รายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพยี ง ตามศาสตรพ์ ระราชา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร สานกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งาน โครงการเกษตรผสมผสาน บนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา วันที่ 23 ธนั วาคม พ.ศ.2565 บา้ นสวนพอเพยี ง ศนู ย์เรยี นรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา จดั ทำโดย กศน.ตำบลบ้านกลงึ / กศน.ตำบลบางพลี / กศน.ตำบลโคกช้าง / กศน.ตำบลช้างใหญ่ / กศน.ตำบลไมต้ รา / กศน.ตำบลสนามชัย / กศน.ตำบลหน้าไม้ และ กศน.ตำบลบา้ นเกาะ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร สำนกั งาน กศน.จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ที่ ศธ 0210.4805/1038 วนั ท่ี 1 มีนาคม 256 เรือ่ ง รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์ พระราชา จำนวน 6 ชั่วโมง เรียน ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร ตามที่ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้อนุมัติการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ช่วั โมง นั้น กศน.ตำบลบ้านกลงึ กศน.ตำบลสนามชยั กศน.ตำบลหน้าไม้ กศน.ตำบลโคกช้าง กศน.ตำบล ไม้ตรา กศน.ตำบลบางพลี กศน.ตำบลช้างใหญ่ และ กศน.ตำบลบ้านเกาะ ผู้รับผิดชอบโครงการเกษตร ผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา วนั ท่ี 23 ธนั วาคม พ.ศ.2565 ณ บ้านสวนพอเพียง ศูนยเ์ รียนรู้ด้านเศรษฐกจิ พอเพียงตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา โดยมีกลมุ่ เปา้ หมาย เป็นประชาชนผูส้ นใจในพืน้ ที่อำเภอบางไทร เป็นจำนวน 20 คน จดั ได้ 20 คน บัดนี้กจิ กรรม/โครงการดังกล่าว ไดด้ ำเนินการเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว จึงขอรายงานผลการจดั กจิ กรรม/โครงการ ดงั เอกสารรูปเล่มแนบท้ายนี้ จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางนฤมล ดงจนั ทร)์ (นายธติ ิ ทองอดุ ม) (นายศริ ิพงศ์ กันโรคา) ครกู ศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล (นายสมเจตท์ วับสันเทียะ) (นายกฤชวัฒน์ จารมุ ณี) (นายชยั วัฒน์ ไทยประกอบ) ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล (นางสาวณุสรา โกษะ) (นางสาวกญั ฑิมา มาเกิด) ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล (นางสาวฐิตพิ ร พาส)ี หวั หน้างานการศึกษาต่อเนอื่ ง ทราบ อืน่ ๆ ………………………….. (นายสวัสดิ์ บุญพร้อม) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอนครหลวง รกั ษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร
คำนำ กศน.ตำบลบ้านกลึง กศน.ตำบลสนามชัย กศน.ตำบลหน้าไม้ กศน.ตำบลโคกช้าง กศน.ตำบลไม้ ตรา กศน.ตำบลบางพลี กศน.ตำบลช้างใหญ่ และ กศน.ตำบลบ้านเกาะ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร ไดด้ ำเนินการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ชัว่ โมง เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผู้เข้ารว่ มโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับหลัก ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และนำความรดู้ า้ นศาสตร์พระราชามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ทาง กศน.ตำบลบา้ นกลึง กศน.ตำบลสนามชัย กศน.ตำบลหน้าไม้ กศน.ตำบลโคกชา้ ง กศน.ตำบล ไม้ตรา กศน.ตำบลบางพลี กศน.ตำบลช้างใหญ่ และ กศน.ตำบลบ้านเกาะ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ การจดั โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความ พอเพียงตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ชั่วโมง จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ไม่มากก็น้อย และหากการจัดโครงการในครงั้ นม้ี ีขอ้ บกพร่องประการใด ทางคณะผู้จัดทำ ต้องขออภัยไว้ ณ ที่น้ีดว้ ย รายงานสรปุ ฉบบั น้เี ปน็ การรวบรวมขอ้ มูลในการจัดทำโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจนประเมนิ ผล โครงการเพอื่ เปน็ การเพิ่มพูนความรแู้ ละเป็นแนวทางในการจดั ทำโครงการในครั้งต่อไป คณะผูจ้ ัดทำ มีนาคม 2566
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 บนั ทึกข้อความ 6 คำนำ 10 สารบญั 13 บทท่ี 1 บทนำ 15 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 29 บทที่ 3 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน บทท่ี 4 แบบสอบถามความพึงพอใจ บทท่ี 5 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง บรรณานุกรม คณะผจู้ ัดทำ
โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา ๑
บทที่ 1 บทนำ 1. ชื่อ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2566 1. ดานการจัดการเรียนรูคณุ ภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอนั เก่ยี วเนอื่ งจากราชวงศ์ 2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิต ที่เนนการพฒั นาทักษะที่จำเปนสำหรับแตละชวงวัย และการจดั การศึกษาและการเรียนรูที่เหมาะสมกบั แตล่ ะกลุมเปาหมายและบริบทพืน้ ที่ 2.5 สงเสรมิ การจดั การศกึ ษาของผูสูงอายเุ พื่อใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตทีเ่ หมาะกับชวงวยั 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวติ สำหรบั ประชาชน 2. หลักการและเหตุผล เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาชีถ้ งึ แนวการดำรงอยู่และปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดบั ตัง้ แต่ระดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรัฐ ทงั้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนนิ ไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบ ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และ ขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สร้างพ้นื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทุกระดบั ให้มีสำนึกในคณุ ธรรม ความซื่อสัตย์สุจรติ และให้มีความรอบรู้ทีเ่ หมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ ประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดงั นี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไ่ี ม่น้อยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผ้อู น่ื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่อี ยู่ในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตอ้ งเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่าง รอบคอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 1
3. ภูมิคมุ้ กัน หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้น โดยคำนงึ ถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณต์ ่างๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขน้ึ ในอนาคต โดยมีเงอ่ื นไขของการตัดสินใจและดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพียง 2 ประการ ดังนี้ 1) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนำความรู้เหลา่ นั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังใน การปฏิบัติ 2) เงอ่ื นไขคุณธรรม ท่จี ะต้องเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซ่ือสัตย์ สจุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดำเนินชีวิต ความสำคัญของกิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ พืชผักเป็นพืชอาหารท่ีคนไทยนิยมนำ มาใช้รับประทานกนั มากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาการ ทงั้ วติ ามนิ และแร่ธาตุตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ร่างกายสูง แต่คา่ นยิ มในการบริโภคผกั น้นั มักจะเลือกบริโภคผัก ที่สวยงามไม่มีรอ่ งรอยการทำ ลายของหนอนและแมลงศตั รูพืช จึงทำ ให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใชส้ ารเคมี ปอ้ งกันและกำจัดแมลงฉดี พ่นในปริมาณท่มี าก เพ่อื ให้ไดผ้ กั ท่สี วยงามตามความต้องการของตลาด เม่ือผู้ซื้อนำ มาบรโิ ภคแลว้ อาจไดร้ บั อันตรายจากสารพิษที่ตกคา้ งอยใู่ นพชื ผกั น้นั ได้เพือ่ เปน็ การแก้ปญั หาดงั กล่าว เกษตรกร จึงควรหันมา ทำการปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนำ เอาวิธีการป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชหลายวิธีมา ประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปรมิ าณการใชส้ ารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผบู้ รโิ ภคและส่ิงแวดล้อม ข้อดขี องการปลกู ผักปลอดภัยจากสารพิษ 1. ทำ ให้ได้พชื ผักทม่ี คี ณุ ภาพ ไมม่ สี ารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภยั แกผ่ ูบ้ ริโภค 2. ช่วยใหเ้ กษตรกรผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยทด่ี ีขึ้นเน่ืองจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัด ศัตรพู ชื ทำ ให้เกษตรกรปลอดภยั จากสารพิษเหลา่ นีด้ ว้ ย 3. ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรดา้ นคา่ ใชจ้ ่ายในการซือ้ สารเคมีป้องกันและกำ จดั ศตั รพู ืช 4. ลดปริมาณการนำ เขา้ สารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพชื 5. เกษตรกรจะมีรายไดเ้ พิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพ ทำ ให้สามารถขายผลผลิตได้ใน ราคาสูงข้นึ 6. ลดปริมาณสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชที่จะปนเปื้อนเข้าไปในอากาศและนํ้า ซึ่งเป็นการ อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพษิ ของส่ิงแวดลอ้ มได้ทางหนึ่ง ศาสตร์พระราชา ศาสตรพ์ ระราชา คือ ศาสตรก์ ารจดั การและการอนรุ กั ษ์ดิน นำ้ ปา่ ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงศกึ ษา คดิ คน้ และวจิ ยั แล้วพระราชทานให้กับ ปวงชนชาวไทย เพอ่ื ใชใ้ นการจดั การลุ่มนำ้ ตั้งแตต่ ้นนำ้ กลางนำ้ สู่ปลายน้ำ จากภผู าสู่มหานที เมอ่ื นำองค์ โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 2
ความร้นู ้มี าปฏิบตั ติ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ จะนำไปสกู่ ารพึ่งพาตนเองและการพัฒนา อยา่ งยงั่ ยนื ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร เป็นหน่วยงานในการ ดำเนินการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ได้เลง็ เห็นความสำคัญของการสร้างการรบั รใู้ นเร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนได้นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน จึงได้ดำเนินการจัด โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา นข้ี ึน้ 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 เพ่ือใหป้ ระชาชนมคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับหลกั ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3.2 เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมนำความร้ดู ้านศาสตร์พระราชามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 4. กลุ่มเปา้ หมาย 4.1 เชงิ ปรมิ าณ 4.1.1 ประชาชนทวั่ ไปและผูท้ ีส่ นใจในพน้ื ทอ่ี ำเภอบางไทร รวมจำนวนทงั้ ส้นิ 20 คน 4.2 เชงิ คณุ ภาพ 4.2.1 ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 เกิดกระบวนการเรยี นรู้ มคี วามรู้ ความเข้าใจเรือ่ งหลกั ของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 4.2.2 ผู้เรียนร้อยละ 85 มีทักษะ และนำความรู้เรื่องหลกั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ี ได้มาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 3
5. วธิ ดี ำเนินการ กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เปา้ พ้นื ท่ี ระยะ งบประ เป้าหมาย หมาย ดำเนินการ เวลา มาณ 1. ข้นั วางแผน (Plan) - เพื่อกำหนดกิจกรรมและ ครู กศน.ตำบล 8 คน กศน.อำเภอ 28 - ประชุมช้ีแจงผู้ เกย่ี วข้อง ผรู้ บั ผดิ ชอบ บางไทร พ.ย. - จดั ทำโครงการ - ทราบบทบาทหนา้ ทแี่ ละ 2565 - แตง่ ตง้ั คณะ ข้ันตอนการดำเนินงาน ดำเนนิ งาน - เพือ่ เสนอให้ผบู้ รหิ ารอนมุ ตั ิ โครงการ 2.ข้นั ดำเนินการ (Do) 1. เพอ่ื ให้ประชาชนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการประชาชน 20 คน บ้านสวน 23 ธ.ค. 4,800 2.1 อบรมให้ความรู้เรื่อง มีความรู้ ความเข้าใจเร่ือง ทว่ั ไป พอเพียง 2565 บาท เกษตรผสมผสานบน เกษตรผสมผสานบนพื้นฐาของความและผูท้ สี่ นใจ ศนู ย์เรยี นรู้ พื้นฐานของความพอเพียง พอเพยี งตามศาสตร์พระราชา ในพ้ืนท่ีอำเภอ ด้าน ตามศาสตร์พระราชา 2. เพอื่ ให้ประชาชนผเู้ ข้ารว่ ม บางไทร เศรษฐกจิ โครงการ สามารถนำความรู้ พอเพียง เกย่ี วกับเรอื่ งเกษตรผสมผสาน ตำบลบ้าน บนพืน้ ฐานของความพอเพยี ง กลึง ตามศาสตรพ์ ระราชาไปปรับใช้ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 3. ข้นั ตรวจสอบ ( Check ) - เพือ่ สรปุ ผลการปฏิบตั ิงานตาม ครู กศน.ตำบล 8 คน กศน.อำเภอ 26 ธ.ค. 3.1 ตดิ ตาม/ประเมิน โครงการฯและรายงานผล บางไทร 2565 ผลการดำเนินงาน -3.2 สรปุ ผล/รายงานผล 4. ขั้นปรบั ปรงุ แก้ไข ( Action ) - สรปุ ผลการดำเนนิ งาน/แนว - งานวชิ าการ 8 คน กศน.อำเภอ 28 - 29 4.1 ปรับปรุงและพฒั นา ทางการวางแผนพฒั นาปรับปรงุ - งานนเิ ทศ/ บางไทร ธ.ค. การดำเนนิ งาน การ ประเมินผล 2565 4.2 นำปญั หา/อุปสรรค จดั กจิ กรรมครั้งต่อไป และข้อเสนอแนะในการ จดั กิจกรรมมาเป็นแนวทาง ในการวางแผน พัฒนา ปรับปรงุ ในการจดั กิจกรรมคร้งั ต่อไป โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา 4
6. งบประมาณ งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2566 แผนงาน : พ้นื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน กิจกรรม การจดั กระบวนการเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 รหัสกจิ กรรมหลัก 20002660082400000 แหล่งของเงิน 6611200 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จำนวนเงิน 4,800 บาท (ส่ีพัน แปดรอ้ ยบาทถว้ น) ประมาณการคา่ ใช้จา่ ยดังน้ี ค่าอาหารกลางวนั 20 คน x 50 บาท x 1 ม้ือ เป็นเงิน 1,000 บาท ค่าอาหารว่างและเคร่อื งด่มื 20 คน x 25 บาท x 2 มือ้ เป็นเงนิ 1,000 บาท ค่าตอบแทนวทิ ยากร 1 คน x 200 บาท x 5 ชวั่ โมง เป็นเงิน 1,000 บาท คา่ วสั ดุ เป็นเงิน 1,800 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท (สามพันแปดร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ ขอถวั จา่ ยตามที่จา่ ยจรงิ ทกุ รายการ 7. ระยะเวลา วนั ที่ 23 ธันวาคม 2565 8. สถานที่ ณ บ้านสวนพอเพยี ง ศนู ยเ์ รยี นรดู้ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตำบลบา้ นกลงึ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นายธติ ิ ทองอดุ ม 9.2 นางสาวณสุ รา โกษะ 9.3 นางสาวกัณฑมิ า มาเกิด 9.4 นางนฤมล ดงจนั ทร์ 9.5 นายศิรพิ งศ์ กันโรคา 9.6 นายกฤชวฒั น์ จารุมณี 9.7 นายชัยวัฒน์ ไทยประกอบ 9.8 นายสมเจตท์ วบั สนั เทียะ 10. โครงการทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 10.1 โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ ประจำปีงบประมาณ 2564 10.2 โครงการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน ประจำปงี บประมาณ 2564 10.3 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน ประจำปงี บประมาณ 2564 10.4 กจิ กรรมการจัดกระบวนการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 5
11. หนว่ ยงานเครือขา่ ย 11.1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบ้านกลงึ 11.2 ผนู้ ำชุมชน 11.3 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ 11.4 บา้ นสวนพอเพยี ง ศนู ย์เรยี นรดู้ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งตำบลบ้านกลงึ 12. ผลลพั ธ์ (OUT COME) 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 12.2 ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ นำความรูเ้ กีย่ วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปรบั ใชใ้ นการ ดำเนินชวี ติ ประจำวนั 13. ดัชนชี ้วี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชี้วดั ผลผลิต (OUTPUT) 13.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85 เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13.1.2 ผ้ผู ูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ รอ้ ยละ 85 นำความรูเ้ กี่ยวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ได้ 13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลัพธ์ (OUTCOME) 13.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 13.2.2 ผผู้ ู้เขา้ รว่ มโครงการ นำความรู้เก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวนั ได้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบสำรวจความพงึ พอใจ 14.2 แบบประเมนิ ผลความรู้ 14.3 แบบนเิ ทศติดตามงาน 14.4 แบบวดั ผลและประเมินผล 14.5 ตดิ ตามจากแบบรายงานผลการดำเนินโครงการฯ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 6
บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง หลักสูตร เกษตรผสมผสานบนฐานความพอเพียงตามศาสตรข์ องพระราชา จำนวน 6 ชว่ั โมง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร ความเปน็ มา แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2560-2579 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ส่งเสริม สนับสนุนการ สรา้ งจติ สำนึกรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนำแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบัตใิ นการดำเนินชวี ติ ตามที่สำนักงาน กศน. ได้กำหนดเป็นประเด็นสำคัญในข้อยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการ ดำเนินงานการ สร้างการกระจายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสร้างความเท่าเทียมกันและความเสมอภาคทาง การศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยสนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัย และพัฒนาการอย่างมีคุณภาพ การ จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และการศึกษาตลอดชีวิตให้เป็นสังคมคุณธรรม และ พร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ และประสบการณ์การ เรียนรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการทำเกษตร ผสมผสาน เปน็ การจัดกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาผู้เรียนใหม้ ี ความรู้ ความเขา้ ใจ เรื่องปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี มู คิ ุ้มกันในตวั ทดี่ ี โดยอาศัยความรอบรู้ และระมัดระวงั ในการนำความรู้มา ใช้ในการวางแผนดำเนินงาน การนำความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน คือการใช้จ่ายใน ชวี ติ ประจำวัน ไมใ่ ชจ้ ่ายในเรอ่ื งท่ีเห็นว่าไมจ่ ำเปน็ มีการจดั การค่าใชจ้ า่ ยในแตล่ ะวัน แบง่ เงินสว่ นหน่งึ ไว้ใช้จ่าย ในยามฉุกเฉินรวมถึงนำเงินที่เหลือจากคา่ ใชจ้ ่ายในแต่ละวนั มาออมไว้ โดยมีการคดิ คำนวณกอ่ นท่ีจะซื้อของส่ิง หนึง่ วา่ ของน้นั สามารถใช้ได้นานแค่ไหนคุ้มหรอื ไม่กับการซ้ือในแต่ละคร้งั การกระทำนน้ี อกจากจะได้ของใช้ท่ีมี ประสิทธิภาพแล้วยังเป็นการประหยัดเงิน และมีสำนึกในคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต มีความขยันหมั่นเพียร มานะอดทน ใช้สติปัญญาในการดำรงชีวิตด้วยความรอบครอบ โดยสามารถนำมาประยุกต์ให้เกิดผลในทาง ปฏิบัติในการดำรงชวี ิต ประจำวนั ท้ังตอ่ ตนเอง ครอบครัวชมุ ชน ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล เพ่ือ เร่งสนองนโยบาย และพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ให้สามารถดำเนินการขับเคลื่อนตามทิศทาง บทบาท ภารกิจ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผลอยา่ งสูงทส่ี ดุ กศน.อำเภอบางไทร มีความตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการศึกษาเพ่อื เรียนรู้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการทำเกษตรผสมผสาน ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานของ สำนักงาน กศน. ในด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิตในรปู แบบต่าง ๆ ใหก้ ับประชาชน เพอ่ื เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยนื หยดั อยูไ่ ด้อยา่ งม่ันคง และ มีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน จึงได้ จัดทำหลักสูตรนี้ข้ึน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เพ่ือใหส้ ามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ลสูงสุดทั้งต่อ ตนเอง และผ้อู ื่น โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 7
หลักการของหลักสูตร ตระหนกั ถงึ วธิ กี ารทำการเกษตรแบบผสมผสาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จดุ มุ่งหมาย 1. เพ่ือสง่ เสริมให้ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับเรือ่ งของการทำเกษตรผสมผสาน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจเพยี งกบั ภาคการเกษตรได้ เปา้ หมาย ประชาชนและผสู้ นใจอำเภอบางไทร ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 4 ชั่วโมง ภาคปฏบิ ตั ิ 2 ชั่วโมง รวม 6 ชั่วโมง โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 8
โครงสร้างหลกั สูตร ท่ี เรอื่ ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอ้ื หา จำนวนช่ัวโมง การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 เกษตรผสมผสาน 1.เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เข้า 1.1. ความหมายของ 1. อบรมให้ความรู้เร่ือง 2 4 บนพืน้ ฐานของ รับการอบรมประชาชน ศาสตรพ์ ระราชาหลัก - ศาสตร์พระราชา ความพอเพียง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ - หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ ตามศาสตร์ เกีย่ วกับหลกั ปรัชญา พอเพยี งและการทำ พอเพยี ง พระราชาจำนวน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตรผสมผสาน - การทำเกษตรผสมผสาน 6 ชว่ั โมง 2.เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารับการ 2.1 การทำเกษตรตาม 2. อบรมใหค้ วามรูเ้ ร่ืองการทำ อบรมสามารถนำ หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรตามหลักเกษตรทฤษฎี ความรดู้ ้านศาสตร์ ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ใหมข่ องในหลวงรัชกาลท่ี 9 พระราชามา โดยการประยุกตใ์ หเ้ ข้า โดยการประยุกตใ์ ห้เข้ากบั ประยุกตใ์ ชใ้ น กับสภาพพื้นที่และ สภาพพน้ื ทีแ่ ละ ชีวิตประจำวันได้ สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อม - การทำเกษตร - การทำเกษตรผสมผสาน ผสมผสาน - การเลย้ี งสตั ว์ - การเลย้ี งสตั ว์ - การทำสารชีวภาพเพอ่ื - การทำสารชวี ภาพ การเกษตร เพอื่ การเกษตร - การนำพลงั งานทดแทน - การนำพลังงาน มาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั 3. สาธติ และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารการ ทดแทนมาปรับใชใ้ น ทำสารชวี ภาพเพอ่ื การเกษตร ชวี ิตประจำวัน 4. รว่ มกนสรปุ องคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้ 2.2 สรุปองคค์ วามรจู้ าก จากเรื่องการทำเกษตร การอบรมและฝึกปฏิบัติ ผสมผสาน และศาสตร์ พระราชา เพื่อนำความรู้ไป ประยกุ ต์ใช้ในแต่ละชมุ ชนท่ีมี บริบทที่แตกตา่ งกันโดย วทิ ยากร และครู กศน.ตำบล โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 9
สอ่ื การเรียนรู้ 1. สอื่ บุคคล/วทิ ยากร 2. เอกสารประกอบการเรยี น 3. ฝึกปฏิบัตจิ ริง การวัดผลประเมินผล 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ 2. แบบประเมนิ ผลการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง 3. แบบติดตามผ้เู รียนหลงั จบหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่อื ง 4. แบบรายงานผลการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง เกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียนและฝกึ ปฏบิ ตั ิไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 3. มีผลการประเมินชน้ิ งาน โดยวทิ ยากร ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 10
บทท่ี 3 สรุปผลการดำเนนิ งาน ขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงตามศาสตร์ พระราชา กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน 20 คน จัดได้ 20 คน ในวันที่ 23 ธนั วาคม พ.ศ.2565 ณ บา้ นสวนพอเพียง ศนู ย์เรียนรดู้ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา มีดังนี้ 1. ข้นั วางแผน (Plan) 1.1 สำรวจความตอ้ งการ วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ ของกล่มุ เปา้ หมาย 1.2 ประชุมชแี้ จงผูเ้ ก่ยี วขอ้ งและแตง่ ต้ังคณะ ดำเนินงาน 1.3 จัดทำหลักสูตร/ อนมุ ัตหิ ลักสูตร 1.4 ประสานเครือข่าย 2. ขนั้ ดำเนนิ การ (Do) ดำเนินการจดั กิจกรรม 2.1 จัดฝกึ อบรม กจิ กรรมการศึกษาต่อเนื่อง โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี ง ตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ช่ัวโมง 3. ขัน้ ตรวจสอบ (Check) 3.1 ประเมนิ ความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ)์ 3.2 การนเิ ทศตดิ ตามผล 4. ขัน้ ปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) 4.1 นำผลการนเิ ทศมาปรับปรุงพัฒนา โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา 11
ขอ้ มูลผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ เปา้ หมายผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจำนวนทง้ั หมด 20 คน จัดได้ 20 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 เพศหญงิ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รวม จำนวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 2. อายุ ต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 โดยมอี ายุเฉล่ียต้ังแต่ จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 15 อายุ 15 - 29 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 อายุ 30 - 39 ปี จำนวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 35 อายุ 40 - 49 ปี จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30 อายุ 50 - 59 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15 และอายุ 60 ปีข้นึ ไป จำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 รวม 3. ระดบั การศึกษา ตำ่ กว่าประถมศึกษา จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10 คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ประถมศกึ ษา จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 15 คดิ เปน็ ร้อยละ 40 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คิดเป็นรอ้ ยละ 10 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 อนุปริญญา/ปว.ส. จำนวน 1 คน ปริญญาตรี จำนวน 2 คน สูงกวา่ ปริญญาตรี จำนวน 0 คน รวม จำนวน 20 คน 4. ผ้เู ข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลยี่ ประกอบอาชพี รับราชการ จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15 คดิ เปน็ ร้อยละ 45 รบั จา้ ง จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 15 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 เกษตรกร จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5 คิดเป็นร้อยละ 0 ค้าขาย จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน จำนวน 1 คน อาชีพอนื่ ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 20 คน โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 12
ผลการดำเนนิ งาน 1. จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ทีต่ ้ังเปา้ หมายไว้ จำนวน 20 คน จดั ได้ 20 คน ประกอบอาชีพตาม กล่มุ เป้าหมาย 20 คน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวธิ ีการบรรยาย วิธีการสาธิต และวธิ ีการฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง 3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากท่ีสุด (ตามเอกสารบทที่ 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ าน งบประมาณในการจัดซ้ือวสั ดมุ ีจำนวนจำกัด วสั ดุอปุ กรณใ์ นการฝึกมจี ำนวนจำกดั ไมเ่ พียงพอตอ่ จำนวนผเู้ รียน จำนวนหลกั สตู รบางหลักสูตรจำนวนชว่ั โมงมากเกินไป ขอ้ เสนอแนะ งบประมาณจดั สรรค่าวัสดุให้เพียงพอตอ่ จำนวนผู้เรยี น โครงการเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 13
บทที่ 4 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา จำนวน 6 ชัว่ โมง วันที่ 23 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565 สถานทจี่ ดั บา้ นสวนพอเพยี ง ศนู ยเ์ รียนรดู้ ้านเศรษฐกิจพอเพียงตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้ประเมนิ ความพงึ พอใจ คำชแ้ี จง แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี 2 ตอน ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป คำชแี้ จง โปรดใส่เคร่อื งหมาย ลงในช่อง ท่ีตรงกับขอ้ มูลของทา่ นเพยี งชอ่ งเดยี ว เพศ ชาย หญงิ อายุ ตำ่ กวา่ 15 ปี 15 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี 60 ปีขึน้ ไป ระดับการศึกษา ตำ่ กว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อนุปริญญา/ปว.ส. ปริญญาตรี สงู กวา่ ปริญญาตรี อน่ื ๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................ ประกอบอาชีพ ผนู้ ำท้องถ่ิน อบต./เทศบาล พนกั งานรัฐวิสาหกิจ ทหารกองประจำการ เกษตรกร รบั ราชการ ค้าขาย รบั จา้ ง อสม. แรงงานต่างด้าว พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ......................... โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 14
ตอนท่ี 2 ด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ าร คำชีแ้ จง โปรดใส่เครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ นเพยี งช่องเดยี ว ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพงึ พอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา มาก ปาน นอ้ ย 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ ท่ีสุด มาก กลาง น้อย ท่ีสดุ 2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เน้อื หาปัจจุบนั ทนั สมัย 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร 10 วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเร่อื งที่ถ่ายทอด 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซักถาม ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสิง่ อำนวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ญั หา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอนื่ ๆ................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา 15
บทท่ี 5 สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ชว่ั โมง วนั ท่ี 23 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2565 สถานที่จดั บา้ นสวนพอเพียง ศูนย์เรยี นรดู้ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ตอนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป ผู้เรยี นหลักสตู รเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา จำนวน 6 ชัว่ โมง เป้าหมาย 20 คน จดั ได้ 20 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 เพศหญงิ จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50 รวม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100 10 10 หญงิ 10 8 6 4 2 0 ชาย ผตู้ อบแบบสำรวจเปน็ เพศหญิง (รอ้ ยละ 50) ผู้ตอบแบบสำรวจเป็นเพศชาย (รอ้ ยละ 50) 2. อายุ ตำ่ กว่า 15 ปี จำนวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0 โดยมอี ายเุ ฉลย่ี ต้งั แต่ จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15 อายุ 15 - 29 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 อายุ 30 - 39 ปี จำนวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35 อายุ 40 - 49 ปี จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 30 อายุ 50 - 59 ปี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15 และอายุ 60 ปีขนึ้ ไป จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 รวม โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 16
12 12 10 4 40-59 ปี 4 15-39 ปี 60 ปีขน้ึ ไป 8 6 4 2 0 0 ต่ากวา่ 15 ปี ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากอยใู่ นช่วงอายุ 40-59 ปขี ึน้ ไป (รอ้ ยละ 60) รองลงมาอายุ 15-39 ปี (ร้อยละ 20) และอายุ 60 ปี (รอ้ ยละ 20) ตามลำดบั 3. ระดบั การศึกษา ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10 คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ประถมศกึ ษา จำนวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40 มัธยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 5 คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0 คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 อนปุ ริญญา/ปว.ส. จำนวน 1 คน ปรญิ ญาตรี จำนวน 2 คน สงู กวา่ ปริญญาตรี จำนวน 0 คน รวม จำนวน 20 คน 8 8 7 6 56 4 33 2 1 อน่ื ๆ 2 1 0 ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอน ปรญิ ญาตรี ตอนตน้ ปลาย ผ้ตู อบแบบสำรวจส่วนมาก มีการศกึ ษาอยใู่ นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ร้อยละ 40) รองลงมาประถมศกึ ษา (รอ้ ยละ 30) ม.ตน้ (รอ้ ยละ 15) ปรญิ ญาตรี (รอ้ ยละ 10) และอืน่ ๆ (รอ้ ยละ 5) โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 17
4. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉล่ียประกอบอาชพี รบั ราชการ จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 15 คิดเปน็ รอ้ ยละ 45 รบั จา้ ง จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 15 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 เกษตรกร จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 ค้าขาย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100 พอ่ บ้าน/แมบ่ า้ น จำนวน 1 คน อาชีพอื่น ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 20 คน 9 4 1 33 อน่ื ๆ 9 8 คา้ ขาย เกษตรกรรม รบั ราชการ 7 6 5 4 3 2 1 0 รบั จา้ ง ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากประกอบอาชีพรับจา้ ง (รอ้ ยละ 45) รองลงมาอาชพี คข่ าย (รอ้ ยละ 20 ) อาชพี เกษตรกรรม(ร้อยละ 15) อาชพี รบั ราชการ (รอ้ ยละ 15) และอาชีพอื่นๆ (รอ้ ยละ 5) ตามลำดบั โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 18
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงตาม ศาสตรพ์ ระราชาย จำนวน 6 ช่วั โมง เปา้ หมาย 20 คน จัดได้ 20 คน ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย มาก ปาน น้อย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนอ้ื หา ท่ีสุด มาก กลาง น้อย ทีส่ ุด 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความตอ้ งการ 4 16 - - - 3 เนื้อหาปัจจบุ ันทันสมยั 3 17 - - - 4 เนอ้ื หามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต 15 5 - - - ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 15 - - - - 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 2 18 - - - 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย 14 6 - - - 9 วิธีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร 17 3 - - - 10 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเรอ่ื งทถ่ี า่ ยทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม 14 6 - - - 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 1 19 -- 13 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ 3 17 - - - 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา 4 16 - - - 8 12 - - - 6 14 - - - 15 5 - - - 4 16 - - - โครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 19
สว่ นประเมนิ ผลความพึงพอใจด้วยเกณฑ์คะแนนเฉลีย่ รวม คะแนนและเกณฑร์ ะดับความพงึ พอใจเปน็ น้ี ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปรับปรุง มคี า่ คะแนน 1 ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น พอใช้ มีค่าคะแนน 2 ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เหน็ ปานกลาง มีค่าคะแนน 3 ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดี มคี า่ คะแนน 4 ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ดมี าก มีคา่ คะแนน 5 และค่าคะแนนเฉลยี่ มเี กณฑด์ ังน้ี คะแนนเฉลยี่ 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เหน็ ปรับปรุง พอใช้ คะแนนเฉลยี่ 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ดี คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก คะแนนเฉลย่ี 3.50 – 4.50 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคดิ เหน็ โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา 20
สรปุ ความพงึ พอใจในภาพรวม จากการจัดโครงการเกษตรผสมผสานบนพนื้ ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา จำนวน 6 ช่ัวโมง เป้าหมาย 20 คน จัดได้ 20 คน พบว่าแบบสอบถามท้งั 15 ขอ้ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความพงึ พอใจในระดบั “ด”ี ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอื้ หา ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ ดี 4 20.00 ปานกลาง 16 80.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 4 ดมี าก 16 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดี (ร้อยละ 80) ระดับดีมาก (ร้อยละ 20) ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 2 เนือ้ หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ ดี 3 15.00 ปานกลาง 17 85.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 21
3 ดมี าก 17 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผูต้ อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี (รอ้ ยละ 85) รองลงมาระดบั ดีมาก (รอ้ ยละ 15) ตามลำดบั ขอ้ รายการ จำนวน ร้อยละ 3 เนื้อหาปัจจุบันทนั สมัย 15 75.00 ดมี าก 5 25.00 ดี 0 0.00 ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 5 ดมี าก 15 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั ดมี าก (รอ้ ยละ 75) และระดบั ดี (รอ้ ยละ 25) ตามลำดบั ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 4 เน้อื หามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพฒั นา ดี 20 100.00 ปานกลาง 0 0.00 คณุ ภาพชีวติ พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 22
ดมี าก ดี 20 ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก (ร้อยละ 55) และระดบั ดี (รอ้ ยละ 45) ตามลำดับ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม ดี 2 10.00 ปานกลาง 18 90.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 18 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี (รอ้ ยละ 90) และระดับดมี าก (ร้อยละ 10) ตามลำดบั โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 23
ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ ดี 14 70.00 ปานกลาง 6 30.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 6 ดมี าก ดี 14 ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับดมี าก (รอ้ ยละ 70) และระดับดี (ร้อยละ 30) ตามลำดับ ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา ดี 17 85.00 ปานกลาง 3 15.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 3 ดมี าก 17 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับดมี าก (ร้อยละ 85) รองลงมาระดบั ดี (รอ้ ยละ 15) ตามลำดับ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 24
ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย ดี 14 70.00 ปานกลาง 6 30.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 6 ดมี าก 14 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดี (รอ้ ยละ 70) รองลงมาระดบั ดมี าก (รอ้ ยละ 30) ตามลำดบั ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ดี 1 5.00 ปานกลาง 19 95.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 1 ดมี าก 19 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี (ร้อยละ 95) รองลงมาระดบั ดีมาก (รอ้ ยละ 5) ตามลำดับ โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 25
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ ดี 3 15.00 ขอ้ รายการ ปานกลาง 17 85.00 10 วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถในเร่อื งท่ถี ่ายทอด พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 3 ดมี าก 17 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดี (รอ้ ยละ 85) รองลงมาระดบั ดมี าก (รอ้ ยละ 15) ตามลำดับ ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสม ดี 4 20.00 ปานกลาง 16 80.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 4 ดมี าก 16 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี (ร้อยละ 80) รองลงมาระดับดีมาก (ร้อยละ 20) ตามลำดบั โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้ืนฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 26
ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม ดี 8 40.00 ปานกลาง 12 60.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 8 ดมี าก ดี 12 ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี (ร้อยละ 60) รองลงมาระดับดีมาก (รอ้ ยละ 40) ตามลำดับ ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก ดี 6 30.00 ปานกลาง 14 70.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 6 ดมี าก 14 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับดี (รอ้ ยละ 70) และระดบั ดี (ร้อยละ 30) โครงการเกษตรผสมผสานบนพ้นื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 27
ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ ดี 15 75.00 ปานกลาง 5 25.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 5 ดมี าก 15 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดับดีมาก (ร้อยละ 75) และระดบั ดีมาก (รอ้ ยละ 25) ตามลำดับ ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา ดี 4 20.00 ปานกลาง 16 80.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 4 ดมี าก 16 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี (รอ้ ยละ 80) และระดับดมี าก (ร้อยละ 20) ตามลำดับ โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา 28
ภาคผนวก โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา 29
รูปภาพประกอบ โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา วนั ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ บา้ นสวนพอเพยี ง ศูนยเ์ รียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพยี งตำบลบ้านกลงึ อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา โครงการเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของความพอเพยี งตามศาสตรพ์ ระราชา 30
บรรณานุกรม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 2565. หลกั สูตรเกษตรผสมผสานบนพืน้ ฐานของความพอเพียงตามศาสตร์พระราชา จำนวน 6 ชว่ั โมง. โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา ๑
ทีป่ รึกษา คณะผู้จดั ทำ นายสวัสด์ิ บญุ พรอ้ ม ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอนครหลวง นางสาววชิ ชตุ า แก้วโมรา รกั ษาการในตำแหน่งผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร นางสาวหทัยรตั น์ ศิรแิ ก้ว บรรณารักษ์ชำนาญการ นางสาวฐติ ิพร พาสี ครู ครูผู้ชว่ ย คณะทำงาน/ผรู้ วบรวมขอ้ มูล/สรุปผล/รายงานผล/จัดพิมพร์ ูปเล่ม นายสมเจตท์ วับสนั เทียะ ครู กศน.ตำบล นายกฤชวฒั น์ จารุมณี ครู กศน.ตำบล นายศิรพิ งศ์ กนั โรคา ครู กศน.ตำบล นางสาวณสุ รา โกษะ ครู กศน.ตำบล นางนฤมล ดงจนั ทร์ ครู กศน.ตำบล นายธติ ิ ทองอดุ ม ครู กศน.ตำบล นายชัยวัฒน์ ไทยประกอบ ครู กศน.ตำบล นางสาวกัณฑิมา มาเกดิ ครู กศน.ตำบล โครงการเกษตรผสมผสานบนพน้ื ฐานของความพอเพียงตามศาสตรพ์ ระราชา ๑
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: