคคล หากคณะทำงานนำ ทรัพยากรที่ไมใ่ ช่ตัวเงิน นี้มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถช่วยประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายทรพั ยากรใน รูปแบบตัวเงินและเสริมสร้างสำนึกที่ดีและเป็นการแสดงน้ำใจ ความเสียสละ และการร่วมไม้ร่วมมือของ คณะทำงาน เครอื ข่าย และสมาชกิ ในชมุ ชน การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 8 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

5. แนวปฏิบัติรูปแบบการเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชนคุ้มครองเด็ก ระบบการเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชมุ ชนคุ้มครองเดก็ ประกอบด้วย กลไกการประสานความรว่ มมือในแนวระนาบระหว่างตัวแสดง ที่เกี่ยวข้องใน 3 ระดับ ได้แก่ กลไกการประสานความรว่ มมือในระดับตำบล กลไกการประสานความร่วมมือ ในระดบั จังหวัด และกลไกการประสานความร่วมมือในส่วนกลาง 3.2 ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามคณะอนกุ รรมการคุ้มครองเดก็ ฯ และตวั แทนหนว่ ยงาน one home ผลจาการทำแบบสอบถาม คณะอนกุ รรมการจงั หวัดและหน่วยงาน One Home • คณะอนุกรรมการ ได้รับรู้ รับทราบในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของการจัดตั้ง “ศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล” และมีส่วนร่วมในการวางแผนในการให้ความ ช่วยเหลือเด็กทีป่ ระสบปัญหาทางสังคม และเสนอแนะประเมินผลเกี่ยวกับการคุ้มครองเดก็ และไดร้ บั ทราบระบบสารสนเทศเพ่อื การคุ้มครองเด็ก (CPIS) ระบบรับแจง้ เหตุ และระบบ คดั กรองเพือ่ สนับสนุนการเล้ียงดูเดก็ ตามมาตรฐานขน้ั ตำ่ ในตำบล (CMST) ของกรมกิจการ เด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ • ระบบฐานข้อมูลจังหวัดมี แต่ยังไม่ครอบคลุมด้านเด็กกลุ่มเสี่ยงทกุ สังกดั และไม่บูรณาการ ความร่วมมือของแตล่ ะสังกัด • คณะอนุกรรมการคุม้ ครองเดก็ ระดับจังหวัด ควรมีแผนงานและครอบคลุมทุกสังกัดดา้ นการ พัฒนาเด็ก เช่น สังกัดสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน สพฐ. อปท. สามารถระบุเป้าหมายการ พัฒนาและการคุ้มครองเดก็ ท่ีชัดเจนร่วมกนั • อยากเห็นระบบการรายงานภาพรวมทุกมติ ิดา้ นเด็กอย่างเปน็ ระบบ ตงั้ แตเ่ ดก็ แรกเกดิ -18 ปี ท่เี ป็นระบบ อปท. มสี ว่ นรว่ ม และ ต่อเนือ่ ง • อยากให้ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และแกนนำได้รับการพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับระบบคุ้มครอง เด็ก /การประเมินสภาวะเด็กรอบดา้ น / การประสานส่งต่อ • ต้องการให้สนับสนุนงบประมาณด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ โดยเฉพาะเด็กอย่างชัดเจน โดยบรรจุลงในขอ้ เทศบัญญัติมีการพัฒนาเดก็ ทุกคน โดยวางแผนการพัฒนาเปน็ รายบุคคล มีการติดตามสง่ เสริมเด็กและครอบครวั จนเด็กอายุ 18 ปี และรายงานผลการพัฒนาส่งเสริม มาให้พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ได้ติดตามกำกบั ผลสัมฤทธ์ิ ของแต่ละ พื้นท่เี พ่ือให้ไดม้ าตรฐานเดียวกัน การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 9 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

3.3 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามจากตวั แทนพนื้ ทีน่ ำรอ่ ง 12 อปท. ผลจากการสอบถามตวั แทน 35 คน สำหรบั คณะกรรมการศนู ย์ชุมชนคมุ้ ครองเดก็ 12 พนื้ ท่ีนำรอ่ ง • สว่ นใหญ่เปน็ เจ้าหน้าทอ่ี งค์การบริหารส่วนตำบล ฝา่ ยกองสวสั ดกิ ารสงั คมซงึ่ ปฏบิ ตั งิ าน หนา้ ทีใ่ นการช่วยเหลอื หรอื คุ้มครองสวัสดภิ าพเดก็ ที่ประสบปัญหาทางสงั คมในพน้ื ท่ี เดก็ ถกู ทอดทงิ้ เด็กถกู กระทำความรุนแรงในครอบครัวอยูแ่ ล้ว • จังหวดั ยงั ไม่มรี ะบบฐานข้อมูลเดก็ และเยาวชน ซ่ึงปัจจุบนั ฐานขอ้ มูลจะอยูก่ ับหน่วยงานตน้ เรือ่ งท่ที ำงานเกี่ยวกบั เด็กและเยาวชน ยังไมค่ รอบคลุม ยังไม่เป็นระบบท่สี มบูรณ์ /หรอื มีแต่ ยงั ไม่ทุกกลมุ่ /เยาวชนยังไม่ให้ความร่วมมือเตม็ ที่ • อยากใหจ้ ดั ทำระบบฐานขอ้ มูลดา้ นเดก็ และเยาวชน เชอื่ มโยงทกุ ระดบั และสามารถดงึ ขอ้ มูล มาใช้ประโยชนไ์ ด้ • เสริมสรา้ งองคค์ วามรู้ให้กับเจ้าหน้าทใ่ี นระดับเจ้าหน้าที่เกย่ี วกบั การสงเคราะหแ์ ละคมุ้ ครอง สวสั ดกิ ารสงั คม • ขาดแคลนบุคลากรในการทำงาน • อยากใหล้ ดข้ันตอนในกระบวนการค้มุ ครองเด็ก แบบฟอร์มมีความเขา้ ใจงา่ ย • ระบบฐานขอ้ มลู ควรจะมีการอบรมก่อนนำมาใช้งาน • สนับสนุนงบประมาณในการดำเนนิ การใหก้ ับ อปท. • สรา้ งเครอื ขา่ ย และสนบั สนนุ ทรพั ยากร / กระบวนการชว่ ยเหลือค้มุ ครองเดก็ ให้มีความ รวดเร็ว • มคี ณะทำงานที่สามารถเข้าไปใหค้ วามชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เมอ่ื มกี รณีเกิดเหตุข้นึ กบั เดก็ • การมีสว่ นรว่ มและรู้บทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการขับเคล่ือนงาน • อยากให้ลงมาช่วยเหลอื เด็กทีย่ ากจนและสภาพความเป็นอยู่ลำบากและปัญหายาเสพตดิ ในตำบล • อยากให้จังหวัดลงพน้ื ทดี่ ว้ ยตัวเองจะไดท้ ราบถงึ ปัญหาของพน้ื ท่ี • ดแู ลเรื่องยาเสพติด / สนับสนุนอาชีพเสริมให้เด็ก / เด็กยากจน / เดก็ ด้อยโอกาส • ใหท้ ้องถ่นิ หรอื ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มมากที่สุด • อยากให้คุ้มครองและพฒั นาในเร่อื งเดก็ ต้ังครรภ์กอ่ นวยั อนั ควร • อยากใหพ้ ฒั นารปู แบบและกลไกทกุ ประเด็นท่สี ำคัญเกีย่ วกบั เดก็ การพฒั นางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 10 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

• ผู้บริหาร /เจ้าหน้าที่ /แกนนำ ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือยังมีน้อยมากในการขบั เคลื่อน การทำงานคุ้มครองเด็ก และไม่มแี ผนงานทชี่ ดั เจน • อยากใหผ้ ูบ้ รหิ าร เจา้ หน้าที่ และแกนนำอบรมเพอ่ื พัฒนาศักยภาพในทกุ ดา้ น เช่น ด้าน กฎหมาย ดา้ นการประสานสง่ ต่อ ด้านการบริหารทรพั ยากร ดา้ นการคดั กรองเดก็ ด้านการศกึ ษา ดา้ นการฝึกอาชพี ด้านเกี่ยวกบั การดแู ลเดก็ ไรท้ พ่ี งึ่ ดา้ นยาเสพตดิ ด้านสิทธิ เด็กเบือ้ งตน้ ดา้ นการดูแลสขุ ภาพจิตใจ ด้านการเรยี นรู้ในการดำรงชีวิต ด้านการกระทำ ความรุนแรง ดา้ นการกล้าแสดงออกของเดก็ แตล่ ะคนเพ่ือเนน้ หาพรสวรรคใ์ นตัวบคุ คล • เห็นดว้ ย ต้องการผลักดนั ตราขอ้ บัญญัติ/ เทศบญั ญตั บิ รรจุเป็นแผนงาน กจิ กรรมโครงการ เพื่อสามารถใชง้ บประมาณได้ /เห็นด้วย จะทำให้การช่วยเหลอื เดก็ ในพ้นื ที่มีความรวดเร็ว/ จะไดเ้ ข้าทำการชว่ ยเหลือได้โดยตรง และเต็มท่ี / กำหนดขอบเขตการดำเนนิ การท่ีชดั เจน / เด็กจะไดร้ ับงบประมาณโดยตรง / มสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในการดำเนินงานอย่างเข้าใจ และมีแผนงานท่ีชดั เจน /จะได้ทำให้มงี บประมาณสนบั สนนุ การพฒั นาเดก็ ในพืน้ ท่ี / อปท. อยู่ใกล้ชดิ ประชาชนมากที่สดุ / อยากให้ขบั เคลื่อนแบบจริงๆจังๆ / รัฐบาล ต้องมี งบประมาณสนับสนุนให้ดว้ ย • เด็กท่มี ปี ญั หายงั ตอ้ งการหนว่ ยงานท่ีจริงจงั และตอ่ เนือ่ งตอ้ งมีผเู้ สยี สละและเข้าใจในปญั หา นน้ั ๆอย่างแทจ้ ริง • ควรผลกั ดนั ศนู ยค์ ้มุ ครองเดก็ ระดับตำบลให้เป็นรูปธรรมยิง่ ขน้ึ ถ้าได้ครอบคลุมจะดมี าก • บคุ ลากรท่ีดูแลงานดา้ นเดก็ และเยาวชนมีน้อย • ใหด้ แู ลเด็กทย่ี ากไร้ไดท้ ่วั ถึง และเดก็ ทถี่ ูกกระทำความรุนแรง • อยากให้ระบบการดำเนินงานดกี ว่าน้ี 3.4 ผลการจัดเวทปี ระชาคมถอดบทเรยี น 12 พ้ืนท่ีนำร่อง เนอ่ื งจากสถานการณ์ โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID - 19) จงึ ทำให้ไม่สามารถดำเนนิ การ จัดประชุมถอดบทเรยี น ท้งั 12 พน้ื ทนี่ ำรอ่ งได้ 3.5 การทดสอบสมมติฐานในการวิจยั 1.) ถา้ จงั หวัดมีระบบฐานข้อมลู เดก็ และเยาวชนทกุ กล่มุ และกลไกขบั เคลอ่ื นกระบวนการคุ้มครองเด็ก ทชี่ ัดเจน จะทำใหช้ ุมชนท้องถ่ินอยากเข้ามามสี ่วนร่วมในการพัฒนาศนู ย์ชุมชนค้มุ ครองเดก็ ในตำบล การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 11 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

พบว่า ปัจจุบันจังหวัดยังไม่มีระบบฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกกลุ่ม ยังไม่ครอบคลุม ยังไม่เป็น ระบบท่ีสมบรู ณ์ หรอื มแี ตย่ งั ไม่ครอบทุกกล่มุ และเยาวชนยงั ไม่ให้ความร่วมมือเต็มท่ี ซึ่งปัจจุบันฐานข้อมูล จะอยกู่ ับหนว่ ยงานตงั้ ตน้ ของเจ้าของเร่อื งท่รี ับผิดชอบหรือท่ที ำงานเกี่ยวกบั เดก็ และเยาวชนโดยตรง แตถ่ า้ จังหวดั จะทำให้การเชอ่ื มโยงระบบท่เี กย่ี วดับเด็กทกุ ระดับ และมรี ะบบการรายงานภาพรวมทุก มติ ิด้านเด็กและเยาวชน ตง้ั แตเ่ ด็กแรกเกิด - 18 ปี และเยาวชนทกุ กล่มุ จะสามารถดงึ ขอ้ มลู เด็กและเยาวชน มาใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างครอบคลุม อยากให้ระบบดีกวา่ น้ี 2.) หากผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และแกนนำที่เกี่ยวข้องในตำบลมีความรู้และเข้าใจนโยบาย มาตรการ และแนวทางสนบั สนนุ ศูนย์ชุมชนค้มุ ครองเด็กในตำบล ก็จะสามารถขับเคล่ือนงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ พบว่า ถ้ากำหนดขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน จะทำให้การทำงานของผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี แกนนำ และคณะกรรมการศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กตำบล สามารถเข้าไปให้ความช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ได้ โดยตรง เตม็ ท่ี ไดร้ วดเร็ว ทนั ต่อเหตุการณ์ 3.) หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ มีชุดองค์ความ รู้เก่ยี วกับระบบการคุม้ ครองเด็กในพืน้ ที่ รวมท้งั มีสว่ นรว่ มในการดำเนินการคุ้มครองเด็กหรือช่วยเหลือเด็กใน พื้นที่ ก็จะมีส่วนร่วมในการสรรหา Case และร่วมขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ พบว่าสมมตฐาน ข้อ 1 แล 2 ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ แกนนำ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการคุ้มครองเด็ก และอยากเข้าอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพในทุกด้าน เช่น ด้านกฎหมาย ด้านการประสานส่งต่อ ด้านเกี่ยวกับการดูแลเด็กไร้ที่พึ่ง ด้านการคัดกรองเด็ก ด้านการศกึ ษา ด้านการฝึกอาชีพ ด้านเกี่ยวกบั การดูแลเด็กไร้ที่พึ่ง ด้านยาเสพตดิ ด้านสิทธิเด็ก ด้านการดแู ล สุขภาพจิตใจเดก็ ดา้ นการเรียนรู้ในการดำรงชวี ิต ดา้ นการกระทำความรุนแรง ดา้ นการกลา้ แสดงออกของเด็ก แต่ละคนเพื่อเน้นหาพรสวรรค์ในตัวบุคคล เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ในระดับเจ้าหน้าที่ เก่ยี วกบั การสงเคราะหแ์ ละคุ้มครองสวสั ดิการสังคม อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยเหลือเด็กที่ยากจน และสภาพความเป็นอยู่ลำบากและปัญหา ยาเสพติดในตำบล / ให้จังหวัดลงพื้นที่ด้วยตัวเองจะได้ทราบถึงปัญหาของพื้นท่ี / ให้ท้องถิ่นหรือชุมชนมี ส่วนร่วมมากทีส่ ดุ 4.) ถา้ อปท. มเี จ้าหน้าทร่ี บั ผิดชอบ ไดร้ ับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) และปรับปรุง ข้อมูล Case ให้เป็นปัจจุบนั ก็จะทำให้การดำเนินงานของศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลดำเนินงานได้อยา่ ง ต่อเนอ่ื ง การพฒั นางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 12 สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

พบวา่ ขาดแคลนบคุ ลากรในการทำงาน ระบบฐานข้อมูลควรจะมกี ารอบรมก่อนนำมาใชง้ านอยากให้ ลดขนั้ ตอนในกระบวนการคุ้มครองเดก็ แบบฟอรม์ มีความเข้าใจงา่ ยข้นึ 5. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สร้างการมีส่วนร่วม และวางแผนให้ความช่วยเหลือ รายบุคคล / รายกิจกรรม ชัดเจน อปท. ก็จะผลักดันให้ตราข้อบัญญัติ สนับสนุนงบประมาณเพือ่ สนบั สนุนให้ การค้มุ ครองเดก็ เป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ พบว่า ต้องการผลักดันตราข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติ บรรจุเป็นแผนงาน กิจกรรมโครงการเพ่ือ สามารถใชง้ บประมาณได้ เพื่อทีจ่ ะทำให้การช่วยเหลือเด็กในพื้นที่มีความรวดเร็ว ช่วยเหลือได้โดยตรง และ เต็มที่ / มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการดำเนินงานให้ความช่วยเหลืออย่างเข้าใจและมแี ผนงานที่ชัดเจน / ให้มีงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาเดก็ ในพื้นที่ / อปท.อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด / อยากให้ขับเคลื่อน แบบจริงๆจงั ๆ 3.6 การดำเนนิ งานตามตัวแปร การปฏบิ ตั ิของอนุกรรรมการฯ และ 12 อปท. ตัวแปร ปจั จยั มาก ปานกลาง น้อย ไมไ่ ด้ ปฏิบัติ - มกี ารมอบหมายจาก / คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ในการพฒั นาระบบข้อมูล เด็กและเยาวชนกลมุ่ ปกติ (สี เขยี ว) กลุ่มเสีย่ ง หรอื เปราะบาง (สีเหลือง) และ กลมุ่ ทป่ี ระสบปัญหา (สีแดง) / ท่ีชดั เจน / / ตวั แปรตน้ - การสรา้ งความเขา้ ใจ / ผูบ้ รหิ าร เจา้ หน้าที่ และ / แกนนำทเี่ กย่ี วข้องในพน้ื ที่ - การดำเนนิ งานขับเคลือ่ น ศูนยช์ ุมชนคุ้มครองเด็ก ระดบั ตำบล ( ครบ 8 ขัน้ ตอน ) - เจา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ และ คณะทำงาน มกี ารสรรหา 13

ตัวแปร Case เพือ่ ขอรับเงนิ / ควบคุม สนบั สนนุ / - มีเจ้าหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ ได้รับ ตัวแปร การอบรมระบบฐานข้อมลู / ตาม ( CMST / CPIS : Child / Protection Information / System) และ ปรับปรงุ / ขอ้ มลู Case ทกุ กลมุ่ ให้เป็น ปัจจุบนั - มีแผนการให้ความช่วยเหลอื รายบคุ คล / รายกจิ กรรม เชิงปอ้ งกันและพฒั นาตาม ศักยภาพ - การสรุปบทเรียนพนื้ ที่ ต้นแบบทเี่ ปน็ ศนู ยช์ มุ ชน คมุ้ ครองเด็กระดับตำบล 12 ตำบล - เป็นพื้นทด่ี ำเนนิ งานตำบล คมุ้ ครองเด็กในระดบั ตำบล เหมอื นกนั - เป็นพน้ื ท่ีที่มีผู้บรหิ าร บรหิ ารงานตอ่ เน่ืองไมน่ อ้ ย กว่า 4 ปี - มคี ำสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการ ศนู ย์ชุมชนค้มุ ครองเด็ก ตำบล เปน็ ลายลักษณ์อักษร - มรี ะบบฐานข้อมลู เดก็ และ เยาวชนทุกกลุ่มและกลไก ขบั เคลอื่ นกระบวนการ คุ้มครองเด็กที่ชัดเจน - จำนวนคณะกรรมการ คมุ้ ครองเด็กระดับตำบล ที่ ไดร้ บั การอบรมพฒั นา 14

ศกั ยภาพตามเกณฑ์ (ครบ 8 / ข้นั ตอน ) / - จำนวนเจ้าหน้าที่ และ พนักงานทอ้ งถน่ิ รูเ้ ข้าใจ บทบาทในการจดั การ Case ตามมาตรฐานไดเ้ อง - จำนวน อปท. ทม่ี ีการพัฒนา ระบบฐานข้อมลู ( CMST / CPIS ) รว่ มกบั หนว่ ยงานท่ี เกี่ยวข้อง - จำนวนปัญหาในพนื้ ท่ีท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั เด็ก เยาวชน และครอบครัวท่ีลดลง - จำนวน อปท. ท่ีมีการตรา ข้อบัญญตั ิ และพฒั นา รปู แบบกระบวนการจัดการ ปัญหาในพืน้ ทีแ่ บบเบ็ดเสรจ็ รวม - 266 คะแนน หมายเหตุ – ตวั แปรควบคุม บาง อปท. ผบู้ รหิ าร บริหารงานตอ่ เนือ่ งไม่ถงึ 4 ปี สรปุ ระดับการปฏบิ ตั ขิ องศูนย์คุ้มครองเด็กในชมุ ชน ของอปท.12แห่ง อยใู่ นระดบั น้อย – ปานกลาง 3.7 ปัจจัยความสำเร็จ ในการดำเนินงานขบั เคลอื่ นศนู ยช์ ุมชนคมุ้ ครองเด็กในระดบั ตำบล มีความจำเป็นที่หน่วยงาน เจา้ หน้าท่ีทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง พนกั งานเจ้าหนา้ ทต่ี ามกฎหมาย จะตอ้ งมีความรู้ ความเข้าใจ ในเชงิ ของภาพรวมระบบ การคุม้ ครองเด็ก รวมท้ังการจดั การผู้ประสบปัญหาเป็นรายกรณี การพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 15 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

ทั้งนี้ ความสำคัญของการคุ้มครองเด็กอยู่ที่ชุมชน โดยคนทั้งในครอบครัวและภายในชุมชน เองที่จะช่วยเฝ้าระวัง เป็นหูเป็นตา หรือช่วยค้นหากลุ่มเด็กที่อยู่ในสภาวะเสีย่ ง หรือต้องได้รบั การช่วยเหลอื อย่างเร่งด่วน แล้วช่วยกันแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น โดยจะมีหน่วยงานที่อยู่ในพ้ืนที่คือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นซึง่ ได้จดั ตัง้ ในรปู แบบของคณะกรรมการที่เป็นผู้แทนมาจากทุกภาคส่วนในพืน้ ที่ ที่จะเป็นกลไกในการ ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และหาทางออกในการแก้ไขปัญหาร่วมกันจากผู้แทนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะตอ้ งมกี ารเสริมพลงั คณะกรรมการ รวมท้ังเสรมิ สรา้ งศักยภาพใหม้ ีองค์ความรู้ ทกั ษะในการ คุ้มครองเด็กในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของบ้านพักเดก็ และครอบครัวในฐานะท่ีมีบทบาทในการ ช่วยสง่ เสริม สนับสนนุ การขบั เคล่ือนงานของศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบลควรทำงานใกล้ชิดกับศูนย์ ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล รวมทั้งอีกบทบาทภารกิจหนึ่งคือเป็นหน่วยงานในการจัดการปัญหาที่เกิด ขึน้ กับเดก็ ทีต่ กอยใู่ นภาวะเสี่ยงหรอื ให้การช่วยเหลือ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ก็จะต้องดำเนินการ ตามกระบวนงานท่เี ก่ียวข้องให้มปี ระสิทธภิ าพ สอดประสานการทำงานร่วมกบั ศูนยช์ มุ ชนค้มุ ครองเด็กในระดับ ตำบลและชุมชนที่เป็นพื้นที่ที่ประสบปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดให้เกิดกับเด็ก โดยมี ข้ันตอน / กระบวนงาน สามารถดูรายละเอยี ดตามแนวปฏิบตั ิการคัดกรองและชว่ ยเหลือเดก็ และคมุ้ ครองทาง สงั คม ตามแผนภาพที่ 1 การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 16 สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

แบบฟอรม์ สรุปการพัฒนางานวิจัยสงู่ านประจำ ( R2R – Action Plan) ปี 2564 สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดมหาสารคาม ร่วมกบั ทมี One home ช่อื เรอื่ งวจิ ยั การพัฒนารปู แบบการคมุ้ ครองเด็กโดยการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนท้องถิ่น หนว่ ยงานเจ้าภาพ บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดมหาสารคาม ผูป้ ระสานงาน…………………………………………………………เบอร์โทร…………………………………………… สว่ นที่ 1 บทนำ ตามพระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองเดก็ พ.ศ.2546 มาตรา 24 กำหนดใหป้ ลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่นั คงของมนษุ ย์ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั หรอื ผู้บริหารองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ มหี นา้ ท่คี มุ้ ครองสวัสดิภาพเด็ก ที่อยู่ในพืน้ ทีเ่ ขตพ้ืนที่ที่รับผิดชอบ เป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานคุม้ ครองสวัสดิภาพตาม พ.ร.บ.คุ้มครอง เดก็ พ.ศ.2546 จงึ จำเป็นต้องมกี ารจดั ต้ังศนู ย์ชมุ ชนคุ้มครองเด็กในตำบล โดยให้ทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีได้เข้ามา มสี ่วนรว่ มในการคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน ผลักดนั ใหเ้ กิดกลไกการดำเนินงานการคุ้มครองเดก็ ในชุมชนเพื่อให้ การช่วยเหลือเดก็ ทีอ่ ยู่ในภาวะเสี่ยง หรือตกเป็นเหยื่อของการใชค้ วามรุนแรง การกระทำมิชอบ การแสวงหา ประโยชน์ การละเลย ทอดทิ้งเด็ก ให้เด็กเล่านี้ได้อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ปลอดภัย สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อยา่ งปกตสิ ุข ยูนิเซฟ ( Unicef : 2559 ) มุ่งท่ีจะให้ความช่วยเหลือดา้ นเทคนคิ เพอ่ื : - หลักฐานเพื่อใช้ในการผลักดันนโยบายส่งเสริมการปฏิรูปกฎหมายและนโยบาย เพื่อให้สอดคล้องกับ ข้อตกลงในระดับนานาชาติเกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งรวมถึงข้อตกลงของประเทศไทยใน การยกเลิกการลงโทษทางร่างกาย ซึ่งเป็นผลมาจากรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของ ประเทศใน พ.ศ. 2559, อายขุ ัน้ ต่ำของการรับผดิ ทางกฎหมายอาญา ฯลฯ - ตดิ ตามการใช้งบประมาณเพื่อพัฒนาระบบคมุ้ ครองเดก็ พฒั นาโครงสร้างทเ่ี หมาะสมสำหรับเจ้าหน้าท่ี คุ้มครองเด็ก - พัฒนาทักษะของเจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็ก ซึ่งรวมถึง เจ้าหน้าที่สังคมสงเคราะห์, เจ้าหน้าที่พยาบาล, เจ้าหน้าที่กฎหมาย (ตำรวจ, อัยการ และ ผู้พิพากษา) ให้สามารถทำงานได้ทั้งแบบเป็นเอกเทศและ แบบทมี - เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบบริหารจัดการข้อมูลเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการเหตุและ ความสามารถในการวางแผน - ปรับเปลี่ยนความเชือ่ และแนวปฏิบัติทีส่ ่งเสริมการใช้ความรุนแรงตอ่ พวกเด็กๆ ทั้งหญิงและชาย โดย การใช้ต้นแบบของการเลี้ยงลูกเชิงบวกและการสร้างวินับเชิงบวก ผ่านการสื่อสารปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมและสังคม https://www.unicef.org/thailand/th วนั ที่ 27 มนี าคม 2564 การพัฒนางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 17 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

เป้าหมายสำคญั เพ่ือเป็นการสรา้ งระบบคุม้ ครองเด็กในระดับชุมชน หรือการสรา้ งเครอื ข่ายคมุ้ ครองเดก็ ในระดับตำบล จึงเปน็ ยทุ ธศาสตร์สำคัญของกรมกิจการเดก็ และเยาวชน ในการมงุ่ สง่ เสริมและผลักดันให้องคก์ รปกครองส่วน ท้องถ่นิ ในระดับตำบล มบี ทบาทการทำงานดา้ นการปกป้องค้มุ ครองเดก็ อย่างเขม้ แข็งและครบวงจร โดยเฉพาะ ในระดบั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลและเทศบาล เพอ่ื การพฒั นาระบบคมุ้ ครองเดก็ ในระดับตำบลให้สามารถทำ หน้าที่คุ้มครองเด็ก คล้ายคลึงกับคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดด้วยการริเริ่มการสร้างเครือข่ายความ รว่ มมือในระดบั ตำบล เพื่อนำรอ่ งการปกป้องคุม้ ครองเด็กรว่ มกบั ภาคใี นระดับชมุ ชน อาทิ โรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตำบล (รพ.สต.) อาสาสมคั รในชุมชน กำนนั ผูใ้ หญบ่ ้าน ครู ผนู้ ำศาสนา มุ่งสร้างระบบและกลไกคุม้ ครองเด็กในระดบั ชุมชนให้เป็นผลสำเรจ็ แล้ว ยังจำเป็นตอ้ งค้นหารูปแบบ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนคุ้มครองเด็ก เพื่อแสวงหาปัจจัยการสร้างระบบและกลไกการคุ้มครอง เด็กในระดับชุมชนท่ีมีประสิทธิภาพ โดยวิเคราะห์ กระบวนงาน แนวทาง และวธิ ีการดำเนินการของระบบและ กลไกการคุ้มครองเด็กในแต่ละพืน้ ที่นำรอ่ ง เพื่อเป็นเครือ่ งมือในการสร้างระบบและกลไกการคุ้มครองเด็กใน ระดบั ตำบลในพื้นที่อ่ืน ๆ ใหส้ ามารถดำเนนิ การได้อย่างเข้มแขง็ และมคี วามยงั่ ยนื https://www.thailandplus.tv/archives/210120 วนั ท่ี 27 มนี าคม 2564 คณะกรรมการค้มุ ครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม องค์ประกอบคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวดั มหาสารคาม ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธานกรรมการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นรองประธาน กรรมการ อัยการจังหวัด พัฒนาการจังหวัดแรงงานจังหวัด ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา นา ยแพทย์ สาธารณสุขจังหวัด ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ผู้แทนศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด หรือผู้แทนศาล จังหวัด ในกรณีที่จังหวัดนั้นไม่มีศาลเยาวชนและครอบครัว ผู้แทนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัด หรือผู้แทนกระทรวงยุติธรรมซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการในจังหวัดในกรณีที่จังหวัดนั้นไม่มีสถานพินิจ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัด โดยความ เห็นชอบของปลัดกระทรวงแต่งตง้ั จากผู้เช่ียวชาญซึ่งมีประสบการณ์ในการงานท่ีทำในวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ครู จิตวิทยา กฎหมาย แพทย์ วิชาชีพละสองคน โดยจะต้องมีผูแ้ ทนจากภาคเอกชนอย่างนอ้ ยวิชาชพี ละหนงึ่ คน และแตง่ ต้งั จากผูม้ ปี ระสบการณ์ดา้ นสวสั ดิการเดก็ อกี สองคน โดยมพี ัฒนาสงั คมและสวัสดิการจงั หวัด เป็น กรรมการและเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งต้องเป็นสตรีไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ จงั หวดั จะแตง่ ต้ังขา้ ราชการในจงั หวดั น้ันไมเ่ กนิ สองคนเปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานุการกไ็ ด้ การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 18 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

อำนาจหน้าท่ีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม 1. กำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์และแผนงานคุ้มครองเด็ก สนับสนุนงบประมาณ ให้คำปรึกษา แนะนำและประสานงานกบั หน่วยงานของรัฐ องค์บริหารท้องถิ่น เพื่อให้การคุ้มครองเด็กในเขตพื้นที่ กำกับ ดแู ลการทำงานของคณะกรรมการค้มุ ครองเดก็ พ้ืนที่และพนักงานคุม้ ครองเดก็ ในพ้นื ท่ี จดั ใหม้ ีระบบฐานข้อมูล พนักงานคุ้มครองเด็ก ข้อมูลเด็กที่ต้องการรับการคุ้มครองและเชื่อมต่อข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ จดั ทำรายงานประจำปเี กี่ยวกบั สถานการณด์ า้ นเดก็ และครอบครัวในเขตพืน้ ที่เสนอต่อคณะกรรมการ 2. คณะกรรมการคุ้มครองเด็กในพื้นที่ ประกอบด้วยผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ เจา้ หนา้ ท่ีหนว่ ยงานรฐั ผทู้ รงคุณวุฒิ ที่อยอู่ าศัยในเขตพ้นื ที่ อำนาจหนา้ ที่คณะกรรมการคุ้มครองเด็กพืน้ ท่ี จัดทำแผน งบประมาณในการคุ้มครอง เด็ก จัดระบบฐานข้อมูลพนักงานคุ้มครองเด็ก ส่งเสริมให้มีพนักงานคุ้มครองเด็กในองคก์ รบริหารส่วนท้องถ่ิน จัดให้มีครอบครัวทดแทน กำกับดูแลการทำงานของพนักงานคุ้มครองเด็กในพื้นที่ และรายงานประจำปี เกย่ี วกบั สถานการณ์ด้านเด็กและครอบครวั ในเขตพนื้ ที่เสนอตอ่ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม คณะอนุกรรมการบริหารกองทนุ คมุ้ ครองเด็กจังหวดั มหาสารคาม ประกอบดว้ ย ผู้ว่าราชการ จังหวดั หรือผู้ ที่ได้รับมอบหมายจากผ้วู ่าราชการจงั หวัด เปน็ ประธานอนุกรรมการ ผแู้ ทนจากหนว่ ยงานภาครัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดแต่งต้ังไม่เกินสามคน เป็นอนกุ รรมการ และให้พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนษุ ย์ จงั หวัด เปน็ อนกุ รรมการและเลขานุการ พนกั งานคุม้ ครองเดก็ - กรม เขตในกรงุ เทพมหานคร องคก์ รบริหารท้องถ่นิ ตอ้ งจัดให้มีพนกั งานคุ้มครองเดก็ - หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขการแต่งต้งั พนักงานคมุ้ ครองเด็ก - พนักงานฝ่ายปกครองมีหน้าที่คุ้มครองเด็ก ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ/ตรวจสอบสถานต่างๆ รายงานต่อ คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก - พนักงานคุ้มครองเด็ก เป็นผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านการคุ้มครองเด็ก/มีอำนาจหน้าที่ให้ความ ช่วยเหลอื เด็กและครอบครวั ให้ผูป้ กครองสามารถใหก้ ารอปุ การะเลีย้ งดู อบรมส่ังสอน พฒั นาเด็กท่อี ยใู่ นความ ปกครองดแู ล - คุ้มครองพนกั งานคุ้มครองเด็ก ที่กระทำโดยสุจริต ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา เว้นแต่ประมาทเลินเลอ่ ร้ายแรง การพฒั นางนประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 19 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

การคุม้ ครองเดก็ หมายความว่า การจัดให้เด็กอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา หรือสถานท่ีอื่นใดท่ีเด็กต้องพึ่งพาอาศัยและเป็นสมาชิกผู้หนึ่ง โดยต้องให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก มใิ ห้ตกอย่ใู นภาวะอันนา่ จะเกดิ อนั ตรายแกร่ า่ งกาย จติ ใจหรอื พัฒนาการ รวมท้ังพฒั นาเด็กใหม้ ีพฤตกิ รรมท่ีดีที่ สามารถแสดงบทบาทหน้าท่ีของตนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสังคม และความมั่นคงของมนษุ ย์ 2560 , หน้า13) กระบวนการคมุ้ ครองเด็ก - หนา้ ที่ผูพ้ บเห็นแจง้ /ผู้ประกอบวิชาชพี รายงาน ต่อพนกั งานคมุ้ ครองเด็กหรือผมู้ หี น้าท่คี ้มุ ครองเดก็ - ให้อำนาจพนักงานคุ้มครองเด็กเขา้ ไปในเคหสถานหรือสถานที่เกิดเหตุ เพื่อสืบเสาะพินิจ หาวิธีการคุ้มครอง เด็กที่เหมาะสม แยกตัวเด็กจากครอบครัว โดยอาจส่งตัวเด็กไปอาศัยอยู่กับครอบครัวทดแทน หรือสถานดูแล เดก็ ตา่ งๆ - การสง่ ตัวเด็กไปอยกู่ ับครอบครัวทดแทนหรือสถานดแู ลเดก็ ต่างๆ ระหว่างการสืบเสาะและพินจิ ทำไดไ้ มเ่ กนิ 7 วนั ขยายเวลารวมแลว้ ไมเ่ กนิ 30 วัน - ห้ามผู้ปกครองเขา้ ไปในสถานทต่ี า่ งๆ หรอื เขา้ ใกล้เดก็ ฝ่าฝนื ยน่ื คำรอ้ งตอ่ ศาลเพอ่ื มากักขงั - จัดให้ตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจแก่เด็ก และดำเนนิ การพสิ จู นท์ ราบ - กำหนดแผนบำบัดฟื้นฟูปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทำผิด ยื่นต่อพนักงานสอบสวน/อัยการประกอบ คำฟอ้ ง - กรณเี ห็นสมควรใหเ้ ด็กอย่รู ว่ มกับผปู้ กครอง ให้วางขอ้ กำหนดรว่ มกับผู้ปกครอง - กำหนดวธิ ีการคุม้ ครองเดก็ พนกั งานคุ้มครองเด็ก/อัยการ ยน่ื คำร้องขอตอ่ ศาลเพื่อออกคำส่งั คุ้มครองเด็ก - ถ้าทำบนั ทึกข้อตกลงวธิ ีการคุ้มครองเดก็ ไดไ้ ม่ตอ้ งยนื่ คำรอ้ งต่อศาล - พนกั งานค้มุ ครองเดก็ เตรียมความพรอ้ มและติดตามชว่ ยเหลอื - กรณเี ด็กไม่มีผ้ปู กครอง/ไม่สามารถอปุ การะเลย้ี งดูได้ พนักงานคมุ้ ครองเดก็ ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะเล้ียงดู ในครอบครัวทดแทนหรือส่งสถานต่างๆ โดยเสนอศาลอนุญาตพร้อมแผนบำบัดฟื้นฟูสุขภาพ พัฒนาการและ พฤตกิ รรมของเดก็ โดยมีมาตรฐานกระบวนงาน ดงั ภาพ การพัฒนางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 20 สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5) ภาพท่ี 1 แสดงกระบวนงานกรณีเดก็ ถูกลาวงละเมิดทางเพศ

การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 21 สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ภาพท่ี 2 แสดงกระบวนงานเด็ก / ผู้ใหญ่ทถี่ กู ทำรา้ ยด้วยความรนุ แรงในครอบครวั การพฒั นางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 22 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ภาพท่ี 3 แสดงกระบวนงานเดก็ ถูกทารณุ กรรม การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 23 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ภาพท่ี 4 แสดงกระบวนงานผเู้ สยี หายจากกระบวนการค้ามนษุ ย์ การพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 24 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

เด็กทีเ่ สยี่ งต่อการกระทำผดิ - หลักการ เด็กเสี่ยง/เด็กอายุต่ำเกณฑ์รับโทษ/เด็กที่ศาลหรือสถานพินิจส่ง/เด็กเสพสุรา บุหรี่ หรือสาร เสพติด ตอ้ งไดร้ บั การบำบดั ฟืน้ ฟู - วิธีการกำหนดแผนบำบัดฟื้นฟูสุขภาพ พัฒนาการและพฤติกรรมโดยการประชุมปรึกษาหารือร่วมกับ ผู้ปกครอง โรงเรียน สถานศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกีย่ วข้อง ผู้นำชุมชนท้องถิน่ บันทึกข้อตกลงเสนอ ศาลออกคำสั่ง กรณีเด็กอาจไม่ปลอดภัย /เด็กมีแนวโน้มใกล้กระทำผิด ส่งเข้าสถานคุ้มครองสวัสดิภาพ หรือสถานพฒั นาและฟ้นื ฟู ระหวา่ งกำหนดแผน โดยย่นื คำรอ้ งตอ่ ศาลเพอื่ ส่งเข้าสถานตา่ งๆ - แผนบำบัดฟืน้ ฟสู ขุ ภาพ พัฒนาการและพฤติกรรม การคุ้มครองเดก็ ท่เี กดิ โดยอาศัยเทคโนโลยชี ่วยการเจริญพันทางการแพทย์ - พนกั งานคุ้มครองเดก็ หาครอบครัวทดแทน รอ้ งขออำนาจปกครองต่อศาล - ร้องขอให้จ่ายค่าอุปการะเลีย้ งดู คุม้ ครองดแู ลเด็ก ผ้ชู ว่ ยพนักงานคุ้มครองเด็ก - แตง่ ต้งั ผ้ชู ่วยพนักงานคุ้มครองเดก็ จากบคุ คลที่สมัครใจและมีความเหมาะสม - ย่ืนคำขอตอ่ ประธานคณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานคร/จังหวัด - อำนาจหน้าทีผ่ ู้ชว่ ยพนักงานคมุ้ ครองเด็ก สถานรองรับเด็ก - การจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนา และฟ้นื ฟู - กำกบั ดูแลและสง่ เสริมสนบั สนนุ การดำเนินงาน - การแตง่ ต้ังหรือถอดถอนผู้ปกครองสวสั ดภิ าพเด็ก - อำนาจหน้าท่ีของผู้ปกครองสวสั ดิภาพเด็ก กองทุนส่งเสริมการคุ้มครองเดก็ - กองทนุ ส่งเสรมิ การคุ้มครองเด็ก * คณะกรรมการบริหารกองทนุ - กองทนุ ส่งเสรมิ การคมุ้ ครองเดก็ จงั หวัด * ที่มาเงนิ กองทนุ * คณะกรรมการบรหิ ารกองทุน - คณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล - ศาลสง่ั ใหก้ องทนุ จ่ายเงินตามวิธีการท่ีพนักงานคุ้มครองเด็กร้องขอ การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 25 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5) โรงเรยี นและสถานศึกษา

- หนา้ ทโี่ รงเรียนและสถานศึกษา คดั กรองเด็กนักเรียน/นกั ศึกษา ช่วยเหลอื เบอ้ื งต้นและแจง้ พนกั งาน คุ้มครองเด็ก จัดระบบงานและกจิ กรรมแนะแนวใหค้ ำปรกึ ษาและฝกึ อบรม ให้ความรว่ มมอื พนักงาน คมุ้ ครองเด็ก ติดตามพฤติกรรมเสย่ี งต่อการกระทำผดิ /ระเบยี บโรงเรียนรว่ มกับกระทรวงศึกษาธิการ การกระทำอันถือวา่ เปน็ ความผิด - กำหนดโทษ ตามมาตรา 26 กฎหมายเดิม หา้ มโฆษณาหรอื เผยแพร่ หรอื เปิดเผยชือ่ หรอื ขอ้ มูลเดก็ และ ผู้ปกครอง ฝ่าฝนื ไม่ใหค้ วามร่วมมอื แก่พนักงานคมุ้ ครองเด็ก กำหนดโทษแก่ผ้จู ดั ตง้ั สถานต่างๆ โดยมิได้ รับอนญุ าต กำหนดโทษผู้ปกครองสวสั ดภิ าพของสถานตา่ งๆ ทีไ่ มป่ ฏิบัติตามพระราชบัญญตั ินี้ และไม่ได้ รับการแต่งต้ังใหเ้ ป็นพนักงานคมุ้ ครองเดก็ หากทำผิดคร้ังแรก พนักงานคุ้มครองเดก็ ตำรวจ พนักงานฝา่ ย ปกครอง วา่ กล่าวตักเตอื นได้ อนุสัญญาวา่ ด้วยสิทธิเดก็ อนุสัญญาว่าดว้ ยสิทธิเด็กเปน็ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสทิ ธเิ ด็ก ซึ่งสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ ได้ลง มติที่จะกำหนดหลักกฎหมายเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เพื่อให้เด็กของโลกได้เติบโตอย่างมีความสุข โดย ปัจจุบันประเทศไทยได้ลงนามรบั รองอนสุ ัญญาวา่ ด้วยสิทธเิ ด็กซ่ึงมขี ้อกฎหมายจำนวนท้ังสิน้ 54 มาตรา โดย 40 มาตราแรก มีสาระสำคัญเกีย่ วกบั สทิ ธิพืน้ ฐานเด็ก 4 ประการ คอื โดยสิทธติ า่ งๆ จะมผี ลในการปฏิบัติและ ใหก้ ารช่วยเหลอื สงเคราะหแ์ กเ่ ด็ก (คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ. มปป. : 15-32) ดงั น้ี 1. สิทธิที่จะมีชีวิตรอดหรือการดำรงชีวิต ครอบคลุมสิทธิในการมีชีวิตและสิทธิที่จะได้รับการดูแลทาง สุขภาพอนามัยตามมาตรฐานสูงสุด เช่น โภชนาการ ความรัก ความอบอุ่น การดูแล เอาใจใส่จากครอบครัว สังคม บริการดา้ นสขุ ภาพ ทกั ษะชีวติ ท่ีถูกตอ้ ง 2. สิทธทิ ีจ่ ะไดร้ ับการปกป้องคุ้มครอง หมายถงึ สิทธิท่จี ะได้รับการปกปอ้ งจากการลว่ งละเมิดการทำร้าย การทอดทิ้ง เด็กไม่มคี รอบครวั กำพรา้ อพยพ การถกู เลอื กปฏิบัติ การกลัน่ แกล้ง รังแก ความเป็นส่วนตัว เด็ก พกิ าร ชอื่ และสัญชาติ แรงงานเด็ก การซื้อขาย การเคล่อื นยา้ ยและการลักพาตวั การเอารดั เอาเปรียบเด็ก 3. สทิ ธิท่จี ะไดร้ ับการพฒั นา หมายถึง สทิ ธิท่ีจะได้เล่น พกั ผอ่ น ไดร้ ับการศึกษาทง้ั ในระบบและนอกระบบ โรงเรียน ที่เหมาะสมกับร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม และสังคม เช่น การได้รับข่าวสาร การพัฒนา สขุ ภาพร่างกาย สิทธิท่จี ะมผี รู้ ับฟงั 4. สิทธิที่จะมีส่วนร่วม หมายถึง สิทธิในการแสดงความคิดเหน็ ในทุกเรื่องทีม่ ีผลกระทบต่อเด็ก การเปิด โอกาสใหเ้ ด็กมบี ทบาทในชมุ ชน การแสดงทศั นะของเด็ก ตลอดจนเสรีภาพในการติดตอ่ สือ่ สาร อนสุ ัญญาว่าด้วยสิทธิเดก็ ส่วน ท่ี 1 ขอ้ 18 ระบวุ ่า การพัฒนางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 26 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

1) รัฐภาคีจะใช้ความพยายามอย่างที่สุด เพื่อประกันให้มีการยอมรับหลักการ ที่ว่า ทั้งบิดา และ มารดามีความรับผิดชอบรว่ มกันในการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก บิดามารดาหรือผู้ปกครองตามกฎหมายแล้วแต่ กรณีเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบเบื้องตน้ ในการเลย้ี งดูและการพัฒนาเดก็ โดยคำนึงถึงประโยชนส์ ูงสดุ ของเดก็ เป็นพืน้ ฐาน 2) เพอื่ ความมุง่ ประสงค์ในการให้หลกั ประกันและสง่ เสริมที่กำหนดไว้ใน อนุสัญญานี้ รัฐภาคีจะให้ ความชว่ ยเหลือทเ่ี หมาะสมแก่บดิ ามารดาและผู้ปกครอง ตามกฎหมายในอันท่ีจะปฏิบัติความรบั ผิดชอบของตน ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก และจะประกันให้มีการพัฒนาสถาบันการอำนวยความสะดวกและการบริการต่าง ๆ สำหรบั การดูแลเด็ก 3) รฐั ภาคจี ะดำเนินมาตรการท่ีเหมาะสมทงั้ ปวงทีจ่ ะประกนั ว่าบตุ รของ บดิ ามารดาที่จะต้องทำงาน มสี ิทธไิ ดร้ ับประโยชน์จากการบริการ และสงิ่ อำนวย ความสะดวกเกย่ี วกบั การดแู ลเด็กท่พี วกเขามีสทิ ธิ 1.1 สถานการณ์ / ปญั หา ในงานประจำของบา้ นพักเด็กและครอบครัวจงั หวดั มหาสารคาม พบวา่ 1) ขอ้ มลู ดา้ นเด็กและเยาวชนทงั้ ระบบ (ของจงั หวัด) และ อปท. ยงั ไม่เปน็ ปัจจุบนั ยงั ขาดกระบวนการมี ส่วนร่วมอย่างจริงจัง ซึ่ง อปท. ทั้งหมด 142 แห่ง ได้จัดตั้งศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กตำบล 12 แห่ง (ปี 2561 – 2563) และในปี 2564 จะมีการจดั ตัง้ เพิ่มเตมิ อกี 17 แห่ง 2) ผู้บริหาร อปท. แกนนำ และเจา้ หนา้ ทีข่ อง อปท. ท่เี กี่ยวข้อง ยังไมเ่ ขา้ ใจกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง บทบาท และภารกิจทเ่ี กี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็กในพ้นื ที่ การผลักดันนโยบายคมุ้ ครองเด็กสู่ อปท. / การตรา ข้อบัญญัติ เป็นเร่อื งยุ่งยาก ไมม่ ีงบประมาณขับเคล่ือนต่อเน่ือง 3) มกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการทกุ พ้นื ที่ แต่ขาดกระบวนการพัฒนาศกั ยภาพและขับเคล่อื นของศนู ยช์ ุมชน คุ้มครองเด็กระดับตำบลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งขาดการถอดบทเรียนตำบลคุ้มครองเด็ก 12 พื้นที่ เปา้ หมาย เพอื่ เสรมิ พลงั ในการขบั เคลอื่ น 1.2 โจทยว์ จิ ัยทสี่ ำคญั 1) การพฒั นาระบบฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนในกลุ่มเส่ยี งและกลไกขับเคลอ่ื นกระบวนการคุ้มครองเด็ก ของจังหวัดมหาสารคามเปน็ อยา่ งไร 2) ชุมชนท้องถิ่น ( รวมผู้นำแกนนำชุมชน และ อปท. ) ต้องเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ คมุ้ ครองเดก็ ในระดบั ตำบลอย่างไร 3) กระบวนการคัดกรองและชว่ ยเหลือเด็กท่ีเปน็ กลุ่มปกติ (สเี ขียว) กลุม่ เส่ยี ง หรอื เปราะบาง (สีเหลือง) และกล่มุ ที่ประสบปัญหา (สแี ดง) โดยใช้แบบคัดกรอง CMST : Child Maltreatment Surveillance Tool) รูปแบบการจดั เก็บ/ทำขอ้ มูล ตอ้ งดำเนนิ การอยา่ งไร 4) ทำอยา่ งไร ท้องถิน่ ( อปท. ) จะมนี โยบายคุ้มครองเด็ก ตราขอ้ บัญญัติ และสนับสนุนงบประมาณ 5) ต้องพัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการระดับพื้นที่อะไรบ้าง และมีบทบาทหน้าที่สนับสนุนและ ขับเคล่อื นอย่างไร การพฒั นางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 27 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

1.3 ตวั แปร ตัวแปรต้น ▪ มีการมอบหมายจากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กในการพัฒนาระบบข้อมูลเด็กและ เยาวชนกลุ่มปกติ (สีเขียว) กลุ่มเสี่ยง หรือ เปราะบาง (สีเหลือง) และกลุ่มที่ประสบ ปัญหา (สแี ดง) ท่ีชัดเจน ▪ การสร้างความเข้าใจผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี และแกนนำท่ีเกี่ยวขอ้ งในพ้ืนที่ ▪ การดำเนินงานขับเคล่ือนศนู ย์ชุมชนคุ้มครองเด็กระดับตำบล ( ครบ 8 ขนั้ ตอน ) ▪ เจา้ พนกั งานทอ้ งถิ่นและคณะทำงาน มกี ารสรรหา Case เพื่อขอรับเงนิ สนับสนนุ ▪ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ได้รับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS : Child Protection Information System) และ ปรบั ปรุงข้อมูล Case ทุกกลมุ่ ให้เปน็ ปจั จบุ นั ▪ มีแผนการให้ความช่วยเหลือรายบุคคล / รายกิจกรรม เชิงป้องกันและพัฒนาตาม ศักยภาพ ▪ การสรปุ บทเรยี นพน้ื ท่ตี น้ แบบที่เปน็ ศูนย์ชุมชนคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล 12 ตำบล ตวั แปรควบคุม ▪ เปน็ พืน้ ท่ีดำเนินงานตำบลคุ้มครองเดก็ ในระดบั ตำบลเหมอื นกัน ▪ เปน็ พ้นื ทีท่ ม่ี ีผบู้ รหิ าร บริหารงานต่อเนอ่ื งไมน่ อ้ ยกวา่ 4 ปี ▪ มคี ำสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการศนู ยช์ มุ ชนคุม้ ครองเดก็ ตำบล เป็นลายลักษณ์อกั ษร ตวั แปรตาม ▪ มรี ะบบฐานข้อมูลเดก็ และเยาวชนทกุ กลุม่ และกลไกขับเคลอื่ นกระบวนการค้มุ ครองเด็ก ทชี่ ัดเจน ▪ จำนวนคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ที่ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพตาม เกณฑ์ ( ครบ 8 ขน้ั ตอน ) ▪ จำนวนเจ้าหน้าที่ และพนักงานท้องถิ่นรู้เข้าใจบทบาทในการจัดการ Case ตามมาตรฐานไดเ้ อง ▪ จำนวน อปท. ที่มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) ร่วมกับหน่วยงานที่ เก่ยี วข้อง ▪ จำนวนปญั หาในพน้ื ทีท่ ี่เกย่ี วข้องกับเดก็ เยาวชน และครอบครัวท่ีลดลง ▪ จำนวน อปท. ที่มีการตราข้อบัญญัติ และพัฒนารูปแบบกระบวนการจดั การปัญหาใน พื้นทีแ่ บบเบด็ เสรจ็ การพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 28 สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5 จังหวัดขอนแก่น (สสว.5)

1.4 สมมตฐิ านในการวจิ ัย 1. ถ้าจังหวดั มีระบบฐานขอ้ มูลเด็กและเยาวชนทุกกลุม่ และกลไกขบั เคลอ่ื นกระบวนการคุ้มครองเด็ก ที่ชดั เจน จะทำใหช้ ุมชนทอ้ งถิ่นอยากเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นาศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบล 2. หากผูบ้ รหิ าร เจ้าหน้าท่ี และแกนนำทีเ่ กี่ยวขอ้ งในตำบลมคี วามรู้และเข้าใจนโยบาย มาตรการ และ แนวทางสนบั สนุนศนู ยช์ มุ ชนค้มุ ครองเดก็ ในตำบล กจ็ ะสามารถขบั เคลอื่ นงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ มีชุดองค์ความรู้ เกี่ยวกับระบบการคุม้ ครองเด็กในพื้นที่ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดำเนินการคุ้มครองเด็กหรือช่วยเหลือเด็กใน พื้นที่ ก็จะมีส่วนร่วมในการสรรหา Case และร่วมขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 4. ถ้า อปท. มีเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบ ได้รับการอบรมระบบฐานข้อมูล ( CMST / CPIS ) และปรับปรุง ข้อมูล Case ให้เป็นปัจจบุ ัน ก็จะทำให้การดำเนนิ งานของศนู ยช์ ุมชนคุ้มครองเด็กในตำบลดำเนินงานได้อยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง 5. หากคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สร้างการมีส่วนร่วม และ วางแผนให้ความช่วยเหลือ รายบุคคล / รายกิจกรรม ชัดเจน อปท. ก็จะผลักดันให้ตราข้อบัญญัติ สนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนให้ การคุ้มครองเด็กเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ 1.5 พืน้ ที่ / กลุม่ เป้าหมาย / กลุ่มตวั อย่าง 1.5.1 พื้นที่ในการศึกษาวิจัย คือ ภาพรวมสถานการณ์ข้อมูลเด็กและเยาวชนทั้งจังหวัด โดยใช้กลุ่ม ตัวอย่างของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม ในการให้ข้อมูล รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน 1.5.2. คณะกรรมการศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กระดับตำบล 12 พื้นที่นำรอ่ ง เช่น จนท. อปท. ตัวแทน สภาเด็กและเยาวชน แกนนำชุมชน อาสาสมคั ร และ ประชาชนทั่วไป จำนวนพื้นทีล่ ะ 1 คน รวม 12 คน 1.5.3. ผ้แู ทนหนว่ ยงาน One home จำนวน 5 คน รวมกลุ่มตวั อยา่ ง 32 คน การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 29 สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

1.6 ระเบียบวิธีวิจัย / การออกแบบวิจยั การพัฒนารูปแบบการคมุ้ ครองเด็กโดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนท้องถ่ินในคร้งั น้ี มีระเบยี บวิธวี จิ ยั / การออกแบบวิจัย คือ 1.6.1 การประชุมสรา้ งความเข้าใจทีมงานวจิ ยั ( R2R ) โดยกำหนดกรอบการวิจัย / ตัวแปร และ กำหนดเคร่ืองมอื ในการวิจยั ร่วมกัน 1.6.2 การสังเคราะหข์ ้อมลู มือสองจากรายงานการประชุมของคณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ จงั หวัด มหาสารคาม รายงานผลการดำเนนิ งาน งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1.6.3 การออกแบบเครื่องมือ / แบบสอบถาม 2 ชุด เพื่อสอบถามคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็ก จงั หวดั มหาสารคามทกุ คน และสอบถาม 12 พน้ื ที่นำร่อง เชน่ จนท. อปท.ตัวแทนสภาเด็กและเยาวชน แกน นำชมุ ชน อาสาสมัคร และ ประชาชนทั่วไป 1.6.4 ประสานงานและการถอดบทเรียน 12 พน้ื ท่ีนำร่อง โดย อปท. สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ชุมชน คุม้ ครองเดก็ ระดับตำบล 1.7 เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 1.7.1 แนวทางสมั ภาษณ์ประกอบการสนทนากลุ่ม 12 พ้นื ท่ีนำร่อง 1.7.2 แบบสอบถาม 2 ชดุ คือ เพื่อสอบถามคณะอนกุ รรมการคุม้ ครองเดก็ จังหวดั มหาสารคามทุกคน และสอบถาม 12 พ้ืนทนี่ ำร่อง 1.7.3 การประชมุ สนทนากลุม่ 12 พื้นทนี่ ำร่อง 1.8 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1.8.1 การประสานหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง ขอรับการสนับสนนุ ขอ้ มลู 1.8.2 สมั ภาษณค์ ณะกรรมการคุม้ ครองเดก็ จังหวัดมหาสารคาม 1.8.3 การสัมภาษณต์ วั แทน 12 พน้ื ท่ีนำรอ่ ง 1.9 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1.9.1 การสงั เคราะหข์ ้อมูลมือสอง 1.9.2 วเิ คราะหผ์ ลงานของ 12 พน้ื ทเ่ี ปรียบเทียบกับมาตรฐานและกระบวนงานท่ีเกีย่ วข้อง 1.9.3 การสรปุ ผลการสมั ภาษณแ์ บบสอบถาม 2 ชุด 1.9.4 การสรปุ ผลการถอดบทเรยี น 12 พืน้ ท่นี ำร่อง การพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 30 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

1.10 การทบทวนงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง 1.10.1 แนวคดิ / ทฤษฎี ในปี 2549 และจากรายงาน ข้อเสนอแนะทั่วไปที่ 13 ว่าด้วยสิทธิของเด็กที่จะได้รับความปลอดภัย จากการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ (General Comment No. 13) ของคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่ง สหประชาชาติ ที่เน้นว่ารัฐมีบทบาทหน้าที่ในการดำเนินมาตรการทางด้านนิติบัญญัติ บริหาร สังคมและ การศึกษาที่จะต้องคมุ้ ครองเด็กจากการใช้ความรุนแรงใน ทกุ รปู แบบ โดยแนวคดิ ดังกลา่ วได้ขยายกรอบในการ มองปัญหาความรุนแรงต่อเด็กในลักษณะต่าง ๆ ให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น และทำให้เห็นว่าแนวทางการทำงาน คุ้มครองเด็กในรูปแบบดัง้ เดิมท่ีมุง่ แกไ้ ขปัญหาไปตามรายประเด็นเฉพาะกลุ่มหรอื สภาพปัญหา เน้นการต้งั รบั หรอื การให้ความช่วยเหลอื ภายหลังจากท่ีเกิดเหตุขึ้นซง่ึ มักเปน็ ปญั หาทไี่ ด้รบั ความสนใจจากสังคมในระยะเวลา สั้น ทำให้เกิดการจัดตั้งกลไกและการจัดสรรทรัพยากรทัง้ บุคลากรและงบประมาณไปเพ่ือการมุง่ แก้ไขปญั หา เฉพาะนน้ั ยงั ไม่อาจนำไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาในการคุ้มครองเดก็ ไดอ้ ย่างย่ังยืนและครอบคลุมทุกปัญหาได้อย่าง แท้จริง การป้องกันและแก้ไขปัญหาในการคุ้มครองเด็กจำต้องอาศัยการมองสถานการณ์อย่างลึกซึ้งและใช้ วธิ กี ารแก้ปัญหาอย่างเป็นองคร์ วม โดยพจิ ารณาทงั้ เดก็ และสภาพแวดลอ้ มรอบตัวเด็กด้วย จึงเป็นทีม่ าของการ นำ “แนวคิดการคุ้มครองเด็กเชิงระบบ (Child Protection Systems Approach)” มาพิจารณา เพื่อ เชื่อมโยงกับระบบย่อยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นองค์รวม และมุ่งสู่การส่งเสริมสภาพแวดล้อมท่ี ปกปอ้ งคมุ้ ครองเดก็ (Protective Environment Framework) ดว้ ยการปอ้ งกันและการทำงานเชิงรกุ รวมถึง การช่วยเหลือฟื้นฟู โดยยึดหลักการว่าเด็กทุกคนในทุกสถานการณ์มีสิทธิ เข้าถึงและได้รับความคุ้มครองที่ เหมาะสม โดยพิจารณาให้ครอบคลุมเนือ่ งจากเด็กหนึง่ คนอาจประสบปัญหาหลายปัญหาที่เปน็ ปัจจัย สาเหตุ ปัจจัยเสริมและมีผลกระทบซึ่งกันและกัน ผ่านการสร้างโครงข่ายความปลอดภัยทางสังคมในแต่ละระดับ แนวคิดเชิงระบบในการคุ้มครองเด็ก (Child Protection System Approach) จำเป็นที่จะต้องเริ่มจากการ กำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายร่วมกันเสียก่อน โดยที่ผู้เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในระบบจะสามารถมาทำงาน รว่ มกันภายใตเ้ ป้าหมายเดยี วกนั โดยทำความเข้าใจว่าแต่ละสว่ นประกอบต่าง ๆ ที่อยู่ ภายในระบบนั้นทำงาน ร่วมกันเป็นอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างในระดับชุมชนอย่างไม่เป็นทางการหรือการมีหน่วยงานต่าง ๆ ใน ระดบั ชาตซิ ่งึ จำเปน็ ท่จี ะต้องมีการตัง้ วัตถุประสงคร์ ่วมกนั โดยอธิบายถึงโครงสรา้ งท่ีสำคัญของระบบคุ้มครอง เดก็ ตามแผนภาพที่ 5 ระบบคุ้มครองเด็กดำเนินการได้ในหลายระดับตั้งแต่การคุม้ ครองเด็กอย่างเป็นทางการ ไปจนถึงไมเ่ ปน็ ทางการ โดยเกี่ยวขอ้ งไปตามบรบิ ทท่มี ีความเช่ือมโยงสมั พนั ธ์กันและพึ่งพงิ ต่อผเู้ กี่ยวข้องอ่ืน ๆ รวมทัง้ เดก็ ครอบครวั ชมุ ชน และรฐั นอกจากนีส้ ่วนของโครงสร้างได้แสดงให้เหน็ ถงึ ระบบท่ีอาจดำเนินการใน ระดบั ท่แี ตกตา่ งกันแต่ทุกระดับจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ส่วนประกอบพ้ืนฐานของระบบ ได้แก่ โครงสร้าง หน้าที่และ ศักยภาพให้เกิดการดูแลอย่างต่อเนื่อง (continuum of care) ทำให้เห็นภาพถึงแนวทางเฉพาะที่ระบบ การพัฒนางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 31 สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

จะสามารถตอบสนองต่อปัญหาการละเมิดสิทธิในรูปแบบใด ๆ ขณะที่กระบวนการดูแล (process of care) จะช่วยกำหนดขั้นตอนไว้ให้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการประเมินยุทธศาสตร์การวางแผน บรหิ ารจดั การเปน็ รายกรณีการเยยี วยาและการติดตามประเมนิ ผล อนั เป็นไปตามลกั ษณะของประเภทการดแู ล ท่ีพัฒนาข้นึ มาเพ่ือรองรับการส่งเสรมิ การป้องกันและแกไ้ ข ภาพท่ี 5 แสดงโครงสร้าง องค์ประกอบ และปจั จยั สำคัญท่เี กยี่ วขอ้ งกับการคุ้มครองเดก็ ในส่วนของกรอบแนวคิดเรื่องสภาพแวดล้อมที่ปกป้องคุ้มครองเด็ก (Protective Environment Framework) เป็นเสมือนเป้าหมายที่หน่วยงานที่ทำงานคุ้มครองเด็กตั้งไว้ คือ การสร้างสภาพแวดล้อม เพื่อการปกป้องคุ้มครองเด็กให้สมบูรณ์ที่สุดเพื่อให้สามารถป้องกันและคุ้มครองเด็กได้ในทุกสถานการณ์ รวมทั้งสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ สภาพแวดล้อมที่กล่าวถึงนี้ โดยรวมแล้วประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่มี ความเชื่อมโยงกัน 8 ประการ โดยแต่ละองค์ประกอบต่างทำหน้าที่ของตนและทำงานร่วมกันเพื่อทำให้งาน เชิงป้องกันมีประสิทธิภาพข้ึน ลดความเสี่ยงของเด็กและครอบครัวและทำหน้าที่คุ้มครองเมื่อจำเป็นไดด้ ีท่สี ุด โดยองคป์ ระกอบทัง้ 8 ประการ มดี ังนี้ 1. ความมงุ่ มัน่ ของภาครัฐทเี่ กย่ี วข้องทจ่ี ะปกป้องสิทธใิ นการได้รับการคุ้มครองของเดก็ 2. การบังคับใชก้ ฎหมาย 3. ทัศนคติ ประเพณแี ละวัฒนธรรม และการปฏิบตั ิในเชิงบวก 4. การพดู คยุ เร่อื งคมุ้ ครองเด็กอย่างเปิดเผยโดยรวมถึงการนำเสนอผ่านสอื่ และ การมีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคม 5. ทักษะชีวิตและความรู้ของเดก็ และการมสี ่วนร่วมของเด็ก การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 32 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

6. ศกั ยภาพการค้มุ ครองเดก็ ของบคุ คลและเจา้ หนา้ ท่ีผ้ปู ฏิบัตงิ าน 7. บริการท่ัวไปและบรกิ ารเฉพาะเพือ่ การป้องกนั และการชว่ ยเหลอื เยยี วยา 8. การติดตามสถานการณแ์ ละการควบคุมตรวจสอบ ภาพท่ี 6 แสดงปจั จัยทเี่ ป็นความเสีย่ งในระบบการค้มุ ครองเด็ก อนึ่ง ผลจากการสำรวจข้อมูลการคุ้มครองเด็กในโครงการระบบเฝ้าระวังเพื่อการคุ้มครองเด็ก (Child Protection Monitoring System: CPMS) ในปี 2556 สะท้อนว่า การจะพัฒนาระบบการ คุ้มครองเด็กต้องเริ่มที่การพัฒนาระบบและกลไกในระดับชุมชนที่มีความใกล้ชิดกับสภาพปัญหาหรือ สถานการณ์ของชุมชนให้สามารถทำงานร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็ก นักวิชาชีพหรือทีมสห วิชาชีพที่เป็นกลไกคุ้มครองเด็กในระดับจังหวัด สำหรับประเทศไทย ภายใต้บริบทกระบวนการกระจาย อำนาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ (อปท.) ในช่วงกวา่ ทศวรรษที่ผ่านมา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้กลายเป็นตัวแสดงทมี่ ีบทบาทหลักในกระบวนการ กำหนดนโยบายสาธารณะด้านต่าง ๆ ในระดับท้องถ่ิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารของรัฐในระดับท่ี ใกล้ชิดกับชุมชนที่สุด ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กพ.ศ. 2546 อปท. มีภารกิจในการปกป้องและคุ้มครองเด็ก ภายใต้แนวทางการกระจายอำนาจ โดย อปท. สามารถทำหน้าที่ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึน้ กับเด็กในทุก รปู แบบและใหก้ ารคุ้มครองเด็กจากการถูกละเมิดความรุนแรง การแสวงประโยชนแ์ ละการละเลยทอดทง้ิ การพัฒนางานประจำส่งู านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 33 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ในปัจจุบันมีการเริ่มพัฒนากลไกการทำงานในระดับ อปท. ซึ่งหากมีการพัฒนาเพิ่มเติมหรือได้รับการ สนับสนุนเต็มที่ก็จะสามารถให้การคุ้มครองเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กลไกพนักงานเจ้าหน้าที่ สหวชิ าชพี ในตำบลและเครอื ข่ายในระดับหมูบ่ ้านท่ีหากมีความตระหนักเร่ืองความเส่ียงและปัญหาที่เด็ก ต้องได้รับการคุ้มครองก็จะสามารถดำเนินการเขา้ แทรกแซงอย่างเหมาะสมได้ ดังนั้น หากมีความม่งุ มั่น จากพื้นที่และมกี ารสนับสนนุ เพ่ิมเติมให้หน่วยงานและกลไกในระดับตำบลแล้ว กจ็ ะสามารถแก้ไขปัญหา ท่ีมีในปจั จบุ ันได้ แม้วา่ กลไกการคมุ้ ครองเด็กในปัจจุบันจะมีการกำหนดบทบาทให้ อปท. เป็นกลไกสำคัญ ในระดับทอ้ งถ่ินในเรื่องการค้มุ ครองเดก็ ในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบแต่ในทางปฏิบัติ อปท. จำนวนมาก ยังคง ขาดความรู้ความเข้าใจ รวมถึงการตระหนักในบทบาทหน้าที่ของตนเองในการคุ้มครองเด็ก การดำเนินงานท่ีผ่านมาจงึ มเี พียงบางแหง่ ทต่ี อบสนองต่อการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา ซึ่งขึ้นอย่กู บั ความรู้ ความเข้าใจของผู้นำหน่วยงานเป็นสำคัญ ดังนั้น หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่เกี่ยวข้อง จำเป็นต้องมีการร่วมมอื กับหนว่ ยงานและองค์กรอื่น ๆ ในพื้นที่ จัดให้มกี จิ กรรมการพฒั นาศักยภาพและ ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ในระดับท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจและเพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ในการคุ้มครองเด็กและเพื่อการปรับทัศนคติต่อเด็กและครอบครัวที่ครอบคลุมต่อ ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ท้ังเด็กในชุมชน เดก็ ต่างชาติและเด็กชายขอบทอี่ ยูใ่ นพ้ืนที่ 1.10.2 ขั้นตอน/กระบวนการจัดตั้งและขับเคลื่อนศูนย์ชุมชนคุ้มครองเด็กในระดับตำบล (โครงการเสริมสรา้ งศักยภาพเครอื ขา่ ยในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน) 1. บ้านพักเด็กและครอบครัว ดำเนินการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (พื้นที่ใหม่) เพือ่ ดำเนินการโครงการสร้างเครือขา่ ยคมุ้ ครองเด็กในระดบั ตำบล (ศนู ย์ชุมชนคมุ้ ครองเด็กในระดับตำบล) 2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ ระดับตำบล บ้านพักเด็กและครอบครัว จัดให้มีการดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล โดยผ้บู ริหารจังหวัดหรอื ผู้บริหารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เปน็ ผู้ลงนามในคำส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการฯ 3. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการค้มุ ครองเดก็ ระดบั ตำบล การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ มุ่งเป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบล ประกอบดว้ ย ขั้นตอนท่สี ำคญั คอื 1) แนวทางการพัฒนาระบบคมุ้ ครองเดก็ ระดบั ตำบล - การใช้ชุมชนเปน็ ฐานการคุม้ ครองเด็ก - ผนู้ ำท้องถ่ิน/ ผู้นำชุมชน มีส่วนรว่ มในการพัฒนาระบบคุ้มครองเด็ก - ปราชญท์ อ้ งถิ่น สนบั สนนุ องคค์ วามรใู้ นทอ้ งถนิ่ / ฐานการเรยี นรู้ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 34 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

2) การสรา้ งความตระหนักในการคุม้ ครองเด็กระดบั ตำบล - สทิ ธเิ ดก็ - การค้มุ ครองเดก็ 3) กระบวนการคุ้มครองเดก็ และกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง - กระบวนการสังคมสงเคราะห์ (Social Work Process) - พระราชบัญญัติคมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 - พระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองผถู้ ูกกระทำความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 - พระราชบญั ญตั ิป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้งั ครรภใ์ นวยั รุ่น พ.ศ. 2559 ฯลฯ 4) บทบาทสหวิชาชีพในการช่วยเหลอื ค้มุ ครองเด็ก - การประชุมทมี สหวิชาชีพ/ Case Conference - การระดมทรพั ยากรเพือ่ การคมุ้ ครองเดก็ ในระดับตำบล 5) การป้องกนั เชงิ สง่ เสรมิ พัฒนาและเสรมิ สร้างความปลอดภัยสำหรบั เด็ก - กจิ กรรม/ โครงการ เพ่อื การป้องกัน ส่งเสรมิ พัฒนาและเสริมสรา้ งการคุ้มครองเดก็ 6) แนวทางการจัดทำแผนการดำเนนิ งานคมุ้ ครองเดก็ ของพ้นื ที่ - การจัดการโดยชมุ ชน/ ตำบล - แผนระยะสั้น - แผนระยะยาว ทงั้ น้ีในกระบวนการเตรียมความพรอ้ ม และพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับ ตำบลนี้ การใชเ้ วลารว่ มกนั ของภาคีที่เกยี่ วข้องท่ีทำให้มีมุมมองความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับสถานการณ์ปัญหา ด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ นอกจากจะนำไปสู่การสร้างเป้าหมายและแนวทาง การดำเนินงานร่วมกันแล้ว ยังเป็นการสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในระดับตำบลเพื่อร่วมกัน ขับเคลื่อนระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบลต่อไป ดังนั้น เพื่อให้การเตรียมความพร้อมด้านศักยภาพสำหรับ ภาคีในพื้นที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จำเป็นต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องกับ กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการหรือคณะทำงานคุ้มครองเด็กระดับตำบลที่ได้รับคัดเลือก และได้รับการแต่งตั้งจาก ผวู้ า่ ราชการจังหวัดหรือผู้บริหารองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ (แล้วแต่กรณี) เพอ่ื ใหเ้ กิดการต่อยอดองค์ความรู้ ท่ีสามารถนำไปใชป้ ฏบิ ัติไดอ้ ยา่ งเหมาะสมต่อไป การพัฒนางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 35 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

ภาพท่ี 7 แสดงการประชมุ สร้างความเขา้ ใจการคมุ้ ครองเดก็ รว่ มกับ อปท.และเครือขา่ ย กระบวนการเตรียมความพร้อม หรือพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบลในพื้นที่ ผ่านการ จัดกิจกรรม เพื่อเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ นั้น จำเป็นต้องมีการออกแบบเนื้อหา องค์ความรู้และรูปแบบกิจกรรมอย่างเป็นมาตรฐาน และต้องอาศัยทีมวิทยากรกระบวนการที่มีความรู้ ความชำนาญเกี่ยวกับการพัฒนาและคุ้มครองเด็กโดยตรง ซึ่งอาจจัดขึ้นในพื้นที่ศูนย์กลางของจังหวัด หรือในพื้นที่อำเภอเป้าหมาย หรือพื้นที่ตำบลเป้าหมาย โดยมีบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดเป็นเจ้าภาพ ในการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมและมีเจ้าหน้าที่กรมกิจการเด็กและเยาวชน ทำหน้าที่ให้คำปรึกษา แนะนำและสนบั สนุนทรัพยากรตา่ ง ๆ อาทิ วิทยากร องค์ความรู้ ส่อื งบประมาณ และสำนกั งานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัด ทำหน้าที่เอื้ออำนวยและประสานงานระหว่างหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ และภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในพน้ื ที่ โดยกระบวนการเตรียมความพรอ้ ม หรอื พัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการคุ้มครอง เด็กระดับตำบล อาจจะใชเ้ วลาประมาณ 2 - 3 วัน ในขน้ั ตอนของกระบวนการเตรียมความพรอ้ ม หรือพัฒนา ศกั ยภาพคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล สามารถดำเนินการจดั อบรมหลักสูตรวิทยากรแกนนำเพ่ือการ พัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบล หรือการจัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล เกยี่ วกับบทบาท หนา้ ทีข่ องคณะกรรมการฯ รวมถึงแนวทางการดำเนินงานในพื้นที่ของตนเอง 4. จัดเก็บข้อมูล โดยใช้แบบคัดกรองตามมาตรฐานการเลี้ยงดูเด็กขั้นต่ำ (Child maltreatment surveillance tool: CMST) และกำหนดแผนการให้ความช่วยเหลือรายกรณี ประสานส่งต่อ ติดตาม และทบทวนแผนการให้ความช่วยเหลอื การดำเนินการเกบ็ ข้อมูลในพืน้ ที่ เปน็ การดำเนนิ การตอ่ เน่อื งจากการ นำแบบคดั กรองการเล้ียงดูตามมาตรฐานการเล้ยี งดูเด็กขั้นต่ำไปใช้ เพ่ือเก็บขอ้ มลู สำหรับจัดทำฐานข้อมูลเด็ก และเยาวชนระดบั ตำบล เพ่อื นำไปส่กู ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลสถานการณ์ปัญหาในพ้ืนท่ี การพฒั นางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 36 สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

เนื่องจากสถานการณ์ในชุมชนมีลักษณะของความเป็นพลวัตที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา จึงจำเป็นตอ้ งมกี ารดำเนินการให้ข้อมูลเปน็ ปจั จุบนั ท่สี ุด โดยควรมกี ารตกลงภายในชุมชนวา่ จะมกี ำหนดความถ่ี ในการเก็บขอ้ มลู อยา่ งไร โดยตามแนวทางสากล คือ การเก็บขอ้ มลู อย่างนอ้ ยปลี ะหนึ่งครงั้ แนวปฏบิ ตั ใิ นการใชแ้ บบคดั กรอง การคัดกรอง เป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังในชุมชน คณะทำงานหรือคณะกรรมการ คุ้มครองเด็กในระดับตำบล ควรมีการมอบหมายผู้ปฏิบตั งิ านหรือรบั สมัครอาสาสมัครหรอื มีเครือข่ายเพิ่มเตมิ เพื่อทำหน้าที่ในการช่วยดำเนินการเก็บข้อมูลเป็นระยะ เพื่อติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์ในชุมชน เนอ่ื งจากประโยชน์ของการนำข้อมลู ไปใช้ ขน้ึ อยู่กบั ความถกู ต้อง แมน่ ยำของขอ้ มูล ผู้ทจี่ ะทำหน้าท่ีเก็บข้อมูล จะต้องไดร้ ับการฝึกอบรมและมีทกั ษะทีเ่ หมาะสม เพื่อให้ได้รับข้อมูลทีถ่ ูกต้องเป็นจรงิ เป็นการนำองค์ความรู้ ในประเด็นแบบคัดกรองเพื่อประเมินสภาวะเด็กเบื้องต้นไปใช้ในพื้นที่ โดยมีการแบ่งงานอย่างชัดเจน ในคณะทำงาน เพ่ือให้ขอ้ มลู ครอบคลุมเด็กที่มีความเสย่ี งท้งั หมดในพ้ืนท่ี หรอื ในกรณที พี่ น้ื ทยี่ ังขาดความพร้อม ในการดำเนินการอย่างครอบคลุม อาจเลือกเก็บข้อมูลในกรณีหรือพื้นที่ที่เห็นว่าเด็กมีความเสี่ยงและอาจมี ความจำเป็นต้องเข้าสู่ระบบบริการหรือกระบวนการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพก่อน ทั้งนี้ ผู้ทำหน้าที่ เก็บข้อมูลควรมีความเข้าใจตัวแบบคัดกรองอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น ควรมีการจัดอบรมให้กับผู้เก็บข้อมูลก่อนที่จะมีการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลจริง ประเด็นสำคัญที่ควร มีการให้ความรู้กับผู้เก็บข้อมูล ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของคำถามแต่ละข้อ แนวทางการตั้งคำถาม รวมถึงเน้นย้ำเรื่องการเก็บรักษาความลับของข้อมลู รายบุคคลของเด็กและเยาวชน ทั้งในกลุ่มผู้ทำหน้าที่เกบ็ ข้อมูลและคณะทำงานหรือกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล เพื่อหลีกเลี่ยงการตีตราหรือการนำข้อมูลไปใช้ ในทางทีไ่ มถ่ กู ตอ้ ง ซ่งึ อาจเกิดผลกระทบเชิงลบต่อตวั เดก็ และครอบครวั ได้ 5. การจัดทำฐานข้อมูลเด็กระดับตำบล เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ยังไม่มี ฐานขอ้ มลู เกย่ี วกบั เดก็ ในพืน้ ท่ี หรือบางพ้ืนที่มฐี านข้อมูลประชากรแล้ว แตย่ งั ไม่ได้ดำเนนิ การพัฒนาฐานข้อมูล เก่ยี วกับเดก็ ในพ้นื ท่ี คณะกรรมการคุม้ ครองเดก็ ระดับตำบลจึงควรมีบทบาทหลกั ในการขับเคลื่อนกระบวนการ เก็บข้อมูลเด็ก โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีบทบาทในการสนับสนุนทรัพยากร บุคลากรและ งบประมาณ การจัดทำฐานข้อมูลเด็กในตำบล ควรเป็นหนึ่งในภารกิจพื้นฐานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ระดับตำบลหรือคณะทำงานคุ้มครองเด็กระดับตำบล ซึ่งต้องมีการดำเนินการอยา่ งต่อเนื่องโดยกระบวนการ ทำงานอาจเริ่มจากการที่บ้านพักเด็กและครอบครัว สนับสนุนให้เกิดการประชุมของคณะกรรมการ และ คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง โดยเริ่มแรกบ้านพักเด็กและครอบครัว อาจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อ รับทราบขอ้ มลู ชี้แจงขอ้ มูลและอธบิ ายความในประเดน็ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องในการสรา้ งเครอื ขา่ ยคุ้มครองเด็กใน ระดับตำบล และการจัดทำฐานข้อมูลเด็กระดับตำบล ท้ังนี้ การประชุมของคณะกรรมการฯ เพื่อวางแผน การพัฒนางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 37 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จังหวดั ขอนแก่น (สสว.5)

และแบ่งงานในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน รวมถึงควรจัดให้มีระบบสารสนเทศใน การเก็บขอ้ มลู ระดับตำบล เพือ่ ใหส้ ามารถนำข้อมลู มาใช้ในการชว่ ยเหลือเด็กกลุ่มเส่ียงไดอ้ ย่างทันทว่ งทีและนำ ข้อมูลภาพรวมไปใช้ในการอ้างองิ เพอ่ื การวางแผนแก้ปัญหาได้ตรงตามสถานการณแ์ ละสอดคลอ้ งกับประเด็น ปญั หาของเด็ก นอกเหนือจากการพฒั นาระบบฐานข้อมลู เดก็ และเยาวชนในระดับตำบลแล้ว หนว่ ยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการคุ้มครองเด็ก เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด ยังอาจมีบทบาทสำคัญ ในการร่วมกนั พัฒนาระบบฐานข้อมูลเดก็ ให้เช่ือมโยงตอ่ กนั ในระดับจงั หวัด หากมีการพัฒนาระบบการจัดเก็บ ข้อมูลและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัยในการติดต่อสื่อสาร ประสานงานด้านการคุ้มครองเด็ก เมื่อเด็กเคลือ่ นยา้ ยถ่ินจากตำบลหนึง่ ไปยังพื้นที่ใด คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบลจะสามารถติดตาม และทราบได้ รวมถึงช่วยให้สามารถตรวจสอบประวัติย้อนหลังได้ว่าเด็กมีประวัติอย่างไร ต้ องการ ความช่วยเหลือด้านใด และเคยได้รับความช่วยเหลือมาอย่างไรบ้าง จากหน่วยงานใดบ้าง ซึ่งจะช่วยให้ คณะกรรมการหรือคณะทำงานคุ้มครองเด็กระดับตำบล สามารถติดตามข้อมูลได้ว่าตอนนี้เด็กกำลังอยู่ใน ขนั้ ตอนความดูแลขององค์กรใดและมีวธิ ีการใหค้ วามชว่ ยเหลืออยา่ งไร การวเิ คราะหข์ ้อมูลสถานการณ์ปญั หาในพน้ื ท่ี ฐานขอ้ มูลดา้ นเดก็ และเยาวชนในพื้นท่ี มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานพฒั นาและคมุ้ ครองเด็ก ในระดับตำบล ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถระบุประเด็นปัญหาและกลุ่มเป้าหมายตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (ฐานข้อมูล) ทำให้เกิดการดำเนินงานที่ตรงเป้า ช่วยให้เด็กได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และเกดิ การใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยสามารถนำข้อมลู มาใชใ้ นการวเิ คราะห์สถานการณ์ ได้ใน 2 ระดบั คือ ระดับตัวบุคคล (รายกรณ)ี และระดับภาพรวมของพน้ื ท่ี การวเิ คราะหข์ อ้ มูลรายกรณี เมือ่ มี การเก็บข้อมูลเด็กรายบุคคล ผู้ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล สามารถ วิเคราะห์หรือประเมนิ ระดับความเส่ียงของเด็กคนนนั้ ได้ทนั ทีเมื่อเกบ็ ข้อมูลเสร็จว่ามีความเส่ียงอยู่ในระดับต่ำ ปานกลางหรอื สูง ดงั น้ี • กรณตี อบว่าใช่ นอ้ ยกว่า 3 ขอ้ คือ มคี วามเสี่ยงในระดับต่ำหรือเดก็ กลมุ่ ปกติ (ธงเขยี ว) การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 38 สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

• กรณีตอบวา่ ใช่ ตัง้ แต่ 3 - 4 ขอ้ คอื มีความเสี่ยง ในระดับปานกลางหรือเดก็ กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการเฝ้าระวัง (ธงเหลือง) • กรณีตอบว่าใช่ ตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป คือ มีความ เสี่ยงในระดับสูง หรือเด็กกลุ่มที่ต้องได้รับการช่วยเหลือ เร่งด่วน (ธงแดง) ขอ้ มูลเหลา่ นี้ จะถูกสง่ ตอ่ ใหก้ บั คณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล เพ่ือให้มกี ารวางแผนใหค้ วามช่วยเหลือ และดำเนินการชว่ ยเหลือต่อไป โดยเฉพาะในกรณีเด็กที่มีความเส่ียงสูงนั้นจำเป็นต้องไดร้ ับการดูแลช่วยเหลือ อย่างเร่งด่วนโดยไม่ชักช้า (อาจรวมถึงการเรียกประชุมเฉพาะกิจ เพื่อพิจารณาหากเห็ นว่า ไม่ควรรอช้า โดยประสานงานกบั ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพือ่ ให้การช่วยเหลือ) การดำเนินการช่วยเหลือเดก็ รายกรณีนั้น สามารถเรียงตามลำดับความเสี่ยงจากเด็กกลุ่มที่มีความเสี่ยงระดับสูง ที่ต้องได้รับการช่วยเหลือเร่งด่วน (ธงแดง) สู่เด็กที่มีความเสี่ยงระดับปานกลางหรือเด็กกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการเฝ้าระวัง (สีเหลือง) และเด็กที่มี ความเสี่ยงระดับต่ำหรือเด็กกลุ่มปกติ (สีเขียว) โดยคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับตำบล อาจจะร่วมกับ บ้านพักเด็กและครอบครัว สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และภาคีเครือข่ายที่มีบทบาท หน้าที่ในการคุ้มครองเด็ก ดำเนินการตามกระบวนการสังคมสงเคราะห์ (Social Work Process) และนำ กระบวนการจัดการรายกรณี (Case Management) มาใช้ โดยเริ่มจากหารือเพื่อแบ่งหน้าที่ในการรวบรวม ข้อเทจ็ จริง (Fact Finding) เชิงลึกเพ่ิมเติม ทั้งในด้านปญั หาและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ เพอื่ นำมาใช้ในการประเมิน (Assessment) และวางแผน (Planning) จัดบริการสำหรับเด็ก (Intervention) แต่ละคนตอ่ ไป ท้งั น้ี หากเป็น กรณีท่ีมีความซับซอ้ น อาจตอ้ งมีการเชิญผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการคมุ้ ครองเด็ก เชน่ นกั สังคมสงเคราะห์ นักจิตวทิ ยา เจา้ หน้าทบี่ า้ นพกั เด็กและครอบครวั เจ้าหนา้ ท่ศี ูนย์พ่งึ ได้ เขา้ มารว่ มพิจารณาใหค้ วามเหน็ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สูงสุดกับเด็ก ปัจจัยสำคัญในการดำเนินการช่วยเหลือรายกรณี คือ การรวบรวมทรัพยากรที่มีอยู่ รวมถึงทรัพยากรของตัวเด็กและครอบครัว (ซึ่งต้องทำการรวบรวมรายกรณี) และทรัพยากรของพื้นท่ี โดยคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล อาจรวบรวมขอ้ มลู การติดต่อประสานงานของหน่วยงานเครือข่าย ทัง้ ในระดับตำบล อำเภอและจังหวัด (Directory of services) เพือ่ สามารถเข้าถึงได้ในกรณที ่ตี ้องการในหลาย กรณี เชน่ กรณีท่ีเด็กถกู ทารุณกรรม หรือมีความไม่ปลอดภยั ตอ้ งมีการพิจารณาเพ่อื ส่งต่อ การดูแลเด็กให้กับ หนว่ ยงานทมี่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น เชน่ บ้านพักเด็กและครอบครัวโดยเรว็ การพฒั นางานประจำส่งู านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 39 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5 จังหวดั ขอนแกน่ (สสว.5)

การวิเคราะหข์ ้อมลู ภาพรวมของพื้นท่ี ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบประเมินทั้งหมด สามารถ นำมาใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ภาพรวมด้านเด็กของพ้ืนท่ี โดยสามารถพิจารณาจากความถี่ของตัวชี้วดั ต่าง ๆ ว่าปัจจัยเสี่ยงใดมีผลกระทบต่อเด็กบ้างในวงกว้าง เช่น หากพบว่าแบบคัดกรองสะท้อนความถี่สูง สำหรบั คำถามขอ้ 4 คือ เด็กเล่นการพนนั เป็นประจำ แสดงวา่ คณะกรรมการคุม้ ครองเด็กระดับตำบล อาจต้อง มีการดำเนินการกับประเด็นดังกล่าว โดยพิจารณาร่วมกันว่าสาเหตุของการเล่นพนันของเด็กคืออะไร และออกแบบกิจกรรมเพื่อนำไปสู่การแกป้ ญั หาดังกลา่ ว อาจรวมถึงกิจกรรมกบั ตวั เด็ก กิจกรรมกับครอบครัว กิจกรรมกับชุมชนในภาพรวม จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบประเมิน เป็นพื้นฐานสำคัญ ในการกำหนดการออกแบบกิจกรรมในชุมชน ดังนั้น ก่อนการจัดทำแผนงานเรื่องเด็กในระดับตำบล คณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กระดับตำบล จึงควรมกี ารเกบ็ ข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลพ้นื ฐานเก่ยี วกับเด็กในพื้นท่ี ก่อนเสมอ เพื่อให้กิจกรรมนั้น ๆ เกิดประโยชน์ต่อเด็กและพื้นที่อย่างแท้จริง ในการวางแผนจัดกิจกรรม เพื่อรองรับสถานการณ์ด้านเด็กในพื้นที่นั้น ต้องคำนึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ด้วยว่าจะนำทรัพยากร จากส่วนใดมาสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม อาจรวมถึงทรัพยากรในเชิงงบประมาณ อุปกรณ์ และความเช่ียวชาญของหนว่ ยงานในพืน้ ท่ี ไดแ้ ก่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน สาธารณสุข เครือข่าย องคก์ รพัฒนาเอกชนหรือภาคเอกชน ทลี่ ว้ นสามารถเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดูแลเดก็ ในพน้ื ที่ 6. จัดทำแผนการให้ความช่วยเหลือรายบุคคล/ จัดกิจกรรมในเชิงป้องกัน ส่งเสริมหรือพัฒนาตาม สภาพปญั หาทพ่ี บในพนื้ ที่ ภาพท่ี 8 แสดงการประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ตดิ ตามช่วยเหลอื เดก็ ในพ้ืนท่ี การพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 40 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จงั หวัดขอนแกน่ (สสว.5)

ภายหลังจากมีการเก็บข้อมูลสถานการณ์เด็กในพื้นที่แล้ว คณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับ ตำบล จะต้องรับผิดชอบการเข้าไปดูแลเด็กตามลำดับความเร่งด่วน จากกลุ่มธงแดง ธงเหลืองและธงเขียว ที่ต้องการการช่วยเหลือในลักษณะของการบริหารจัดการรายกรณี (Case Management) โดยจะต้องมี การขึ้นทะเบียนผู้ประสบปัญหาทางสังคม หรือเด็กที่ประสบปัญหาทุกกรณีในแบบบันทึกประวัติเด็กหรือ แบบบันทึกข้อมลู เพื่อจัดทำเปน็ ฐานข้อมูลในการให้ความช่วยเหลือเด็ก การขับเคลื่อนการใหค้ วามช่วยเหลอื เด็กของคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ระดับตำบล จงึ ตอ้ งมกี ารประชุมเพ่ือปรึกษาหารือและติดตามสถานการณ์ ของเด็กเปน็ ระยะ ในลกั ษณะของการตดิ ตามผู้ประสบปัญหาทางสังคม หรอื (Case conference) เบื้องต้นอาจจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก (จากส่วนจังหวัดหรือส่วนกลาง) เข้ามา ช่วยให้ความเห็นและให้คำแนะนำในการดำเนินงานช่วยเหลือเด็กและครอบครัวด้วย สำหรับการประชุม เชิงปฏิบัติการ เพื่อติดตามช่วยเหลอื เด็กในพ้ืนที่น้ัน มีขั้นตอนการช่วยเหลือในลกั ษณะของการบริหารจัดการ รายกรณี (ภายหลงั ไดข้ อ้ มลู จากการประเมนิ เดก็ รายบุคคล) ดงั นี้ 1. การสืบค้นข้อเท็จจริง (Fact Finding) และประเมินเด็กและครอบครัว (Child and Family Assessment) นำข้อมูลและข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ จากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านและการสัมภาษณ์ รวมถึงข้อมูลจากหลักฐานเกี่ยวกับเด็ก ผู้ปกครอง ครอบครัวและบริบทแวดล้อม มาใช้ในการประเมิน สถานการณข์ องเด็กและครอบครัว ดังน้ี • การประเมินความเสี่ยง คือ การพิจารณาจากข้อมูลในการประเมินว่าเด็กมีโอกาส ได้รับอันตรายในระดับใด หากเห็นว่าเด็กไม่ปลอดภัย หรือเป็นกรณีเด็กถูกทารุณกรรม ควรส่งข้อมูลให้ บ้านพกั เด็กและครอบครวั โดยทนั ที • การประเมนิ ตัวเดก็ ดา้ นกาย จิต สงั คม รวมถึงความต้องการของเด็ก • การประเมินครอบครัว คือ การพิจารณาว่าครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลเด็ก หรอื ไมอ่ ย่างไร • การประเมินจุดแข็ง คือ การพิจารณาจุดแข็งที่มีอยู่ของตัวเด็กและครอบครัว เพื่อใช้เป็นทรพั ยากรในการวางแผนชว่ ยเหลือตอ่ ไป 2. การวางแผน (Planning) กำหนดแนวทางการดำเนินการและให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น เพอื่ ลดภาวะความเสย่ี ง (สอดคลอ้ งกับผลการประเมินทัว่ ไปและผลการประเมนิ ความเสี่ยง) 3. การให้บริการตามแผน (Intervention) ประสานงานส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เหมาะสม ผ่านการพัฒนาเครือข่ายการทำงานด้านการคุ้มครองเด็กในระดับอำเภอและจังหวัด รวมถึ งการนำ “คู่มือปฏิบัติงานและข้อตกลงร่วมกันในการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กในภาวะเสี่ยงและเป็นผู้เสียหาย จากการละเมิด ละเลยทอดทิ้ง แสวงประโยชน์และใช้ความรุนแรง” (CP Manual) มาปรับใช้ในพื้นที่เพื่อให้ เกดิ แนวทางการปฏิบัติงานร่วมกัน การพัฒนางานประจำสูง่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 41 สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)

4. การติดตามผลการดำเนินงาน (Follow up) รวมทั้งการปรับเปลี่ยนแผนให้เหมาะสม โดยมีการจัดทำและเก็บรักษาแฟ้มประวัติให้เป็นปัจจุบัน เพื่อประโยชน์ในการติดตามความคืบหน้าของ การดำเนินงาน เมื่อสถานการณ์มีการปรับเปลี่ยน อาจมีการประเมินโดยใช้แบบคัดกรอง CMST ซ้ำ เพอ่ื พิจารณาวา่ ระดับความเสยี่ งมีการเปลี่ยนแปลงหรอื ไม่ 5. การยุตกิ ารให้บริการ (Termination) เมอื่ เด็กมีระดบั ความเส่ียงลดลงและสามารถใช้ชีวิต ตามปกติได้ ทั้งนี้ ควรมีการจัดประชุมอย่างน้อยทุก 1 - 2 เดือน รวมถึงอาจมีการจัดประชุมกรณีเร่งด่วน ที่ไม่สามารถรอได้ เช่น เด็กกำลังตกอยู่สภาวะในอันตราย จำเป็นต้องได้รับการสงเคราะห์และคุ้มครอง สวัสดิภาพเร่งดว่ นและไมเ่ กดิ ผลดีตอ่ เด็กหากจะรอใหถ้ ึงรอบการประชุมครัง้ ต่อไป โดยเชิญทีมงานผู้รับผิดชอบ รวมถึงบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมประชุมด้วย โดยมีแนวปฏิบัติในการเก็บรักษาความลับของเด็ก และครอบครัว เพอ่ื ไม่ให้ส่งผลกระทบเชิงลบกบั ตัวเด็ก การดำเนินงานทมี สหวิชาชพี ในระดบั อำเภอและจงั หวดั การประสานงานระหว่างหน่วยงานราชการทเี่ กีย่ วข้อง หรือมีบทบาทเช่ือมโยงกับการดำเนิน ภารกิจด้านการพัฒนาและคุม้ ครองเด็กในระดบั จังหวัด มีเป้าหมายเพ่ือให้หน่วยงานในจังหวัด แสดงบทบาท ในเชิงเกื้อหนุนและเอื้ออำนวยให้กระบวนการสร้างกลไกเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก ในพื้นที่ตำบลต่าง ๆ ภายในจังหวัด ดำเนินไปอย่างราบรื่น บรรลุประสิทธิผลและยั่งยืน สำหรับหน่วยงาน ราชการที่เป็นภาคีหลักในเครือข่ายความร่วมมือระดับจังหวัด ได้แก่ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จงั หวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ตำรวจภูธรจังหวัด สำนักงานอัยการ จังหวัด คดีเยาวชนและครอบครัว ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด สำนักงานยุติธรรมจังหวัด นอกจากน้ี ยังรวมถึงองค์กรภาคีในภาคประชาสังคม อาทิ องค์การสวัสดิการสังคม มูลนิธิ องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัด โดยมีบ้านพักเด็กและครอบครัวเป็นแกนนำ การประสานบทบาทและการทำงาน ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกื้อหนุนและส่งเสริมกระบวนการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อน การพัฒนาและคุ้มครองเด็กในพื้นท่ีตำบลต่าง ๆ ภายในจังหวัด สามารถอาศัยกลไก “คณะกรรมการคุ้มครอง เด็กจงั หวัด” ซ่งึ เป็นกลไกทม่ี ีสถานะตามกฎหมาย มบี ทบาท อำนาจหน้าท่ีและงบประมาณโดยเฉพาะสำหรับ การพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในจังหวัด โดยผ่านการแสดงบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะประธาน กรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด ในขณะเดียวกันบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะผู้บังคับบัญชา หน่วยราชการส่วนภูมภิ าคและประธานกรรมการของคณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) ยังมีผลโดยตรงต่อความสำเร็จและยั่งยืนของกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนคุ้มครองเด็ก การพฒั นางานประจำสงู่ านวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 42 สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

ในพื้นที่ภูมิภาคต่าง ๆ ท่ัวประเทศอีกทางหน่ึงด้วย นอกจากน้ี ยังมีกลไกการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ในระดับอำเภอ ซ่ึงมบี ทบาทสำคญั ในการบูรณาการ บทบาทการทำงานของสว่ นราชการต่าง ๆ ทีม่ ีสำนักงานตั้งอยู่ ในพืน้ ทอ่ี ำเภอในบางจังหวัดกลไกดงั กล่าว ปรากฏในรูป “คณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ” (ก.บ.อ.) ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการระดับท้องถิ่น ภาคประชาสังคมและผู้แทน ภาคเอกชน กลไกดังกล่าว ทำหน้าที่ในการประสานงานกับประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและภาคประชาสังคมในระดับตำบล ในการแก้ไขปัญหาและตอบสนองต่อสถานการณ์ในพื้นที่ ภายใต้ การกำกับดแู ลของนายอำเภอ ส่วนในบางจังหวัดมีการริเริ่มจัดต้ัง “คณะอนกุ รรมการค้มุ ครองเด็กระดับอำเภอ” เพื่อเป็นกลไกประสานการทำงานของทีมสหวิชาชีพและพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบล โดยเฉพาะ นอกเหนือจากกลไกที่เป็นทางการในหลายจังหวัด ยังมีกลไกในลักษณะที่ไม่ได้มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ เช่น ทีมสหวิชาชีพที่ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะรายกรณี โดยดึงนักวิชาชีพและผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามา ทำงานรว่ มกัน ซงึ่ แกนนำอาจเปน็ บ้านพกั เด็กและครอบครวั สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวดั หรือโรงพยาบาล ซง่ึ ทีมสหวิชาชพี นี้จะเป็นทีมเชิงปฏิบัติการทีม่ ีประสบการณ์ในการดูแลช่วยเหลือเด็ก และอาจเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการทำงานร่วมกับคณะกรรมการหรือคณะทำงานคุม้ ครองเด็กระดับตำบล ตอ่ ไป 7. การติดตามและประเมนิ ผล เมื่อไดด้ ำเนินงานตามข้ันตอนแนวปฏิบัติแล้ว ผู้ปฏิบัติงานจะสามารถสะทอ้ นผลงานหรือพจิ ารณาวา่ ดำเนินงานได้ตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ผ่านการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ได้เห็นว่าการดำเนินงานที่ผ่านมาส่งผลอะไรบ้าง โดยเฉพาะในส่วนที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตของเด็กในชุมชน รวมถงึ การพิจารณาว่าจะสามารถปรบั ปรงุ หรือทำใหส้ ่งผลดยี ง่ิ ขึน้ ตอ่ เดก็ ไดอ้ ย่างไรด้วย ชว่ งเวลาในการติดตาม ผลของการพฒั นาระบบคมุ้ ครองเด็กในระดบั ตำบล อาจกำหนดให้ดำเนนิ การเป็นรายไตรมาส เพ่ือให้สามารถ มีการปรับเปลี่ยนการดำเนินงานได้อย่างทันท่วงที โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการติดตาม และประเมินผลนั้น อาจดำเนินการโดยหน่วยงานระดับท้องถิ่นในตำบล ผ่านการสนับสนุนของหน่วยงาน ระดบั จังหวัด หรอื หนว่ ยงานสว่ นกลาง 1.10.3 งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (กรมกิจการเด็กและ เยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2560) ได้วิเคราะห์สถานการณ์ของระบบ คุ้มครองเด็กในประเทศไทยจากการศึกษาด้านเอกสารที่เกี่ยวข้องในรายงานการศึกษาวิจัย ผลการติดตาม ประเมนิ ผลของคณะอนุกรรมการประสานและติดตามผลการดำเนนิ งานค้มุ ครองเด็ก ผลการจดั ประชุมสญั จร การพัฒนางานประจำสงู่ านวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 43 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแก่น (สสว.5)

ของคณะอนุกรรมการพฒั นามาตรการกลไกเพ่อื การสงเคราะหแ์ ละคุ้มครองสวัสดภิ าพเด็ก การทบทวนผลการ ดำเนินงานตลอดจนข้อสรปุ จากการดำเนินโครงการต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง รวมถึงการจัดการหารือ ร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ บนฐานการทำงานด้านสิทธ์ิ (Rights based approach) โดยพบว่าโครงสรา้ ง และกลไกระดบั ทอ้ งถ่ินหน่วยงานหลักทร่ี บั ผิดชอบดูแลด้านงานคุ้มครองเดก็ ในระดบั ชาตแิ ละระดับจังหวัดอยู่ ภายใต้การดแู ลของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ ซึง่ ไมม่ ีโครงสร้างการให้บริการอยู่ใน ระดบั ทอ้ งถิน่ มีเพยี งการประสานและขอความร่วมมือผ่านองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และอาสาสมัครพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตามประเด็นและวาระ โดยในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ไม่มี การกำหนดกลไกการบริหารจัดการด้านการคุ้มครองเด็กในระดับท้องถิ่นที่ครอบคลุมไปถึงระดับตำบลและ ชุมชน ยกเว้นในส่วนของการกำหนด บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในฐานะพนักงาน เจา้ หนา้ ท่ีตามมาตรา 24 แต่เนอื่ งจากไมม่ ีกลไกในการเสรมิ ศักยภาพของผู้บริหารองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ในด้านการคุ้มครองเด็ก ทำให้ไม่สามารถใช้ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่อยู่ใกล้ชิดและทราบ ข้อมลู ในรายละเอยี ดของประชาชน เพอ่ื ใหส้ ามารถเขา้ ถึงหรือจัดบรกิ ารใหก้ บั ประชาชนได้อย่างเหมาะสม โดย ผลจากการทบทวนเอกสารพบว่า สาเหตุสว่ นหน่ึงที่เด็กเข้าไม่ถงึ การคุ้มครองช่วยเหลอื มีปัจจัยสาเหตุมาจาก การขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนกั ของครอบครัว เพื่อนบ้านหรอื ชุมชน รวมทั้งลักษณะการแก้ไข ปัญหาครอบครัวมักจะหาวิธีการแกไ้ ขปัญหากนั เองก่อน เพ่ือปกปิดมิให้บคุ คลภายนอกรบั รู้และรักษาชื่อเสียง ของครอบครัว จนกว่าจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองแล้ว จึงค่อยแสวงหาขอความช่วยเหลือจากผู้ที่ ครอบครัวไว้ใจและเป็นคนกลาง ซึ่งมักใช้วิธีไกล่เกลี่ยรอมชอม จนกว่าจะเป็นการใช้ความรุนแรงซ้ำๆ จนมี อาการบาดเจ็บทางกายที่เห็นได้อย่างชัดเจน ถึงจะส่งต่อไปยังโรงพยาบาลและสถานีตำรวจ และกรณี ความรุนแรงทางเพศมักไม่ค่อยมีการรายงานแจ้งเหตุ เนื่องจากเห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าละอายและไม่ได้ยึด ประโยชน์สูงสุดของเด็กเปน็ หลัก โดยในส่วนของชุมชนเองมักมองว่าเรื่องความรุนแรงต่อเด็กเป็นเรือ่ งภายใน ครอบครวั และมักไม่อยากเกยี่ วข้องกับการเป็นคดีความ โดยเฉพาะกรณีที่ผู้กระทำผิดเป็นผู้มีอิทธิพลในชุมชน ในส่วนของตัวเด็กเองพบว่าเพื่อนจะเป็นแหล่งให้ความช่วยเหลือในกรณีที่เด็กไม่สามารถพึ่งพาสม าชิกใน ครอบครัวได้แล้ว แต่สำหรับกรณีความรุนแรงทางเพศ เด็กจะไม่บอกใคร ด้วยขาดความเข้าใจ รู้สึกอับอาย หรือถกู บังคับ ข่มข่จู ากผูก้ ระทำมิใหบ้ อกใคร จากการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่าหากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ให้ความสำคัญกับปญั หาเด็กและเยาวชนก็ สามารถท่ีจะขยายบทบาทจากการจัดเพยี งแค่สวสั ดกิ ารทวั่ ไป เขา้ มาสูก่ ารใหก้ ารปกป้องคุม้ ครองเด็กอย่างเป็น รูปธรรมมากข้นึ โดยสามารถท่จี ะนำประสบการณ์และแนวทางปฏิบัติที่ดีมาเผยแพร่และขยายผลต่อไปได้ แต่ ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองเด็กอย่าง ท่วั ถงึ และจรงิ จงั สง่ ผลใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ส่วนใหญ่เน้นการพฒั นาสำหรบั เด็กและเยาวชนในเร่อื ง การพฒั นางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 44 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5 จังหวัดขอนแกน่ (สสว.5)

ของการศกึ ษาในสถานศกึ ษาและศนู ย์เดก็ เล็กเป็นหลกั สำหรับหนว่ ยงานในองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นที่มีการ ดำเนินงานคุ้มครองเด็กอย่างเข้มแข็ง พบว่า ยังขาดกฎหมายและระเบียบข้อบังคับรองรับในการกำหนด งบประมาณและขอบเขตความรับผดิ ชอบในการปฏิบัตงิ านคมุ้ ครองเดก็ มูลนธิ ศิ ูนย์พิทักษ์สิทธิเดก็ (มลู นิธศิ ูนยพ์ ิทกั ษ์สิทธิเดก็ , มปพ.) ได้จดั ทำรายงานเร่ือง “ความก้าวหนา้ และ ก้าวต่อไปในการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก” เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยใน รายงานไดเ้ สนอความก้าวหนา้ และก้าวต่อไปในการดำเนินการของหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเมอื่ เดก็ ถูกกระทำความ รุนแรง ซึ่งในส่วนของมาตรการทางการบริหารที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็กดำเนินการ ใน ระดับชาติจะมีการกำหนดโครงสร้างการคุ้มครองเด็กระดับชาติ คือคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติซึ่งมี ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการและมีผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคุ้มครองเด็กทั้งภาครัฐและเอกชน ทำ หน้าทีเ่ ป็นกลไกประสานงานกลางในการขับเคล่ือนงานด้านการคุ้มครองเดก็ เพ่อื กำหนดนโยบายและแนวทาง ในการดำเนินงานด้านคุ้มครองเด็กของประเทศ โครงสร้างการคุ้มครองเด็กระดับจังหวัด คือ คณะกรรมการ คุ้มครองเด็กระดับจงั หวดั นอกจากนี้มีคณะอนุกรรมการทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนงาน ได้แก่ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ คุ้มครองเด็ก คณะอนุกรรมการพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติงานด้านการคุ้มครองเด็ก คณะอนุกรรมการประเมนิ และติดตามผลการคุ้มครองสวัสดภิ าพเด็ก ฯ ในสว่ นของการขบั เคลอ่ื นงานยุติความ รุนแรงต่อเด็กโดยกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การ คุ้มครองช่วยเหลือเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรง โดยมีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับชาติและระดับ จังหวัดเป็นกลไกทั้งในระดับนโยบายในสว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค/สว่ นทอ้ งถ่นิ เพือ่ สง่ เสริมให้เกิดการคุ้มครอง เด็ก โดยในปี 2558 กรมกิจการเด็กและเยาวชนดำเนินโครงการเสริมสร้างชุมชนคุ้มครองเด็ก ในพื้นที่ 36 ตำบล 12 จงั หวดั (นำร่อง) ทกุ ภมู ิภาคทั่วประเทศ โดยการพัฒนารูปแบบ แนวทาง และกลไกในการขับเคลื่อน งาน มีเจ้าภาพในรูปของคณะทำงานที่มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานอยา่ ง ชัดเจน มีแนวทางการประสานความร่วมมือและระดมทรัพยากรในพื้นที่/ชุมชน มีระบบการดูแลคุ้มครอง ประสานส่งต่อระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานภายใต้กฎหมายคุ้มครองเด็ก รวมทั้ง เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ โดยการพัฒนาศักยภาพของบคุ ลากรให้มีสมรรถนะในการพัฒนา ปกปอ้ ง และคุ้มครอง เด็ก ปี 2559 ได้ขยายการดำเนนิ งานโดยกำหนดรูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนค้มุ ครองเด็กใน อบต. /เทศบาล 1,555 แห่ง โดยส่งเสริมให้ อบต./เทศบาลเข้าใจเรื่องสิทธิเด็ก สร้างความตระหนักในการ คมุ้ ครองเดก็ ในชมุ ชน และมีคณะทำงานคมุ้ ครองเด็กในระดบั ตำบล เพือ่ ให้ความคุ้มครองช่วยเหลอื เดก็ ต่อไป การพฒั นางานประจำสู่งานวจิ ัย (Routine to Research : R2R) ปี 2564 45 สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5 จงั หวัดขอนแก่น (สสว.5)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook