Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice กศน.ตำบลบ้านกลึง

Best Practice กศน.ตำบลบ้านกลึง

Published by กศน.ตำบลบ้านกลึง, 2022-04-10 13:33:06

Description: Best Practice กศน.ตำบลบ้านกลึง

Search

Read the Text Version

Best Practice ผลการปฏิบัติงานทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบำ้ นกลึง นางนฤมล ดงจันทร์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลบ้านกลงึ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร สานกั งาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงาน ผลการปฏบิ ัติงานทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลโคกชา้ ง เร่ือง การสร้างอาชีพใหช้ ุมชน หลักสตู รระยะสัน้ การสานตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง จดั ทำโดย นางนฤมล ดงจันทร์ ครู กศน.ตำบลบ้านกลงึ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร สำนักงาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ [วันท่ี] กศน.ตำบลบ้านกลึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม การจัดการศึกษาต่อเน่ือง รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ หลักสูตรการสานตะกร้าจาก เชอื กมดั ฟาง กศน.ตำบลบ้านกลึง เพอื่ ใหป้ ระชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลกั สตู รการสานตะกร้าจากเชือก มัดฟางได้ และเพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันและช่วยในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม กศน.ตำบลบ้านกลึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร หวังเป็น อย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรการสานตะกร้าจาก เชือกมดั ฟาง โดย กศน.ตำบลบ้านกลงึ จะเปน็ ประโยชนก์ ับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครัง้ นี้ไมม่ ากก็น้อย และหาก การจัดโครงการในครั้งน้ี มีข้อบกพร่องประการใด ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร ต้องขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ี้ด้วย ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทำโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมินผลโครงการเพ่อื เปน็ การเพิ่มพูนความรู้และเปน็ แนวทางในการจัดทำโครงการ ในคร้งั ตอ่ ไป คณะผู้จดั ทำ มนี าคม 2565 ก

สารบญั หนา้ ก เรอื่ ง ข คำนำ 1 สารบญั 2 ความสำคัญและความเป็นมา 2 วัตถปุ ระสงค์ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน 3 ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ 3 การประเมนิ ผลและเคร่อื งมอื การประเมนิ ผล 5 ผลการดำเนินงาน 6 กลยุทธห์ รือปจั จยั ที่ทำให้ประสบความสำเร็จ 7 ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก - ภาพกิจกรรม - เอกสารอ้างองิ - คณะผู้จัดทำ [วันท่ี] ข

ผลการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ ชือ่ ผลงาน : การสร้างอาชพี ให้ชุมชน หลกั สูตรระยะสัน้ การสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง ผรู้ บั ผดิ ชอบ : นางนฤมล ดงจนั ทร์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบลบ้านกลงึ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ความสอดคลอ้ ง แนวทางการปฏิบัตทิ ่ีดี (Best Practice) เรื่อง การสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง จัดทำโดยมี การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งกบั จุดเน้น นโยบาย ของสำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2565 ดงั น้ี - มคี วามสอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ ของ สำนกั งาน กศน.ดงั นี้ นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นโยบายเร่งดว่ นเพ่ือรว่ มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิต ทเี่ นนการพฒั นาทกั ษะที่จำเปนสำหรบั แตละชวงวัย และการจดั การศกึ ษาและการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบริบทพื้นท่ี 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เนน New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคลองกับ บริบทพื้นที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมายเชน ผูพิการผูสูงอายุความตองการของ ตลาดแรงงาน และกลุมอาชีพใหมที่รองรับ DisruptiveTechnology 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ท่ีเนน “สงเสริมความรู สรางอาชีพ เพ่ิมรายได และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนท่ียอมรับของตลาด ตอยอด ภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธและ ชองทางการจำหนาย ความสำคญั และความเปน็ มา การฝกึ อาชพี ในปัจจุบันมีความสำคญั มาก เพราะเปน็ การพัฒนาประชาชนในพ้ืนที่ใหม้ ีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและสง่ เสริมความเข้มแข็งให้แก่ เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ และภารกิจท่ีจะพัฒนายกระดับการจัด การศึกษาเพื่อเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง โดย สำนักงาน กศน.ได้กำหนดหลักการในการจัดกระบวนการเรีย นรู้ในกลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงกลมุ่ จัดการและการบรกิ ารโดยเนน้ การบูรณาการให้ สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทำ อย่างมคี ณุ ภาพ ทวั่ ถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ทม่ี น่ั คง ผลการปฏบิ ัติงานท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 1

กศน.ตำบลบ้านกลึง ในฐานะที่เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบด้านการศึกษาในระดับตำบล ได้ น ำน โยบาย และ ยุทธศาสตร์ดั งก ล่าวไปสู่ก ารปฏิ บัติ เพ่ื อ จัดการ ศึก ษ าส่ งเสริ ม อาชี พ ให้แก่ ประชาชน ในพ้ืนที่ตำบลบ้านกลึง จึงได้สำรวจความต้องการของประชาชนถึงต้องการเรียนและประกอบอาชีพอะไร โดยค้นพบว่าอาชีพการสานตะกรา้ จากหวายเทียม และเป็นการสร้างอาชีพทีต่ ลาดมีความต้องการสงู สามารถ พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงต่อไปได้ กศน.ตำบลบ้านกลึง จึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร ระยะสน้ั วิชาการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง เพื่อเปน็ ศูนย์กลางในการฝึกพัฒนาสาธิต ทักษะการการสาน ตะกร้าจากเชือกมัดฟาง อีกทง้ั ยังชว่ ยแกป้ ญั หาคนวา่ งงาน และเปดิ โอกาสให้ผู้ท่ีสนใจได้มาเรียนรู้ เพ่ือนำไป ต่อยอดและพัฒนาอาชพี เดิม หรือนำไปประกอบเป็นอาชพี ใหม่ สร้างเป็นรายได้ให้แกต่ นเอง ครอบครัวและ ชมุ ชนได้ วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื สร้างอาชีพการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง 2. เพ่ือพัฒนากลุ่มอาชพี การสานตะกร้าใหม้ คี วามหลากหลายให้สามารถผลิต และจำหน่ายผลติ ภัณฑ์ อยา่ งมคี ุณภาพ และมีรายไดเ้ พิม่ ขนึ้ 3. เพ่ือให้ประชาชนไดเ้ รยี นรู้วธิ ีการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง และนำไปประกอบอาชีพได้ วธิ ีการดำเนนิ งาน 1. กำหนดกลุ่มเปา้ หมาย กลุม่ สตรแี ละประชาชนทีว่ ่างเว้นจากการเกษตร การรบั จา้ ง และค้าขาย ในตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จำนวน 16 คน 2. การดำเนนิ การจัดกิจกรรม 2.1 ครู กลุ่มสตรี และประชาชนในชุมชนร่วมกันศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ โดยการจัด เวที ประชาคม จากน้ันนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ทำให้ทราบว่าชุมชนมีภูมิปัญญาท่ีมีความรู้ ความชำนาญ ด้าน การจักสาน ความต้องการของผู้บริโภค ตลาด อีกทั้งในชุมชนก็ยังมีวัสดุที่นำมาใช้ในการสาน ผลิตภัณฑต์ า่ งๆ 2.2 ครู ผู้เรียน และชุมชน ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ ผลท่ีผู้ ร่วมกจิ กรรมจะได้รบั ทำให้มผี ้สู นใจเข้ารว่ มกิจกรรม เป็นกล่มุ สตรี และประชาชนในชุมชน จำนวน 16 คน 2.3 ศึกษาเอกสารขอ้ มลู เกยี่ วกับการส่งเสริมอาชพี ในชมุ ชน จัดเตรียมส่อื อปุ กรณ์ และ วางแผน จดั กิจกรรมการเรยี นรู้รว่ มกับผู้เรยี น และวิทยากร 2.4 จดั ทำหลกั สตู รการสานตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง 2.5 จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่อง เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเข้าใจ และ ชำนาญ เน้นการผลติ สนิ คา้ ที่มคี ณุ ภาพ ใชว้ ัสดุ อุปกรณต์ า่ งๆ เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัย ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 2

2.6 กศน.อำเภอบางไทร ได้มีนิเทศติดตามการจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือติดตาม ประเมินผล การจดั กจิ กรรม และครู กศน.ตำบล ไดม้ ีการติดตามการดำเนินงาน โดยการใชแ้ บบติดตามผ้เู รียน หลังจบ หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง 2.7 สรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้จากการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง เมื่อสินสุดโครงการ นำเสนอผลการจัดกิจกรรม และจุดที่ควรพัฒนา รวมทังข้อเสนอแนะ และจัดทำ รายงาน เพื่อนำเสนอแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชพี 2.8 เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โดย การนำเสนอผลงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุม กศน.อำเภอ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผน จดั กิจกรรมคร้ังต่อไป ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ ผู้ทผี่ ่านการอบรมหลักสตู รการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง มีความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะ สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพหรอื ปรับใชใ้ น ชีวิตประจำวันได้ การประเมนิ ผลและเครือ่ งมอื การประเมินผล ประเมนิ ผลงานการทำการสานตะกรา้ จากเชือกมดั ฟาง โดยวิทยากร และครู กศน.ตำบล ประเมิน จากการปฏบิ ตั ิจรงิ ความชำนาญ คุณภาพของผลิตภณั ฑ์ และประเมินความรู้ ความเข้าใจจากการสอบ ปากเปล่า ผลการดำเนนิ งาน ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสตู ร การสานตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง มีความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะ เกย่ี วกับการนำความรไู้ ปใช้ในการพฒั นาอาชีพหรือปรบั ใช้ใน ชวี ิตประจำวนั ได้ บทสรปุ หลักสูตร การสานตะกรา้ จากเชอื กมดั ฟาง ที่จัดขนึ้ ในคร้ังนี้ ด้าเนินการ ตามแนวทางวงจร คณุ ภาพ (Deming Cycle : PDCA) ดังน้ี ด้านการวางแผน (P) 1. ศึกษาสภาพปัญหา และวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชน โดย การจัดเวทปี ระชาคม เพ่ือนำมาวางแผนจัดกจิ กรรมท่สี อดคล้องกับสภาพบริบท ศักยภาพของชุมชน ปัญหา และความต้องการท่ีแท้จริงของผู้เรยี น 2. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าที่ และวิเคราะห์ความสอดคล้องท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ยุทธศาสตร์ และ จุดเน้นการดำเนินงานของ กศน. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา ฯลฯ ซ่ึง จากการวเิ คราะห์งาน จะเห็นได้ว่า เป็นงานตามบทบาทหนา้ ทข่ี องครู กศน.ตำบล ที่จะต้องจัด การศึกษา เพอ่ื พฒั นาอาชพี ให้กบั ประชาชนในพืนที่ โดยตอ้ งมีความสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรยี น ความตอ้ งการ และศกั ยภาพของแตล่ ะพื้นท่ี ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 3

3. คน้ หา Best Practice โดยพิจารณาประเด็น ดังนี้  เป็นเรือ่ งท่เี กยี่ วขอ้ งกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหนา้ ที่  สนองนโยบายและจุดเน้นการด้าเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ 2565 ด้านการจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมี งานทำอย่างย่งั ยืน โดยให้ความส้าคัญกบั การจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำในกลมุ่ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิช ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการ บริการ ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการ และศักยภาพของแตล่ ะพื้นที่  มีผลผลิต/ความสำเร็จเพม่ิ ขน้ึ  สามารถนำไปใช้เปน็ มาตรฐานการทำงานตอ่ ไปได้  มกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ ต่อไป จากการพิจารณาประเด็นต่างๆ ดังกล่าว เพื่อค้นหา Best Practice ในการจัดกิจกรรมท่ี สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของคนในชุมชน พบว่า เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ โดยตรงของ ครู กศน.ตำบล และเปน็ การดำเนินงานท่ีสนองนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปงี บประมาณ 2565 ด้านการจัดการศึกษา ตอ่ เนื่อง จึงได้วางแผนเพอ่ื ดำเนนิ การตามบทบาทภารกจิ ดงั นี้ 1) ครู ผู้เรียน และชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการ โดยการประชุมร่วมกันเพ่ือวางแผนการดำเนินงาน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ ผลท่ีผู้ร่วม กจิ กรรมจะไดร้ บั ทำให้มีผู้สนใจเข้ารว่ มกิจกรรม จำนวน 16 คน 2) ศึกษาเอกสารข้อมูลเก่ียวกับการส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดเตรียมส่ือ อุปกรณ์ และวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู้รว่ มกับผ้เู รียน และวทิ ยากร 3) ครแู ละผู้เรียนรว่ มกันกำหนดทิศทางการดำเนินงาน และทำข้อตกลง คือ ต้องมีการจัดทำบัญชี รายรบั รายจา่ ย ของกลุ่ม และกำไรท่ไี ดจ้ ากการขายสนิ ค้าต้องมีการปันผลให้กบั สมาชิก กลุ่ม และนำบางสว่ น เปน็ ทุนหมนุ เวยี นในการส่งเสริมอาชีพตอ่ ไป 4. นำข้อมูลจากการวิเคราะห์และพิจารณาในข้อ ๑ – ๓ มากำหนดกรอบการดำเนินงานท่ี พจิ ารณาแลว้ ว่าเป็นแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Practice) โดยดา้ เนินการ ดังน้ี ๑) กำหนดวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๒) กำหนดตวั ชวี ัดความสา้ เรจ็ ๓) กำหนดวธิ ีด้าเนินการ ๔) กำหนดวธิ กี ารประเมินผลและเคร่อื งมอื การประเมินผล ผลการปฏบิ ัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 4

ดา้ นการดำเนินงาน (D) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามที่ได้วางแผนและออกแบบกิจกรรมไว้ โดยการให้ความรู้ และฝึก ปฏิบัติจรงิ ดงั น้ี 1) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เร่ือง ช่องทางการประกอบอาชีพการสานตะกร้าจาก หวายเทียม โดยการอธิบาย จากใบความรู้ การสาธิตการทำ และเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเข้าใจและ ชำนาญ เน้นการผลิตสนิ คา้ ทม่ี ีคณุ ภาพ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยและตรงความต้องการ ของผูซ้ ้ือ โดยมีการจำหนา่ ยตามร้านค้าในชุมชน 2) ให้ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายของกลุ่ม โดยมีครู กศน.ตำบล เป็นผู้ให้ คำปรึกษา แนะนำ ดา้ นการตรวจสอบและประเมินผล (C) 1) ประเมินผลงานการสานตะกร้าจากหวายเทียมชนิดต่างๆ โดยวิทยากร และครู กศน.ตำบล ประเมิน จากการปฏิบัติจริง ความชำนาญ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประเมินความรู้ ความเขา้ ใจจาก การ สอบปากเปลา่ 2) กศน.อำเภอบางไทร ได้มีนิเทศติดตามการจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือติดตาม ประเมินผลการ จัดกิจกรรม และครู กศน.ตำบล ได้มีการติดตามการดำเนินงาน โดยการใช้แบบติดตามผู้เรียนหลัง จบ หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 3) สรุปผลการด้าเนินโครงการท่ีได้จากการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เมื่อสิ้นสุด โครงการ นำเสนอผลการจัดกิจกรรม และจุดท่ีควรพัฒนา รวมทังข้อเสนอแนะ และจัดทำ รายงาน เพื่อนำเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ 4) เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยการ นำเสนอ ผลงาน ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะตอ่ ที่ประชุม กศน.อำเภอ เพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน จัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมทั้งนำเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ เช่น นำเสนอข้อมูลในศูนย์การเรียนฯ นำเสนอผ่าน เวบ็ เพจ กศน.ตำบลบา้ นกลึง ดา้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาผลการปฏิบัติงาน (A) นำขอ้ เสนอแนะของผูเ้ รียน ชุมชน และผู้ท่เี กีย่ วขอ้ ง มาปรบั ปรงุ รูปแบบ และวิธีการดำเนนิ งานการ ส่งเสริมอาชีพ เพื่อเผยแพร่ให้ชุมชนอ่ืนที่มีสภาพบริบทเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ได้นำไปปรับใช้ในการ จัดกิจกรรม ส่งเสรมิ อาชีพต่อไป กลยทุ ธห์ รอื ปัจจัยที่ทำใหป้ ระสบความสำเรจ็ 1. การมีสว่ นร่วมของครู ผเู้ รยี น และชมุ ชนในการวิเคราะหข์ อ้ มูลพ้ืนฐานของชุมชน ทำให้รู้สภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนา ใหไ้ ปสู่เปา้ หมายทตี่ ้องการได้ 2. การนำเอาวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตลอดจนทรัพยากรในชุมชน เป็นองค์ความรพู้ ื้นฐาน ในการตอ่ ยอดความรู้ให้เกิดการพัฒนา 3. หลกั สูตรการสานตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง ดำเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของ (Deming Cycle : PDCA) ซ่ึงเป็นการดำเนินการอย่างเปน็ ระบบ สามารถตรวจสอบได้ในทุกขนั้ ตอน โดยเร่ิม ต้ังแต่ การวิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชน ผลการปฏิบตั ิงานทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 5

รวมท้ังการมีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมของครู ผู้เรียน ชุมชน และภูมิปัญญา ตลอดจนมีการ ติดตามประเมินผลทุกข้ันตอน จงึ ทำให้สามารถพัฒนาผู้เรียนได้บรรลุตามตัวชวี้ ัดความส้า เรจ็ ของโครงการ ข้อเสนอแนะ 1. ควรสง่ เสรมิ ใหร้ ักษา คุณภาพของผลติ ภัณฑ์อยา่ งต่อเน่ือง 2. ควรเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ผทู้ ่สี นใจสามารถศกึ ษาข้อมูล เว็บไซตข์ องสถานศึกษา ส่อื ออนไลน์ ได้แก่ Facebook ผลการปฏบิ ัตงิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 6

ภาคผนวก ผลการปฏิบตั งิ านที่เป็นเลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 7

ภาพกจิ กรรม โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สตู ร การสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง ผลการปฏิบตั งิ านทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 8

ผลการปฏิบตั งิ านทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 9

ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 10

ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 11

ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 12

ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 13

การนำความรู้ไปตอ่ ยอดหลังการจบหลกั สตู ร ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 14

เอกสารอ้างองิ สถาบันพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ (2560) แนวทางการนำเสนอแนวปฎบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice) พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 บอยการพิมพ์ ศูนยก์ ารเรียนรูด้ จิ ิทัลชุมชนเทศบาลตำบลแก่งคอย จ.สระบรุ ี แหลง่ ข้อมลู : https://www.youtube.com/watch?v=NZBqKTptfII ผลการปฏิบตั งิ านทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลงึ 15

ท่ีปรกึ ษา คณะผ้จู ดั ทำ นายสวัสดิ์ บุญพรอ้ ม ผ้อู ำนวยการ กศน. อำเภอนครหลวง นางสาววิชชุตา แกว้ โมรา รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอบางไทร นางสาวหทยั รตั น์ ศริ แิ กว้ บรรณารักษ์ นางสาวฐิติพร พาสี ครู ครผู ชู้ ว่ ย ผู้รวบรวมขอ้ มลู /สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พมิ พ์รูปเล่ม นางนฤมล ดงจันทร์ ครู กศน.ตำบล นายกฤชวฒั น์ จารมุ ณี ครู กศน.ตำบล ผลการปฏิบตั งิ านที่เป็นเลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านกลึง 16

Best Practice ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร สานักงาน กศน.จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook