Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานประจำปี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Published by a0922683365, 2021-12-02 03:50:48

Description: รายงานประจำปี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Search

Read the Text Version

http://www.uru.ac.th รายงาน ประจำปี UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ANNUAL REPORT 2021

2 รายงาน ประจำปี2564 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY 2021ANNUAL REPORT

ANNUAL REPORT 2021 3 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY CONTENTS สารบญั

4 5 9 สารบัญ 9 บทสรุปผู้บรหิ าร 11 01 ขอ้ มูลท่ัวไป 13 14 ประวัตแิ ละการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ 15 ตราสญั ลักษณป์ ระจำมหาวิทยาลัย โครงสร้างการบริหารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ 16 รายนามผบู้ รหิ ารและอธิการบดี ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ระยะ 20 ปี ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2560 – 2564) 17 17 02 งบประมาณรายรบั - รายจ่าย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 18 ประมาณการรายรับและกรอบวงเงนิ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบประมาณรายจา่ ย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ 19 จำแนกตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ งบประมาณรายจา่ ย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ 20 จำแนกตามหน่วยงานและหมวดรายจา่ ย 38 44 03 ผลการดำเนนิ งานตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ 55 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พันธกิจสมั พันธก์ บั การพฒั นาทอ้ งถน่ิ 61 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตครู และบัณฑติ ดมี คี ุณภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การยกระดบั คุณภาพการศึกษา 62 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การพัฒนาระบบการบริหาร 67 04 ผลการดำเนนิ งานตามตวั ชีว้ ัดและค่าเป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั อุตรดิตถ์ ระยะ 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2560 – 2564) ตัวชว้ี ัดและคา่ เปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ ระยะ 20 ปี ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2560 – 2564) 05 กจิ กรรมสำคัญในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ANNUAL REPORT 2021 5 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY บทสรุปผบู้ ริหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับ ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพือ่ พฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี ระยะท่ี1 (พ.ศ. 2560-2564) ซึง่ มผี ลการดำเนนิ งานในการขับเคลอ่ื นตาม นโยบายและเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ ดงั น้ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พันธกจิ สมั พันธก์ บั การพฒั นาทอ้ งถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พันธกิจสัมพันธ์กับการพัฒนาท้องถิ่ น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเปา้ ประสงค์และกลยทุ ธ ซึ่งมผี ลการดำเนินการดงั นี้ กลยทุ ธ์ที่ 1 บรู ณาการพันธกิจสมั พันธเ์ พอ่ื ยกระดับเศรษฐกจิ ของทอ้ งถิ่น ท่เี ปน็ ไปตามบรบิ ทและความตอ้ งการในการพัฒนา ท้องถิ่น พบว่ามีจำนวนโครงการ 41 โครงการ มีองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านเศษฐกิจของชุมชน ร่วมกับมหาวทิ ยาลยั จำนวน 30 แหง่ มีวสิ าหกจิ ชมุ ชน ผปู้ ระกอบการใหมท่ ีเ่ พ่มิ ขึ้นในท้องถน่ิ จำนวน 30 แห่ง และมมี ูลค่าสินค้าชุมชน ที่เป้าหมายเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 5 โดยดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก จำนวน 300 ครัวเรือน และยกระดับผลติ ภณั ฑ์ชุมชนท้องถิ่น 45 ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้สูงขึ้น มาจาก การดำเนินการ ส่งเสรมิ อาชีพให้เกิดรายไดเ้ พม่ิ ข้ึนและลดรายจา่ ยได้ กลยุทธ์ที่ 2 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่น ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ และสุขภาพ พบวา่ มีจำนวนโครงการ 29 โครงการ มผี เู้ ข้ารว่ มโครงการ จำนวน 2,343 คน สง่ ผลใหผ้ ้เู ข้ารว่ ม เกิดความรู้ความเข้าใจคณุ ลกั ษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ ประกอบด้วย 1. มีทัศนคติท่ีดแี ละถกู ต้อง 2. มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคง เข้มแขง็ มรี ะเบียบวนิ ัย 3. มีงานทำ-มีอาชพี 4. เปน็ พลเมืองดีและสามารถถา่ ยทอดความเขา้ ใจในการเป็นพลเมืองทีด่ มี ีจิตอาสาและเกิด ความเขา้ ใจในความเสียสละของสถาบันพระมหากษัตริย์ ลดความขดั แย้งในชุมชน เกดิ ความรว่ มมือในการแก้ไขปญั หาของชุมชนท้องถิ่น เพิม่ มากข้นึ และสามารถสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นร้ทู ่สี อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาการเรียนรู้ สามารถไปใชไ้ ด้จริง กลยุทธ์ที่ 3 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม พบว่ามีจำนวนโครงการ 12 โครงการ มกี ารส่งเสรมิ และหรอื อนรุ กั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม มปี ระชาชนในทอ้ งถิน่ ท่ีดชั นีสขุ ภาพเพมิ่ ขนึ้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 5 สัดสว่ นของขยะมูลฝอยในชุมชน ได้บการจดั การอย่างถูกต้องและนำมาใชป้ ระโยชน์ คิดเป็นรอ้ ยละ 85 และสัดส่วนของเสยี อนั ตรายในชมุ ชนได้รับการกำจัดอย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 40 ส่งผลให้เกิดการใช้พลังงานสะอาดเพิ่มข้ึน ลดการใช้สารเคมี เพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งทางการเกษตรได้ เช่น โครงการ ทำถ่านอัดแท่งด้วยวัสดุเหลอื ทิ้งจากการเกษตร สามารถแกป้ ัญหาต้นยางทีต่ ัดในพื้นที่ทำใหเ้ กดิ เศษเหลือทิ้งจากไม้ยางพารา สู่การผลติ เชอื้ เพลิงจากถ่านอัดแทง่ จากวัสดุเหลือทง้ิ เกษตรกรเกดิ รายไดจ้ ากการขายถ่านอดั แทง่ 10 บาท/กโิ ลกรมั มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ยังมีผลการดำเนินโครงการบริการวิชาการ พันธกิจสัมพันธ์ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์ เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในพื้นที่ 3 จังหวัด อุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน มีจำนวนทั้งหมด 115 โครงการ ซึ่งมีหมู่บา้ นที่เข้าดำเนินการ 92 หมู่บ้าน โรงเรียน 409 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 2,748 คน ส่วนโครงการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม พบว่ามีการดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนเพื่อสืบสานการสร้าง ความรู้ ความเขา้ ใจในศลิ ปวัฒนธรรม ซง่ึ ดำเนินการโครงการหลัก 2 โครงการ มผี ้เู ข้าร่วมโครงการ จำนวน 550 คน และมผี ลการดำเนิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรม 3 กิจกรรม เช่น การฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น คร้งั ที่ 1/2564 หลกั สตู ร 5 องค์ประกอบ การประเมินขอรบั ขอรับป้ายสนองพระราชดำริในงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี น และการสนบั สนนุ ในดา้ นงานโครงการอนุรกั ษพ์ ันธกุ รรมพืช ห้องสมดุ หอ้ งคอมพิวเตอร์และสาธิตการสอน โครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชน ตามพระราชดำริโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธ์ทิ อง 1 อำเภอบ้านโคก จังหวดั อตุ รดติ ถ์

6 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ ครู และบัณฑติ ดีมีคณุ ภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตครู และบัณฑิตดีมีคุณภาพ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเป้าประสงค์และกลยทุ ธ ซงึ่ มผี ลการดำเนินการดงั นี้ กลยุทธ์ที่ 4 ผลิตครูที่ไดม้ าตรฐานวิชาชีพและมีจิตวิญญาณความเป็นครูและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น พบว่า มีจำนวนโครงการ 4 โครงการ มีสื่อการสอนเพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 50 เรื่อง และได้นำไปใช้ใน 60 โรงเรียน เครือข่ายของพื้นที่ 3 จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน โดยมีโรงเรียนเครือข่ายที่ร่วมพัฒนาวิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์ จำนวน 56 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ เป็น ครู นักเรียน นักศึกษา 705 คน มีการจัดการศึกษาโรงเรียนสาธิต ซึ่งเปนแหล่งฝึกประสบการณ วิชาชีพครูเอกการศึกษาปฐมวัยใหกับนักศึกษา ฝกสอนของคณะครุศาสตร์ ทำให้ผูปกครองมีความพึงพอใจในระดับตนๆ ของจังหวัด และมีผู้สำเรจ็ การศึกษาหลักสูตรสาขาครุศาตร์บัณฑิต จำนวน 637 คน มีบัณฑิตครทู ี่สอบผา่ นมาตรฐานใบประกอบวิชาชีพครู คิดเปน็ รอ้ ยละ 95 ของนักศึกษาคณะครุศาสตรท์ ้งั หมด กลยุทธ์ที่ 5 บัณฑิตดีมีคุณภาพ มีจิตอาสา พัฒนาเป็นผู้ประกอบการท่ีสอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น พบว่า มีจำนวนโครงการ 4 โครงการ มีโรงเรียนท่ีเข้าไปดำเนินงาน 11 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 294 คน โรงเรียนเครือข่ายสามารถนำสอ่ื การสอนไปตอ่ ยอด การใช้พฒั นาการอ่านออกเขยี นได้สำหรบั ช้ันประถมศึกษา มีนกั ศกึ ษาที่ได้รับรางวัลดีเด่นในระดับชาตหิ รือนานาชาติ ในการสร้างอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ทั้งหมด 15 รางวัล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผู้สำเร็จการศึกษา ทั้งหมด 1,575 คน จากการผลติ บัณฑิตดี มคี ณุ ภาพ มีจิตอาสา พฒั นาเป็นผู้ประกอบการ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น รวมท้ังมีบัณฑิตท่ี กลบั มาทำงานในทอ้ งถ่ินของตนเอง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65 และมีบณั ฑติ ทส่ี ำเร็จการศึกษามงี านทำหรือเป็นผู้ประกอบการภายในระยะ 1 ปี ทต่ี อบแบบสอบถามการมีงานทำท้ังหมด 1,224 คน มีงานทำแลว้ 994 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81 กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาศักยภาพครูของครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ พบว่า มีจำนวนโครงการ 1 โครงการ มโี รงเรียนเครือขา่ ยท่เี ข้าร่วมพัฒนาวิชาชพี ครคู ณะครุศาสตร์ 80 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 685 คน ดำเนนิ การพฒั นาด้วย รปู แบบบรุ ีรัมยโ์ มเดล มีอยา่ งนอ้ ย 4 องคป์ ระกอบ ส่งผลให้การผลิตครูทม่ี คี ุณภาพโดยการมีสว่ นรว่ มของทกุ ฝ่ายทั้ง 4 องค์ประกอบของ รปู แบบบุรรี ัมย์โมเดล กลยุทธท์ ี่ 7 สร้างนวตั กรรมเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สู่การศึกษา 4.0 พบว่า มีจำนวนโครงการ 2 โครงการ มีโรงเรียนเครือข่ายร่วมร่วมผลิตครู 14 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 70 คน ดำเนินการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตรส์ ำหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 40 ชิ้น ส่งผลให้โรงเรียนในเครือขา่ ยมีนวัตกรรมการจดั การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ สำหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนในช่วง covid19 และนักศึกษาสามารถพัฒนาแนวคิดโครงงานจากกิจกรรม BCG Idea contest สามารถทำงานและการถ่ายทอดความร้โู ดยรวม ในระดับมาก และมีความพงึ พอใจต่อโครงการในระดับมาก

ANNUAL REPORT 2021 7 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเปา้ ประสงค์และกลยทุ ธ ซ่งึ มีผลการดำเนนิ การดังนี้ กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสหวิทยาการตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น พบว่า มีการดำเนินโครงการ จำนวน 1 โครงการ มีการปรับปรุงหลักสูตรและหลักสูตรใหม่ ในจัดการเรียนการสอน ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งหมด จำนวน 87 หลกั สตู ร โดยจำแนกเป็นการปรบั ปรงุ หลักสตู ร 71 หลักสตู ร และพัฒนาหลักสตู รใหม่ 16 หลักสูตร กลยุทธ์ที่ 9 พัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ พบว่า มีจำนวนโครงการ 9 โครงการ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ในสถานการณ์โควิด 20 ชิ้น และนักเรียนได้รับการจัดการเรียนที่เหมาะสมที่ในสถาณการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ส่วนการดำเนนิ การงานวจิ ัยและงานสร้างสรรค์ มีผลงานจำนวนท้งั หมด 84 ผลงาน นำไปใช้ประโยชน์ 44 ผลงาน และยงั มีผลงานวิจัยท่ี ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ทั้งหมด 192 ผลงาน มีงานวิจัยที่ได้ทำการจดทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 4 งานวิจัย โดยการนำไปใช้ ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษา ต่อชุมชน 133 ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 260 คน โรงเรยี น 5 โรงเรียน และเครือข่าย 8 เครือข่าย ทำใหช้ าวบา้ นเกดิ ความรูใ้ นการนำไปใช้ประกอบอาชพี เพ่อื สร้างรายได้ ลดปรมิ าณขยะ แก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม ทำใหก้ ลุ่มวิสาหกิจมรี ายไดเ้ พิ่ม และรู้ประโยชน์ถึงการนำวสั ดุเหลอื ท้ิงกลับมาทำใหม่ เกิดประโยชน์ในการสร้าง มลู คา่ และพฒั นาผลติ ภัณฑช์ มุ ชน ทำใหน้ กั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 เกิดการพฒั นาอา่ นออกเขียนได้ กลยุทธ์ที่ 10 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้บณั ฑิตเป็นคนดีมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ พบว่า มีจำนวนโครงการ 23 โครงการ เกิดการบูรณาการการจดั การการเรียนการสอนจำนวน 76 รายวิชา เพื่อแก้ไขปัญหาพืน้ ที่ เกิดองค์ความรู้ วิจัย นวัตกรรมที่เกิดร่วมกับ ชมุ ชน จำนวน 76 องคค์ วามรู้ 70 นวตั กรรม สามารถยกระดับทกั ษะนักศกึ ษาทางดา้ นภาษาอังกฤษ โดยมีระดับความสามารถด้านการ ใช้ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ร้อยละ 75.35 ยกระดับทักษะด้านการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล สื่อสาร มีความคิดสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทักษะจากห้องเรียน มาทำงานในพื้นที่โดยใช้หลักการขับเคลื่อนงานตามหลักพันธกิจสัมพันธ์ คือ 1. การร่วมคิด ร่วมทำแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2. เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual benefits) 3. มีการใช้ความรู้และเกิดการการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) 4. เกดิ ผลกระทบตอ่ สงั คมทป่ี ระเมนิ ได้ (Social Impact) อยา่ งเปน็ รูปธรรม รวมไปถงึ การเสรมิ สมรรถนะหลักของนกั ศึกษาแบบบูรณา การในรายวิชาในหลักสูตร มีคุณลักษณะเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย สอดคล้องกับต้องการของตลาดแรงงานเป้าหมาย จำนวน 15 หลักสตู ร และเกิดการพัฒนาหลักสูตรรปู แบบ การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) จำนวน 27 หลักสูตร

8 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การพัฒนาระบบการบรหิ าร มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ มีผลการดำเนนิ งานตามประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การพฒั นาระบบการบริหาร ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเป้าประสงค์ และกลยทุ ธ มผี ลการดำเนนิ การดังนี้ กลยุทธ์ที่ 11 ร่วมกำหนดพื้นที่ความรับผิดชอบในการพัฒนาท้องถิ่น พบว่า มีจำนวนโครงการ 5 โครงการ ได้กลไกในการ ขับเคล่ือนงานแบบบูรณาการพันธกิจของเครอื ขา่ ยมหาวิทยาลัยราชภฏั กบั ภาคี ได้ขอ้ มลู สถานสภาพของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ทง้ั 38 แห่ง ข้อมูลสถานภาพและศักยภาพ และสถานการณ์ปัญหาและความต้องการ ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ร่วมกับสาธารสุข จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปรบั ปรุงอาคารเรียนของมหาวทิ ยาลยั เปดิ เป็นโรงพยาบาลสนาม จำนวน 225 เตียง เพ่อื การรองรบั ผ้ตู ิดเช้ือในประเทศ ไทยและในจังหวดั อตุ รดติ ถ์ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ และมีการจา้ งงานในพ้นื ที่ 600 อัตรา เกดิ การยกระดับเศรษฐกิจและสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ และยังช่วยแบ่งเบาค่าใชจ้ ่ายของผู้ปกครองไดจ้ ำนวน 7,219 คน กลยุทธ์ที่ 12 สร้างเครือข่ายประชารัฐในการทำงานตามพันธกิจ พบว่า มีจำนวนโครงการ 1 โครงการ มีโครงการอาสา ประชารัฐ ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ น่าน และสุโขทัย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 522 คน 19 หมู่บ้าน โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 13 โรงเรียน และกลุม่ ภาคีเครอื ข่าย จำนวน 30 กลมุ่ เครอื ข่าย มีจำนวน 7 โครงการ กลยุทธ์ที่ 13 จัดระบบงานสู่ความเป็นเลิศและเสริมสร้างธรรมาภิบาล พบว่า มีจำนวนโครงการ 4 โครงการ ดำเนินการให้ ความร้กู ารจดั ทำคู่มอื การปฏิบัติงาน (Work manual) พรอ้ มทง้ั เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ การจดั ทำ Flow chart ข้ันตอนการทำงาน โดยมบี คุ ลากรสายสนบั สนุนวทิ ยาลยั นานาชาติ จำนวน 7 คน ส่งผลให้บุคลากรสามารถเขียนวเิ คราะห์ค่างาน และจดั ทำ(ร่าง) คู่มือการ ปฏบิ ัตงิ าน (Work manual) ได้ และการพฒั นาทักษะการสอนกบั การจดั การเรียนนการสอนในศวตวรรษท่ี 21 ในด้านการสือ่ สารข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ การคิดแบบสร้างสรรค์และนวัตกรรมในยุคดิจิทัลมากขึ้น เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในสถาบันและภายนอก สถาบัน นอกจากนี้ในปีการศึกษา 2563 มีผลการประเมินตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาจาก 5 องค์ประกอบ 20 ตัว บ่งชี้ ได้อย่างครบถ้วน ในภาพรวมระดับคุณภาพ ดีมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 อีกทั้งยังได้รับการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคณะกรรมการ ป.ป.ช. และ คณะกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เป็นผู้ประเมิน ส่งผลให้ได้ผลคะแนน การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ในภาพรวม 88.48 คะแนน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน มีผลการประเมนิ ระดบั A (สูง)

01 ANNUAL REPORT 2021 9 ข้อมูลท่วั ไป UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ประวัติและการพัฒนา ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2479 ในที่ดินราชพัสดุ ตั้งอยู่เลขที่ 27 ถนนอินใจมี ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง มีเนื้อที่ 42 ไร่เศษ มีชื่อเรียกว่า “โรงเรียนฝึกหัดครปู ระกาศนียบัตร จังหวัดอุตรดิตถ์” เปิดสอน หลกั สตู รประกาศนยี บัตรจังหวัด (ว.) และเปิดสอนหลักสูตรประกาศนยี บตั รครูประชาบาล (ป.ป.) โดยมปี ระวตั ิพฒั นาการตามลำดับดังนี้ โรงเรียนฝึกหดั ครูอุตรดิตถ์ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2491 “โรงเรียนฝกึ หัดครูอุตรดิตถ์” และเปิดสอนหลักสูตร ประกาศนียบตั รครูมูล (ป.) จนถึงปี พ.ศ. 2498 จึงได้เปิดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) และเลกิ สอนหลกั สตู รอ่ืน ๆ วทิ ยาลัยครอู ุตรดิตถ์ วนั ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 ได้ยกฐานะเปน็ 'วิทยาลัยครอู ุตรดิตถ์' เปดิ สอนถงึ ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาการศกึ ษาช้นั สงู (ป.กศ. สูง) และได้ขยายพนื้ ท่วี ทิ ยาลยั เพ่ิมขึ้นเป็น 190 ไร่ 1 งาน 79 ตารางวา หลังจากที่ได้มีการตราพระราชบัญญัติวทิ ยาลัยครู พ.ศ. 2518 ขึ้นแล้ว วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ได้รับการยกฐานะเป็น วิทยาลัยครู ตามพระราชบัญญัติน้ี เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2519 ทำให้ วิทยาลัยครูมีฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาผลิตครูระดับ ป.กศ. และป.กศ.ชั้นสูง ตามหลักสูตรสภาการฝึกหัดครู และเปลี่ยนการจัดสอน ภาคนอกเวลามาเปน็ การสอนฝกึ หัดครูตอ่ เน่อื งแทน ปี พ.ศ. 2533 วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ได้ร่วมกับสถาบนั บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือนิด้า (NIDA) เพื่อเปิดสอนปริญญาโท ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ภาคพิเศษ เป็นรุ่นแรก ตามโครงการ NIDA-UTC ปี พ.ศ. 2534 เปิดสอนภาคพิเศษ สำหรับสมาชิกหอการค้า เพื่อรับปริญญาทางบริหารธุรกิจ และยกมาตรฐานทางการค้า ของจงั หวดั อตุ รดติ ถต์ ามโครงการ EBD-UTC สถาบนั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ วนั ท่ี 14 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” แทนวิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์จึงมีฐานะเป็นส่วนราชการหนึง่ ของสำนักงานสภาสถาบนั ราชภัฏ การดำเนินงานของสถาบนั ข้นึ อยกู่ บั ขอบข่ายท่กี ำหนดไว้ตามพระราชบญั ญตั ิสถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2537 โดยมีสภาสถาบนั ราชภฏั และสภาประจำสถาบนั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ดังกลา่ วเปน็ ผูก้ ำหนด

10 มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคณุ โปรดเกล้าฯ ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 ซึ่งไดน้ ำประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป มีผลทำให้สถาบันราชภัฏทั่วประเทศไดย้ กฐานะ ข้ึนเปน็ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปจั จบุ นั มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ ตง้ั อยูเ่ ลขท่ี 27 ถนนอินใจมี ตำบลท่าอฐิ อำเภอเมอื ง จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ รวมพื้นท่ีทั้งส้ิน 3,038 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา ซ่ึงแบ่งสว่ นไดด้ ังนี้ สว่ นกลาง มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ สว่ นกลางมพี ืน้ ท่ี 190 ไร่ 1 งาน 79 ตารางวา สถานทนี่ ีน้ ักศกึ ษาทกุ คณะจะตอ้ งมาทำกิจกรรม ต่าง ๆ ทสี่ ่วนกลาง ในสว่ นนเี้ ป็นท่ีตัง้ ของสำนักงานอธิการบดี หน่วยงานตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย และเป็นท่ีต้งั คณะ 4 คณะ 2 วิทยาลัย คือ คณะครุศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาการจัดการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย และ วิทยาลยั นานาชาติ และอีกสว่ นหน่ึงเปน็ โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ วิทยาเขตหมอนไม้ เป็นที่ตั้งของคณะเกษตรศาสตร์ ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการเกษตร และเป็นศูนย์วิจัยค้นคว้าทางเกษตรและ เทคโนโลยี มีเนื้อที่ 92 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 3 บ้านหมอนไม้ ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ส่วนใหญ่จะเป็ น อาคารเรียนของคณะเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตลำรางทงุ่ กะโล่ การขยายวิทยาเขตน้ีส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีระหว่างการก่อสรา้ งตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 ถงึ 2567 รวมระยะเวลา 15 ปี การจัดต้ัง เป็นการแก้ไขปัญหาเนื้อที่ของมหาวิทยาลัยส่วนกลางไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษา จึงขยายวิทยาเขตมาจัดต้ัง ณ บริเวณลำรางทุ่งกะโล่ โดยมีแนวคิดว่ามหาวิทยาลัยท้องถิ่น การสร้างอาคารต้องสูงไม่เกิน 3 ชั้น และมีความกลมกลืนกับธรรมชาติ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชนและท้องถิ่น มีเนื้อที่ 2,000 ไร่ เป็นที่ตั้งของอาคารต่าง ๆ เช่น อาคารสาธารณสุขศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พน้ื ท่ีจัดการศกึ ษา/บริการวิชาการนอกจงั หวดั อตุ รดิตถ์ • มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ วทิ ยาลยั นา่ น อำเภอเวยี งสา จังหวดั นา่ น มพี ืน้ ท่ี 730 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา • มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ ศนู ยว์ ทิ ยบริการจังหวดั แพร่ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ มพี นื้ ท่ี 25 ไร่

ตราสญั ลกั ษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ANNUAL REPORT 2021 11 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ตราสญั ลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย คือ รูปพระ ราชลัญจกรประจำพระองค์ รัชกาลที่ 9 มีลักษณะเป็น ตรางารูปไข่ กว้าง 5 เซนติเมตร สูง 6.7 เซนติเมตร รูป พระที่นั่งอัฏฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรือเลข ๙ รอบ ๆ มีรัศมี แปลความหมายว่า “ทรงมีพระบรมเดชานุภาพใน แผ่นดิน” ด้านบนของตรามีอักษรข้อความ ว่า “มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์” ด้านล่างของตรามี ข้อความว่า “UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY” ตราสัญลักษณป์ ระจำมหาวทิ ยาลยั มี 5 สี ซ่งึ มคี วามหมาย ดงั น้ี สีนำ้ เงนิ แทนคา่ สถาบนั พระมหากษัตริย์ผใู้ ห้กำเนิด และพระราชทานนาม “มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ” อนั แปลวา่ นกั ปราชญ์แห่งพระราชา สีเขยี ว แทนคา่ แหล่งที่ต้ังของมหาวิทยาลยั ในแหล่งธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มทส่ี วยงาม สีทอง แทนคา่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางภูมปิ ญั ญา สีส้ม แทนค่า ความรุง่ เรืองทางศลิ ปวฒั นธรรมท้องถ่ิน สขี าว แทนคา่ ความคดิ อนั บรสิ ุทธ์ิของนักปราชญแ์ ห่งพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช

12 สปี ระจำมหาวิทยาลยั เขยี ว - เหลอื ง หมายถึง มหาวทิ ยาลัยอุดมศึกษา ของท้องถิ่นท่ีพร้อมด้วยความสงบ ร่มเย็น ความมีระเบียบและสมานสามคั คี เหมาะท่จี ะเปน็ สถานศึกษาหาความร้ผู ลิตบณั ฑติ ทม่ี ีความรู้คณุ ธรรม ต้นไมป้ ระจำมหาวทิ ยาลยั “ต้นหางนกยงู ฝรัง่ ”

ANNUAL REPORT 2021 13 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY

14 รายนามผบู้ ริหารและอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ มผี บู้ รหิ ารนับต้งั แต่เร่ิมกอ่ ตง้ั ใน พ.ศ. 2479 คร้ังยงั เปน็ โรงเรยี นฝึกหัดครปู ระกาศนยี บตั รจนถึง ปัจจุบนั (พ.ศ. 2564) นบั ได้ 85 ปี มรี ายนามดงั ต่อไปน้ี ชอ่ื -นามสกลุ ตำแหนง่ ช่วงดำรงตำแหนง่ โรงเรียนฝกึ หดั ครปู ระกาศนยี บตั ร 1. นายชอลค์ บวั ผ่อง ครูใหญ่โรงเรยี นฝกึ หดั ครูประกาศนียบัตร พ.ศ. 2479 (รักษาการ) 2. นายต่วน รอดเทยี่ ง ครูใหญ่โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระกาศนียบัตร พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2483 3. นายพล พิกุลสวสั ด์ิ ครใู หญ่โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระกาศนียบัตร พ.ศ. 2483 - พ.ศ. 2484 4. นายพศิ าล ชัยเพช็ ร์ ครใู หญโ่ รงเรียนฝกึ หดั ครปู ระกาศนยี บัตร พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2487 5. นายทองอนิ ทร์ ปณั ฑรานนท์ ครใู หญโ่ รงเรียนฝึกหดั ครปู ระกาศนยี บัตร พ.ศ. 2487 - พ.ศ. 2489 วทิ ยาลยั ครอู ุตรดิตถ์ 6. นายประกอบ สวุ รรณพาณชิ ย์ อาจารย์ใหญ่ วทิ ยาลยั ครูอตุ รดิตถ์ พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2505 7. นายบุญเลศิ ศรหี งส์ อาจารยใ์ หญ่ วทิ ยาลยั ครอู ุตรดติ ถ์ พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2514 8. นายบญุ เลศิ ศรหี งส์ ผู้อำนวยการ วทิ ยาลยั ครอู ุตรดติ ถ์ พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2515 9. นางสาวบญุ เทยี ม แสงศิริ ผูอ้ ำนวยการ วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2515 - พ.ศ. 2519 10. นางสาวบญุ เทยี ม แสงศริ ิ รกั ษาการอธกิ าร วทิ ยาลยั ครอู ตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2519 (รกั ษาการ) 11. นายมังกร ทองสุขดี รกั ษาการอธกิ าร วิทยาลยั ครอู ุตรดติ ถ์ พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2520 12. นายประชุม มุขดี อธกิ าร วทิ ยาลัยครอู ตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2526 13. นายสมชยั มณรี ัตน์ อธิการ วิทยาลยั ครอู ตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2530 14. นายจำนรรค์ สุทธาพนั ธุ์ อธิการ วทิ ยาลัยครูอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2533 15. นายสนาม แก้วศรีนาก อธกิ าร วิทยาลยั ครอู ุตรดติ ถ์ พ.ศ. 2533 (รกั ษาการ) สถาบันราชภฏั อุตรดติ ถ์ 16. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาณพ ภาษิตวิไลธรรม อธิการบดี สถาบนั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2542 17. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า อธกิ ารบดี สถาบนั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2546 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ 18. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สิทธิชัย หาญสมบัติ อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2556 19. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เรืองเดช วงศห์ ลา้ อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2560 20. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา มงิ่ ฉาย อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2560 (รกั ษาการ) 21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรืองเดช วงศห์ ลา้ อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2560 - 2564 22. รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ าวณิ ี สตั ยาภรณ์ อธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2564 - ปัจจบุ นั

ANNUAL REPORT 2021 15 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ ระยะ 20 ปี ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2560 – 2564) ปรชั ญา “มหาวทิ ยาลยั เพือ่ การศึกษาและพฒั นาชุมชนทอ้ งถนิ่ ” วิสัยทศั น์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ เป็นสถาบันท่ผี ลติ บัณฑติ ทม่ี ีอตั ลกั ษณ์ ดี เก่ง มีจติ อาสา เป็นผู้ประกอบการ มีคณุ ภาพ มสี มรรถนะ และเป็นสถาบนั ทบ่ี รู ณาการองค์ความรู้ส่นู วัตกรรมในการพฒั นาท้องถิ่นเพ่อื ความเข้มแขง็ และยั่งยืน พนั ธกิจ 1. ผลติ บัณฑิตดีทมี่ ีคณุ ภาพ มีทศั นคติท่ีดเี ปน็ พลเมืองดใี นสงั คม และมสี มรรถนะตามความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ัณฑิต 2. ผลติ และพฒั นาครูอยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานของครุ สุ ภา 3. วจิ ยั และบริการทางวชิ าการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี สรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรม ที่มคี ณุ ภาพ และไดม้ าตรฐานเปน็ ทีย่ อมรับ มุ่งเนน้ การบรู ณาการเพือ่ นำไปใช้ในทอ้ งถิ่นไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม 4. พฒั นาท้องถนิ่ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตามศักยภาพสภาพปญั หาและความตอ้ งการที่แท้จรงิ ของชมุ ชน โดยนอ้ มนำแนวพระราชดำริสู่การปฏบิ ัติ 5. สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื กับทุกภาคส่วนเพ่ือรว่ มพัฒนาทอ้ งถน่ิ และเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของผูน้ ำชุมชน ให้มคี ณุ ธรรม และความสามารถในการบรหิ ารงานเพื่อนประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนท้องถิน่ 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการมหาวทิ ยาลยั ด้วยหลักธรรมาภิบาล พรอ้ มรับการเปล่ยี นแปลงเพ่อื ใหเ้ กดิ การพัฒนา อยา่ งตอ่ เนื่อง วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ผลติ บณั ฑิตดี มีคณุ ภาพในการพัฒนาชมุ ชนทอ้ งถิ่น 2. เพ่อื ผลิตและพฒั นาครอู ยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐานของคุรุสภา 3. เพอ่ื วจิ ัยบรกิ ารวชิ าการถา่ ยทอดในเทคโนโลยี สรา้ งองคค์ วามร้แู ละนวัตกรรม 4. เพ่อื ทำนบุ ำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม โดยนอ้ มนำแนวพระราชดำริมาใชใ้ นการพฒั นาชุมชนท้องถนิ่ 5. เพ่อื สร้างเครอื ขา่ ยและความรว่ มมอื ภาคีเครือข่ายทกุ ภาคสว่ น เพ่อื ร่วมพัฒนาท้องถิน่ 6. เพอ่ื พัฒนาระบบการบริหารจดั การมหาวทิ ยาลยั ด้วยหลกั ธรรมาภิบาล เอกลักษณ์ “มหาวิทยาลยั ของชมุ ชนทอ้ งถิ่น” อตั ลักษณ์ “ดี เก่ง มจี ติ อาสา พฒั นาให้เปน็ ผปู้ ระกอบการ” ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พันธกจิ สมั พันธก์ บั การพัฒนาท้องถิ่น ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ ครู และบณั ฑติ ดีมีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การพัฒนาระบบการบรหิ าร

16 02 งบประมาณรายรบั - รายจา่ ย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ANNUAL REPORT 2021 17 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY งบประมาณรายรับ - รายจ่าย 1. ประมาณการรายรบั และกรอบวงเงินงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประเภทงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วย : บาท แผน ผล แผน ผล (ผลปี 63 – 64) รอ้ ยละ 1. เงนิ งบประมาณแผ่นดิน 1.1 รายจ่ายประจำ 603,987,100 603,987,100 522,756,400 522,756,400 เพ่ิม - ลด เพิ่ม - ลด 1.2 รายจา่ ยลงทนุ 340,097,600 340,097,600 339,802,300 339,802,300 -81,230,700 -13.45 2. เงนิ รายได้ 263,889,500 263,889,500 182,954,100 182,954,100 2.1 คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา 158,082,200 126,825,800 147,972,000 118,377,500 -295,300 -0.09 และรายไดอ้ ืน่ 121,415,200 97,132,200 109,246,300 87,397,000 -80,935,400 -30.67 2.2 จดั การศกึ ษาบัณฑิตศกึ ษา -8,088,300 -7.00 2.3 จัดการศกึ ษาวิทยาลยั 8,135,000 6,508,000 8,101,700 6,481,300 -9,735,200 -10.02 นานาชาติ 1,680,000 1,344,000 1,896,000 1,516,800 2.4 จัดการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน -26,700 -0.41 (สาธิต) 26,850,000 21,841,600 28,728,000 22,982,400 172,800 12.86 รวมทงั้ ส้ิน 762,069,300 730,812,900 670,728,400 641,133,900 1,140,800 5.22 -89,679,000 -12.00 2. งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ 2.1 จำแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วย : บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ จำนวนเงิน ร้อยละ พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 เพมิ่ - ลด เพิ่ม - ลด ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 พันธกจิ สมั พันธก์ บั การพฒั นาทอ้ งถนิ่ จำนวนเงนิ ร้อยละ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลติ ครูและบณั ฑติ ดมี ีคณุ ภาพ 387,302,800 340,323,000 53.08 -46,979,800 -12.13 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา 184,701,100 162,296,900 25.31 -22,404,200 -12.13 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบรหิ าร 99,793,100 87,688,200 13.68 -12,104,900 -12.13 รวมทัง้ ส้ิน 58,655,900 50,825,800 7.93 -7,830,100 -13.35 730,452,900 641,133,900 100.00 -89,319,000 -12.23

18 2. งบประมาณรายจ่าย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ (ต่อ) 2.2 จำแนกตามหนว่ ยงานและหมวดรายจ่าย หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทัง้ ส้นิ พ.ศ. 2563 งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน งบลงทุน งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอื่น 34,257,000 - 37,312,900 1 คณะครุศาสตร์ 33,167,300 29,189,900 - - 5,067,100 - 40,396,000 - 27,749,100 2 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 34,160,000 34,949,500 - 22,000 2,341,400 8,669,300 35,000 27,899,900 3 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 35,829,200 37,312,900 - - 3,083,100 - 2,774,500 - 11,202,400 4 คณะวิทยาการจัดการ 25,718,900 26,008,400 - - 1,705,700 - 2,175,400 - 14,319,600 5 คณะเกษตรศาสตร์ 8,318,800 7,519,700 - - 1,149,600 - 28,001,800 - 5,009,300 6 คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 25,347,900 26,158,700 - - 1,741,200 - 1,862,200 - 6,031,400 7 ศนู ยว์ ทิ ยบริการจังหวัดแพร่ 3,256,500 2,194,500 - - 580,000 - 10,088,000 - 8 วทิ ยาลัยนา่ น 12,920,800 9,717,800 - - 1,484,600 - 456,800 - 8,919,300 9 สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา 1,757,900 1,820,400 - - 355,000 - 1,855,500 - 3,589,700 10 สำนกั วิทยาบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 11,887,700 9,801,800 - 517,454 4,000,255 - 8,679,700 - 36,403,300 11 กองกลาง 33,932,100 27,311,800 - - 690,000 - 6,481,300 - 316,999,500 12 กองนโนบายและแผน 8,647,300 4,809,300 - - 200,000 641,133,900 1,000,000 13 กองบริหารงานบุคคล 1,527,500 1,632,200 - - 230,000 1,035,000 100 14 กองบริการการศกึ ษา 4,526,800 5,181,400 - - 850,000 0.16 15 กองพฒั นานักศกึ ษา 9,042,300 6,952,000 - - 3,136,000 16 กองศิลปวัฒนาธรรม 1,156,000 306,800 - - 150,000 17 สำนกั งานทงุ่ กะโล่ 9,030,600 7,319,300 - - 1,600,000 18 สำนักงานคณะกรรมมาตรฐานคุณภาพ 1,920,700 1,700,500 - - 155,000 19 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3,546,700 2,996,700 - - 593,000 20 วิทยาลยั นานาชาติ 7,445,200 7,843,600 - - 836,100 21 โรงเรียนสาธิต 32,912,300 29,414,500 - - 6,988,800 22 บณั ฑติ วิทยาลยั 6,508,000 1,890,500 - - 4,590,800 23 งบกลางมหาวิทยาลยั 417,892,400 39,767,600 8,625,900 182,954,100 84,651,900 รวมท้งั สน้ิ 730,452,900 321,799,800 8,625,900 183,493,645 126,179,555 ร้อยละ 50.19 1.35 28.62 19.68

ANNUAL REPORT 2021 19 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY 03 ผลการดำเนนิ งาน ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

20 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พนั ธกิจสมั พันธก์ บั การพฒั นาทอ้ งถิ่น เปา้ ประสงค์ 1. ดา้ นเศรษฐกจิ 2. ด้านสงั คม 3. ด้านสิง่ แวดล้อม กลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 บรู ณาการพนั ธกจิ สัมพันธเ์ พอื่ ยกระดบั เศรษฐกิจของทอ้ งถิน่ ทเ่ี ปน็ ไปตามบรบิ ทและความตอ้ งการในการพฒั นาท้องถิ่น - ส่งเสริม สนับสนนุ ให้ หนว่ ยงาน นักศกึ ษา ประชาชนนำแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและโครงการพระราชดำริ สกู่ ารพฒั นาองคค์ วามรู้ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและเศรษฐกจิ ชุมชน - สง่ เสรมิ การบรู ณาการพันธกิจสมั พันธ์ของมหาวทิ ยาลยั อยา่ งมสี ว่ นรว่ มกบั ทุกภาคส่วน เพือ่ ยกระดับเศรษฐกิจของทอ้ งถิ่น - ส่งเสริมให้มีการนำองค์ความรู้จากการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ด้านการยกระดับเศรษฐกิจของท้องถิ่น ไปเผยแพร่ ถา่ ยทอดสูผ่ ้ใู ชป้ ระโยชน์ - สร้างภาคีเครือข่ายและส่งเสริมการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยอย่างมีส่วนร่วม เพื่อสร้างองค์ความรู้ พัฒนาความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ และเปน็ พนื้ ฐานในการแกป้ ญั หาท้องถิน่ และพัฒนาประเทศ กลยทุ ธท์ ่ี 2 บรู ณาการพนั ธกจิ สมั พนั ธ์เพือ่ พัฒนาสังคมทอ้ งถนิ่ ดา้ นศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศกึ ษา การพฒั นา ทรพั ยากรมนษุ ย์ และสขุ ภาพ - ส่งเสริมการบูรณาการองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ เชิงวิชาการ และเชิงพ้ืนท่ี เพอ่ื พฒั นา สงั คมท้องถน่ิ ด้านศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม และกฬี า การศกึ ษา การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ และสุขภาพ กลยทุ ธท์ ี่ 3 บูรณาการพนั ธกจิ สมั พนั ธ์เพ่อื พฒั นาสงั คมทอ้ งถน่ิ ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม - ส่งเสริมการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยอย่างมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน ท้ังในด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โครงการพระราชดำริและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สกู่ ารสรา้ งองคค์ วามรู้ พฒั นาความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ และเป็นพ้นื ฐานในการแกป้ ญั หาดา้ นสง่ิ แวดล้อมของท้องถ่ิน

ANNUAL REPORT 2021 21 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ผลการดำเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พันธกิจสัมพันธก์ ับการพัฒนาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ มผี ลการดำเนินงานตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พันธกิจสมั พนั ธก์ ับการพฒั นาทอ้ งถิ่น ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเปา้ ประสงคแ์ ละกลยุทธ ซึง่ มีผลการดำเนนิ การดงั น้ี กลยุทธ์ที่ 1 บูรณาการพนั ธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกจิ ของทอ้ งถิ่น ที่เป็นไปตามบริบทและความต้องการในการพัฒนา ท้องถิ่น พบว่ามีจำนวนโครงการ 41 โครงการ มีองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านเศษฐกิจของชุมชน รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั จำนวน 30 แหง่ มีวสิ าหกจิ ชุมชน ผปู้ ระกอบการใหมท่ ีเ่ พมิ่ ขึ้นในท้องถิ่น จำนวน 30 แหง่ และมีมูลค่าสินค้าชุมชน ที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 5 โดยดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก จำนวน 300 ครัวเรือน และยกระดับผลติ ภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 45 ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้สูงขึ้น มาจาก การดำเนินการ สง่ เสริมอาชีพใหเ้ กดิ รายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ และลดรายจ่ายได้ กลยุทธ์ที่ 2 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่น ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ และสขุ ภาพ พบว่ามีจำนวนโครงการ 29 โครงการ มีผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 2,343 คน ส่งผลใหผ้ ู้เข้าร่วม เกิดความรู้ความเข้าใจคณุ ลกั ษณะคนไทยท่ีพึงประสงค์ 4 ประการ ประกอบด้วย 1. มีทัศนคติท่ีดแี ละถูกตอ้ ง 2. มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคง เข้มแข็ง มีระเบียบวินัย 3. มีงานทำ-มีอาชีพ 4. เป็นพลเมืองดีและสามารถถ่ายทอดความเข้าใจในการเป็นพลเมืองที่ดีมีจิตอาสาและ เกิดความเข้าใจในความเสียสละของสถาบันพระมหากษัตริย์ ลดความขัดแย้งในชุมชน เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ทอ้ งถ่นิ เพิม่ มากขน้ึ และสามารถสรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกบั สภาพปัญหาการเรียนรู้ สามารถไปใช้ไดจ้ ริง กลยุทธ์ที่ 3 บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม พบว่ามีจำนวนโครงการ 12 โครงการ มีการสง่ เสริมและหรืออนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม มีประชาชนในท้องถ่นิ ทด่ี ัชนสี ุขภาพเพมิ่ ข้นึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 สดั สว่ นของขยะมลู ฝอยในชุมชน ไดบ้ การจดั การอย่างถูกต้องและนำมาใชป้ ระโยชน์ คิดเป็นรอ้ ยละ 85 และสดั สว่ นของเสียอนั ตรายในชมุ ชนได้รับการกำจัดอย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 40 ส่งผลให้เกดิ การใช้พลงั งานสะอาดเพิม่ ขึ้น ลดการใช้สารเคมี เพิ่มมูลค่าของเหลอื ทิ้งทางการเกษตรได้ เช่น โครงการ ทำถ่านอัดแทง่ ด้วยวสั ดเุ หลือทิ้งจากการเกษตร สามารถแก้ปญั หาต้นยางที่ตัดในพื้นที่ทำให้เกิดเศษเหลอื ทิง้ จากไม้ยางพารา สู่การผลติ เช้อื เพลงิ จากถ่านอดั แทง่ จากวัสดเุ หลือทิง้ เกษตรกรเกดิ รายไดจ้ ากการขายถา่ นอดั แท่ง 10 บาท/กโิ ลกรัม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ยังมผี ลการดำเนนิ โครงการบริการวิชาการ พันธกิจสมั พนั ธ์ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในพื้นที่ 3 จังหวัด อุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน มีจำนวนทั้งหมด 115 โครงการ ซึ่งมีหมู่บ้านที่เขา้ ดำเนินการ 92 หมู่บ้าน โรงเรียน 409 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 2,748 คน ส่วนโครงการทำนุบำรงุ ศิลปวัฒนธรรม พบว่ามีการดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนเพื่อสืบสานการสร้าง ความรู้ ความเขา้ ใจในศลิ ปวฒั นธรรม ซึ่งดำเนนิ การโครงการหลัก 2 โครงการ มีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 550 คน และมีผลการดำเนิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรม 3 กิจกรรม เช่น การฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครัง้ ที่ 1/2564 หลกั สูตร 5 องค์ประกอบ การประเมินขอรับขอรับปา้ ยสนองพระราชดำริในงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน และการสนับสนนุ ในด้านงานโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืช หอ้ งสมุด ห้องคอมพวิ เตอร์และสาธติ การสอน โครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชน ตามพระราชดำรโิ รงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยอดโพธทิ์ อง 1 อำเภอบา้ นโคก จงั หวัดอุตรดติ ถ์ มีรายละเอยี ดดังนี้

22 รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม : โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กลยุทธ์ที่ 1 บูรณาการพันธกิจสมั พันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกจิ ของทอ้ งถ่นิ ท่ีเปน็ ไปตามบริบทและความตอ้ งการในการพัฒนาท้องถ่ิน 1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าสินค้าวิสาหกิจ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจที่เข้าร่วมโครงการ 40 คน มีกลุ่มภาคีเครือข่าย ชุมชนกล่มุ สตรที อผา้ 1 กลุ่ม เกิดทักษะด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่าสินค้า พื้นที่เป้าหมาย : หมู่บ้านวังกอง ตำบลสองคอน อำเภอฟากท่า มรี ายได้สงู ขึ้นจากเดมิ ร้อยละ 10 จังหวดั อตุ รดิตถ์ ภายใต้งบประมาณ 120,000 บาท ผรู้ ับผิดชอบ : คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 2. โครงการส่งเสริมการตลาดและขยายช่องทางการตลาด สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจ ผู้เข้าร่วมโครงการ 89 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย ผลิตภัณฑช์ ุมชน 1 กลุ่ม ได้ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ จำนวน 3 ต้นแบบ พื้นที่เป้าหมาย : หมู่บ้านวังกอง ตำบลสองคอน อำเภอฟากท่า และได้รูปแบบช่องทางการตลาดออนไลน์ 1 ช่องทาง ส่งผลให้การ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ จากปี พ.ศ.2563 และ ปี พ.ศ.2564 เปลี่ยนแปลง ภายใตง้ บประมาณ 120,000 บาท ไปในทิศทางทเ่ี พิ่มขึ้นจากรอ้ ยละ 31.81 เปน็ ร้อยละ 41.07 ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับชุมชน โครงการนี้เป็นการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ ฯ ซึ่งมีโครงการร่วมอยู่ ฐานราก 5 โครงการ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 40 คน ส่งผลให้ประชาชนในชุมชน พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง บ้านนาคูหาเกิดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปสร้างและพัฒนาอาชีพเพ่ือ จังหวัดแพร่ ยกระดับรายได้ เกิดระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการขจัดปัญหาและ ภายใตง้ บประมาณ 500,000 บาท ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เกิดการยกระดับผลิตภัณฑ์ ผู้รับผิดชอบ : วิทยาลยั นานาชาติ ชุมชนเพื่อส่งเสริมรายได้และการท่องเที่ยวชุมชนให้ได้รับมาตรฐาน ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน เกดิ สนุ ทรยี ศาสตร์ทางการท่องเทย่ี วในชุมชนจากการ จัดการระบบนิเวศที่เอื้อต่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาคูหา มีนกั ทอ่ งเทย่ี วเข้ามาเท่ียวโดยพักท่ใี นชุมชนบ้านนาคูหาเพม่ิ ข้ึน 4. โครงการยกระดับผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนเพ่ือส่งเสริมรายได้และการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย ท่องเทยี่ วชุมชนบา้ นนาคูหา 1 กลุ่ม ได้รับองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง บรรจุภัณฑ์ ที่ได้รับมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ สามารถยกระดับ จังหวดั แพร่ รายได้ใหแ้ ก่กล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชนไมน่ ้อยกว่า 5% ตอ่ ผลิตภัณฑ์ จำนวน ภายใต้งบประมาณ 75,000 บาท 5 ผลิตภณั ฑ์ ผู้รับผิดชอบ : คณะวิทยาการจัดการ 5. โครงการการจัดการพื้นที่ปลูกและปัจจัยการปลูกข้าวโพด ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม ส่งผลให้ และการทำนาข้าว เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการเพาะปลูกข้าวและข้าวโพด พื้นที่เป้าหมาย: บ้านทุ่งผง ตำบลทุ่งศรีทอง อำเภอเวียงสา ในพื้นที่อาศัยน้ำฝน และทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการเพาะปลูกข้าว จงั หวดั นา่ น โดยเฉล่ีย 88 บาท/ไร่ ข้าวโพด 1,272 บาท/ไร่ ภายใตง้ บประมาณ 119,860 บาท ผู้รับผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์

ANNUAL REPORT 2021 23 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 6. โครงการส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ เพื่อยกระดับ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน ส่งผลให้ได้แนวทางการรวมกลุ่มเพ่ือ คุณภาพชีวติ ประกอบอาชีพ ได้ใช้ความร้ทู ักษะในการพัฒนาอาชีพตัวเอง สามารถ พน้ื ทีเ่ ปา้ หมาย : บา้ นค้างปินใจ อำเภอวงั ช้ิน จงั หวัดแพร่ ลดต้นทุนการผลิของเกษตรกร สามารถลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ ภายใตง้ บประมาณ 500,000 บาท สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับการดำเนินชีวิต และทำให้ผู้สูงอายุ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : สถาบันวจิ ัยและพัฒนา รู้จักวธิ ีการดแู ลตนเอง 7. โครงการยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์กล่มุ แปรรปู มะม่วง กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนแปรรูปมะม่วงหมิ พานต์ ทเ่ี ข้าร่วมโครงการจำนวน หมิ พานต์ 30 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 2 กลุ่ม ศูนย์การเรียนรู้ 1 แหล่ง ส่งผลให้ พน้ื ที่เป้าหมาย: หมู่ 5 บ้านน้ำแก่นใต้ ตำบลนำ้ แกน่ สมาชกิ มีรายได้เพิ่มข้ึน 900 บาทตอ่ 1 คน ตอ่ 1 เดือน อำเภอภูเพียง จังหวดั น่าน ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ผู้รับผดิ ชอบ : วิทยาลัยน่าน 8. โครงการพัฒนาข้าวเมา่ ธญั พชื สูตรข้าวเหนียวก่ำ จดั ทำสูตรมาตรฐาน 2 ผลิตภณั ฑ์ คือ สูตรผลไมอ้ บแห้งและข้าวเหนยี ว พื้นที่เป้าหมาย : บ้านโคกงาม ตำบลผักขวง อำเภอทองเเสนขัน กำ่ เพื่อเข้าสู่มาตรฐานการจำหน่าย มผี ู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ส่งผล จังหวดั อตุ รดิตถ์ ให้ได้สูตรข้าวเม่า 2 สูตร ได้ผลการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ ภายใต้งบประมาณ 25,000 บาท และไดจ้ ัดทำฉลาก GDA สำหรับผลิตภัณฑ์ ผู้รับผิดชอบ : คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9. โครงการพฒั นาต้นแบบเหล็กน้ำพี้ : ประตมิ ากรรมนูนสูง มีผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม ส่งผลให้ได้ พื้นทีเ่ ปา้ หมาย : บา้ นน้ำพ้ี ตำบลนำ้ พี้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้รูปแบบการทำงานและการ อำเภอทองเเสนขัน จังหวัดอุตรดติ ถ์ เรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) ระหว่าง นักศึกษา อาจารย์ และ ภายใตง้ บประมาณ 24,960 บาท ผู้ประกอบการ เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้ (Social impact) ผรู้ ับผิดชอบ : คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ อย่างเปน็ รูปธรรม 10. โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภณั ฑ์เบญจรงค์ ผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม ส่งผลให้ได้ พนื้ ท่เี ปา้ หมาย : บา้ นเกาะ ตำบลป่าเซา อำเภอเมอื ง ผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 ผลิตภัณฑ์ ได้รูปแบบการทำงานและการเรียนรู้ จังหวดั อุตรดติ ถ์ ร่วมกัน เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม ภายใต้งบประมาณ 38,800 บาท ผู้รบั ผดิ ชอบ : คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 11. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร จากการถ่ายทอดใหค้ วามรู้ทางด้านการแปรรปู ปลาส้ม การบรรจภุ ณั ฑ์ ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ จังหวัดอุตรดติ ถ์ และการให้ทดลองโพสจำหน่ายในออนไลน์ Facebook และ Line พื้นที่เป้าหมาย : 218/5 หมู่ 4 ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรทฤษฎีใหม่หัวใจพอเพียง ผู้เข้าร่วม จังหวัดอุตรดติ ถ์ โครงการ 10 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม ส่งผลให้กลุ่มสามารถ ภายใต้งบประมาณ 20,000 บาท มีรายได้ เพิ่มมากขึ้นต่อรอบการผลิต อย่างน้อย 40 % ของต้นทุน ผู้รบั ผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ การผลิต เช่น ลงทุนไป 4,000 บาท ก็จะได้กำไรเข้ากลุ่ม 1,600 บาท ถา้ นำไปทอด จะเพิ่มข้นึ อีก 20 %

24 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 12. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ กลุ่มผู้ประกอบการกล้วยพรจากแม่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน กลุ่ม อาหารชมุ ชนท้องถน่ิ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม ส่งผลให้กลุ่มเพิ่มมูลค่าของกล้วยอบหนึบ พื้นที่เป้าหมาย : เลขที่ 149 หมู่ 5 ตำบลวังกะพี้ อำเภอเมือง สามารถเพมิ่ รายได้เพิ่มขนึ้ อกี ประมาณ 40 % จังหวัดอุตรดิตถ์ ภายใตง้ บประมาณ 20,000 บาท ผูร้ บั ผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 13. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ จากความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากใบข้าวที่มีอายุ 14 วัน อาหารชมุ ชนทอ้ งถ่นิ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ เพื่อแปรรูปเป็นเครื่องดื่มบดผง (ชาใบข้าว) โดยพัฒนาตั้งแต่ พื้นที่เป้าหมาย : บา้ นไร่ชาววงั 224 หมู่ 6 ตำบลวงั กะพ้ี กระบวนการผลิต การบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม (ต้นแบบ) จนได้ชาใบ อำเภอเมอื ง จังหวัดอุตรดิตถ์ ใบข้าว กลิ่นใบเตย กลิ่นข้าวกล้อง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ภายใตง้ บประมาณ 20,000 บาท ส่งผลใหก้ ล่มุ ไดผ้ ลติ ภณั ฑใ์ หม่เพอ่ื ทดสอบการยอมรับของผบู้ ริโภค ผู้รบั ผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 14. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ จากการออกแบบผลิตภัณฑ์และการให้องค์ความรู้เกี่ยวกับ BMC อาหารชุมชนท้องถิน่ จังหวดั อุตรดิตถ์ Business Model Canvas เพื่อให้กลุ่มเข้าใจความต้องการของ พืน้ ทเ่ี ป้าหมาย : หมู่ 1 ตำบลในเมือง อำเภอพิชัย ผู้บริโภคและแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค จงั หวัดอุตรดติ ถ์ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ทำให้กลุ่มมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ภายใตง้ บประมาณ 30,000 บาท ตอบสนองความต้องการจองผู้บริโภค มีรายได้เพิ่มขึ้นจากปลาสด ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่ั ชิ้น/ปลานิลแดดเดยี ว 15. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเห็ดที่สามารถเก็บรักษาได้ 1 - 2 เดือน อาหารชมุ ชนทอ้ งถน่ิ จังหวดั อุตรดิตถ์ โดยไม่ต้องแช่ตู้เย็น โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ส่งผลให้ พนื้ ท่ีเป้าหมาย : บา้ นเตา่ ไหเหนือ ตำบลทา่ สัก ผู้ประกอบการเกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์เห็ดแผ่นทอดกรอบ อำเภอพิชยั จงั หวดั อุตรดิตถ์ สามารถสร้างความหลากหลายของผลติ ภณั ฑ์แกก่ ลมุ่ และสามารถผลิต ภายใต้งบประมาณ 16,000 บาท ได้จรงิ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 16. โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนท้องถน่ิ จังหวดั อตุ รดิตถ์ การดำเนินโครงการทำให้กลุ่มสามารถวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พน้ื ท่เี ปา้ หมาย : อำเภอเมือง 8 หมู่บา้ น อำเภอลบั แล 1 หมบู่ า้ น ตลอดห่วงโซ่อุปทานและวางเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดขึ้น ทำให้ อำเภอท่าปลา 1 หมู่บา้ น อำเภอพิชัย 4 หมบู่ า้ น หน่วยงานสามารถทำงานได้บรรลุตามเป้าหมายขององค์กรมากขึ้น อำเภอทองแสนขนั 1 หมบู่ า้ น ผเู้ ข้าร่วมโครงการ 150 คน กลมุ่ ภาคเี ครอื ข่าย 15 กลุ่ม 15 ผลติ ภณั ฑ์ ภายใต้งบประมาณ 700,000 บาท ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะวิทยาการจัดการ

ANNUAL REPORT 2021 25 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 17. โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑช์ ุมชนท้องถน่ิ จังหวดั แพร่ 1. ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นได้รับการยกระดับคุณภาพมาตรฐาน พน้ื ท่เี ปา้ หมาย : อำเภอเมือง 4 หมูบ่ ้าน อำเภอเดน่ ชัย ผลิตภัณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ระดับสากล จำนวน 2 หมู่บ้าน อำเภอลอง 2 หมบู่ ้าน อำเภอสงู เมน่ 1 หมบู่ ้าน 8 ผลติ ภณั ฑ์ อำเภอวังชน้ิ 6 หมบู่ า้ น 2.ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นได้รับการยกระดับคุณภาพมาตรฐาน ภายใตง้ บประมาณ 700,000 บาท ผลติ ภณั ฑ์เพ่ิมขึ้น 1 ระดับข้นึ ไป จำนวน 11 ผลติ ภัณฑ์ ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะวิทยาการจดั การ 3. ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น และผู้ประกอบการได้รับการพัฒนา ศกั ยภาพ จำนวน 15 กลมุ่ 4. ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น สามารถยกระดับรายได้ ไม่น้อยกว่า 5% ต่อผลติ ภัณฑ์ จำนวน 5 ผลิตภณั ฑ์ 5. มีกลไกการทำงานโดยการบูรณาการศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ ชมุ ชน องคก์ รและหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง ไมน่ อ้ ยกว่า 5 หนว่ ยงาน 18. โครงการพัฒนาผลติ ภณั ฑช์ ุมชนทอ้ งถิ่นจงั หวัดนา่ น ผู้เข้าร่วมโครงการ 75 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 15 กลุ่ม ส่งผลให้ พ้ืนทเี่ ปา้ หมาย : อำเภอภเู พียง อำเภอเมือง ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นมีคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ระดับสากล อำเภอเวียงสา อำเภอท่าวังผา อำเภอปัว อำเภอบ้านหลวง ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนทอ้ งถิน่ ได้รับการยกระดบั คุณภาพมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ รวมทง้ั หมด 15 หมู่บา้ น เพ่ิมขึน้ 1 ระดับขึน้ ไป จำนวน 10 ผลติ ภณั ฑ์ ภายใต้งบประมาณ 700,000 บาท ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาการจัดการ 19. โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑช์ มุ ชนท้องถิน่ จังหวัดน่าน จากการปรับปรงุ กรรมวิธีการผลติ ใหม่ และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ทาง (การพัฒนาแหนมปลา) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปท่าค้ำ ผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ส่งผลให้ พน้ื ที่เป้าหมาย : หมู่ 1 ตำบลริม อำเภอทา่ วังผา จังหวดั น่าน กลมุ่ ไดแ้ หนมปลาสม้ ไดส้ ูตรผลิตภัณฑ์ 4 สูตร และได้กรรมวิธกี ารทำที่ ภายใต้งบประมาณ 10,000 บาท เหมาะสมต่อการผลิต เช่น แก้ปัญหาการคายน้ำของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อ ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กรรมวธิ ผี ลิตลดการสูญเสียระหวา่ งเกบ็ รกั ษาผลติ ภัณฑ์ 20. โครงการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ วุ้นกรอบมะขาม และผลิตภัณฑ์ ประเภทอาหารจังหวดั นา่ น มะขามกวน พร้อมทั้งบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม ให้แก่กลุ่มมะขามแช่อ่ิม พื้นทีเ่ ปา้ หมาย : 25/1 หมู่ 6 บา้ นป่าต้าง ตำบลบา้ นฟ้า ผู้เข้าร่วมโครงการ 10 คน ส่งผลให้ทางกลุ่มได้สูตรและกระบวนการ อำเภอบ้านหลวง จงั หวดั นา่ น ผลิตวุ้นกรอบมะขามและมะขามกวน เพื่อยอดขายได้ทำให้รายได้ ภายใต้งบประมาณ 11,900 บาท เพม่ิ ขึ้น ผู้รับผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 21. โครงการพัฒนาและยกระดับกระบวนการผลิตมะขามกวน ดำเนินการยกระดับมาตรฐานสินค้า โดยนำผลิตภัณฑ์พายไส้มะขาม บา้ นเสยี้ วเพอ่ื การจำหน่ายเชงิ พาณชิ ย์ ไปวิเคราะห์คุณค่าโภชนาการ และแสดงข้อมลู บนฉลาก ทำให้สมาชกิ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านเสี้ยว ตำบลบ้านเสี้ยว อำเภอฟากท่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลไม้เเปรรูป ผู้เข้าร่วมโครงการ 15 คน จังหวดั อตุ รดิตถ์ มรี ายได้จากการจำหน่ายสนิ ค้า เพ่มิ ขึ้นอย่างนอ้ ยร้อยละ 10 ภายใตง้ บประมาณ 150,000 บาท ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์

26 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 22. โครงการลักษณะทางพฤกษศาสตร์และกายวิภาคศาสตร์ โครงการนี้เป็นโครงการวิจัยจากการบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ของมะขามหวานท่ปี ลูก และกายวิภาคศาสตร์ของมะขามหวาน เพื่อเตรียมนำข้อมูล ขอข้ึน พื้นทเ่ี ปา้ หมาย : อำเภอบ้านโคก จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ทะเบียนมะขามหวาน และใช้เป็นข้อมูลลักษณะประจำพันธุ์มะขาม ภายใตง้ บประมาณ 80,000 บาท หวาน ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 23. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตและยกระดับรายไดใ้ ห้กับคนใน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ 140 คน ชมุ ชนฐานราก 1. ทำให้เกษตรกรมีปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.03 คุณภาพเน้ือ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านน้ำแก่นใต้ ตำบลน้ำแก่น อำเภอภูเพียง ยางแห้งเพมิ่ ขึ้นร้อยละ 20.85 เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 31.55 จังหวดั นา่ น 2. ทำให้ชุมชนสามารถลดมลภาวะจากเผาวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ภายใต้งบประมาณ 500,000 บาท และผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมรี ายได้จากการขายถา่ นอัดแท่ง 10 บาท/กก. ผ้รู ับผิดชอบ : วทิ ยาลยั น่าน 3. ทำให้กลุ่มมีรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ในนามของกลุ่มฯ เพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 84.61 4. ทำให้กลุ่มแปรรูปฯ สามารถยื่นขอมาตรฐาน อย.ได้ มีเครือข่าย การจัดการตนเองของสมาชิกกลุ่มแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์ มีรายได้ จากการขายเพม่ิ ขน้ึ จากเดมิ 15% 5. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านและผู้สูงอายุบ้านน้ำแก่นใต้ มีเครือข่าย การจัดการตนเอง สามารถเพมิ่ รายได้จากการขายผลติ ภณั ฑย์ าหมอ่ ง ยาหมอ่ งน้ำ และดอกไมจ้ นั ทน์ 24. โครงการกระบวนการผลิตมะขามหวานคุณภาพปีที่ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการ 105 คน ทำให้มีจำนวนสวนที่สามารถป้องกันกำจัด (การบำรงุ ต้นและการปอ้ งกันกำจัดโรคและแมลง) หนอนไดส้ ำเรจ็ เพ่มิ ขึ้น 40% มปี รมิ าณมะขามตกเกรด (มะขามข้อเดียว) พื้นท่เี ปา้ หมาย : ตำบลบา้ นเส้ียว ตำบลสองหอ้ ง ลดลง 20% เกิดการรวมกลุ่มกันเพื่อผลิตมะขามหวานคุณภาพ อำเภอฟากท่า และตำบลบ้านโคก ตำบลนาขมุ โดยการนำเอาองค์ความรู้ไปใช้ จำนวน 2 กลุ่ม มีการขายผ่านช่องทาง อำเภอบา้ นโคก อำเภอบ้านโคก จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ออนไลน์จำนวน 8 ราย จึงเป็นการเกิด Young Smart Farmer ภายใตง้ บประมาณ 195,400 บาท ในลกั ษณะการขายสินคา้ ผ่านช่องทางออนไลนล์ กั ษณะรายครวั เรือน ผรู้ ับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 25. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกร ผู้เขา้ ร่วมโครงการ 30 คน ส่งผลใหผ้ ลติ ภณั ฑป์ ยุ๋ อินทรีย์ของกล่มุ ฯ ได้รบั บ้านนำ้ แก่นใต้ สมู่ าตรฐานปัจจัยการผลิตทางการเกษตร การตรวจสอบคุณภาพและกลุ่มได้ทราบแนวทางในการปรบั ปรุงคณุ ภาพ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านน้ำแก่นใต้ ตำบลน้ำแก่น อำเภอภูเพียง ปุ๋ยให้มีมาตรฐาน มีกลไกการทำงานเพื่อพัฒนาศักยภาพขอ งกลุ่ม จงั หวดั น่าน วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรบ้านน้ำแก่นใต้ หมู่ 5 มีเครือข่ายการจัดการ ภายใต้งบประมาณ 95,000 บาท ตนเอง สามารถมีรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ในนามของกลุ่มฯ ผูร้ ับผิดชอบ : วิทยาลัยน่าน เพม่ิ ขน้ึ 960 บาท – 520 บาท = 440 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 84.61 26. โครงการเรยี นรกู้ ารผลิตไมผ้ ลคณุ ภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน สามารถยกระดับการผลิตส้มเขียวหวานนอก พืน้ ทีเ่ ป้าหมาย : อำเภอวังช้ิน จงั หวัดแพร่ ฤดูกาลที่มีคุณภาพที่สูงขึ้น สำหรับส้มเขียวหวานคุณภาพ อำเภอวังชิ้น ภายใต้งบประมาณ 120,000 บาท จังหวัดแพร่ ส่งผลให้เกษตรกรมีความพึงพอใจ ต่อองค์ความรู้ที่ได้รับ ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ เพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 70

ANNUAL REPORT 2021 27 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 27. โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดใ้ ห้กับคนใน สมาชิกกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ 45 คน มีทักษะอาชีพเสริมที่ ชมุ ชนฐานราก ตรงกับความถนัดและความสนใจจำนวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มประดิษฐ์ พน้ื ทเ่ี ป้าหมาย : บา้ นท่งุ ผง ตำบลทุ่งศรที อง อำเภอเวียงสา ตงุ ไชย กลุ่มลกู ประคบสมุนไพร และกลมุ่ สเปรยส์ มุนไพร มกี ารประสาน จังหวัดน่าน ความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยน่านและวิทยาลัยชุมชนน่าน วางแผนการ ภายใต้งบประมาณ 90,140 บาท จัดหลักสูตรระยะสั้นในการอบรมอาชีพให้กับเกษตรกร ผู้เข้าร่วม ผรู้ ับผดิ ชอบ : วทิ ยาลัยน่าน โครงการร้อยละ 100 มีรายได้เพม่ิ ขึ้นหลังจากเรารบั การอบรมอาชพี และ สรา้ งรายได้จากการจำหน่ายผลิตภณั ฑ์เฉลย่ี 483 บาทต่อคนต่อเดอื น 28. โครงการยกระดับผลผลิตมะม่วงหิมพานต์ โดยกระบวนการ จากการถ่ายทอดองค์ความรู้ลักษณะทางพฤกษศาสตร์และพันธุ์มะม่วง ผลิตต้นพันธุ์คุณภาพ และการใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือทิ้งใน หิมพานต์ และอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการผลิตต้นพันธุ์มะม่วง ชมุ ชน หิมพานต์คุณภาพ การทำบุญหมักจากวัสดุเหลือทิ้งในชุมชนผู้เข้าร่วม พน้ื ท่เี ป้าหมาย : บา้ นน้ำแกน่ ใต้ ตำบลน้ำแกน่ อำเภอภเู พียง โครงการ 50 คน ส่งผลให้เกษตรกรมีองค์ความรู้ มีผลผลิตมะม่วง จงั หวัดน่าน หิมพานต์ทม่ี คี ุณภาพและปริมาณผลผลิตเพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 31.03 ภายใตง้ บประมาณ 168,860 บาท ผู้รับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 29. โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและยกระดบั รายได้ใหก้ ับคนใน จากการดำเนนิ งาน มีผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ 275 คน ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของ ชมุ ชนฐานราก กลุ่มแม่บ้านและผู้สูงอายุได้รับการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพ พนื้ ทเ่ี ป้าหมาย : บา้ นท่งุ ผง หมู่ 3 ตำบลทุง่ สรที อง มีองค์ความรู้ในการจัดการความรู้ด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ อำเภอเวยี งสา จังหวดั น่าน การออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิตและสุขภาพ อีกทั้ง ภายใต้งบประมาณ 500,000 บาท กลุ่มแม่บ้านและผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะการประกอบอาชีพ มีรายได้ ผรู้ ับผิดชอบ : วทิ ยาลยั นา่ น เพม่ิ ขึน้ จากการประกอบอาชีพเสรมิ 3,500บาท/ครง้ั 30. โครงการบริหารจัดการกลุ่ม young smart farmer ผู้ปลูก ดำเนินการส่งเสริมกระบวนการบริหาร พัฒนาทักษะในการประกอบ มะมว่ งหิมพานตเ์ พ่ือนำไปสกู่ ารยกระดับผลผลติ เชิงพาณิชย์ อาชพี ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการมีองคค์ วามรู้ในการประกอบอาชีพเสริม และ พน้ื ทเี่ ปา้ หมาย : บ้านน้ำแกน่ ตำบลนำ้ แก่น ส่งเสริมทางการตลาดโดยให้มีกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ อำเภอภเู พยี ง จังหวดั น่าน มีการบริหารจัดการธุรกิจที่ดีสามารถแข่งขันได้ ผู้เข้าร่วมโครงการ ภายใต้งบประมาณ 110,000 บาท 30 คน ส่งผลทำใหเ้ กษตรกรมรี ายได้เพ่มิ ขนึ้ จากการจำหน่ายสินค้าหรือ ผู้รบั ผดิ ชอบ : วทิ ยาลยั นา่ น ผลิตภัณฑ์ที่รับการพัฒนาพัฒนาบรรจุภัณฑ์หรือเป็นคุณภาพของ ผลติ ภัณฑ์ เป็นเงนิ 1,815 บาท 31. โครงการยกระดับคณุ ค่าและมูลคา่ ขา้ วเกรยี บเตา พ้นื ที่ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 220 คน กลุ่มภาคีเครือข่าย 1 กลุ่ม วิสาหกิจ เป้าหมาย : บา้ นนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมอื ง ชมุ ชนไดต้ ราผลติ ภัณฑ์ และบรรจภุ ณั ฑ์สินค้าข้าวเกรียบเตา ส่งผลทำให้ จังหวัดแพร่ ข้าวเกรียบเตามีมูลค่าเพิ่มขึ้นและสามารถจำหน่ายได้ในราคาที่สูงขึ้น ภายใตง้ บประมาณ 38,950 บาท ไดร้ ับการยอมรบั และใชเ้ ปน็ บรรจุภัณฑ์ในการจำหน่ายจนถงึ ทุกวันนี้ ผู้รับผดิ ชอบ : คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

28 รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 32. โครงการยกระดับกระบวนการแปรรูปมะม่วงหิมพานต์ ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน ส่งผลให้กลุ่มได้มีชนิดและปริมาณของ ให้มมี าตรฐานต่อยอดสูเ่ ชิงพาณิชย์ ผลิตภัณฑ์จากเม็ดมะม่วงหิมพานต์ เพิ่มขึ้น ได้แก่ น้ำพริกนอกครก พืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย : บ้านน้ำแก่นใต้ หมู่ 5 ตำบลนำ้ แก่น อบน้ำผึ้ง อบเกลือดำ เกลือน่าน อบรสลาบน่าน น้ำพริกเม็ดมะม่วง อำเภอภูเพยี ง จังหวัดนา่ น หิมพานตแ์ ผน่ กรอบ เมด็ มะม่วงหิมพานต์แผ่นกรอบมะไฟจีน เมด็ มะมว่ ง ภายใตง้ บประมาณ 106,860 บาท หิมพานต์แผ่นกรอบธัญพืช น้ำนมเม็ดมะม่วงหิมพานต์ รสงาดำ ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ รสชาเขียว รสดั้งเดิม พุดดิงเม็ดมะม่วงหิมพานต์ ทอฟฟี่เค้กมะม่วง หมิ พานต์ คกุ กเี้ ม็ดมะมว่ งหิมพานต์ 33. โครงการจัดการดินและธาตุอาหารพืชต่อการเพิ่มคุณภาพ เพื่อการยกระดับรายได้ของชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน ผลผลติ และเปอร์เซ็นตเ์ นอ้ื ยางพาราแห้ง (DRC) หลังจากการดำเนินงานส่งผลให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.03 พื้นที่เป้าหมาย : บ้านน้ำแก่นใต้ ตำบลน้ำแก่น อำเภอภูเพียง คุณภาพเนื้อยางแห้งเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.85 เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จังหวัดน่าน ภายใตง้ บประมาณ 95,000 บาท ร้อยละ 31.55 การลดรายจ่ายของเกษตรกรจะมีผลต่อเมื่อเกษตรกร ผรู้ ับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ ทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือนที่ 2-เดือนที่ 4 ของการใช้ปุ๋ย ตามค่าวิเคราะหด์ นิ 34. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน ผลการดำเนนิ งานช่องทางการตลาด โดยใช้กิจกรรมศลิ ปะบำบัดเพื่อส่งเสริมรายได้ ออนไลน์ และการรับรู้บ้านตะวันยิ้ม จะเป็นการพัฒนาช่องทางการขาย พื้นที่เป้าหมาย : ในองค์กรสาธารณะประโยชน์บ้านตะวันย้ิม สินค้าเพื่อเด็กพิเศษในรูปแบบออนไลน์ โดยการแสดงผลโฆษณาบน จังหวัดอุตรดิตถ์ Google AdSense ในช่วงเวลา 1-28 มิถนุ ายน 2564 สามารถสรา้ งการ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท เข้าถึงได้ 6,993 ครั้ง พบการมีส่วนร่วมและสนใจซื้อสินค้ามีมากถึง ผู้รับผิดชอบ : คณะวทิ ยาการจัดการ 80 ครั้ง กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 70.9% เพศชาย 29.1% และ อยใู่ นช่วงอายุ 18-24 ปี มากทีส่ ุด 35. โครงการนวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากจิ้งหรีด ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์จิ้งหรีดเป็น ของวสิ าหกิจเลีย้ งจ้ิงหรดี และแปรรูป ต้นแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กำลังวางแผนดำเนินการที่จะประสาน พื้นที่เป้าหมาย : 53/1 หมู่ที่ 7 ตำบลร่วมจิต อำเภอท่าปลา ให้กลุ่มที่ได้รับการรับรองสถานที่ผลติ จาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั จงั หวัดอตุ รดิตถ์ และได้รับเครื่องหมาย อย. เรียบร้อยแล้ว รับเป็นผู้ผลิต และทาง Big ภายใตง้ บประมาณ 150,000 บาท bug farm จะเปน็ ผู้จดั จำหน่ายทงั้ ออนไลน์และออฟไลน์ ผูร้ ับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 36. โครงการยกระดับคุณภาพอาหารปลอดภัยและพัฒนา จากการยกระดับคุณภาพมาตรฐานอาหารเพ่ือท่องเที่ยวและได้รูปแบบ ความรอู้ าหาร gastronomy สำหรบั ธุรกิจการทอ่ งเท่ียว สูตรอาหารออนไลน์สำหรับการใช้และการเผยแพร่ โดยมีผู้เข้าร่วม โฮมสเตย์ โครงการ 20 คน ส่งผลให้ได้สูตรอาหารเพื่อการท่องเที่ยว และรูปแบบ พนื้ ทเี่ ปา้ หมาย : ตำบลรมิ อำเภอท่าวงั ผา จังหวัดน่าน การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร gastonomy ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท ผู้รับผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ANNUAL REPORT 2021 29 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม : (ตอ่ ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 37. โครงการการยกระดบั ทกั ษะฝมี อื ชา่ งไฟฟ้า ผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน ส่งผลให้ชุมชนมีไฟฟ้าใช้ในพื้นที่ห่างไกล พื้นท่เี ป้าหมาย : บ้านคา้ งปนิ ใจ อำเภอวงั ชน้ิ จงั หวดั แพร่ คนในพื้นท่ีมีรายได้ค่าแรงในการติดตั้งไฟฟ้า 300 บาทต่อวัน และ ภายใต้งบประมาณ 140,000 บาท ลดค่าไฟได้ 600 บาทตอ่ เดือน ผู้รับผิดชอบ : คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 38. โครงการสรา้ งสขุ และยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์กลมุ่ แมบ่ ้านและ ดำเนินการสรา้ งความร้แู ละความเข้าใจ ขนั้ ตอนและวธิ กี ารในการพัฒนา ผสู้ ูงอายุ (แม่ฯ อยุ้ สขุ ) ผลิตภัณฑ์ สู่มาตรฐาน OTOP หรือ อย. ส่งเสริมกิจกรรมและดูแล พน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย : บา้ นน้ำแก่นใต้ หมู่ 5 ตำบลนำ้ แกน่ สุขภาพผู้สูงอายุ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน ส่งผลให้กลุ่มผู้สูงอายุและ อำเภอภเู พียง จังหวัดน่าน กลุ่มแม่บ้านได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้น ภายใตง้ บประมาณ 110,000 บาท จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ยาหม่องน้ำ ยาหม่องสมุนไพร และ ผ้รู ับผดิ ชอบ : วทิ ยาลัยน่าน ดอกไมจ้ ันทนท์ ่ีมคี ุณภาพ จำนวน 5,000 บาทตอ่ เดือน 39. โครงการผลิตเชอื้ เพลิงจากถา่ นอดั แท่งจากวสั ดเุ หลอื ทิ้ง ดำเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีถ่านอัดแท่ง เพื่อสร้างและเพิ่มทักษะ พน้ื ทเ่ี ป้าหมาย : บ้านค้างปนิ ใจ อำเภอวงั ชนิ้ จังหวดั แพร่ ต่างให้กับคนในพื้นที่ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน ส่งผลให้คนในพื้นที่มี ภายใต้งบประมาณ 130,000 บาท รายไดจ้ ากการขายถ่านอัดแท่ง 10 บาท/กก. ผู้รบั ผดิ ชอบ : คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 40. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและยกระดับรายไดใ้ หก้ บั ชุมชน การดำเนินโครงการด้านเศรษฐกิจ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 40 คน จากผล ฐานราก การติดตามประเมินผลการยกระดับรายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม พ้นื ทเ่ี ป้าหมาย : บา้ นนาคูหา ตำบลสวนเขือ่ น อำเภอเมอื ง โครงการวิเคราะห์แล้ว ส่งผลให้อัตราความแตกต่างกันอยู่ระหว่าง จงั หวัดแพร่ ร้อยละ 16.67 -41.18 แล้วเมื่อวิเคราะห์รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการ ภายใตง้ บประมาณ 75,000 บาท ยกระดับผลติ ภัณฑจ์ ากการที่พฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ทำใหผ้ ลติ ภณั ฑ์ขายได้ใน ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะวทิ ยาการจดั การ ราคาสงู ขน้ึ อยรู่ ะหวา่ ง 20-80% 41. โครงการ “พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดับรายได้ให้กับคน ดำเนินการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่อง “การสร้างและสื่อความหมาย ในชุมชนฐานราก” การจัดการระบบนิเวศที่เอื้อต่อการจัดการ อย่างง่ายด้วย Story telling” เพื่อสนับสนุนและเผนแพร่ผลิตภัณฑ์ ทอ่ งเทีย่ ว การท่องเที่ยวในชุมชนบ้านนาคูหาอย่างครอบคลุม ผู้เข้าร่วมโครงการ พื้นทเ่ี ปา้ หมาย : บ้านนาคหู า ตำบลสวนเขือ่ น อำเภอเมือง 12 คน ส่งผลให้ชุมชนบ้านนาคูหาได้รับการเผยแพร่การท่องเที่ยวแบบ จังหวัดแพร่ ครอบคลุมระดับชุมชน และจังหวัดโดยการเผยแพร่ผ่านสื่อวิดิโอ ภายใตง้ บประมาณ 70,000 บาท ทจี่ ดั ทำไว้ ผรู้ ับผิดชอบ : คณะวิทยาการจัดการ

30 รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กลยุทธท์ ่ี 2 บูรณาการพันธกิจสมั พนั ธ์เพือ่ พัฒนาสังคมท้องถิ่น ดา้ นศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพฒั นา ทรพั ยากรมนุษย์ และสขุ ภาพ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้นำนักศึกษาหลักสูตร \"วิศวกร ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรวิศวกรสังคม เพื่อสร้างความรู้ สงั คม\" (Social Engineer) สกู่ ารสร้างนวัตกรรม เพือ่ การพัฒนา ความเข้าใจให้แก่ผู้นำนักศึกษาเกี่ยวกับวิศวกรสังคม รวมทั้งฝึกทักษะ ชุมชนท้องถิ่น 4 ประการ ผา่ นกระบวนการวิศวกรสังคม 2 รนุ่ นกั ศึกษาเสนอโครงการ พ้ืนที่เป้าหมาย : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ วิศวกรสังคมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น จำนวน 10 โครงการและสามารถ ภายใตง้ บประมาณ 1,000,000 บาท ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 5 โครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการ 230 คน ผรู้ ับผดิ ชอบ : กองพฒั นานกั ศึกษา สำนกั งานอธิการบดี ส่งผลให้นักศึกษาสามารถบูรณาการทักษะการเรียนรู้การเป็นวิศวกร สังคมและมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาและแกป้ ัญหาชมุ ชนท้องถนิ่ ได้ 2. โครงการรอรกั ษ์ทท่ี งุ่ เศรษฐี ดำเนินการจัดทำทะเบียนโบราณวัตถุจำนวน 50 ชิ้น บันทึกข้อมูลใน พื้นที่เป้าหมาย : ชุมชนบ้านห้วยบง วัดทุ่งเศรษฐี ตำบลป่าเซา พิพิธภัณฑ์วดั ทุ่งเศรษฐี และฐานข้อมูลโบราณวัตถใุ นพิพิธภัณฑ์ จำนวน อำเภอเมือง จงั หวัดอุตรดติ ถ์ 1 แหล่ง ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน หลังจากการดำเนินงานทำให้ ภายใตง้ บประมาณ 38,500 บาท ชาวบ้านชุมชนบ้านห้วยบงได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดทำทะเบียนวัตถุ ผรู้ ับผิดชอบ : กองศิลปวัฒนธรรม และการจัดการวัตถุในพิพิธภัณฑ์ของตนเองอย่างถูกต้องและสมารถนำ ความรู้ทไี่ ดม้ าปรับและนำไปใชใ้ นการดูแลโบราณวตั ถไุ ด้อย่างเหมาะสม 3. โครงการเสริมสมรรถนะนักวิจัยเชิงพื้นที่และงานพันธกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สามารถยกระดับทักษะและองค์ สมั พันธ์กับสังคม ตามยทุ ธศาสตร์เพื่อการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ความรู้ในการดำเนินงานพันธกิจสัมพันธ์ให้แก่อาจารย์และบุคลากร พื้นท่ีเป้าหมาย : ชมุ ชนหาดสองแคว อำเภอตรอน ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน ทำให้เกิดระบบและกลไกในการขับเคลื่อน จังหวดั อุตรดติ ถ์ พันธกิจสัมพันธ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ของอาจารย์ ภายใตง้ บประมาณ 159,000 บาท ทเี่ ข้ารว่ มโครงการร้อยละ 100 ผู้รบั ผิดชอบ : คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 4. โครงการสง่ เสริมการดแู ลสุขภาพด้วยสมุนไพรและภูมิปัญญา ดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และ พื้นบา้ น เพอื่ คณุ ภาพชีวติ ที่ดีของชุมชน สร้างศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน และภูมิปัญญาพื้นบ้าน พน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย : บ้านวงั กอง หมู่ 1 ตำบลสองคอน ด้านสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน ส่งผลให้หลังดำเนินโครงการ อำเภอฟากทา่ จังหวัดอุตรดติ ถ์ ชุมชนสามารถจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ และกลุม่ เป้าหมายสามารถลดรายจา่ ย ภายใตง้ บประมาณ 120,500 บาท ทางสุขภาพได้ ผูร้ บั ผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์วัฒนธรรม หน่วยงาน/ชุมชนและผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ บา้ นเกิดทา่ นพอ่ พระยาพชิ ยั และพืน้ ท่ีเชอื่ มโยง โดยกระบวนการ อำเภอพิชัย ผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน มีความรู้และความเข้าใจร่วมถงึ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื มีศักยภาพในการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนทั้งคุณภาพทางสังคม พื้นที่เป้าหมาย : บ้านห้วยคา ตำบลในเมอื ง อำเภอพชิ ยั และคุณภาพทางเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ วัฒนธรรมบ้านเกิดท่านพ่อพระยาพิชัยและพื้นที่เชื่อมโยง อำเภอพิชัย ภายใต้งบประมาณ 499,960 บาท มีผู้รับผิดชอบและดูแลขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างมีระบบ และ ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมสาสตร์ เป็นรูปธรรม

ANNUAL REPORT 2021 31 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ตอ่ ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 6. โครงการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มการจัดการท่องเที่ยว ผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน สามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้ แบบมสี ่วนร่วมของภาคีเครอื ขา่ ย เกิดความเข้มแข็งในชุมชน เกิดกระบวนการสร้างเครือข่ายการจัดการ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง ตนเองของชุมชน มีความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายมากข้ึน จังหวดั แพร่ ได้เครือขา่ ยการจัดการกิจกรรมทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน 3 เครือข่าย ภายใตง้ บประมาณ 74,300 บาท ผู้รับผดิ ชอบ : วิทยาลัยนานาชาติ 7. โครงการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมอันเกิดจากองค์ จากการดำเนินการประเมินข้อมลู ผลตอบแทนทางสังคม โดยมีผู้เขา้ รว่ ม ความรู้ กระบวนการเพาะปลกู มะขามหวานคณุ ภาพ โครงการ 100 คน ส่งผลใหไ้ ดข้ อ้ มุลในการคำนวณ SRO I เท่ากบั 1.16 พื้นท่ีเปา้ หมาย: อำเภอฟากทา่ และอำเภอบา้ นโคก จังหวดั อุตรดติ ถ์ ภายใตง้ บประมาณ 39,280 บาท ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะวิทยาการจัดการ 8. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขจัดปัญหา และ การดำเนินงานพัฒนาระบบสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิต การเรียนรู้สู่การนำใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง บ้านนาคูหา มีผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน ส่งผลให้ชุมชนสามารถ จังหวัดแพร่ จะนำเสนอข้อมูลข่าวสารของชุมชนไปได้อย่างยั่งยืน จากเว็บไซต์ ภายใตง้ บประมาณ 80,000 บาท www.nakuha.in.th และดูแลข้อมูลข่าวสารที่นำเสนอผ่านเว็บไซต์ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : วิทยาลัยนานาชาติ ระบบสารสนเทศบ้านนาคหู าได้ดว้ ยตนเอง 9. โครงการสรา้ งเสริมสุขภาพ สร้างกำลงั ใจ ผสู้ ูงวัยสุขภาพดี ดำเนินการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนมาช่วยขับเคลื่อนการทำงาน พืน้ ทเ่ี ป้าหมาย : บ้านคา้ งปินใจ อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ในพื้นที่ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน ทำให้คนในชุมชนได้ทำกิจกรรม ภายใตง้ บประมาณ 80,000 บาท ร่วมกัน ร่วมแสดงความคิดเห็น และยังทำให้เกิดความรักความสามัคคี ผู้รบั ผิดชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ต่อกนั ภายในชมุ ชนเปน็ พลงั ชมุ ชนในการทำกิจกรรมใหป้ ระสบผลสำเร็จ 10. โครงการนวัตกรรมการปลิดเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ จากการถ่ายทอดองค์ความรู้การสร้างนวัตกรรมการปลิดเมล็ด ชุดโครงการพัฒนาศักยภาพและยกระดับมะม่วงหิมพานต์ มะม่วงหิมพานต์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน ส่งผลให้ได้นวัตกรรม เพอื่ สร้างห่วงโซค่ ณุ คา่ สู่เชงิ พาณิชย์ การปลดิ เมลด็ มะมว่ งหิมพานต์ จำนวน 1 นวตั กรรม ไดเ้ คร่อื งปลิดเมล็ด พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาเหลืองม่วงขวา หมู่ที่ 4 ตำบลน้ำแก่น มะม่วงหิมพานต์ จำนวน 10 เครื่อง มีความเร็วในการปลิดเครื่องละ อำเภอภูเพียง จังหวัดนา่ น 20 เมล็ดต่อนาที รวม 200 เมล็ดต่อนาที และเกษตรกรมีความพึงพอใจ ภายใต้งบประมาณ 107,850 บาท ต่อโครงการระดบั ดีมาก ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

32 รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 11. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน อย่างมีส่วนร่วม การดำเนินงานได้นวัตกรรมแผนที่ออนไลน์ เพื่อกำหนดพิกัดแหล่ง บ้านหาดสองแคว ด้วยนวัตกรรมแผนที่ออนไลน์ และจิตรกรรม การท่องเที่ยวในชุมชน และนวัตกรรม จิตรกรรมสร้างสรรค์ 2 ชิ้นงาน สรา้ งสรรค์ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน ทำให้เกิดผลกระทบต่อ พ้นื ทเ่ี ปา้ หมาย : ตำบลหาดสองแคว อำเภอเมอื ง มหาวิทยาลัย อาจารย์ นักศึกษา ได้มีการบูรณการการเรียนการสอนใน จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ห้องเรียนกับภาคปฏิบัติ ได้เรยี นรูว้ ิธีการแก้ปัญหาเชิงระบบบนฐานของ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท บริบทชมุ ชน เกิดการนำองความร้ไู ปใช้อยา่ งแทจ้ ริง ผู้รับผิดชอบ : คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 12. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูองค์ความรู้ตำนานเล่าขานเมือง ได้เอกสารประวัติศาสตร์ ตำนานของทุ่งยั้ง ในรูปแบบสารานุกรมทำให้ ทุ่งยั้ง อำเภอลบั แล จงั หวัดอตุ รดิตถ์ เพอ่ื นำไปสกู่ ารทอ่ งเท่ยี ว ความรู้เกี่ยวกับตำนานเรื่องเล่าในชุมชนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และ พน้ื ทเี่ ป้าหมาย : ตำบลท่งุ ยง้ั อำเภอลบั แล จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ได้สื่อ Vlog ซึ่งเป็นการนำเสนอเส้นทางการท่องเที่ยวผ่านวิดีโอ (vlog) ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท เป็นช่องทางหนึ่งในการส่งเสริมการท่องเท่ียวชุมชน ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 13. โครงการศกึ ษาแนวทางการจดั การห่วงโซอ่ ปุ ทานและ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 20 คน นกั ศึกษาหลักสูตรวศิ วกรรมโลจสิ ตกิ ส์ โลจสิ ตกิ ส์ของการเลยี้ งปลาในกระชงั เพ่ือเพ่มิ มูลค่าผลผลติ และหลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 10 คน เนื่องจากเกิดการแพร่ พ้ืนท่เี ปา้ หมาย : ตำบลวงั กะพี้ อำเภอเมือง จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินโครงการได้ลุล่วง ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ตามกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ โดยสามารถดำเนินโครงการได้ในส่วนของ ผู้รับผดิ ชอบ : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กิจกรรมต้นนำ้ 14. โครงการจัดการธุรกจิ เกษตรและธุรกจิ อาหารในยุค นักศึกษา จำนวน 10 คน มีด้านความรู้และทักษะการจัดทำระบบ New normal มาตรฐาน GMP/HACCP การจัดการอาหารปลอมและการปลอมแปลง พื้นทเ่ี ปา้ หมาย : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ อาหาร Food fraud และผ่านการอบรมหลักสูตร “Agribusiness ภายใต้งบประมาณ 50,000 บาท management and food business in the New normal” และเกดิ ผรู้ ับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ ทกั ษะดา้ นการถา่ ยภาพโฆษณาสินค้าและเทคนิคการขายสนิ คา้ ออนไลน์ 15. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องกงั หันน้ำเติมอากาศพลัง มผี ู้เข้าร่วมโครงการเป็นครู นักเรียน จำนวน 15 คน ได้แก้ไขปัญหาของ แสงอาทติ ย์เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ชุมชน กลุ่มเป้าหมายยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน อีกทั้งยังได้ต้นแบบ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านเด่นชาติ ตำบลบ่อเบี้ย อำเภอบ้านโคก ในการพัฒนา เพื่อปรับปรุงนวัตกรรมให้ดียิ่งขึ้น หรือตัวอย่างของการ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ แก้ไขปัญหาร่วมกันในชุมชน ที่สามารถมาปรับใช้ได้ในอนาคต ส่งผลให้ ภายใตง้ บประมาณ 150,000 บาท ชุมชนได้เครื่องกังหันน้ำเติมอากาศมาใช้ปรับปรุงคุณภาพน้ำเป็นการ ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม ยกระดบั คุณภาพชวี ิตชมุ ชน 16. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ในการดำเนนิ โครงการนไ้ี ด้นวัตกรรมผลติ ภณั ฑ์ ชดุ ความรู้ จำนวน 5 ชุด ท้องถิ่น และการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ นวัตกรรมกระบวนการแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมี ของชมุ ชน ผ้เู ข้ารว่ มเปน็ ประชาชน เกษตรกร และนักวชิ าการ จำนวน 50 คน ท้ังนี้ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านห้วยยศ ตำบลม่วงเจ็ดตน้ อำเภอบ้านโคก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้และเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 จังหวดั อตุ รดิตถ์ และนักศกึ ษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้/ทกั ษะ ขับเคลือ่ นงานตาม ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท หลกั พันธกจิ สัมพนั ธ์ ผูร้ บั ผิดชอบ : คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

ANNUAL REPORT 2021 33 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 17. โครงการขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพ “ศูนย์พัฒนา จากการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและได้รับการส่งเสริม ครอบครัว” ด้วยกระบวนการอาสาประชารฐั ในชุมชน สนับสนุนด้านการดำเนินการของศพค. โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ พ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย : ตำบลคอรมุ อำเภอพิชยั จงั หวดั อุตรดติ ถ์ 12 หมู่บ้าน ประชาชน จำนวน 52 คน ส่งผลทำให้ศักยภาพ ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท คณะกรรมการศพค.ชุมชน เกิดความเข้มแข็ง มีความรักความสามัคคี ผู้รับผดิ ชอบ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเกิดการเรียนรรู้ ว่ มกันในชุมชน 18. โครงการยกระดับคุณภาพการผลิตบณั ฑิตด้วยกระบวนการ จดั กจิ กรรมการสร้างนวัตกรรมจดุ หมายตาจากฟางข้าวด้วยกระบวนการ อาสาประชารฐั ในพื้นที่ อาสาประชารัฐในพื้นที่ตำบลบ้านหม้อ 1 กระบวนการ มีนักศึกษา พืน้ ที่เป้าหมาย : ตำบลบ้านหมอ้ อำเภอพิชัย จังหวัดอตุ รดิตถ์ เข้าร่วมโครงการ 28 คน ส่งผลให้นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท ในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยกระบวนการ อาสาประชารัฐได้อย่าง ผู้รับผดิ ชอบ : คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เหมาะสม และกล่มุ ชมุ ชนตระหนักถงึ อัตลักษณ์พืน้ ถน่ิ มากข้ึน 19. โครงการ “พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและยกระดับรายได้ จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิปฏิบัติการเรื่อง “การสร้างและสื่อความหมาย ให้กบั คนในชุมชนฐานราก”จังหวัดอตุ รดิตถ์ แพรแ่ ละน่าน อย่างง่ายด้วย Story telling” โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักเรียน พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง โรงเรียนบ้านนาคูหา จำนวน 12 คน เพื่อฝึกการค้นหาข้อมูลในชุมชน จังหวดั แพร่ และสามารถผลติ สื่อ และและการสร้าง Content ดว้ ยอปุ กรณอ์ ย่างง่าย ภายใตง้ บประมาณ 70,000 บาท ด้วยตนเอง ส่งผลให้ชุมชนบ้านนาคูหาได้รับการเผยแพร่การท่องเที่ยว ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาการจดั การ แบบครอบคลุมระดับชมุ ชน ผ่านสอ่ื วิดโิ อทีจัดทำขึน้ 20. โครงการพฒั นาทักษะการสือ่ สารเพื่อเป็นนักสื่อความหมาย จากการดำเนินงานโครงการการพฒั นาทกั ษะการสื่อสาร เพื่อเป็นนักสอื่ แหล่งทอ่ งเทย่ี วในชุมชนตำบลศรพี นมมาศ ความหมายแหล่งท่องเที่ยวชุมชนฯ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน พื้นทเ่ี ป้าหมาย : ตำบลศรพี นมมาศ อำเภอลับแล 65 คน ทำให้ได้หลักสูตรการพัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อเป็นนักสื่อ จงั หวัดอุตรดิตถ์ ความหมายแหล่งท่องเที่ยวชุมชนตำบลศรีพนมมาศ 1 หลักสูตร และ ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท นกั ส่ือความหมายแหล่งท่องเท่ยี วชมุ ชน จำนวน 15 คน ผรู้ บั ผิดชอบ : วิทยาลยั นานาชาติ 21. โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อเป็นนักสื่อความหมาย ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน ส่งผลให้เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ แหลง่ ท่องเท่ยี วในชุมชน มีการนำหลักสูตรไปใช้พัฒนาบุคลากรที่ดูแลและเกี่ยวข้องกับการ พน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย : ตำบลศรีพนมมาศ อำเภอลบั แล ดำเนินงานด้านการท่องเท่ียวของชุมชนตำบลศรีพนมมาศ และโรงเรียน จังหวดั อุตรดติ ถ์ เทศบาลศรีพนมมาศนำหลักสูตรการพัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อเป็น ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท นักส่อื ความหมายแหลง่ ท่องเท่ยี วในชุมชน ผู้รับผดิ ชอบ : วิทยาลยั นานาชาติ 22. โครงการส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ เพื่อยกระดับ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ 80 คน คณุ ภาพชีวติ 1. ได้แนวทางการรวมกลุ่มเพอ่ื ประกอบอาชพี พน้ื ทเี่ ป้าหมาย : บา้ นคา้ งปนิ ใจ อำเภอวงั ช้นิ จงั หวัดแพร่ 2. ได้ใช้ความรทู้ ักษะในการพัฒนาอาชพี ตวั เอง ภายใต้งบประมาณ 500,000 บาท 3. สามารถลดต้นทุนการผลขิ องเกษตรกร ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 4. สามารถลดรายจ่าย และเพ่ิมรายได้ 5. สามารถประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีกับการดำเนินชวี ิต 6. ผสู้ ูงอายรุ ูจ้ กั วธิ กี ารดแู ลตนเองในชุมชน

34 รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 23. โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ ประกอบการเรียนการสอน โรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู จำนวน 155 โรงเรียน โดยมีครู เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก สาระ พี่เลี้ยงเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา การเรียนรสู้ ังคมศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 163 คน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและ พื้นท่ีเปา้ หมาย : จังหวดั อตุ รดิตถ์ แพร่ นา่ น สโุ ขทัย พษิ ณุโลก คอมพิวเตอร์ จำนวน 17 คน พัฒนาระบบมัลติมีเดียออนไลน์ (Video ภายใต้งบประมาณ 350,000 บาท Web Portal) สนับสนุนสอ่ื วีดิทัศน์ ประกอบการเรยี นการสอน 50 ตอน ผู้รับผดิ ชอบ : คณะครศุ าสตร์ พร้อมเชื่อมโยงแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน ผ่านระบบ http://mooc.uru.ac.th/ 24. โครงการนวตั กรรมนำถ่นิ สบื สานศิลป์เพือ่ ชมุ ชนบ้านบ่อเบ้ยี จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการแสดง ให้แก่นักศึกษา พื้นที่เป้าหมาย : บ้านบ่อเบี้ย ตำบลบ่อเบี้ย อำเภอบ้านโคก สาขานาฏศิลป์/ผู้นำชุมชน/กลุ่มแม่บ้าน /นักเรียนโรงเรียนในพื้นที่ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ จำนวน 100 คน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ส่งผลให้เกิดทักษะในการ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท สร้างสรรค์ผลงาน และมีแนวทางในการเผยแพร่ขยายผลได้อย่าง ผู้รบั ผิดชอบ : คณะครุศาสตร์ กว้างขวางเปน็ รปู ธรรม เกดิ องคค์ วามร้ใู หม่ท่สี อดคลอ้ งตามยุคสมยั และ ได้นวัตกรรมชุดการแสดง ชุดผูกเสี่ยวบ้านโคก จำนวน 1 ชดุ 25. โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนร้ดู า้ นการอา่ น การเขียน ดำเนินการในโรงเรียน 60 โรงเรียน ครู 60 คน นักศึกษา 35 คน และการวิเคราะห์ ของนกั เรยี นในระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เพ่อื สรา้ งส่อื การเรยี นรู้ท่เี ปน็ แบบฝึกให้ครนู ำไปใช้ในการพัฒนานักเรียน พน้ื ท่เี ปา้ หมาย : จงั หวดั อตุ รดิตถ์ จำนวน 5 เรื่อง ส่งผลให้ภาพรวมของผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น ภายใต้งบประมาณ 500,000 บาท ส่งผลทำให้นักเรียนสามารถแข่งขันกับนานาอารยประเทศได้ และได้ ผรู้ ับผิดชอบ : คณะครุศาสตร์ ความร่วมมือในการผลิตครใู ห้มีคุณภาพระหว่างสถาบันฝา่ ยผลิตครูและ หน่วยงานผู้ใช้ครู และการบูรณาการการทำงานร่วมกันเพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำความซ้ำซ้อนและสิ้นเปลือง งบประมาณ 26. โครงการประสิทธิภาพของหลักสูตรท้องถิ่น การเพาะปลูก ไม่สามารถดำเนินการตามกำหนดการแผนเดิมได้เนื่องจากการระบาด มะขามหวาน ในการสร้างทัศนคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรมของ ของไวรัสโคโลน่า-19 การเข้าพื้นท่ีในโรงเรียนเพ่ือจัดการอบรมได้ ส่งผล เกษตรกรรุน่ พอ่ แม่ ทำให้จากการพัฒนาหลักสูตรและส่งมอบให้แก่ทางโรงเรียนนำไปใช้เอง พื้นทีเ่ ปา้ หมาย : โรงเรียนฟากท่าวทิ ยา อำเภอฟากท่า และติดตามประสิทธิผลของหลักสูตรที่ทำขึ้น คือหลักสูตรมะขามหวาน จงั หวดั อุตรดิตถ์ คุณภาพ ภายใตง้ บประมาณ 25,000 บาท ผู้รบั ผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 27. โครงการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการยกระดับการผลิต ไม่สามารถดำเนินการตามกำหนดการแผนเดิมได้เนื่องจากการระบาด ส้มเขียวหวานคุณภาพให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้นจากการรวมกลุ่ม ของไวรัสโคโลน่า-19 ส่งผลให้จากการดำเนินการสร้างภาพลักษณ์ทาง ของเกษตรกรยคุ ใหม่ การเกษตรที่ดี ต่อนกั เรียน 45 คน สามารถมคี ณุ คา่ ในการทำการเกษตร พ้ืนท่เี ป้าหมาย : โรงเรยี นบา้ นวังเบอะ อำเภอวังช้นิ ได้จากประสิทธผิ ลของหลักสูตรไมผ้ ลต่อนักเรียนโรงเรยี นบ้านวังเบอะ จังหวดั แพร่ ภายใต้งบประมาณ 80,000 บาท ผูร้ ับผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์

ANNUAL REPORT 2021 35 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม : (ตอ่ ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 28. โครงการเพม่ิ ช่องทางการตลาดดว้ ย Affiliate Marketing การให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและลงมือปฏิบัติติจริง ให้แก่นักศึกษา พน้ื ทเ่ี ป้าหมาย : มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ จำนวน 60 คน และเป็นการบริการวิชาการผู้ประกอบการ 3 ราย ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท สามารถนำความรู้เหล่าน้ไี ปใช้จรงิ ได้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาการจัดการ 29. โครงการสนับสนุนด้านวิชาการของภาคีเครือข่ายสุขภาวะ จากการทบทวนตนเอง จากข้อมูลการดำเนินงานควบคู่กับมีเวที ภาคเหนอื สนับสนุนวชิ าการในระดบั จังหวัด (เวทีจังหวัด )และเวทีประเด็นในระดบั พื้นทเ่ี ปา้ หมาย : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ภูมิภาค ส่งผลให้เกิดความชัดเจนในการทำงานและให้ความสำคัญกับ ผ้รู ับผิดชอบ : สถาบันวจิ ัย และพัฒนา การวิเคราะห์ช่องว่างการพัฒนาหรือข้อต่อที่ยังขาดหายโดยมีแนวทาง ในการขบั เคลอ่ื นเวทีโชว์แชร์ เช่อื มในระดบั จังหวัดและระดบั กลุ่มจังหวดั ท่ีชดั เจนในเนือ้ หาเชิงยุทธศาสตร์มากข้ึน กลยทุ ธ์ท่ี 3 บูรณาการพนั ธกจิ สัมพนั ธ์เพือ่ พัฒนาสงั คมทอ้ งถิน่ ด้านส่งิ แวดลอ้ ม 1. โครงการลดการใชส้ ารเคมที างการเกษตรเพอื่ คณุ ภาพชีวิตที่ดี ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ ผู้เข้าร่วมโครงการ ของคนวังกอง 89 คน ส่งผลให้มีครัวเรือนที่มีค่าใช้จ่ายการปลูกผักลดลง จากเดิม พ้นื ท่ีเปา้ หมาย : บ้านวังกอง ตำบลสองคอน 310 หลังคาเรอื น จำนวนเงนิ 2,220 บาท เฉล่ยี ครัวเรือนละ 310 บาท/ อำเภอฟากทา่ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ เดือน หลังโครงการ มีครัวเรือนที่มีค่าใช้จ่าย 15 ครัวเรือนจำนวนเงิน ภายใต้งบประมาณ 72,000 บาท 1,190 บาท เฉลี่ยครัวเรือนละ 79.3บาท/เดือน สรุปมีครัวเรือนที่มี ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ค่าใช้จา่ ยในการปลูกผักลดลง 16 ครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จา่ ยในการ ปลกู ผกั เฉล่ยี ครัวเรือนละ 230.7 บาท/เดือน 2. โครงการจัดการระบบนิเวศที่เอื้อต่อการจัดการท่องเที่ยว จากการจัดการระบบนิเวศที่เอื้อต่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชน ชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน ส่งผลทำให้ด้านสิ่งแวดล้อม พื้นที่เป้าหมาย : บ้านนาคูหา ตำบลสวนเขื่อน อำเภอเมือง เกิดสุนทรียศาสตร์ทางการท่องเที่ยวในชุมชนจำนวน 3 แห่ง คือ จงั หวัดแพร่ ศูนย์การเรียนรู้ห้อม ศูนย์การเรียนรู้เมี่ยง และศูนย์การเรียนรู้กาละแม ภายใต้งบประมาณ 72,000 บาท เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ซึมซับบอัตลักษณ์ความเป็นตัวตนบ้านนาคูหา ผู้รบั ผดิ ชอบ : วทิ ยานานาชาติ / วทิ ยาลัยนา่ น จากสง่ิ แวดล้อมรอบตัวเพอ่ื เปน็ การยกระดบั ศูนยก์ ารเรียนร้”ู 3. โครงการทำถา่ นอดั แทง่ ดว้ ยวสั ดเุ หลือท้ิงจากการเกษตร เกษตรกร แม่บ้าน พ่อบ้าน ผู้สูงอายุ 140 คน กลุ่มพ่อบ้านได้ฝึก พนื้ ท่ีเปา้ หมาย : บา้ นนำ้ แกน่ ใต้ หมู่ 5 ตำบลนำ้ แกน่ ทำถ่านอัดแท่งดว้ ยวัสดุเหลอื ท้ิงจากการเกษตร สามารถลดรายจ่ายจาก อำเภอภเู พียง จงั หวัดนา่ น การซื้อถ่านหุงต้มใช้ในครัวเรือน และนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ภายใตง้ บประมาณ 500,000 บาท มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ทำให้ชุมชนสามารถลดมลภาวะจากเผาวัสดุเหลือ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : วทิ ยาลยั น่าน ทิ้งจากการเกษตร และผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการขายถ่าน อัดแทง่ 10 บาท/กก. 4. โครงการการทำถ่านอดั แทง่ ด้วยวสั ดุเหลอื ทง้ิ จากการเกษตร จากถ่ายทอดเทคโนโลยีถ่านอัดแท่ง เพื่อสร้างและเพิ่มทักษะต่างให้กับ พื้นที่เป้าหมาย : บ้านน้ำแก่นใต้ ตำบลน้ำแก่น อำเภอภูเพียง คนในพ้นื ที่ มผี เู้ ข้ารว่ มโครงการ 20 คน สง่ ผลให้คนในพื้นท่ีมเี ตาเผาถ่าน จงั หวัดนา่ น 1 เตา เครื่องอัดถ่าน 1 เครื่อง และมีรายได้จากการขายถ่านอัดแท่ง ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท 10 บาท/กก. เป็นการลดมลภาวะจากเผาวัสดเุ หลอื ทงิ้ จากการเกษตร ผรู้ ับผิดชอบ : คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม

36 รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5. โครงการผลิตส้มเขียวหวานปลอดภัยโดยการใช้สารชีวภัณฑ์ จากการให้ความรู้เรื่องโรคส้มเขียวหวาน และวิธีการใช้สารชีวภัณฑ์ ในการควบคมุ โรคสม้ เขยี วหวาน โดยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของ ในการควบคุมโรคสม้ โดยมีผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 50 คน สง่ ผลให้เกษตรกร ชมุ ชน ลดการใช้สารเคมี ในการควบคุมโรคส้ม เกิดการผลิตส้มเขียวหวาน พ้นื ทเ่ี ป้าหมาย : บา้ นวังเบอะ อำเภอวังชนิ้ จงั หวดั แพร่ ปลอดภยั โดยกลุ่มเกษตรกรยุคใหม่ (YSF) จากการใช้ และการผลติ สาร ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ชวี ภัณฑ์เพือ่ ควบคุมโรคสม้ เขยี วหวาน ผู้รับผิดชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 6. โครงการเพิม่ มลู คา่ ส้มเขียวหวานเหลอื ทง้ิ เปน็ ถ่านผลไม้ดดู ซบั ดำเนินการเขียนคู่มือการดำเนินงานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กลิน่ เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเข็มแขง็ ใหเ้ กษตรกร จากถ่านส้มพร้อมการเพิ่มมูลค่าโดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และ พนื้ ทีเ่ ป้าหมาย : บา้ นวังเบอะ อำเภอวงั ช้นิ จงั หวดั แพร่ สติ๊กเกอร์ที่มีโลโก้ พร้อมทั้งการคำนวณต้นทุนเพื่อให้เกษตรสามารถ ภายใต้งบประมาณ 120,000 บาท นำไปพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน ส่งผล ผู้รับผดิ ชอบ : คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทำให้ได้คู่มือการดำเนินงานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากถ่านส้ม และ ผลิตภณั ฑจ์ ากถา่ นสม้ เหลอื ทิง้ 7. โครงการการใช้กระบวนการจัดการน้ำเสีย เพื่อการใช้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเเล้วตัวกังหันสามารถเพิ่มอากาศให้กับน้ำในบ่อ ประโยชน์ในชุมชนโดยใช้เครื่องกังหันเติมอากาศพลังงานเเสง ซึ่งตัวกังหันนี้ใช้พลังงานเเสงอาทิตย์จึงทำให้ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้ อาทิตย์เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนเเบบมีส่วนรว่ มโรงเรียน พลังงานไฟฟ้าโดยมีผู้เข้ารว่ มโครงการ ประชาชน นักศึกษา ครู หมู่บ้าน บ้านเดน่ ชาติ โรงเรียน 5 กล่มุ เปา้ หมาย ส่งผลให้ได้เครือ่ งตน้ แบบกังหันน้ำเติมอากาศ พน้ื ท่เี ปา้ หมาย : หมู่ท่ี 8 บา้ นเดน่ ชาติ ตำบลบ่อเบยี้ พลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 1 เครื่อง และน้ำในบ่อมีคุณภาพเพิ่มข้ึน อำเภอบา้ นโคก จงั หวดั อตุ รดิตถ์ จากการเตมิ อากาศดว้ ยกังหันนำ้ เติมอากาศพลงั งานเเสงอาทิตย์ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท ผรู้ บั ผิดชอบ : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 8. โครงการพัฒนานวัตกรรมการจัดการขยะพลาสติก และ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน ส่งผลให้เกิดผลิตภัณฑ์ โฟมแบบมสี ่วนร่วมของภาคเี ครอื ข่ายด้วยกระบวนการอาสา แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะพลาสติกและโฟมได้ 3 ผลิตภัณฑ์ ประชารัฐ ได้แก่ บล็อกปูพื้นจากพลาสติกและโฟม กระถางปลูกต้นไม้จากโฟม พน้ื ทเ่ี ป้าหมาย : บา้ นบงุ่ วงั งิ้ว ตำบลป่าเซา่ อำเภอเมือง กระถางรูปทรงสตั วจ์ ากขวดพลาสตกิ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9. โครงการยกระดบั คุณภาพบัณฑิตสู่อตั ลักษข์ องมหาวทิ ยาลยั ฯ จากการดำเนินการโครงการ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน ส่งผล ด้วยกระบวนการอาสาประชารฐั ให้ชุมชนและนักเรียนโรงเรียนบ้านนาต้นจั่น มีสื่อที่เข้าถึงนักท่องเที่ยว พื้นทเี่ ปา้ หมาย : บ้านนาตน้ จนั่ ตำบลบา้ นตึก อำเภอศรีสัชนาลยั ได้มากขึ้น ผ่านทั้งรูปแบบ ออนไลน์ และออฟไลน์ ให้กับนักท่องเที่ยว จงั หวัดสโุ ขทัย แบบออนไลน์และวอคอิน ชุมชนมีทักษะภาษาอังกฤษถูกนำไปใช้ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท ในการสรา้ งสอื่ การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชนบ้านนาต้นจน่ั ผู้รับผดิ ชอบ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ANNUAL REPORT 2021 37 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม : (ตอ่ ) ผลการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการ ดำเนนิ งานโครงการพนั ธกิจสมั พันธ์ตามยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 10. โครงการบรกิ ารวชิ าการ อตุ รดติ ถ์ เพ่ือพฒั นาทอ้ งถ่ิน ในพื้นที่ 3 จังหวัด อตุ รดิตถ์ แพร่ และน่าน 11. โครงการทำนบุ ำรุงศลิ ปวฒั นธรรม มีจำนวนทง้ั หมด 115 โครงการ ซึง่ มหี มบู่ า้ นท่เี ขา้ ดำเนินการ 92 หมูบ่ า้ น โรงเรียน 409 โรงเรียน ผู้เข้ารว่ มโครงการ 2,748 คน 12. โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำรฯิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้ส่งเสริม ด้านศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม โดยกองศิลปวัฒนธรรม มีการดำเนินกิจกรรม/โครงการ 2 โครงการ และมีผ้เู ข้าร่วมโครงการ จำนวน 550 คน ดงั นี้ 1. โครงการอบรมสัมมนาให้ความรู้ประวัติศาสตร์เมืองอุตรดิตถ์ เป็น โครงการที่จัดให้กับนักศึกษาเอกสังคมศึกษา และประชาชนในพื้นที่ อำเภอพิชัย ส่งผลให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความเป็นมาของอนุสรณ์สถาน บ้านเกดิ พระยาพชิ ยั ดาบหักเจ้าเมอื งทสี่ ำคัญของเมอื งอุตรดติ ถ์ 2. โครงการรอรักษ์ท่ีทุ่งเศรษฐี เป็นโครงการท่ีจัดโดยนักศึกษาเอกสังคม ศึกษาที่มีความสนใจในการอนุรักษ์โบราณวัตถุที่ชาวชุมชนห้วยบงเก็บ รกั ษาไวท้ พี่ ิพธิ ภัณฑ์วัดทุง่ เศรษฐี ส่งผลใหไ้ ดร้ บั ความรเู้ กี่ยวกับการจดั ทำ ทะเบียนวตั ถุ และการจัดการวัตถุในพิพธิ ภณั ฑข์ องตนเองอย่างถูกต้อง ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนอง โดยมหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ในปีงบประมาณ 2564 ได้มีการดำเนิน กจิ กรรม 3 กจิ กรรมหลัก ดงั น้ี 1. การฝึกอบรมปฏิบัติการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครั้งที่ 1/2564 หลักสูตร 5 องค์ประกอบ เนื่องด้วยสถานะการการระบาดโรค โควิด19 ไมส่ ามารถจดั การอบรมได้ 2. การประเมินโรงเรียนเพื่อขอรับขอรับป้ายสนองพระราชดำริในงาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและเกียรติบัตรขั้นที่ 1 งานสวนพฤกศาสตร์ โรงเรียน วันนที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยมีโรงเรียนที่ผ่านการ ประเมิน 2 โรงเรียน โรงเรียนศรีจันทร์วิทยาคม รัชมังคลาภิเษก และ โรงเรียนตากพทิ ยาคม 3. การสนับสนุนในด้านงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์และสาธิตการสอน ติดตามการดำเนินงานโครงการ พัฒนาเด็กและเยาวชน ตามพระราชดำริโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนยอดโพธทิ์ อง 1 อำเภอบ้านโคก จังหวดั อุตรดติ ถ์

38 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ ครู และบณั ฑติ ดีมคี ณุ ภาพ เปา้ ประสงค์ 1. การผลติ ครู ระบบปิด/เปิด 2. การผลติ บณั ฑิตดีมีคณุ ภาพ มจี ติ อาสา พฒั นาเปน็ ผูป้ ระกอบการ 3. การพัฒนาศักยภาพครู 4. การพฒั นานวตั กรรมการผลิตและพฒั นาครู กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ท่ี 4 ผลิตครูทไี่ ดม้ าตรฐานวชิ าชพี และมีจิตวิญญาณความเปน็ ครูและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถิน่ - ผลิตครดู ี มคี วามรอบรู้ เพ่ือพัฒนาสงั คมโดยใช้โรงเรียนสาธติ และโรงเรยี นในเครือข่ายเป็นแหลง่ ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู กลยทุ ธ์ท่ี 5 บณั ฑติ ดีมีคณุ ภาพ มีจติ อาสา พฒั นาเปน็ ผู้ประกอบการท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชนทอ้ งถ่นิ - สนับสนุนใหม้ กี ระบวนการบรหิ ารจดั การ การเรียนการสอน โครงการและกจิ กรรมท้ังในและ/หรอื นอกหลักสูตร ท่ีส่งเสริม ให้นกั ศกึ ษาเป็นคนดี มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และมจี ติ สาธารณะ - สนบั สนนุ สง่ เสริมใหค้ ณะ วทิ ยาลัย สร้างอตั ลกั ษณ์ของบณั ฑติ แต่ละคณะ วทิ ยาลัยใหม้ ีพน้ื ฐานในการเป็นผปู้ ระกอบการ - ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยหรือบริการวิชาการเป็นฐาน กลยุทธท์ ี่ 6 พฒั นาศักยภาพครขู องครู ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความเป็นมอื อาชพี - สง่ เสรมิ และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยสรา้ งหลกั สตู รระยะส้ันและระยะยาวทต่ี อบสนองความตอ้ งการของ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ท่ี 7 สรา้ งนวัตกรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ส่กู ารศกึ ษา 4.0 - การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัย และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม ให้ตอบสนองการพัฒนานักศึกษาและ อาจารย์ในศตวรรษที่ 21 สู่การศกึ ษา 4.0

ANNUAL REPORT 2021 39 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ ครู และบณั ฑติ ดีมีคณุ ภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตครู และบัณฑิตดีมีคุณภาพ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเปา้ ประสงค์และกลยุทธ ซ่งึ มีผลการดำเนนิ การดงั น้ี กลยุทธ์ท่ี 4 ผลิตครูทีไ่ ด้มาตรฐานวิชาชีพและมีจิตวญิ ญาณความเป็นครูและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของท้องถิ่น พบวา่ มีจำนวนโครงการ 4 โครงการ มีสื่อการสอนเพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 50 เรื่อง และได้นำไปใช้ใน 60 โรงเรียน เครือข่ายของพื้นที่ 3 จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน โดยมีโรงเรียนเครือข่ายที่ร่วมพัฒนาวิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์ จำนวน 56 โรงเรียน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ เป็น ครู นักเรยี น นักศกึ ษา 705 คน มกี ารจดั การศึกษาโรงเรียนสาธิต ซึง่ เปนแหล่งฝกึ ประสบการณวิชาชีพ ครูเอกการศึกษาปฐมวัยใหกับนักศึกษา ฝกสอนของคณะครุศาสตร์ ทำให้ผูปกครองมีความพึงพอใจในระดับตนๆ ของจังหวัด และมี ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาหลักสูตรสาขาครุศาตรบ์ ัณฑิต จำนวน 637 คน มบี ณั ฑติ ครทู ่สี อบผา่ นมาตรฐานใบประกอบวิชาชพี ครู คิดเป็นร้อยละ 95 ของนกั ศึกษาคณะครุศาสตรท์ ้งั หมด กลยุทธ์ที่ 5 บัณฑิตดีมีคุณภาพ มีจิตอาสา พัฒนาเป็นผูป้ ระกอบการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น พบว่า มีจำนวนโครงการ 4 โครงการ มีโรงเรียนที่เขา้ ไปดำเนินงาน 11 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 294 คน โรงเรียนเครือข่ายสามารถนำส่อื การสอนไปตอ่ ยอด การใช้พฒั นาการอา่ นออกเขียนได้สำหรับชั้นประถมศึกษา มีนกั ศึกษาที่ได้รบั รางวัลดเี ดน่ ในระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ ในการสร้างอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ทั้งหมด 15 รางวัล มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ มีผู้สำเร็จการศึกษา ทั้งหมด 1,575 คน จาก การผลิตบัณฑิตดี มีคุณภาพ มีจิตอาสา พัฒนาเป็นผู้ประกอบการ ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งมีบัณฑิตท่ี กลบั มาทำงานในท้องถิน่ ของตนเอง คดิ เป็นรอ้ ยละ 65 และมบี ัณฑติ ท่สี ำเรจ็ การศกึ ษามีงานทำหรือเป็นผู้ประกอบการภายในระยะ 1 ปี ที่ตอบแบบสอบถามการมีงานทำท้ังหมด 1,224 คน มีงานทำแลว้ 994 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81 กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาศักยภาพครูของครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ พบว่า มีจำนวนโครงการ 1 โครงการ มโี รงเรียนเครอื ขา่ ยท่ีเข้าร่วมพัฒนาวิชาชีพครูคณะครศุ าสตร์ 80 โรงเรยี น ผเู้ ข้าร่วมโครงการ 685 คน ดำเนนิ การพฒั นาด้วย รปู แบบบุรรี ัมย์โมเดล มีอย่างน้อย 4 องคป์ ระกอบ สง่ ผลใหก้ ารผลติ ครทู ี่มคี ุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทกุ ฝ่ายท้ัง 4 องค์ประกอบของ รูปแบบบรุ ีรัมย์โมเดล กลยุทธ์ท่ี 7 สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สู่การศึกษา 4.0 พบว่า มีจำนวนโครงการ 2 โครงการ มีโรงเรียนเครือข่ายร่วมร่วมผลิตครู 14 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ 70 คน ดำเนินการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์สำหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 40 ชิ้น ส่งผลให้โรงเรียนในเครอื ขา่ ยมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนในช่วง covid19 และนักศึกษาสามารถพัฒนาแนวคิดโครงงานจากกิจกรรม BCG Idea contest สามารถทำงานและการถ่ายทอดความรูโ้ ดยรวม ในระดบั มาก และมคี วามพึงพอใจต่อโครงการในระดบั มาก มรี ายละเอียดดังน้ี

40 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยทุ ธ์ท่ี 4 ผลิตครูทไี่ ดม้ าตรฐานวิชาชพี และมจี ติ วิญญาณความเป็นครูและสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถน่ิ 1. โครงการผลิตครูเครือข่ายและบัณฑิตนาฏศิลป์ดีมีคุณภาพสู่ โรงเรียนที่เข้าไปดำเนินการ 30 โรงเรียน ผู้เข้ารวมโครงการเป็นครู ความเป็นครูนาฏศลิ ป์มืออาชีพ ในจังหวัดอุตรดิตถ์และนักสึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ พน้ื ท่ีเป้าหมาย : อำเภอเมือง อำเภอลับแล อำเภอพชิ ัย 145 คน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เกิดทักษะในการแต่งกายชุดการแสดง อำเภอตรอน อำเภอทา่ ปลา นาฏศิลป์ในแต่ละชุดและมีแนวทางในการเผยแพร่ขยายผลได้ชุดการ ภายใต้งบประมาณ 150,000 บาท แสดงเยอื นศิลป์ถน่ิ ทา่ เหนืออย่างกวา้ งขวางเปน็ รปู ธรรม ร้อยละ 80 ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะครุศาสตร์ 2. โครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) นักศึกษาครู ผู้เข้าร่วมโครงการ 266 คน ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ สงั คมศึกษา โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียน PLC ในการสร้างนวัตกรรม พน้ื ที่เปา้ หมาย : จังหวัดอตุ รดิตถ์ การเรียนรู้สังคมศึกษาเพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียน ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท เครือข่ายทรี่ ว่ มพฒั นาวิชาชีพครูของคณะครศุ าสตร์ จำนวน 15 โรงเรยี น ผู้รบั ผิดชอบ : คณะครศุ าสตร์ 3. ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาสาขาครุศาตรบ์ ณั ฑิต ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ผลิตครูที่ได้มาตรฐาน วิชาชีพและมีจิตวิญญาณความเป็นครูและสอดคล้องกับความต้องการ ของท้องถิ่น โดยมีผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรสาขาครุศาตร์บัณฑิต คณะครุศาสตร์ ในระดับปริญญาตรี 4 ปี และ 5 ปี รวม 34 สาขาวิชา นกั ศึกษาผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษา จำนวน 637 คน และมบี ณั ฑิตครทู ่ีสอบผ่าน มาตรฐานใบประกอบวชิ าชีพครู คิดเป็นร้อยละ 95 ของนักศึกษาทัง้ หมด 4. การจัดการศึกษาโรงเรียนสาธิต ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นสาธิต ไดด้ ำเนินการตามเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจสอดคลองกับสภาพความตองการของชุมชน ให้การสนับสนนุ แหลงการเรียนเพื่อพัฒนานักเรยี นได้อยางเต็มศกั ยภาพ และเปนแหลงฝึกประสบการณวิชาชีพแกนักศึกษาคณะครุศาสตรและ คณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์อยางเต็มที่ ทั้งสนับสนุน หองปฏิบัติการสอน บุคลากร รวมทั้งวัสดุฝกตางๆ ตอหนวยงานท่ี เกี่ยวของอยางตอเนื่อง โดยเปิดสอนในระดับชั้นบริบาล 1 ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนห้องเรียน 46 ห้อง จำนวนนักเรียนทั้งหมด 2,017 คน และมีบุคลากร รวมทั้งหมด 126 คน จำแนกเป็นครูผู้สอน 69 คน เจ้าหน้าที่ 56 คน ซึ่งเปนแหลงฝกประสบการณ วิชาชีพครู เอกการศึกษาปฐมวัยให กับนักศึกษาฝ กสอนของคณะครุศาสตร มุงพัฒนาเด็กโดยผานกิจกรรม ใหมีคุณภาพตามหลักพัฒนาการทั้ง 4 ดาน ไดอยางมีประสิทธิผลตามวิถีปฐมวัย ส่งผลทำให้การศึกษา ปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมีคุณภาพ มีการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยที่ดี มีความทันสมัยอยูตลอดเวลา ทำให้ผูปกครองมีความพึงพอใจในระดับ ตนๆ ของจงั หวัด

ANNUAL REPORT 2021 41 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยทุ ธท์ ่ี 5 บณั ฑิตดมี คี ณุ ภาพ มีจิตอาสา พัฒนาเปน็ ผปู้ ระกอบการท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนทอ้ งถนิ่ 1. โครงการเก่งวชิ าการงานสอนเยยี่ ม กจิ กรรมสรา้ งสรรค์เต็ม โรงเรียนที่เข้าไปดำเนินงาน 11 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นครู เป่ียม นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการประถมศึกษา นักเรียน นักศึกษา 294 คน จากแบบสอบถามความพึงพอใจ พบว่า พ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย : จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ การดำเนนิ การบูรณาการการเรยี นการสอนตาม Key Results (KR) โดย ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ภาพรวมอย่ใู นระดับดมี าก ( = 4.57, S.D. = 0.36) ได้ผลผลิต/นวตั กรรม ผู้รับผดิ ชอบ : คณะครุศาสตร์ มากว่า 60 ชิ้น โรงเรียนเครือข่ายสามารถนำสื่อการสอนไปต่อยอด การใชพ้ ฒั นาการอา่ นออกเขียนได้สำหรับชน้ั ประถมศึกษา 2. โครงการสังเคราะห์ โครงการยกระดับคุณภาพบณั ฑิต การดำเนินการสังเคราะห์โครงการยกระดับคุณภาพบัณฑิตสู่อัตลักษณ์ สู่อัตลกั ษณ์ ของมหาวิทยาลยั ดว้ ยกระบวนการอาสาประชารฐั ของมหาวิทยาลัยด้วยกระบวนการอาสาประชารัฐน้ี ซึ่งในปีงบประมาณ พืน้ ท่เี ปา้ หมาย : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ 2564 มีจำนวน 15 โครงการ เพื่อประมวลผลการดำเนินโครงการ ภายใต้งบประมาณ 100,000 บาท การตดิ ตามเสรมิ พลังนกั ศกึ ษาท่ีเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิงานหลกั รว่ มกับภาคีในพน้ื ท่ี ผู้รับผิดชอบ : คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทำให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงการ ของมหาวิทยาลัย เพิม่ มากข้นึ และโครงการ บรรลุ KR ครอบคลมุ ทั้ง 4 KR มากขึน้ 3. นักศึกษาที่มีผลงานและรางวัลดีเด่นที่ได้รับในระดับชาติหรือ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีนักศึกษา นานาชาตใิ นการสรา้ งอัตลักษณข์ องมหาวิทยาลัย ที่ได้รับรางวัลดีเด่นในระดับชาติหรือนานาชาติ ในการสร้างอัตลักษณ์ ของมหาวทิ ยาลยั ทัง้ หมด 15 รางวัลดังนี้ - รางวัลประกาศเกียรติคุณเป็นเด็กและเยาวชนดีเด่นของจังหวัด อุตรดิตถ์ เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ จังหวัดอุตรดิตถ์ ประจำปี 2564 เมือ่ วนั ที่ 20 กนั ยายน 2564 มี 6 รางวัลดังนี้ 1. รางวลั สาขาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม นางสาวอัญมณี ศรีแกว้ (คณะมนษุ ยศาสตรฯ์ ) 2. รางวัลสาขาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม นางสาวเกศรนิ หย่ี (คณะครุศาสตร)์ 3. รางวลั สาขาศิลปวัฒนธรรม นายเฉลมิ พนั ธ์ หนชยั (คณะมนษุ ย์ศาสตรฯ์ ) 4. รางวัลสาขาพัฒนาเยาวชนบำเพ็ญประโยชน์และส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของเยาวชน นางสาวณัฐรกิ า แพงสารตั น์ (คณะครศุ าสตร์) 5. รางวัลสาขาพัฒนาเยาวชนบำเพ็ญประโยชน์และส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของเยาวชน นางสาวอภสั นันท์ ครฑุ อินทร์ (คณะครุศาสตร)์ 6. รางวลั สาขานวัตกรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์ นางสาวกัณยกร ลกี รพงษ์ (คณะวิทยาศาสตรฯ์ )

42 รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - การประกวดเรื่องสั้น หัวข้อ “รักของแม่” ประจำปี 2564 จาก สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 3 รางวัลนักศึกษาคณะ มนษุ ย์ศาสตร์ฯ 1. รางวลั ชนะเลศิ นางสาวสวุ รี ยา คา้ ไม้ 2. รางวลั รองชนะเลศิ นางสาวกญั ญาวี จดฟ้า 3. รางวลั ชมเชย นางสาวอมรพรรณ สภุ าพ - รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยเหรียญทอง ในงานประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2 ในวาระครบรอบ 65 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เมื่อวันท่ี 20 กรกฎาคม 2564 นักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมการจัดการพลังงาน คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม 2 รางวัล 1. นางสาวจฑุ ารตั น์ ออ่ นดี 2. นางสาวลกั ษณา พกุ รอด - รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยเหรียญเงิน ในงานประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งท่ี 2 ในวาระครบรอบ 65 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 นักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมการจัดการพลังงาน คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม 2 รางวลั 1. นางสาวสุพตั รา กาบหล้า 2. นางสาวศภุ านนั กันไชย - รางวัลลูกกตัญญูสร้างสรรค์สังคม เนื่องใจวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2564 สภาศลิ ปนิ สร้างสรรค์สงั คม 1 รางวลั นายกีรติกร นาคประเสริฐ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขา เทคโนโลยอี ุตสาหการ - รางวลั ชมเชยในการคัดเลือกนักเรียน นกั ศกึ ษาและสถานศกึ ษา เพอื่ รับ รางวัลพระราชทาน ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 1 รางวัล นายกอบชัย จันทร์ศรีงาม นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาวิชา ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ 4. ผู้สำเร็จการศึกษาของการผลิตบัณฑิตดีมีคุณภาพ มีจิตอาสา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผู้สำเร็จ พัฒนาเปน็ ผ้ปู ระกอบการ การศึกษา ทั้งหมด 1,575 คน จากการผลิตบัณฑิตดีมีคุณภาพ มีจิตอาสา พัฒนาเป็นผู้ประกอบการ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งมีบัณฑิตที่กลับมาทำงานในท้องถิ่นของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 65 และมีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษามีงานทำหรือเป็น ผู้ประกอบการภายในระยะ 1 ปี ที่ตอบแบบสอบถามการมีงานทำ ทงั้ หมด 1,224 คน มงี านทำแล้ว 994 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 81

ANNUAL REPORT 2021 43 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม : (ต่อ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงานปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาศักยภาพครขู องครู ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มคี วามเปน็ มืออาชีพ 1. โครงการเสริมพลังอำนาจการผลิตครูให้เป็นไปตามสมรรถนะ โรงเรียนเครอื ขา่ ยท่เี ขา้ ร่วมพัฒนาวชิ าชีพครคู ณะครุศาสตร์ 80 โรงเรียน ของวชิ าชีพครู ดว้ ยรูปแบบบุรรี มั ย์โมเดล ผู้เขา้ รว่ มโครงการ 685 คน ดำเนินการพัฒนาด้วยรปู แบบบรุ ีรมั ยโ์ มเดล พื้นท่ีเปา้ หมาย : มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ มีอย่างน้อย 4 องค์ประกอบ ส่งผลให้การผลิตครูที่มีคุณภาพโดยการ ภายใตง้ บประมาณ 499,895 บาท มสี ว่ นร่วมของทกุ ฝา่ ยท้ัง 4 องคป์ ระกอบของรปู แบบบุรรี มั ยโ์ มเดล ผ้รู ับผดิ ชอบ : คณะครุศาสตร์ กลยทุ ธ์ที่ 7 สร้างนวัตกรรมเพ่อื พฒั นาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 สู่การศกึ ษา 4.0 1. โครงการพฒั นาศักยภาพในสรา้ งนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนเครือข่ายร่วมร่วมผลิตครู จังหวัดอุตรดิตถ์ 14 โรงเรียน คณติ ศาสตร์เพื่อรองรับสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ผู้เข้าร่วมโครงการ 70 คน ส่งผลให้โรงเรียนในเครือข่ายมีนวัตกรรมการ พนื้ ท่ีเปา้ หมาย : จงั หวัดอุตรดติ ถ์ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ภายใตง้ บประมาณ 60,000 บาท สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนได้และมผี ลการประเมินจาก ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะครุศาสตร์ ผเู้ รยี นในระดบั ดีข้ึนไปจำนวน 40 ชิน้ 2. โครงการพฒั นาแนวคดิ ไทยแลนด์ 4.0 และทักษะในศตวรรษ โครงการนี้ได้ดำเนินการโดยใช้ BCG Model เป็นฐาน โดยมีผู้เข้าร่วม ท่ี 21 ของนกั ศึกษา หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชา โครงการ 379 คน หลังจากการดำเนินโครงการทำให้นักศึกษาสามารถ วทิ ยาศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ สร้างกระถางชีวภาพในระดับคะแนน 80 ขึ้นไป (100 คะแนนเต็ม) พนื้ ทีเ่ ปา้ หมาย : มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ และ โรงเรยี น สามารถพัฒนาแนวคิดโครงงานจากกิจกรรม BCG Idea contest ผ่าน อุตรดติ ถด์ รณุ ี ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมอื ง จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ เกณฑ์ 11 กลุ่ม นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการและนักศึกษาตัวแทน ภายใต้งบประมาณ 50,000 บาท มีความสามารถด้านการทำงานและการถ่ายทอดความรู้โดยรวม ผู้รับผดิ ชอบ : คณะครุศาสตร์ ในระดบั มาก และมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการในระดบั มาก

44 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ 1. การยกระดบั ความเป็นเลศิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2. พฒั นาอาจารย์ 3. คุณภาพบณั ฑติ กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 8 พฒั นาปรบั ปรุงหลักสตู รสหวิทยาการตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถน่ิ - ปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรสหวทิ ยาการตอบสนองตอ่ การพัฒนาทอ้ งถิ่น - ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การวจิ ัยหรอื บรกิ ารวชิ าการเปน็ ฐาน กลยทุ ธ์ที่ 9 พัฒนาศักยภาพอาจารย์ใหเ้ ปน็ มืออาชพี - พฒั นาสดั ส่วนตำแหน่งทางวชิ าการให้เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน - จดั ตัง้ Teaching clinic เพอื่ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอนใหอ้ าจารย์ - พัฒนาอาจารยแ์ ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญตามศาสตร์ของตนเอง - เสรมิ สรา้ งศักยภาพของบุคลากรดา้ นการวิจัยเชงิ บูรณาการทกุ ระดบั - สง่ เสริมและสนับสนุนทุนอุดหนนุ การวจิ ัยทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั - ส่งเสรมิ เผยแพร่งานวจิ ัย พฒั นาระบบสารสนเทศ เพอื่ การนำผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นระดับท้องถน่ิ ประเทศ และ นานาชาติ กลยุทธ์ท่ี 10 พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ให้บัณฑติ เป็นคนดมี คี วามเชยี่ วชาญในวชิ าชีพ - สง่ เสรมิ ใหม้ กี ิจกรรมทางวชิ าการและวชิ าชีพสำหรบั นกั ศึกษา สนบั สนุนงบประมาณและทรพั ยากรทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ - สง่ เสรมิ ให้ คณะ วทิ ยาลัย หลกั สตู รท่มี คี วามพร้อมเขา้ ส่กู ารบรหิ ารหลกั สูตรแบบ WIL - สง่ เสริมให้ คณะ วิทยาลยั หลกั สตู รทม่ี คี วามพร้อมเข้าสู่การบรหิ ารหลกั สูตรแบบสหกจิ ศึกษา

ANNUAL REPORT 2021 45 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY ผลการดำเนินงานตามประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตัวชี้วัดเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินตามนโยบายและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ โดยมีโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ตามเปา้ ประสงค์และกลยทุ ธ ซึ่งมีผลการดำเนินการดงั น้ี กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสหวิทยาการตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น พบว่า มีการดำเนินโครงการ จำนวน 1 โครงการ มีการปรับปรุงหลักสูตรและหลักสูตรใหม่ ในจัดการเรียนการสอน ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งหมด จำนวน 87 หลักสตู ร โดยจำแนกเป็นการปรบั ปรุงหลักสูตร 71 หลักสูตร และพัฒนาหลักสตู รใหม่ 16 หลักสตู ร กลยุทธ์ที่ 9 พัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ พบว่า มีจำนวนโครงการ 9 โครงการ มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ในสถานการณ์โควิด 20 ชิ้น และนักเรียนได้รับการจัดการเรียนที่เหมาะสมที่ในสถาณการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 สว่ นการดำเนินการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ มผี ลงานจำนวนทงั้ หมด 84 ผลงาน นำไปใช้ประโยชน์ 44 ผลงาน และยังมีผลงานวิจัยท่ี ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ทั้งหมด 192 ผลงาน มีงานวิจัยที่ได้ทำการจดทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 4 งานวิจัย โดยการนำไปใช้ ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษา ต่อชุมชน 133 ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 260 คน โรงเรยี น 5 โรงเรียน และเครอื ข่าย 8 เครอื ข่าย ทำใหช้ าวบ้านเกดิ ความรู้ในการนำไปใชป้ ระกอบอาชีพ เพ่ือสรา้ งรายได้ ลดปรมิ าณขยะ แกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดล้อม ทำใหก้ ลุม่ วิสาหกิจมีรายไดเ้ พิ่ม และร้ปู ระโยชนถ์ ึงการนำวัสดุเหลือทิ้งกลับมาทำใหม่ เกิดประโยชน์ในการสร้าง มูลค่าและพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ ุมชน ทำใหน้ ักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 เกดิ การพฒั นาอา่ นออกเขยี นได้ กลยุทธ์ที่ 10 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้บณั ฑิตเปน็ คนดีมีความเชี่ยวชาญในวิชาชพี พบว่า มีจำนวนโครงการ 23 โครงการ เกิดการบูรณาการการจัดการการเรียนการสอนจำนวน 76 รายวิชา เพื่อแก้ไขปัญหาพืน้ ที่ เกิดองค์ความรู้ วิจัย นวัตกรรมที่เกิดร่วมกับ ชุมชน จำนวน 76 องคค์ วามรู้ 70 นวัตกรรม สามารถยกระดบั ทกั ษะนกั ศกึ ษาทางดา้ นภาษาอังกฤษ โดยมรี ะดบั ความสามารถด้านการ ใช้ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ร้อยละ 75.35 ยกระดับทักษะด้านการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล สื่อสาร มีความคิดสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทักษะจากห้องเรียน มาทำงานในพื้นที่โดยใช้หลักการขับเคลื่อนงานตามหลักพันธกิจสัมพันธ์ คือ 1. การร่วมคิด ร่วมทำแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2. เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual benefits) 3. มีการใช้ความรู้และเกิดการการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) 4. เกิดผลกระทบต่อสังคมท่ีประเมินได้ (Social Impact) อย่างเปน็ รูปธรรม รวมไปถึงการเสริมสมรรถนะหลกั ของนักศึกษาแบบบูรณา การในรายวิชาในหลักสูตร มีคุณลักษณะเป็นไปตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย สอดคล้องกั บต้องการของตลาดแรงงานเป้าหมาย จำนวน 15 หลักสตู ร และเกิดการพฒั นาหลกั สตู รรปู แบบ การศกึ ษาเชงิ บูรณาการกับการทำงาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) จำนวน 27 หลักสตู ร มีรายละเอียดดงั นี้ รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม : โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยุทธท์ ี่ 8 พฒั นาปรับปรงุ หลักสูตรสหวทิ ยาการตอบสนองต่อการพฒั นาท้องถิน่ 1. การปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตรที่ทำการเปิดการเรยี นการสอน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้มีการ ปรับปรุงหลักสูตรและหลักสูตรใหม่ ในจัดการเรียนการสอน ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งหมด จำนวน 87 หลักสูตร โดยจำแนก เป็นการปรับปรุงหลักสูตร 71 หลักสูตร และพัฒนา หลกั สูตรใหม่ 16 หลกั สูตร

46 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ต่อ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยทุ ธท์ ี่ 9 พัฒนาศักยภาพอาจารยใ์ ห้เปน็ มืออาชพี 1. โครงการพัฒนาศักยภาพในสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ จากการบ่มเพาะนักศึกษาต้นแบบสำหรับการออกแบบนวัตกรรม คณิตศาสตร์เพื่อรองรับสถานการณโ์ รคระบาด COVID-19 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และการถ่ายทอดนวัตกรรม พื้นทเ่ี ปา้ หมาย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยมีผู้เข้าร่วมเป็นนักศึกษาครู ภายใต้งบประมาณ 60,000 บาท จำนวน 144 คน ส่งผลให้ได้นวัตกรรมการจดั การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ผู้รบั ผิดชอบ : คณะครศุ าสตร์ ในสถานการณ์โควิด 20 ชิ้น และนักเรียนได้รับการจัดการเรียน ที่เหมาะสมท่ีในสถาณการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 2. โครงการพฒั นาอาจารยว์ ทิ ยาลยั นานาชาตเิ พื่อการออกแบบจัดการ คณาจารย์และบุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน มีความ เรียนการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ เข้าใจในหลักการ OBE ส่งผลให้สามารถประยุกต์ใช้ในการออกแบบ (Outcome-based education (OBE) หลักสูตร/กิจกรรม ได้แก่ 1. วิทยาลัยนานาชาติ มีหลักสูตร พ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ที่ออกแบบ 2 หลักสูตร (หลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ และหลักสูตร ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ภาษาจีนธุรกิจ) 2. คณะวิทยาการจัดการ - หลักสูตรคอมพิวเตอร์ ผรู้ ับผิดชอบ : วิทยาลยั นานาชาติ ธุรกิจ 3. คณะเกษตร - หลักสูตรเกษตรศาสตร์ และหลักสูตร และ หลักสูตรเทคโนโลยอี าหาร 3. โครงการพัฒนานักวิจัยหน้าใหม่ วนช. เขียนข้อเสนอโครงการ ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนข้อเสนอ อย่างไร.....ใหถ้ ึงฝนั โครงการวจิ ยั เพอื่ ขอทุน และการเลือกใชส้ ถติ ทิ ่ีเหมาะสมกับงานวิจัย พน้ื ทเ่ี ป้าหมาย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ proposal ที่ดี ให้แก่คณาจารย์วิทยาลัยนานาชาติ 9 คน ส่งผลให้ ภายใต้งบประมาณ 71,250 บาท คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ผรู้ บั ผดิ ชอบ : วทิ ยาลยั นานาชาติ เพื่อขอทุนระดับมาก และสามารถคิดหัวข้อวิจัยได้ ในการต่อยอด งานวจิ ยั เพอ่ื นำเสนอหรอื ตีพิมพ์ในปี 2565 4. จำนวนผลงานวิจยั งานสรา้ งสรรค์ หรือนวตั กรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ มจี ำนวน ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ จำนวนทั้งหมด 84 ผลงาน เงินทุน สนับสนุนงานวิจัย รวมทั้งหมด 28,048,145 บาท โดยจำแนก ตามแหล่งงบประมาณภายใน 21 ผลงาน 2,624,875 บาท และ แหลง่ งบประมาณภายนอก 63 ผลงาน 25,423,270 บาท 5. ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ให้เกิด จำนวนงานวิจัยงานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ตอ่ ชุมชน 44 ผลงาน ในพื้นที่ จังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุโขทัย แพร่ น่าน พะเยา ลำปาง และลำพูน โดยการนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไข ปัญหา การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษา ต่อชุมชน 133 ชมุ ชน กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชน 260 คน โรงเรียน 5 โรงเรียน และ เครือข่าย 8 เครือข่าย ทำให้ชาวบ้านเกิดความรู้ในการนำไปใช้ ประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้ ลดปริมาณขยะ แก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อม ทำให้กลุ่มวิสาหกิจมีรายได้เพ่ิม เกิดประโยชน์ในการ สร้างมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และทำให้นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 1 เกดิ การพัฒนาอ่านออกเขยี นได้

ANNUAL REPORT 2021 47 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ตอ่ ) โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนนิ งานปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 6. ผลงานวิจัยทไี่ ด้รบั การตพี มิ พเ์ ผยแพร่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มีผลงานวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ทั้งหมด 192 ผลงาน จำแนกตามหน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ 5 ผลงาน คณะครุศาสตร์ 46 ผลงาน คณะมนุษยศาตร์ และสังคมศสาตร์ 44 ผลงาน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 28 ผลงาน คณะวิทยาการจัดการ 23 ผลงาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 41 ผลงาน และวทิ ยาลัยนา่ น 5 ผลงาน 7. งานวิจัยท่ีได้ทำการจดทรพั ยส์ ินทางปัญญา การใช้ประโยชนแ์ ละการจัดสรรผลประโยชน์ท่เี กิดจากทรัพย์สิน ทางปัญญา ที่ได้รับอนุมัติแล้ว ในปี 2563 -2564 มีงานวิจัยที่ได้ทำการจดทรัพยส์ นิ ทาง ปัญญา มีจำนวน 4 งานวิจยั ดงั นี้ 1) ท่อกระจายลม เลขที่คำขอ 2002001082 วันที่ยื่นคำขอ 5 พฤษภาคม 2563 โดยผศ.ดร.ปฏิพทั ธ์ิ ถนอมพงษช์ าติ 2) เครื่องอบแห้งลมร้อนแบบมีใบกวน เลขที่คำขอ 2003001396 วันที่ย่ืน คำขอ 15 กันยายน 2563 โดยผศ.ดร.ปฏพิ ทั ธ์ิ ถนอมพงษช์ าติ 3) จิตรกรรม “สาวลาวเวียง” เลขที่คำขอ 422091 วันที่ยื่นคำขอ 30 กรกฎาคม 2564 โดย อ.ดร.จนั ทมิ า ปกครอง 4) จิตรกรรม “สาวๆลาวเวียง” เลขที่คำขอ 422033 วันที่ยื่นคำขอ 30 กรกฎาคม 2564 โดย อ.ดร.จนั ทิมา ปกครอง 8. การปรับตำแหนง่ ทางวชิ าการทสี่ ูงข้ึน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้มีการปรับ ตำแหน่งทางวิชาการ และการปรับวุฒิการศึกษาใหม่ สำหรับบุคลากรสาย วิชาการ รวมท้งั หมด จำนวน 19 คน จำแนกตามตำแหน่งทางวชิ าการ ระดบั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 คน จำแนกตามวุฒิการศึกษาใหม่ ระดับปริญญาโท 2 คน และระดับปรญิ ญาเอก 15 คน 9. ผลงานอาจารย์และบุคลากรที่ได้รางวัลดีเด่นในระดับชาติ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ มีผลงานอาจารย์ หรือนานาชาติ และบคุ ลากรทไ่ี ด้รางวัลดเี ด่นในระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ ดังนี้ - ผลงานผ่านเกณฑ์ระดับมหาวิทยาลัย และเป็นผู้ร่วมสรรสร้าง โครงการ STARTUP THAILAND LEAGUE 2021 โดยอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ เม่ือวันท่ี 20 สิงหาคม 2564 1. อาจารย์ ดร.จฬุ า มว่ งกลำ 2. อาจารย์ ดร.ปารชิ าติ กณั ฑาทรพั ย์ 3. อาจารย์กนกวรรณ เกิดพิน - รางวัลอาจารย์ทป่ี รกึ ษา Startup ดีเด่น โครงการ STARTUP THAILAND LEAGUE 2021 โดยอทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคเหนอื มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ เมื่อวนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 ผศ.ดร.สพุ ตั ตรา ตนั ติจริยาพนั ธ์

48 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ตอ่ ) ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ/กิจกรรม - รางวลั อาจารย์ทปี่ รกึ ษา Startup ยอดเยย่ี ม โครงการ STARTUP THAILAND LEAGUE 2021 โดยอุทยานวิทยาศาสตรภ์ าคเหนือ 9. ผลงานอาจารยแ์ ละบคุ ลากรท่ไี ด้รางวัลดเี ด่นในระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ เมอ่ื วันที่ 20 สงิ หาคม 2564 หรือนานาชาติ (ตอ่ ) อาจารยป์ ยิ ะนุช ไสยกจิ - รบั รางวลั และโล่ประกาศเกียรตคิ ุณผูบ้ ริหารดา้ นการศึกษาทอ้ งถนิ่ ดีเดน่ จาก พณฯ อำพล เสนาณรงค์ องคมนตรใี นรชั กาลท่ี 9 เม่อื วนั ท่ี 21 กมุ ภาพันธ์ 2564 ณ โรงแรมมริ าเคลิ แกรนด์ คอนเวนช่ัน กรุงเทพฯ อ.ดร.สปุ ระวณี ์ ออ่ นจันทร์ - รางวลั บคุ ลากรดีเด่น ด้านการพัฒนางานสเู่ ปา้ หมายองค์กร ประเภท “พัฒนางานด้วยความม่งุ ม่นั ทุม่ เท เสยี สละ” 1. นางสาวกรณิศ ธนงกิจ นักวิชาการศกึ ษา สำนกั งานผู้อำนวยการ สถาบันวิจยั และพฒั นา 2. นางสาวพรษร กำแพงแกว้ นกั วชิ าการศึกษา สำนกั งานคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ 3. นางนฤมล ฮีมินกลู เจา้ หนา้ ทบ่ี ริหารงานท่วั ไป สำนักงานคณบดี คณะวทิ ยาการจดั การ - รางวัล บุคลากรดเี ด่นด้านการพฒั นางานสูเ่ ป้าหมายองค์กรประเภทท่ี 1 “พฒั นางานมหาวทิ ยาลยั พันธกิจสัมพันธ์” 1. นางสาวปรารตั น์ สุขดี คณะวทิ ยาการจัดการ 2. นางรวีวรรณ มงคล เจา้ หนา้ ที่บริหารงานท่วั ไป สำนักงานคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ - รางวัลบุคลากรดเี ด่น ดา้ นผลงานสร้างสรรค์ 1. อาจารยจ์ าตรุ นั ต์ จรยิ ารตั นกูล คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.องั กาบ บญุ สูง คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม - รางวัลบุคลากรดีเด่น ด้านพันธกิจสัมพันธ์ ประเภท “บริการวิชาการภาค ธรุ กิจและอตุ สาหกรรม” 1. อาจารย์โอปอล์ รงั สิมนั ตุชาติ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 2. อาจารย์ ดร.นันทา เป็งเนตร์ คณะเกษตรศาสตร์ 3. ผศ.ดร.ปฏิพัทธ์ิ ถนอมพงษ์ชาติ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม - รางวัลบคุ ลากรดเี ดน่ ดา้ นพนั ธกจิ สมั พนั ธ์ ประเภทที่ 1 “บรกิ ารวชิ าการ เพ่ือสังคม” 1. อาจารย์กมลสร ลม้ิ สมมตุ ิ คณะเกษตรศาสตร์ 2. ผศ.ดร.สภุ าพร พงศ์ธรพฤกษ์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. อาจารย์ ดร.สดุ ารตั น์ รอดบุญสง่ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

ANNUAL REPORT 2021 49 UTTARADIT RAJABHAT UNIVERSITY รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม : (ตอ่ ) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ/กิจกรรม - รางวลั บคุ ลากรดีเดน่ ด้านการวจิ ยั ประเภทที่ 1“นกั จดั การงานวจิ ยั ” 1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยศ์ รไี พร สกลุ พันธ์ คณะวิทยาการจัดการ 9. ผลงานอาจารย์และบคุ ลากรทีไ่ ดร้ างวัลดเี ดน่ ในระดับชาติ - รางวลั บุคลากรเด่น ดา้ นการวจิ ยั ประเภทที่ 2 “การวิจัยองค์ความรู้” หรอื นานาชาติ (ต่อ) 1. อาจารย์ ดร.มณฑณ ศรสี ขุ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 2. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาศริ ิ เขตปิยรัตน์ คณะวทิ ยาการจดั การ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรณุ เดช บญุ สงู คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 4. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศ์เทพ จันทร์สนั เทียะ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - รางวัลบคุ ลากรเดน่ ดา้ นการวิจัย ประเภทที่ 3 “การวิจยั เพือ่ การพฒั นา ท้องถ่นิ ” 1. อาจารย์ ดร.นชิ าภา โมราถบ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ช่นื กมล ปัญญายง คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - รางวัลบุคลากรดีเดน่ ดา้ นการวิจัย ประเภทที่ 4 “การวิจยั นวัตกรรมเชงิ พาณชิ ย”์ 1. ผชู้ ่วยศาสตราจารยศ์ วิ ตั ม์ กมลคุณานนท์ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม - รางวลั บคุ ลากรดีเดน่ ดา้ นการจดั การศึกษา ประเภทท่ี 2 “การพฒั นาสือ่ การสอน” 1. อาจารย์ปยิ ะนุช ไสยกจิ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พนินท์ นนทโคตร คณะวิทยาการจัดการ - รางวัลบุคลากรดีเด่น ด้าน : การจัดการศึกษา ประเภท “การจัดการเรียน การสอนดว้ ยการบรู ณาการความรู้” 1. อาจารย์ ดร.รดี ธนารักษ์ คณะวทิ ยาการจดั การ 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พจนยี ์ แสงมณี คณะเกษตรศาสตร์ 3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยุพิน เถอ่ื นศรี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ สังคมศาสตร์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารยท์ วีสทิ ธิ์ ปญั ญายง คณะครศุ าสตร์ - รางวลั เกียรตยิ ศบุคลากรต้นแบบดา้ นงานวิชาการ วิจัย และ พันธกิจสัมพันธ์ เปน็ รางวัลพเิ ศษทม่ี อบใหแ้ ก่บุคลากรตน้ แบบทีเ่ สียสละ ทุม่ เท การทำงานวิชาการ วิจยั และพนั ธกิจสมั พนั ธ์ รองศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ พิญญาพงษ์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

50 รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม : (ตอ่ ) โครงการ/กจิ กรรม ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลยทุ ธ์ที่ 10 พฒั นาการจดั การเรียนรู้ใหบ้ ณั ฑิตเปน็ คนดีมีความเชี่ยวชาญในวชิ าชพี 1. โครงการยกระดับสมรรถนะทางด้านการเกษตรสำหรับ จากการบูรณาการรายวิชเทคโนโลยีการเกษตรนำสมัย โดยมีผู้เข้าร่วม นักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคเกษตรสมัยใหม่ในโลก โครงการ จำนวน 44 คน ทำให้เกิดสมรรถนะรองด้านความสามารถใน เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั การบังคับอากาศยานไร้คนขับได้และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เกิดหลักสูตร พ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ ระยะสั้น เกิดหลักสูตรใหม่ เกิดการปรับ มคอ.3 ให้มีรูปแบบการเรียน ภายใตง้ บประมาณ 150,000 บาท การสอนในรายวชิ าแบบ CWIE ผู้รบั ผดิ ชอบ : คณะเกษตรศาสตร์ 2. โครงการยกระดับทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีแบบจำลอง นักศึกษาที่เข้าร่วมอบรม 40 คน ผ่านการอบรมและได้รับ สารสนเทศอาคาร ภายใต้แนวคดิ BIM และคณุ ลกั ษณะพเิ ศษ ประกาศนียบัตร การบูรณาการรายวิชา 1 รายวิชา คือ 7053501 ให้กบั นกั ศกึ ษาสาขาวิชาวิศวกรรมบริหารงานก่อสรา้ งแบบองค์ การเขียนแบบและจำลองข้อมูลอาคารด้วยคอมพิวเตอร์ ภาคการศึกษา รวม เพ่ือให้ประกอบอาชพี ได้อย่างผาสกุ และเป็นที่ตอ้ งการของ 2/2563 ค่าระดบั ความคดิ เห็นต่อการได้รับการเพิม่ /ยกระดับสมรรถนะ ภาคอตุ สาหกรรม และคณุ ลกั ษณะพิเศษ ในระดบั มาก มากกว่า 3.50 คะแนน พื้นที่เปา้ หมาย : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ผู้รับผิดชอบ : คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 3. โครงการเสริมสมรรถนะทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมด้วย ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริง ตรงตาม มาตรฐานการวดั คณุ ภาพองค์กร ISO เพือ่ รบั รองความต้องการของ ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตและตอบสนองตลาดแรงงานหลังจากจบ ตลาดแรงงาน การศกึ ษาไดท้ ันที ผ่านการอบรมได้รบั ใบรับรอง 22 คน คดิ เปน็ พ้ืนท่เี ป้าหมาย : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ร้อยละ 88 ภายใตง้ บประมาณ 100,000 บาท ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. โครงการติวเข้มการสอบวัดระดับความสามารถด้านการพูด นักศึกษาได้คะแนนมากขึ้นหลังการติวเข้ม เมื่อเปรียบเทียบกับการ ภาษาจีนระดับกลาง (HSKK ระดับกลาง) และการสอบวัดระดับ สอบพรีเทสต์ก่อนเข้าติวเข้ม โดยมีนักศึกษาชั้นปีท่ี 2 และ 3 เข้าร่วม ความรู้ภาษาจีน HSK (ระดับ4) เพื่อนักศึกษาหลักสูตรภาษาจีน โครงการมากกว่า 80 % อบรม HSK และ HSKK ไม่น้อยกว่า 80% ธรุ กิจ วทิ ยาลัยนานาชาติ มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1 เรื่อง ส่งผลให้นักศึกษา พน้ื ท่เี ปา้ หมาย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สามารถนำผลสอบไปเปน็ หลักฐานเพื่อขอยื่นจบการศึกษาตามประกาศ ภายใตง้ บประมาณ 95,872 บาท ของวิทยาลัยนานาชาติ และอาจารย์สามารถนำผลงานวิจัยไปปรับปรุง ผรู้ บั ผดิ ชอบ : วิทยาลยั นานาชาติ การสอน 5. โครงการสง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะภาษาจีน จากการดำเนนิ งาน นักศึกษากลุ่มเป้าหมายมีคุณลักษณะและสมรรถนะ พืน้ ทีเ่ ปา้ หมาย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ ทางวิชาชีพมีความรู้ทางวิชาชีพ โดยกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ภายใต้งบประมาณ 50,000 บาท ท้ังหมด 29 คน ส่งผลใหผ้ ลความสำเร็จของโครงการดังกลา่ วมีผู้ผ่านการ ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะครศุ าสตร์ อบรม 27 คน สามารถยกระดับสมรรถนะหลักในการทำงานอาชีพ ทางการศึกษา และสมรรถนะในการประกอบอาชีพในสายงานอื่น ๆ ได้ เช่น อาชีพล่าม