ภาษีไปไหน : ระบบข้อมูลการใชจ้ า่ ยภาครัฐ Thailand Government Spending ประเทศจะพัฒนาและมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้ จาเป็นต้องมีรายได้หรือเงินทุนสาหรับ ใช้จ่าย มีการจ้างงาน มีการค้าขาย มีกลไกระบบการบริหารจัดการ และมีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเอ้ืออานวยต่อ การลงทุน หากไม่มีรายได้รัฐจะนาเงินจากไหนมาใช้จ่ายในการป้องกันประเทศ สร้างสรรค์ส่ิงอานวย ความสะดวกแก่ประชาชนทุกระดับ กาหนดกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน สร้างโครงสร้างพื้นฐานท่ีจาเป็น เช่น ถนน หนทาง ไฟฟ้า แหล่งน้าสาหรับอุปโภคและบริโภค เขื่อน สะพาน โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ โดยมิได้หวังผล กาไร ก็เพ่ือให้ประชาชนอยู่ดีกินดีมีความสุขสบายน่ันเอง รายได้ของรัฐเกินกว่า ร้อยละ 80 มาจากการจัดเก็บ ภาษีของ 3 กรมจัดเกบ็ เพราะเหตุนจี้ งึ ถือเปน็ หน้าทข่ี องทุกคนเม่ือมรี ายได้ถงึ เกณฑจ์ ึงควรต้องนารายได้มาเสีย ภาษี นับเป็นความภาคภูมิใจท่ีได้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศ คงจะหายสงสัยกันแล้วว่าทาไมจึงต้อง เสียภาษี แตย่ งั คงมีคาถามท่ีน่าสงสยั วา่ แลว้ เงนิ ภาษที ีร่ ัฐจดั เกบ็ ไปนน้ั หายไปไหน ระบบข้อมูลการใช้จ่ายภาครัฐ (Thailand Government Spending) หรือในช่ือ “ภาษีไปไหน” เป็นการบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายใต้โครงการระบบข้อมูลการใช้จ่ายภาครัฐ มีช่องทางใน การเปิดเผยข้อมลู เพื่อสร้างความโปร่งใส เพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถเข้ามามีสว่ นรว่ มในการตรวจสอบการทางาน และการใช้จ่ายงบประมาณของภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพระบบข้อมูลการใช้จ่าย ภาครัฐท้ังในรูปแบบเว็บไซต์ https://govspending.data.go.th และแอปพลิเคชัน “ภาษีไปไหน” อีกด้วย สามารถสืบค้นช่ือหน่วยงาน บริษัท หรือโครงการต่าง ๆ ด้วยคาค้นหา (keyword) แสดงภาพรวม (Dashboard) งบประมาณที่ต้ัง งบประมาณที่ใช้ จานวนโครงการรวม และอ่ืน ๆ อีกมาก โดยมีการอัพเดต ข้อมูลทุกเดอื น 95
ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลพระราชบัญญัติงบประมาณจากสานกั งบประมาณ แสดงผลการเบิกจา่ ย จาแนกตามหน่วยงาน ยทุ ธศาสตร์ที่มวี งเงินงบประมาณตาม พ.ร.บ. สงู สุด ยุทธศาสตร์ทีม่ ผี ลการเบิกจา่ ยสูงสุด ผลการเบิกจ่ายประจาเดือน จังหวัดที่มีวงเงินงบประมาณตาม พ.ร.บ. สูงสุด จังหวัดที่มีผลการเบิกจ่ายสูงสุด และหมวดรายจา่ ยจาแนกตามหน่วยงาน จาแนกงบประมาณ เป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย งบกลาง กลุ่มงบประมาณรายจ่าย กระทรวง/ หน่วยงาน (Function) กลุ่มงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ (Agenda) กลุ่มงบประมาณรายจ่ายพ้ืนที่ (Area) และกล่มุ งบประมาณรายจา่ ยบริหารจดั การหนภ้ี าครฐั 96
ขอ้ มลู โครงการจัดซ้อื จัดจ้าง สถานะโครงการ และพกิ ดั โครงการแสดงในลักษณะพ้ืนที่ จากระบบจดั ซ้ือ จดั จ้างภาครัฐ (e-GP) กรมบัญชกี ลาง จะเห็นได้ว่าระบบข้อมูลการใช้จ่ายภาครัฐ หรือ “ภาษีไปไหน ?” มีข้อมูลที่สาคัญและเป็นประโยชน์ อย่างมาก ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้จ่ายเงินของรัฐอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างความโปร่งใส เป็นช่องทางในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานได้เป็นอย่างดี ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ี สานกั งานรัฐบาลอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) www.egov.go.th 97
4.2 STRONG Model จิตพอเพียงต้านทจุ ริต (STRONG Model) สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ในฐานะ องค์กรหลักในการต่อต้านการทุจริตของประเทศไทย ได้จัดทายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทกี่ าหนดวิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติ ต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และพันธกิจหลักเพ่ือสร้างวัฒนธรรมการต่อต้าน การทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ ท้ังระบบให้มีมาตรฐานเทียบเท่าสากลผา่ นยุทธศาสตร์ 6 ดา้ น ได้แก่ สรา้ งสงั คมไม่ทนต่อ การทุจริต ยกระดับเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจรติ สกัดก้ันการทุจริตเชงิ นโยบาย พัฒนาระบบ ป้องกันการทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต และยกระดับดัชนีการรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย โดยเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมีค่าดัชนีรับรู้ การทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 ในปี 2564 โครงการ “STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต” เป็นโครงการที่มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต อันมีกลยุทธ์ว่าด้วยเรื่องของการปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลา ทางสังคมเพื่อต้านทุจริต ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต และเสริมสร้างพลัง การมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต ซ่ึงโครงการ “STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต” ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ประกอบหลักการต่อต้านการ ทุจริตอ่ืน ๆ เพ่ือสร้างฐานคิดจิตพอเพียงต่อต้านทุจริตให้เกิดข้ึนเป็นฐานความคิดของปัจเจกบุคคล และ ประยกุ ต์หลกั บรู ณาการโมเดล “STRONG” (รศ.ดร. มาณี ไชยธีรานุวฒั ศริ ,ิ 2560) อนั ประกอบด้วย พอเพียง (Sufficient: S) โปร่งใส (Transparent: T) ตื่นรู้ (Realise: R) มุ่งไปข้างหน้า (Onward: O) ความรู้ (Knowledge: N) และเอ้ืออาทร (Generosity: G) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมชุมชน โดยมี กระบวนการเผยแพรห่ ลกั การ “STRONG” ไปสู่ชุมชนด้วยการสร้างโค้ช (coach) ท่ีมีความสามารถและทักษะ เพ่ือเป็นตัวแทนของสานักงาน ป.ป.ช. ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ท่ีเก่ียวกับการคิดแยกแยะ ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต และหลักการจติ พอเพียง ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะช่วยให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้และเล็งเห็นถึงความสาคัญของปัญหาการ ทุจริต อันนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและเกิดค่านิยมต่อต้านทุจริตในสังคมไทย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นปีงบประมาณแรกท่ีมีการดาเนินโครงการ “STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต” ตามมติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. คร้ังท่ี 904-75/2560 เมื่อวนั ที่ 28 กนั ยายน 2560 ไดม้ ีการดาเนนิ โครงการนาร่อง ใน 27 จังหวัด ใน 9 ภาคของสานักงาน ป.ป.ช. เพ่ือขับเคลื่อนโมเดล “STRONG” ให้บรรลุผลสาเร็จตาม เป้าประสงค์ และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้ขยายพื้นที่การดาเนินโครงการครอบคลุมท้ัง 76 จังหวัด และ 1 เขตปกครองทอ้ งถิ่นพิเศษ (กรุงเทพมหานคร) 98
1. โมเดล STRONG โมเดล STRONG เป็นการนาตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 6 คา มาประกอบเป็นคาศัพท์สื่อความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์ และบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม การตระหนักรู้และใส่รู้ปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอ้ืออาทร บนพ้ืนฐานของจริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกนนา สร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานวุ ัฒศิริ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2560 - 2562 แสดงได้ดงั แผนภาพท่ี 1 - 2 ดังน้ี แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ รติ ปี พ.ศ. 2560 – 2561 99
แผนภาพที่ 2 โมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต ปี พ.ศ. 2562 จากแผนภาพข้างตน้ สามารถอธิบายนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ ารได้ดังนี้ (1) พอเพียง (Sufficient : S) คานยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ประยกุ ต์เป็นหลักความพอเพียงในการทางาน การดารงชีวติ การพฒั นาตนเองและส่วนรวม รวมถงึ การป้องกัน การทุจริตอย่างย่ังยืน ความพอเพียงต่อส่ิงใดส่ิงหนึ่งของมนุษย์แม้ว่าจะต่างกันตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่า ความพอเพียงของตนเองต้องต้ังอยู่บนความมีเหตุผล รวมทั้งไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม ความพอเพียงดังกล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลนั้นไม่กระทาการทุจริต ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) และการตืน่ รู้ (realize) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของบคุ คลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตวั และส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็น อัตโนมัติจะนาไปสู่จิตสานึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบนโดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทั้งน้ี โดยไม่เดอื ดร้อนตนเองและผอู้ ่นื 100
(2) โปร่งใส (Transparent: T) คานยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นา ผู้บรหิ าร บคุ คลทุกระดับ องคก์ ร และชุมชนต้องปฏิบตั ิงานบนฐานของความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ดังน้ัน จึงต้องมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมายด้านความโปร่งใส ซึ่งต้องให้ความรู้ ความเข้าใจ (knowledge) และการต่นื รู้ (realize) คานิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทาให้เห็นภาพหรือปรากฏการณ์ชัดเจน กลไกหลัก คือ สร้างความรคู้ วามเข้าใจ และวิธสี งั เกตเกยี่ วกบั ความโปรง่ ใสของโครงการต่าง ๆ (3) ต่ืนรู้ (Realize: R) คานยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของ ปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบภายในชุมชนและประเทศ ความต่ืนรู้จะบังเกิดเม่ือได้พบ เห็นสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อการทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อการทุจริตในท่ีสุด ซึ่งต้องให้ ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) เกี่ยวกับสถานการณ์ทุจริตที่เกิดข้ึน ความร้ายแรงและผลกระทบต่อระดับ บุคคลและสว่ นรวม คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 เมื่อบคุ คลรูพ้ ษิ ภยั ของการทจุ ริต และไม่ทนท่จี ะเห็นการทุจริตเกดิ ขน้ึ กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตข้ึน หรือ กรณีศกึ ษาทีเ่ กดิ ข้ึนมาแลว้ และมคี าพิพากษาถงึ ที่สดุ แล้ว (4) มงุ่ ไปขา้ งหนา้ (Onward: O) คานยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเองและส่วนรวมให้มี ความเจริญก้าวหน้าอย่างย่ังยืนบนฐานความโปร่งใส ความพอเพียง และร่วมสร้างวัฒนธรรมสุจริตให้เกิดขึ้น อยา่ งไมย่ ่อทอ้ ซงึ่ ต้องมีความรู้ความเข้าใจ (knowledge) ในประเด็นดงั กล่าว คานิยามปี พ.ศ. 2562 การไม่มีการทุจริตของภาครัฐ จะทาให้เงินภาษีถูกนาไปใช้ในการพฒั นาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพ้ืนท่ี ท่ีมีความเสี่ยง ในการทุจริต เชน่ การบุกรกุ พนื้ ที่สาธารณะ หรือเฝ้าระวังโครงการใหด้ าเนนิ การด้วยความโปร่งใส (5) ความรู้ (Knowledge: N) คานยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนต้องมีความรู้ความเข้าใจสามารถนาความรู้ไปใช้ สามารถ วิเคราะห์สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ในสถานการณ์การทุจริต ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่มีความสาคัญย่ิงต่อการลด 101
ทุจริตในระยะยาว รวมท้ังความอายไม่กล้าทาทุจริตและความไม่ทนเม่ือพบเห็นวา่ มีการทุจริตเกิดขึ้น เพ่ือสร้าง สังคมไมท่ นต่อการทุจริต คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ดา้ นต่าง ๆ มีความจาเป็นต่อการป้องกนั และป้องปรามการทจุ รติ กลไกหลัก คือ การให้ความรู้ในรูปแบบการฝึกอบรม หรือให้ส่ือเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง เช่น (1) ความรู้เก่ียวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ทั้งแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบท่ี อาจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต (2) ความรู้เกี่ยวกับการทจุ รติ ในตา่ งประเทศ (3) วธิ ีการป้องกนั - ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรูเ้ กีย่ วการเฝา้ ระวัง (5) ความรูเ้ กยี่ วกับกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง (6) เอ้ืออาทร (Generosity: G) คานิยามปี พ.ศ. 2560 - 2561 คนไทยมีความเอ้ืออาทร มีเมตตา มีน้าใจต่อกันบนพ้ืนฐานของจิตพอเพียงต่อต้านทุจริต ไม่เอ้ือต่อ การรับหรือการให้ผลประโยชน์ตอ่ พวกพอ้ ง คานยิ ามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มีน้าใจ โอบอ้อมอารี เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ โดยไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือ หวงั ผลตอบแทน ในฐานะเพ่ือนมนุษย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการร่วม พฒั นาชุมชน จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น (S) มุ่งอนาคตที่เจริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐานจิตใจมีมนุษยธรรมเออื้ อาทร ชว่ ยเหลือเพือ่ นมนุษยโ์ ดยไม่เห็นแกป่ ระโยชนต์ า่ งตอบแทน (G) ให้ ความสาคัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการดารงชีวิตในทางท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผล ตอ่ สงั คม รังเกยี จการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบทง้ั ปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจรติ ทกุ รูปแบบ (R) นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของการมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคล่ือนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การ ป้องกันการทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการของโมเดล STRONG สู่ชุมชนจะ ดาเนินการโดยสานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัด และมีการคัดเลือกผู้แทน/ผู้นาชุมชนในจังหวัดท่ีมีเครือข่าย มีความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการต่อต้านการทจุ รติ เช่น การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ได้รับการ คัดเลือกเป็นโค้ช (coach) ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้านการทุจริต ให้แก่ผู้ท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดต้ังชมรม STRONG เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนักรู้เล็งเห็นถึง ความสาคญั ของปญั หาการทจุ ริตและ มีสว่ นร่วมในการเฝ้าระวงั และแจ้งเบาะแสการทจุ ริต 102
2. โมเดล STRONG กับมาตรการปอ้ งกันการทจุ รติ ของต่างประเทศ การคิดค้นและพัฒนาโมเดล STRONG มีพื้นฐานมาจากการส่ังสมประสบการณ์ด้านการต่อต้าน การทุจริต โดยมีความมุ่งหมายที่จะสร้างกลไกและวิธีการในการขับเคล่ือนให้ป้องกันการทุจริตได้อย่างเป็น รูปธรรม รวมถึงในปัจจุบันนี้ องค์กรต่างประเทศต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการป้องกันการทุจริตอย่างมาก เนือ่ งจากเป็นการยับยั้งไม่ให้การทุจริตเกิดข้ึนและเป็นแนวทางในการต่อต้านการทุจริตที่มีความยั่งยืนในระยะยาว จึงไดท้ าการศึกษาเปรยี บเทยี บการป้องกันการทุจรติ ตามหลกั การของโมเดล STRONG กบั มาตรการปอ้ งกันการ ทุจริตขององค์กรต่างประเทศ 3 องค์กร ได้แก่ องค์กรสหประชาชาติ (United Nations: UN) องค์การเพ่ือ ความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) และธนาคารเพอื่ การพฒั นาแหง่ เอเชยี (Asian Development Bank: ADB) 2.1 มาตรการป้องกันการทุจรติ ขององคก์ รต่างประเทศ (1) องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations: UN) อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการตอ่ ตา้ นการทุจรติ ค.ศ. 2003 (United Nations Convention against Corruption: UNCAC) ประกอบด้วย 8 หมวด ได้แก่ บทบัญญัติทั่วไป มาตรการป้องกัน กาหนดให้เป็น ความผิดทางอาญาและการบังคับใช้กฎหมาย ความร่วมมือระหว่างประเทศ การติดตามทรัพย์สินคืน ความช่วยเหลอื ทางวิชาการในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสาร กลไกในการปฏบิ ัติตามอนุสญั ญา และบทบัญญตั ิสุดท้าย ในส่วนของบทบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันการทุจริตในหมวดที่ 2 ข้อ 5 - 14 สามารถสรปุ ประเดน็ มาตรการสาคัญในการป้องกนั การทจุ รติ ได้ดงั น้ี (United Nations, 2003) (1.1) ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วม การต่อต้านการทุจริตมีความจาเป็นต้องได้รับความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของสังคม ความ ร่วมมือระหว่างหน่วยงานท่ีบังคับใช้กฎหมายและหน่วยงานภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง และส่งเสริม การมีส่วน ร่วมของบุคคลและกลุ่มต่าง ๆ รวมถึงควรมีการพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างเจ้าพนักงานใน กระบวนการยตุ ธิ รรม ผู้บงั คับใชก้ ฎหมาย และผ้กู ากบั ดแู ลทางการเงิน (1.2) ความโปรง่ ใสและความรับผิดชอบ การสง่ เสรมิ ให้มีความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของทกุ ภาคส่วน เช่น การส่งเสรมิ ความโปรง่ ใส ในการสนับสนุนทางการเงินแกผ่ สู้ มัครรับเลือกตง้ั และการคัดเลือก/สรรหาบุคคลเข้ารับราชการ การส่งเสรมิ ความโปรง่ ใสในการบริหารจัดการการคลังภาครัฐ การสง่ เสรมิ ให้มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยรฐั ต้องมรี ะบบ รองรบั ท่ีทาให้ม่นั ใจได้ว่าประชาชนมีช่องทางในการเข้าถึงข้อมลู ขา่ วสารได้อย่างมีประสิทธผิ ล การส่งเสรมิ ความ โปร่งใสในการบรหิ ารปกครองภาครฐั และกระบวนการปฏิบัตงิ านในภาครัฐ เปน็ ต้น (1.3) การเพิ่มพนู และเผยแพรค่ วามรู้ องค์กรต่อต้านการทุจริตควรมีการดาเนินการเพ่ิมพูนและเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับการ ป้องกัน การทุจริตให้แก่ทุกภาคส่วน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและวิธีการป้องกันการทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงสนับสนุนการไม่ทนตอ่ การทุจริตในแผนการศกึ ษาซ่งึ รวมถึงหลักสตู รของโรงเรียนและมหาวทิ ยาลัย (1.4) การป้องกนั ความขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตน ภาครัฐและองค์กรต่อต้านการทุจริตส่งเสริมให้มีการป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ส่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตน เช่น การกาหนดข้อจากัดเก่ียวกับกิจการงานทางวิชาชีพของอดีตเจ้าหน้าที่รัฐ หรือการวา่ จา้ งเจา้ หน้าท่ีรฐั โดยภาคเอกชนภายหลงั จากการลาออกหรอื เกษียณอายุ เปน็ ต้น (1.5) ความมคี ณุ ธรรมและซื่อสัตยส์ ุจริต รัฐตอ้ งส่งเสริมความมีคณุ ธรรม ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ และความรบั ผดิ ชอบของเจ้าหนา้ ทรี่ ฐั โดย การบังคับใช้จรรยาบรรณหรือมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมการปฏิบัติราชการอย่างถูกต้อง รวมถึงต้อง 103
มีการพิจารณานาโทษทางวินัยหรือมาตรการอื่นมาใช้กับเจ้าหน้าท่ีรัฐที่ฝ่าฝืนจรรยาบรรณหรือมาตรฐานทาง คณุ ธรรมและจริยธรรม (1.6) ส่งเสริมใหส้ าธารณะตระหนักถงึ อันตรายของการทจุ รติ ภาครฐั และองคก์ รตอ่ ตา้ นการทจุ ริตต้องมีการให้ความรู้และสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของทุกภาค ส่วน เพื่อให้สาธารณชนมีความตระหนักรู้เกี่ยวกับความมีอยู่ สาเหตุ ความร้ายแรง และภัยคุกคามท่ีเกิดจาก การทจุ ริตมากขน้ึ (2) องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) องค์การเพ่ือความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) เป็นหนึ่งในองค์กรระหว่างประเทศ ที่มีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยการดาเนินการของ OECD จะครอบคลุมถึงการป้องกัน และปราบปรามการให้สินบน การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และการขจัดการทุจริตในภาครัฐ รวมถึงได้มี การศึกษารูปแบบเฉพาะขององค์กรต่อต้านการทุจริต ซึ่งภารกิจหน่ึงท่ีมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้ การต่อต้านการทุจริตประสบผลสาเร็จได้ คือ การป้องกันการทุจริต โดยสามารถสรุปมาตรการสาคัญในการ ปอ้ งกนั การทุจริต ไดด้ ังนี้ (Organization for Economic Co-operation and Development, 2008) (2.1) การพฒั นาการศกึ ษาวจิ ัยและนโยบายป้องกันการทุจรติ การศึกษาวิจัยรูปแบบ แนวโน้ม และความระดับความรุนแรงของการทุจริตที่จะเกิดข้ึนใน อนาคตเพ่ือพัฒนานโยบายและมาตรการป้องกันการทุจริตได้อย่างเท่าทันพลวัตรของการทุจริตเป็นปัจจั ยท่ี ส่งเสรมิ ให้ประสบผลสาเร็จในการตอ่ ต้านการทุจริต (2.2) การปอ้ งกนั การใช้อานาจหน้าทใ่ี นทางทุจรติ ของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐ การส่งเสรมิ ให้เจ้าหนา้ ทรี่ ฐั มีจรยิ ธรรม การบัญญตั มิ าตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่รี ัฐเพื่อเปน็ มาตรการพิเศษ และมมี าตรการลงโทษเจา้ หน้าทร่ี ฐั ท่ฝี ่าฝืนหรือไม่ปฏบิ ัตติ ามนับได้ว่าเป็นมาตรการสาคญั ประการหนึง่ ใหเ้ จ้าหน้าที่ รฐั ปฏิบัตหิ น้าท่ีอย่างมีจริยธรรม รวมถงึ ควรมีการป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชนส์ ่วนรวมกับผลประโยชน์ส่วน ตนจากการปฏิบัติหน้าที่ และสง่ เสริมใหม้ คี วามโปรง่ ใสในการบรหิ ารจัดการภาครฐั (2.3) การส่งเสริมศึกษาและความตระหนกั รู้ องค์กรต่อต้านการทุจริตควรมีการพัฒนาและจัดทาหลักสูตรการศึกษาในการต่อต้านการ ทุจริตเพ่ือนาไปปรับใช้ในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และมีโครงการเผยแพร่ให้ความรู้แก่ทุกภาคส่วนให้ตระหนัก ถึงอันตรายของการทุจริตและเสริมสร้างความรู้ในการป้ องกันการทุจริตโดยสร้างความร่วมมือกับสื่อมวลชน องค์กรพฒั นาเอกชน (Non Governmental Organizations: NGOs) ภาคธรุ กิจ และภาครฐั ในการรว่ มดาเนิน โครงการ (2.4) การส่งเสรมิ ความร่วมมือกับทกุ ภาคส่วนในการป้องกันการทจุ รติ การป้องกันการทุจริต ไม่มีองค์กรใดสามารถดาเนินการได้เพียงลาพัง ดังนั้นการสร้าง ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในระดับต่าง ๆ ท้ังการสร้างความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ หน่วยงาน ภายในประเทศ ภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และประชาชน จะเป็นส่วนสาคัญท่ีทาให้การป้องกันการทุจริตมี ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน (2.5) การพัฒนาบุคลากร นอกจากการดาเนินมาตรการป้องกันการทุจริตแล้ว การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถเฉพาะทางด้วยการอบรมให้มีความรูเ้ ท่าทันกับพลวตั รของการทุจริตจะเป็นปัจจัยประการสาคัญ ท่ีทาให้บุคลากรสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นองค์กรต่อต้านการทุจริตควรจัดให้มีการ อบรมให้ความรูแ้ ก่บุคลากรดา้ นปอ้ งกนั การทจุ รติ เพื่อใหก้ ารปอ้ งกนั การทจุ รติ บรรลุผลสาเรจ็ ไดอ้ ยา่ งสูงสดุ 104
(3) ธนาคารเพ่ือการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ได้มีความร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือและ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ในการเสนอแนวทางป้องกันการทุจริตแบบองค์รวม (Holistic Approach) ซ่ึงประกอบด้วยเสาหลัก 3 ประการ ดังนี้ (เอก ตัง้ ทรัพยว์ ัฒนา และคณะ, 2550) (3.1) การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐท่ีมีคุณภาพและโปรง่ ใส ประกอบดว้ ย 1) การสร้างเกียรติภูมิในอาชีพข้าราชการ รวมถึงกาหนดค่าตอบแทนท่ีเพียงพอ มี ระบบการเลื่อนขั้นที่โปร่งใส มีระบบตรวจสอบการใช้อานาจดุลพินิจของข้าราชการ มีระบบสับเปลี่ยนงาน ขา้ ราชการเป็นระยะเพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดผลประโยชน์ที่ยึดตดิ กบั ตาแหนง่ 2) การมีประมวลจริยธรรมท่ีมีบทบัญญัติในประเด็นท่ีเก่ียวกับการป้องกัน การขัดกันแห่งผลประโยชน์ และมีการวางระบบการติดต่อกันระหว่างข้าราชการและนักธุรกิจ เพ่ือไ ม่ให้ ขา้ ราชการมีอิทธิพลและสามารถเรียกรบั ผลประโยชนไ์ ด้ 3) มีระบบการตรวจสอบความโปร่งใส ซ่งึ รวมถงึ มีระบบการคลังทโ่ี ปรง่ ใส มี กฎเกณฑ์เก่ียวกับสถาบันทางการเงินที่ได้มาตรฐานสากล มีกระบวนการตรวจสอบการใช้เงินงบประมาณ มีกระบวนการจดั ซือ้ จัดจา้ งโปรง่ ใส ระบบการเปดิ เผยข้อมลู ข่าวสารและลดขนั้ ตอนในระบบราชการ (3.2) การสร้างคา่ นิยมความซ่อื สัตยส์ จุ ริตในการทางาน ประกอบดว้ ย 1) กระบวนการป้องกัน สืบสวน และลงโทษผู้กระทาทุจริต ซึ่งรวมถึงการมีระบบ กฎหมายที่จัดการกับการให้สนิ บน การมีหน่วยงานหรอื กลไกจัดการกับการฟอกเงิน การมีระบบตรวจสอบการ ให้สินบน เพ่ิมศักยภาพให้กับหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีตรวจสอบ และเพ่ิมประสิทธิภาพของการร่วมมือระหว่าง หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องและการปกปอ้ งผู้แจง้ เบาะแส 2) การส่งเสริมความรับผิดชอบของบรรษัท ซึ่งรวมถึงการสนับสนุนให้เกิดบรรษัทภิ บาลและพัฒนาแนวทางปฏิบัติในแต่ละบริษัท การมีบทลงโทษท่ีรุนแรงสาหรับการติดสินบนของเอกชน การ ปรับแก้กฎหมายและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้าง การทาสัญญากับภาคเอกชน หรือการให้ สมั ปทานท่ีมคี วามโปร่งใสมากขึน้ (3.3) การสนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของภาคประชาสังคม ประกอบดว้ ย 1) การกระตุ้นให้มีการถกเถียงเรื่องการทุจริตในเวทีสาธารณะ ซึ่งรวมถึงโครงการ สร้างความตระหนักในระดับต่าง ๆ การสนับสนุนบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน การปรับระบบการศึกษา เพอ่ื ปลกู ฝังวฒั นธรรมการต่อตา้ นการทจุ ริต 2) การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสาธารณะและสื่อ ซึ่งรวมถึงการกาหนดให้ มีหน่วยงานที่เก่ียวข้องรายงานต่อสาธารณะถึงผลการดาเนินงานท้ังเร่ืองการป้องกัน ปราบปราม สนับสนุน และการให้สิทธิประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารท้ังหมดของภาครัฐ และการทาให้พระราชบัญญัติข้อมูล ขา่ วสารเกดิ ผลขน้ึ จริงในทางปฏบิ ตั ิ 3) การมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งรวมถึงการปกป้องผู้แจ้งเบาะแส การระดมการ สนับสนนุ และการมสี ว่ นร่วมจากองค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรอนื่ ๆ จากการศึกษามาตรการป้องกันการทุจริตขององค์การสหประชาชาติ (UN) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC) องค์การเพ่ือความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และ ธนาคารเพือ่ การพัฒนาแห่งเอเชยี (ADB) สามารถสรปุ ประเดน็ มาตรการการป้องกนั การทุจรติ ไดด้ ังตารางท่ี 1 105
ตารางท่ี 1 มาตรการปอ้ งกนั การทจุ รติ ขององคก์ รระหวา่ งประเทศ ประเดน็ องค์การ หนว่ ยงาน ธนาคารเพอื่ สหประชาชาติ (UN) องคก์ ารเพ่ือความ การพัฒนาแห่ง 1. การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ รว่ มมือและการ เอเชยี (ADB) 2. ความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ √ 3. การสร้างองค์ความรู้ในการปอ้ งกัน √ พฒั นาทาง √ การทุจริต √ เศรษฐกจิ (OECD) √ 4. การปอ้ งกันการขดั กันแห่ง √ ผลประโยชน์ส่วนรวมกับผลประโยชน์ √ √ สว่ นตน √ √ 5. การสง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของ √ √ เจ้าหน้าท่รี ัฐตามประมวลจริยธรรม √ √ 6. การส่งเสรมิ ให้สาธารณะตระหนัก √ ถงึ อนั ตรายของการทจุ ริต √ 7. การพฒั นาการศึกษาวจิ ยั และ √ นโยบายปอ้ งกันการทจุ ริต 8. การพฒั นาใหค้ วามรบู้ ุคลากรท่ี √ ปฏบิ ัติหน้าท่ดี า้ นปอ้ งกันการทจุ รติ √ √ เปรยี บเทยี บโมเดล STRONG กับมาตรการป้องกนั การทุจรติ ขององค์กรต่างประเทศ จากการศึกษาสาระสาคัญของโมเดล STRONG และมาตรการป้องกันการทุจริตขององค์กรต่างประเทศ 3 องค์กร ได้แก่ องค์การสหประชาชาติ (UN) องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) พบว่า นิยามเชิงปฏิบัติการของโมเดล STRONG มีความ สอดคลอ้ งกับมาตรการปอ้ งกนั การทจุ ริตขององคก์ รตา่ งประเทศ ซึง่ แสดงไดด้ งั ตารางท่ี 2 106
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบมาตรการป้องกนั การทจุ ริตขององค์กรระหว่างประเทศกับโมเดล STRONG โมเดล STRONG ประเดน็ พอเพียง โปร่งใส ตระหนกั รู้ มงุ่ ไป ความรู้ เออ้ื เฟ้อื (S) (T) (R) ข้างหน้า (N) (G) (O) 1. การมีส่วนร่วมของภาคสว่ นต่าง ๆ √ √ √ √ √√ 2. ความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ √ 3. การสรา้ งองค์ความรใู้ นการปอ้ งกนั √ การทจุ ริต 4. การปอ้ งกนั การขดั กนั แห่ง ผลประโยชนส์ ่วนรวมกบั √ ผลประโยชนส์ ่วนตน 5. การสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม ของเจา้ หน้าที่รฐั ตามประมวล √ จรยิ ธรรม 6. การส่งเสริมให้สาธารณะตระหนัก √ ถึงอนั ตรายของการทุจริต 7. การพัฒนาการศกึ ษาวิจัยและ √ √√ นโยบายปอ้ งกันการทจุ รติ 8. การพัฒนาใหค้ วามรบู้ ุคลากร √ ทีป่ ฏบิ ตั หิ น้าท่ีดา้ นป้องกนั การทุจริต เม่ือพิจารณาการเปรียบเทียบมาตรการป้องกันการทุจริตขององค์กรระหว่างประเทศในการต่อต้าน การทุจริตท้ัง 3 องค์กรกับโมเดล STRONG พบว่า โมเดล STRONG มีนิยามเชิงปฏิบัติการท่ีสอดคล้องกับ มาตรการป้องกันการทุจริตขององค์กรระหว่างประเทศ ทั้งในประเด็นการส่งเสริมความโปร่งใสตรวจสอบได้ การสร้างองค์ความรู้ในการป้องกันการทุจริต การป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ การส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมของเจ้าหน้าทร่ี ัฐ การสง่ เสริมให้สาธารณะตระหนกั ถงึ อนั ตรายของการทุจริต การพัฒนาการศึกษาวิจัย และนโยบายปอ้ งกันการทจุ รติ และการพฒั นาใหค้ วามรบู้ คุ ลากรท่ีปฏิบตั ิหนา้ ทด่ี ้านปอ้ งกนั การทุจริต ซง่ึ ตัวอกั ษรตัว “T” และตวั “R” ในโมเดล STRONG สามารถสอดรับได้กบั มาตรการป้องกนั การทุจริตขององค์กร ระหว่างประเทศได้ถึง 2 ประเด็น กล่าวคือ “T” คือ ความโปร่งใส เป็นหลักการในการส่งเสริม ความ โปร่งใสตรวจสอบได้ และการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีรัฐ ในส่วนของตัวอักษร “R” คือ ความ ตระหนักรู้ เป็นหลักการในการส่งเสริมให้สาธารณะตระหนักถึงอันตรายของการทุจริตและพัฒนา การ ศึกษาวิจัยและนโยบายป้องกันการทุจริต และในส่วนของการมีส่วนร่วม (Participation) แม้จะไม่มีนิยามเชิง ปฏิบัติการของตัวอักษรในโมเดล STRONG ท่ีมีความสอดคล้องหรือมีความหมายท่ีตรงกับการส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการต่อต้านการทุจริต แต่เมื่อพิจารณาแผนภาพของโมเดล STRONG จะพบว่า การมี ส่วนร่วม (Participation) เป็นปัจจัยสาคัญในการเชื่อมโยงหลักการของโมเดล STRONG ท้ัง 6 ประการ กล่าวคือ การประสบความเสร็จในการป้องกันการทุจริตเชิงรุกด้วยการเสริมสร้างให้บุคคลและชุมชนมีจิตพอเพียงต่อต้าน ทุจริตด้วยโมเดล STRONG ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สาคัญของโมเดล STRONG ได้น้ัน เกิดจากการมีส่วนร่วมของทุก 107
ภาคส่วน ซ่ึงจะเห็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมได้จากกระบวนการดาเนินโครงการ “STRONG : จิตพอเพียงต้าน ทจุ รติ ” ท่มี กี ารถ่ายทอดความร้เู กยี่ วกบั โมเดล STRONG ไปสู่ชมุ ชนและการจัดตั้งชมรม STRONG เพอื่ ผลักดัน ให้มีการนาหลักการของโมเดล STRONG ไปส่กู ารปฏิบัติในการปอ้ งกนั การทจุ ริตได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม 3. สรปุ สานักงาน ป.ป.ช. ไดด้ าเนินโครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ต้งั แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 และในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ได้ขยายพ้นื ทีก่ ารดาเนินโครงการครอบคลุมทั้ง 76 จงั หวัด และ 1 เขตปกครอง ท้องถ่ินพิเศษ (กรุงเทพมหานคร) การดาเนินโครงการดังกล่าวได้นาโมเดล STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริตไป ขับเคล่ือนการป้องกันการทุจริตในพื้นท่ีได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการจัดตั้งชมรม STRONG ในทุกจังหวัด เพื่อให้ประชาชนในพื้นท่ีมีส่วนร่วมเป็นผู้จับตามองและแจ้งเบาะแสการทุจริต (Watch and Voice) โดยในชว่ ง 3 ปี ทผี่ า่ นมา ได้มกี ารพฒั นาต่อยอดโมเดล STRONG เพ่อื ให้สามารถนาไปใช้เป็นกลไกในการขับเคล่ือนการป้องกัน การทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยในปี พ.ศ. 2562 ได้เพ่ิมคาว่า “การมีส่วนร่วม” (Participation) ซ่ึงเป็นกลไก สาคัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การป้องกันการทจุ รติ ไดย้ ่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ให้การป้องกันและการต่อต้านการทจุ ริตประสบความสาเรจ็ อย่างสงู สดุ และมคี วามเป็นสัจธรรม นอกจากน้ี จากการศึกษามาตรการป้องกันการทุจริตขององค์กรระหว่างประเทศ 3 องค์กร ได้แก่ องคก์ รสหประชาชาติ (UN) องค์การเพ่ือความร่วมมือและการพฒั นาทางเศรษฐกจิ (OECD) และธนาคารเพอื่ การ พฒั นาแห่งเอเชีย ADB) พบวา่ มมี าตรการปอ้ งกันการทจุ รติ ที่องค์กรระหว่างประเทศใหค้ วามสาคัญ 8 ประการ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ (2) ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (3) การสร้างองค์ความรู้ในการ ป้องกันการทุจริต (4) การป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนรวมกับผลประโยชน์ส่วนตน (5) การส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐตามประมวลจริยธรรม (6) การส่งเสริมให้สาธารณะตระหนักถึงอันตราย ของการทุจริต (7) การพัฒนาการศึกษาวิจัยและนโยบายป้องกันการทุจริต และ (8) การพัฒนาให้คว ามรู้ บุคลากร ที่ปฏิบัติหน้าท่ีด้านป้องกันการทุจริต มีความสอดคล้องกับแนวทางการป้องกันการทุจริตและนิยาม เชิงปฏิบัติการของโมเดล STRONG โดยเฉพาะอย่างย่ิงหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนจะเป็นปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อนโมเดล STRONG ให้เป็น รูปธรรมได้ 108
สอ่ื ท่ใี ช้ประกอบชดุ วชิ า เร่อื ง การตา้ นทุจริตในสถานการณ์ Digital disruption (Anti-Corruption in Digital Disruption Situation) ที่ ชอื่ เรอื่ ง ประเภท เน้อื เร่อื ง 1 - 28 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วีดิทัศน์/วดิ ีโอ/ ความหมายและความสาคัญของ บทความ/Infographic Digital Disruption ท่ี ช่ือเรือ่ ง 1 การบรรยาย เร่อื ง “การต่อต้าน ประเภท ระยะเวลา QR code วีดิทศั น์ การทจุ รติ ในยคุ Digital 60.41 Disruption” นาที 2 DIGITAL DISRUPTION + วีดิทศั น์ 23.03 COVID DISRUPTION (เรยี นรู้ นาที เขา้ ใจสถานการณ์การ เปลยี่ นแปลงของโลกในปัจจบุ ัน) 3 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 วีดิทัศน์ 4.33 นาที ฉบับเขา้ ใจง่าย 4 สาระสาคัญ พ.ร.บ. คมุ้ ครอง วดี ิทศั น์ 1.58 นาที ขอ้ มลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 109
5 Disruptive technology วีดิทัศน์ 1.35 นาที เทคโนโลยีเปลีย่ นโลก 6 การบรรยาย เร่ือง Disruption วดี ิทศั น์ 10.19 เทคโนโลยีเปล่ยี นโลก นาที 7 ทางรอดในโลกแหง่ Disruption วดี ิทศั น์ 7.23 นาที 8 การบรรยาย เรอ่ื ง กา้ วต่อไป วดี ิทัศน์ 60.18 Digital Disruption นาที 9 The Stages of Business วดี ิทศั น์ 6.17 นาที Disruption’ Our new video on digital transformation 10 ข้อมลู 7 ประโยชนท์ ่ที ัง้ ภาครัฐ Infographic - และประชาชนจะได้รับ เม่ือมี Infographic - พ.ร.บ.รัฐบาลดจิ ทิ ัล (ข้อมลู ชุดเดียวกับ A3.9) 11 ข้อมูล สาระสาคญั ของรา่ ง พระราชบัญญัติ การพิสจู น์และ ยืนยันตัวตนทางดจิ ทิ ัล พ.ศ. .... หรอื พ.ร.บ.ดิจทิ ลั ไอดี 110
12 พ.ร.บ.ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ วีดิทัศน์ 5.25 นาที พ.ศ.๒๕๔๐ (Infographic New link) 13 เวบ็ ไซต์ data.go.th ศนู ย์กลาง วดี ิทศั น์ 1.57 นาที ขอ้ มลู เปดิ ภาครัฐ 14 Digital Disruption: What is วดี ิทัศน์ 1.26 นาที it? 15 Digital Disruption: เรากาลงั ถกู บทความ - เทคโนโลยีทาลายลา้ ง จริงหรอื ไม่ ? 16 การบรรยาย เรอื่ ง การ วดี ิทัศน์ 115.17 เปลีย่ นแปลงในยคุ Disruptive นาที Technology 17 ตอนนี้เรา Disruption กันไปถงึ วดี ิทศั น์ 5.39 นาที ไหนแลว้ 18 การบรรยาย เร่อื ง เด็กไทยใน วดี ิทัศน์ 20.15 โลก disruption อย่างไร ? นาที ตอ้ งเรยี นอะไร ทางานอะไร โลกถึงยังตอ้ งการ ? 111
19 What is Digital Disruption? วดี ิทศั น์ 3.57 นาที 20 Digital Disruption คอื อะไร วีดิทศั น์ 4.04 นาที ทาไมเราต้องรู้จัก 21 บทความ Digital Disruption บทความ - การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัว - 22 บทความ Digital Disruption บทความ คอื อะไรทาไมต้องร้จู ัก 23 ข้อมลู พ.ร.บ.การบริหารงานและ บทความ - การให้บรกิ ารภาครฐั ผา่ นระบบ ดจิ ิทัล พ.ศ. 2562 22.49 นาที 24 การบรรยาย Big วีดิทศั น์ Change…Digital Disruption วีดิทศั น์ 11.02 ร้ทู นั Digital Disruption นาที เปลี่ยนเรว็ ธุรกิจพลกิ โต! 25 การบรรยาย Disruptive Technologies 112
26 การบรรยาย How Blockchain วีดิทัศน์ 33.32 Works? and 4 Development นาที Stages 27 การบรรยาย ชว่ งสุดทา้ ย 3 วีดิทศั น์ 9.10 นาที Types of Blockchain 28 การบรรยาย DIGITAL ID วีดิทศั น์ 12.05 โครงสร้างพ้ืนฐานสาคญั ของ นาที ประเทศ ที่ ช่ือเรื่อง ประเภท เนื้อเรอ่ื ง 1 - 16 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 วีดิทศั น์/วดิ ีโอ/ โอกาสและภยั ทีเ่ กิดจาก Digital บทความ/Infographic Disruption ที่ ชอื่ เรื่อง ประเภท ระยะเวลา QR code บทความ - 1 บทความ บล็อกเอย๋ บล็อกเชน จงมาจองเวรกับคอร์รปั ชนั ! 2 ปรับตัวเพอื่ อยูร่ อดในยคุ วดี ิทัศน์ 5.10 นาที ‘Digital Disruption’ คยุ กับ ' ทอ็ ป จิรายสุ ทรัพย์ศรโี สภา' 113
3 Infographic : ระวัง 3 ปลอม Infographic - มาหลอก Phishing 4 บทความ Digital Disruption: บทความ - เรากาลงั ถูกเทคโนโลยที าลายล้าง จริงหรอื ไม่ ? 5 เปน็ เปด็ ทแ่ี ข็งแรงเพือ่ อยู่รอด วีดิทัศน์ 4.12 นาที ในยคุ Digital Disruption | The MATTER 6 ใครบา้ งท่ีจะอยูร่ อด? ในยคุ วดี ิทัศน์ 3.53 นาที Disruption 2020 ตลาดแรงงานและการศกึ ษา 7 Infographic : รทู้ นั ไวรัส Infographic - วายรา้ ยล็อกไฟล์ Infographic - RANSOMWARE 8 Infographic : แจ้งเตือนภัย Phishing (ฟชิ ชิง) 114
9 Opportunity Culture: วดี ิทัศน์ 6.38 นาที Teaching, Leading, Learning 10 บทความ คอรร์ ัปชัน : เราต่าง บทความ - เปน็ เหยื่อของการโดนรงั แก 11 บทความ จะแกป้ ัญหาคอรร์ ัปชัน บทความ - ต้องเร่มิ ทค่ี วามไมเ่ ท่าเทียมใน สังคม 12 ส่ิงทผี่ ู้นายคุ ใหมต่ ้องมีในยุค วดี ิทศั น์ 3.57 นาที Digital Disruption 13 What is Digital Disruption? | วดี ิทัศน์ 7.45 นาที How to Avoid Operational วีดิทัศน์ Disruption in Digital 13.33 Transformation นาที 14 Digital Transformation ปรับตัวอย่างไรให้ทนั โลก หลังโควดิ -19 115
15 ก้าวตอ่ ไปของยคุ ดิจิทัลดิสรปั ชนั วดี ิทัศน์ 20.39 : ต้งั วงคยุ กบั สุทธิชัย นาที 16 Infographic : รู้ทันโจรดจิ ิทัล Infographic - อย่าทา 3 ส่งิ น้ี ปอ้ งกนั Ransomware ที่ ช่ือเร่ือง ประเภท เน้ือเรือ่ ง วดี ิทัศน์/วิดโี อ/ โอกาสในการลดการทจุ ริตใน 1 - 11 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 บทความ/Infographic สถานการณ์ Digital Disruption ระยะเวลา QR code ที่ ชือ่ เร่ือง ประเภท 1 บทความ Blockchain เพื่อความ บทความ - โปรง่ ใส: เราทาอะไรได้บ้าง 2 Big Data ในยุคดจิ ิทลั ได้อยา่ งไร Infographic - 3 ประโยชน์ทที่ ้งั ภาครฐั และ Infographic - ประชาชนจะไดร้ บั เมอ่ื มีพ.ร.บ. รัฐบาลดจิ ิทัล 4 Ep 2 – How Can Businesses วดี ิทศั น์ 2.10 นาที Stay Ahead of Digital Disruption Animation for the World Economic Forum 116
5 ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ บทความ - 6 บทความ Digital Disruption บทความ - และมาตรการรับมือดา้ น HR ของ - ภาครัฐ 7 Infographic : กรอบธรรมาภิบาล Infographic ขอ้ มลู ภาครฐั Data Governance 8 แผนพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั ของ Infographic - ประเทศไทย พ.ศ. 2563 - - 2565 9 การหนุนเทคโนโลยี เชือ่ มราชการ Infographic 4.0 เตม็ รปู แบบ 10 พ.ร.บ. รฐั บาลดิจทิ ลั มดี ีอะไร Infographic - 11 บทความ การบริหารความเส่ียง บทความ - อย่างมืออาชีพในยุค Digital Disruption 117
ที่ ชอ่ื เร่ือง ประเภท เน้ือเรื่อง 1-9 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 วีดิทัศน์/วิดโี อ/บทความ นวัตกรรมการต่อตา้ นการทุจริต ในสถานการณ์ Digital Disruption ท่ี ชอื่ เร่ือง ประเภท ระยะเวลา QR code 1 บทความ Integrity tech: Three บทความ - ways governments can use technology to disrupt corruption 2 บทความ 9 เทคโนโลยสี าคัญใน บทความ - การพฒั นารัฐบาลดิจิทัล 3 บทความ Digital ID กระบวนการ บทความ - ยืนยันตวั ตนทางดิจทิ ลั 4 นวัตกรรมในยคุ Digital วดี ิทศั น์ 5.16 นาที Disruption จะเปน็ อยา่ งไร ? 5 กลยุทธร์ บั มอื Digital บทความ - Disruption ฉบบั SME ปรับตัว 4.55 นาที ยงั ไง 6 Disruption เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก วีดิทศั น์ 118
7 บทความ Digital Economy บทความ - and Anti-Corruption: บทความ - New Digital Models บทความ - 8 บทความ Will Blockchain Disrupt Government Corruption? 9 บทความ Blockchain เปดิ พื้นที่ เสมือนจริงบนโลกแหง่ การ เชอ่ื มโยงข้อมลู ยุคดิจิทัล 119
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เรื่อง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี
-1- หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เร่ือง การพทิ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติทางธรณี
คานา การทุจริตในสังคมไทยช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมาน้ัน ส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาล ท้ังยังเป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมท่ีเป็นการทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อนได้ปรับเปล่ียน เป็นการทุจริตท่ีมีความซับซ้อนมากย่ิงขึ้น ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยการสร้าง ความต่นื ตวั และการเขา้ มามีส่วนร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ปรับความคิดสรา้ งความตระหนักรู้ใน ทุกภาคส่วนของสังคม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ได้กาหนดในหมวดที่ 5 หน้าที่ ของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งภาครฐั และเอกชนโดยจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกนั และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังกล่าวอย่างเข้มงวด” ทั้งวาระการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นปฏิรูปด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ได้กาหนดกลยุทธ์หลัก ในการเร่งสร้างการรับรู้และจิตสานึกของ ประชาชนในการต่อต้านการทจุ ริตประพฤติมิชอบ ส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันรังเกียจการทุจริตและมีส่วนรว่ ม ในการต่อต้านทุจริตด้วยการชี้เบาะแส การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง และเสริมสร้างบทบาท การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในยุทธศาสตร์ท่ี 6 การปรบั สมดลุ และพัฒนา การบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้ กาหนดให้การพฒั นาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั ในการปฏบิ ัตริ าชการ และการตอ่ ต้าน การทุจริตและประพฤติมิชอบ เป็นส่วนหนึ่งของกรอบแนวทางท่ีมีความสาคัญในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี อีกทงั้ ยุทธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นกระบวนการปรับสภาพทาง สังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” และบูรณาการต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีสานักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการดาเนินการเพื่อให้เจตนารมณ์ที่กาหนดไว้ดังกล่าวปรากฏข้ึนมาสังคมไทย ผ่านกลไกทาง การศึกษาซึ่งเป็นอีกกลไกหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนคิดของคนผ่านการ เรียนรู้จากชุดหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน หรือเรียกว่าหลักสูตร “ต้านทุจริตศึกษา” ท่ีมีเนื้อหาสอดคล้อง และมีประเด็นที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ โลกยุคดิจิทัล หรือการใช้ทรัพยากรธรณี และทรัพยากรน้า ในลักษณะที่เป็นการละเมิด (Abuse) ผลประโยชน์ต่อสาธารณะเพียงเพ่ือเพิ่มประโยชน์ให้กับบุคคลหรือกลุ่มคน เพยี งบางกลุ่มเทา่ นั้น หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา ประเดน็ “ทรพั ยากรธรณ”ี เปน็ ประเดน็ หนง่ึ ทีส่ านักงาน ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ เป็นอย่างมาก เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศ มีส่วนสาคัญต่อการสร้างความเจริญ ก้าวหนา้ ใหก้ บั ประเทศผ่านการใชป้ ระโยชน์จากส่ิงท่ีอยู่ในธรณี ไมว่ ่าจะเป็น ดิน หิน แร่ โดยดดั แปลงเป็นเคร่ืองมือ เครอ่ื งใช้ เป็นอปุ กรณใ์ นการประกอบการงานของมนุษย์ ใชเ้ ป็นส่วนประกอบของสิง่ ประดษิ ฐ์ตา่ ง ๆ หรอื แมก้ ระทั้ง การใช้ในกิจการด้านอุตสาหกรรม ซ่ึงจะเห็นได้ว่าทรัพยากรธรณีน้ันเป็นส่ิงสาคัญที่ช่วยในการสร้างโอกาสให้แก่ สังคมมนุษย์ได้อยู่ดี กินดี มีฐานะม่ันคง ทาให้เศรษฐกิจและสังคมของประเทศสามารถพัฒนาไปข้างหน้าได้ดีย่งิ ขน้ึ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรที่ส้ินเปลืองถูกใช้แล้วหมดไป บริเวณท่ีมีการดาเนินการใช้ ประโยชน์ทางธรณีก็มักจะเสื่อมคุณค่า ดังนั้น การควบคุม การเข้าใช้ประโยชน์ในทรัพยากรธรณีจึงเป็นประเด็น สาคัญท่ีจะต้องเล็งเห็นถึงการใช้ประโยชน์ในการตอบสนองต่อประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล ปจั จบุ ันจะเห็นได้วา่ แนวโน้มการใชท้ รพั ยากรธรณนี ัน้ ประโยชนท์ ี่มตี ่อสาธารณะควรได้รับนัน้ น้อยกวา่ ประโยชน์ที่ เอกชนได้รับ อีกท้ังการเข้าใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรณียังถูกเข้าถึงด้วยวิธีการท่ีมีความเส่ียงต่อการทุจริต เช่น
การบิดเบือนประโยชน์ต่อสาธารณะที่ได้รับให้ดูสูงกว่าประโยชน์ท่ีเอกชนได้รับ แต่ความเป็นจริงเมื่อมีการสารวจ การใช้ทรัพยากรธรณีแล้ว เอกชนกลับได้ประโยชน์ทางทรัพยากรธรณีมากกว่าที่มีการคานวณไว้ ซึ่งประเด็น ตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงประเดน็ ย่อยของความเสี่ยงต่อการทุจริตในการเข้าใช้ทรพั ยากรธรณีทีค่ วรตอ้ ง สร้างการตระหนักรู้ เพื่อให้เกิดความหวงแหน นามาสู่การร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรณีเพ่ือให้ประเทศได้รับ ประโยชน์มากท่สี ดุ ดังนั้น การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี โดยเฉพาะอย่างย่ิงการป้องกันการทุจริตที่เก่ียวข้องกับ ประเด็นดังกล่าว เป็นส่ิงท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความสาคัญ จึงได้สร้างหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริต หรือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เร่ือง การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณีท่ีมีเน้ือหาสอดคล้องและ มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คือ การใช้ทรัพยากรธรณีในลักษณะท่ีเป็นการละเมิด (Abuse) ต่อ ผลประโยชน์สาธารณะโดยประยุกต์ใช้ STRONG Model เพื่อให้ผู้เรียนหรือผู้เข้าอบรมได้มีความตระหนักรู้และ ร่วมพิทักษ์ทรัพยากรธรณีตามบทบาทหน้าท่ีของตนเกิดความรู้สึกหวงแหน และปกป้องอนุรักษ์ทรัพยากรธรณี รวมถึงมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรณีไปในทางท่ีผิด หรือแสวงหาประโยชน์จากการใช้ ทรพั ยากรธรณเี พื่อประโยชน์สว่ นตน สานกั ตา้ นทุจรติ ศึกษา สานกั งาน ป.ป.ช.
สารบัญ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ธรณวี ิทยาน่ารู้ 4 1.1 ธรณีวิทยาท่ัวไป และกาเนิดทรพั ยากรธรณี 4 (หนิ /ดนิ /แร/่ ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดกึ ดาบรรพ์) 17 1.2 แผนทธี่ รณวี ทิ ยาและศกั ยภาพแหลง่ ทรัพยากรธรณี 24 1.3 แหล่งทรพั ยากรธรณี และศกั ยภาพแหลง่ หนิ /แร่ 1.4 แผนท่ีสารสนเทศทรัพยากรธรณี (GIS) : 31 48 เหมืองแร่ในอดตี ,เหมืองแร่ในปจั จบุ ันและการพัฒนาในอนาคต 1.5 ธรณีพิบตั ิภัยกบั ชีวติ ประจาวนั หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 คุณคา่ ของทรัพยากรธรณี กบั โอกาสในการพัฒนา 49 2.1 ทรพั ยากรธรณี การสารวจ และการใช้ประโยชน์ 49 2.2 ทรัพยากรธรณกี บั การพัฒนาประเทศ 57 2.3 ความสาคัญของทรัพยากรธรณี ตอ่ ประเทศด้านต่าง ๆ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การเมือง 61 2.4 การมสี ว่ นรว่ มอนรุ กั ษ์ และการฟน้ื ฟูเก่ียวกับทรัพยากรธรณี 71 2.5 กรณศี ึกษาการเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรธรณี (หินอ่อน/หินแกรนติ /อัญมณี) 85 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ความเสี่ยงในการทุจริตเกย่ี วกบั ทรพั ยากรธรณี 89 3.1 กฎหมายต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับทรพั ยากรธรณี 89 3.2 รูปแบบการทจุ รติ และกรณศี กึ ษาการทจุ รติ (การทาเหมอื งนอกเขตพื้นทีอ่ นุญาต/ 102 การประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดลอ้ ม EHIA) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 ปกปอ้ งทรัพยากรทางธรณี 110 4.1 การสรา้ งจติ สานึกสาธารณะ เพื่อแยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม 110 4.2 การมีส่วนร่วมในการปกปอ้ งทรัพยากรธรณี 114 4.3 การเฝา้ ระวงั แจง้ เบาะแส การทุจริตทรัพยากรธรณี 115 4.4 กรณศี กึ ษาการมสี ่วนรว่ มในการปกปอ้ งทรัพยากรธรรมชาติ 116 สื่อท่ใี ช้ประกอบชุดวชิ า 120
-4- 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรณวี ิทยานา่ รู้ 1.1 ธรณีวทิ ยาทั่วไป และกาเนดิ ทรัพยากรธรณี (หิน/ดิน/แร/่ ธาตหุ ายาก/พลงั งาน/ซากดึกดาบรรพ)์ ธรณีวิทยา เป็นแขนงหน่ึงของวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่ กล่าวถึงแนวความคิดพื้นฐานและหลัก ของวิทยาศาสตร์ทางกายภาพในระดับกว้างมากกว่าที่เจาะจงไปในรายละเอียดเหมือนวิชาวิทยาศาสตร์สาขาอื่น โดยมีวัตถุประสงค์ของวิชา เพ่ือเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ของโลก ส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบตัว รวมไปถึงกระบวนการ ตา่ ง ๆ และอิทธิพลของธรรมชาติท่ีมีตอ่ ความเป็นอยขู่ องมนษุ ย์ 1.1.1 สว่ นประกอบของเปลือกโลกและอายุทางธรณีวทิ ยา 1.1.1.1 สว่ นประกอบของเปลือกโลก โลกของเรามีสัณฐานเกือบเป็นวงกลม มีเส้นผ่านศูนย์กลางแนวนอนหรือเส้นศูนย์สูตรยาว 12,755 กิโลเมตร จากการศกึ ษาคลื่นแผน่ ดินไหวทาให้นักวิทยาศาสตร์แบง่ โลกออกเป็นช้ันตา่ ง ๆ จากผวิ โลกถึงชั้นในสุดได้ 3 ชัน้ ใหญ่ ๆ (รูปที่ 1.1.1-1) ดังน้ี 1) ชั้นเปลือกโลก (Crust) เป็นช้ันนอกสุดมีความหนาระหวา่ ง 5-40 กิโลเมตร จากผิวโลก มีสภาพเปน็ ของแข็งท้ังหมด สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 2 ส่วน คือ ช้ันเปลือกโลกพื้นทวีป (Continental crust) มีความ หนาแนน่ ตา่ ประกอบดว้ ยแร่มีธาตุ ซิลิกอน อะลูมเิ นยี ม โปรแตสเซยี ม และโซเดียมเปน็ ส่วนใหญ่ ทาใหม้ ชี ่อื เรียกว่า ชั้นไซอัล (sial) และช้ันเปลือกโลกมหาสมุทร (Oceanic crust) มีความหนาแน่นมากกว่าส่วนบน ประกอบด้วยแร่ ท่ีมีธาตุ ซลิ ิกอน แมกนีเซยี ม เหลก็ และแคลเซยี ม เปน็ สว่ นใหญเ่ รียกอีกชือ่ หนง่ึ วา่ ชัน้ ไซมา (sima) 2) ช้นั กลางโลกหรอื เนอื้ โลก (Mantle) เป็นชน้ั ทอ่ี ยูร่ ะหวา่ งเปลอื กโลกกบั แก่นโลกมีความหนาประมาณ 2,885 กิโลเมตร มีส่วนประกอบของแมกนีเซียม เหล็กและซิลิกอนเป็นส่วนใหญ่โดยมีธาตุโลหะมากกว่าชั้นเปลือก โลก ชัน้ กลางโลกเกอื บท้งั หมดเปน็ ของแขง็ ยกเวน้ ท่ีความลกึ ประมาณ 70-260 กโิ ลเมตร มกี ารหลอมละลายของ หนิ บางสว่ น เรียกวา่ ช้นั ฐานธรณภี าค (Asthenosphere) 3) ช้ันแก่นโลก (Core) เป็นส่วนชั้นในสุดของโลกมีความหนาแน่นมาก มีรัศมียาวประมาณ 3,486 กิโลเมตร ประกอบด้วยละผสมระหว่างเหล็กและนิเกิล แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือแก่นโลกช้ันนอก (outer core) มีลักษณะคล้ายของหนืด ยืดหยุ่นแบบพลาสติก แก่นโลกชั้นใน (inter core) เป็นของแข็ง มีความหนาแน่นสูง ทรงกลมขนาด รัศมี 1,216 กิโลเมตร เช่ือว่า ประกอบด้วย เหล็กและนิกเกิล เ ป็ น ห ลั ก มี ความหนาแน่น ม า ก ก ว่ า หิ น ท่ัวไปถึง 5 เท่า (ค ว า ม ถ่ ว ง จ า เ พ า ะ มากกว่า 17) และมีความร้อน สูงถึง 4,000 องศาเซลเซียส รปู ที่ 1.1.1-1 โครงสรา้ งของเปลือกโลก (กรมทรัพยากรธรณี, 2559)
5 1.1.1.2 อายทุ างธรณีวิทยา (Geologic Time) อายุทางธรณีวิทยามีความสาคัญในการช่วยลาดับความสาคัญเหตุการณ์ทางธรรณีวิทยา และช่วยเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกแสดงลาดับอายุทางธรณีวิทยา (รูปที่ 1.1.1-2) โดยอาศัยอายุสัมพันธ์ จากหลัก ของความเป็นเอกภาพ หลักทับซ้อน และหลักวิวัฒนาการของซากบรรพชีวิน หน่วยเวลาที่ใหญ่ที่สุดคือ บรมยุค (Eon), มหายคุ (Era) แลว้ แบ่งยอ่ ยเปน็ ยุค (Period) และสมยั (Epoch) รปู ที่ 1.1.1-2 ตารางอายุทางธรณวี ิทยา (ท่ีมา: เพียงตา สาตรักษ์, 2552) 1.1.2 วฏั จักรของหิน วัฏจักรของหิน (Rock cycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของหินทั้ง 3 ชนิด จากหินชนิดหน่ึงไปเป็นอีก ชนิดหน่ึงหรืออาจเปลี่ยนกลับไปเป็นหินชนิดเดิมอีกก็ได้ (รูปท่ี 1.1.2-1) กล่าวคือ เม่ือ หินหนืด เย็นตัวลงจะตกผลึก ได้เป็น หินอัคนี เมื่อหินอัคนีผ่านกระบวนการผุพังอยู่กับท่ีและการกร่อนจนกลายเป็นตะกอนมีกระแสน้า ลม ธารน้าแข็ง หรือคลื่นในทะเล พัดพาไปสะสมตัวภายหลังมีสารละลายเข้าไปประสานตะกอนเกิดเป็นหินตะกอน เมื่อหินตะกอนได้รับความรอ้ นและแรงกดอัดสูงจะเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหนิ แปร และหนิ แปรเมอ่ื ได้รับความ ร้อนสูงมากจนหลอมละลาย ก็จะกลายสภาพเป็นหินหนืด ซ่ึงเมื่อเย็นตัวลงก็จะตกผลึกเป็นหินอัคนีอีกคร้ังหน่ึง วนเวียนเช่นน้ีเรื่อยไปเป็นวัฏจักรของหิน กระบวนการเหล่าน้ีอาจข้ามข้ันตอนดังกล่าวได้ เช่น จากหินอัคนีไปเป็น หินแปร หรือจากหินแปรไปเป็นหนิ ตะกอน
6 รปู ที่ 1.1.2-1 วฎั จกั รของหิน (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) 1.1.3 ลกั ษณะเนอ้ื ของหิน หิน (Rock) เป็นวัตถุท่ีมีมากท่ีสุดในโลกเม่ือเปรียบเทียบกับวัตถุอ่ืน ๆ หินมีความแข็งแรงและมีสีต่าง ๆ หินส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแร่ต้ังแต่ชนิดหน่ึงข้ึนไป (รูปที่ 1.1.3-1) หรือบางอย่างอาจประกอบด้วยแร่มากกว่า สิบชนิด หรือประกอบด้วยแร่เพียงชนิดเดียว เช่น หินปูนบริสุทธ์ิ ซ่ึงประกอบด้วยแร่แคลไซต์เพียงอย่างเดียว เรามกั พบเห็นหินอยู่ทวั่ ไป โดยอาจอยู่ในลักษณะของเศษหินตามทางหรือกรวดตามธารน้า ลาคลอง หนา้ ผา และภูเขา ท่ีมีหินแข็งโผล่อย่เู หนอื ผิวดิน หินส่วนใหญ่ถูกปิดทบั อยู่ใต้ผิวพื้นดิน ในทางธรณีวิทยานั้นได้แบง่ หินตามการกาเนิด ออกเปน็ 3 กลุม่ ใหญ่ ได้แก่ หนิ อัคนี หินตะกอนหรือหินช้ัน และหินแปร รูปที่ 1.1.3-1 กระบวนแทรกดันของหินหนืด แล้วเย็นตัวลงได้เป็นหินอัคนี เม่ือเกิดกระบวนการผุพัง ทาลายพาไปทับถมได้หินตะกอนแล้วเมื่อผ่านกระบวนการของความร้อนจนกลายเป็นหินแปร (กรมทรัพยากรธรณี, 2559)
7 หินอัคนี หินอัคนี (Igneous Rock) เกิดจากหินหนืดท่ีอยู่ใต้เปลือกโลกแทรกดันขึ้นมาแล้ว ตกผลึกเป็นแร่ต่าง และเยน็ ตัวลง จับตวั แนน่ เปน็ หนิ ท่ผี วิ โลก หินหนดื และลาวาเป็นส่วนผสมของธาตตุ า่ ง ๆ คือ Silica, Iron, sodium, potassium, etc. เม่ือหินหนืดและลาวาเย็นตัวลงแร่จะตกผลึกและมีแร่ตกผลึกเป็นลาดับ โดยมีกลุ่มแร่ท่ีตกผลึก ขณะอุณหภูมิสูง และอีกกลุ่มเกิดขณะอุณหภูมิต่า ขณะที่กระบวนการดาเนินต่อเน่ือง หินหนืดจะมีแร่ชนิดต่าง ๆ ตัวหินหนืดเองจะมีแก๊สและไอน้า แก๊ส ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงถูกขับออกสู่บรรยากาศ หินอคั นีสามารถแบง่ ได้ 2 ชนดิ ใหญ่ ๆ คือ 1) หนิ อคั นแี ทรกซอน (Intrusive Igneous Rock) หนิ อคั นีแทรกซอนเกิดจากการเย็นตวั ลงอยา่ งช้า ๆ ของแมกมาซ่ึงอย่ลู ึกลงไปใต้เปลือกโลก เมื่อแมกมาดันตัว ขึ้นมาสู่เปลือกโลกระดับหน่ึง จะมีการเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ แร่มีระยะเวลาตกผลึกมาก ผลึกแร่จึงมีขนาดใหญ่ และจะมีลักษณะเปน็ เหลี่ยมหนา้ ผลึก เกาะประสานตัวกันอยา่ งแนน่ สนิท โดยมขี นาดผลกึ แร่ใหญ่กว่า 1 มลิ ลิเมตร ตัวอยา่ งหนิ อคั นแี ทรกซอน (รูปท่ี 1.1.3-2) ไดแ้ ก่ • หินแกรนิต (Granite) มีสีจาง ขนาดผลึกใหญ่ มีส่วนประกอบเปน็ แร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปารแ์ ละ แร่ไมกา หินประเภทนี้ใช้ในการทาหินประดับ หินครก หินก่อสร้างและเป็นหินที่พบแหล่งแร่ อยใู่ กลเ้ คียง อาทิ แรด่ ีบุก แร่ตะกั่ว สงั กะสี แรห่ ายาก และแร่เฟลด์สปาร์ • หินไดออไรด์ (Diorite) มีสีเข้มกว่าหินแกรนิต สีเขียวประจุดขาว หรือสีดาประจุดขาว ขนาด ผลึกใหญ่ ประกอบด้วยแร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์ แร่ไมกา และแร่ฮอร์นเบลนด์ หินประเภทนี้ ใช้ทาหินประดับที่มีราคาค่อนข้างสูง หินครก และเป็นหินท่ีพบแหล่งแร่อยู่ใกล้เคียง อาทิ แรท่ องคา แรเ่ งิน และแรโ่ ลหะพ้ืนฐาน • หินแกบโบร (Gabbro) มีสีดาเข้ม ขนาดผลึกใหญ่ ประกอบด้วยแร่ไพรอกซีน แร่เฟลด์สปาร์ แร่ฮอร์นเบลนด์ และแร่โอลีวีน หินประเภทน้ีใชท้ าหินประดับที่มีราคาคอ่ นข้างสูงและเป็นหินที่ พบแหลง่ แรท่ ีเ่ กดิ ในอณุ หภมู ิสูงเชน่ แรโ่ ครไมตแ์ ละแรน่ กิ เกิลอยู่ใกล้เคียงเชน่ กนั 2) หินอคั นพี ุ หรอื หนิ ภเู ขาไฟ (Extrusive Igneous Rock or Volcanic Rock) หนิ อคั นพี ุ หรอื หินภูเขาไฟเกิดจากการเยน็ ตวั ลงอย่างรวดเร็วของแมกมาที่มาปะทุออกมานอกผิวโลกเป็น ลาวา (Lava) เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่าภูเขาไฟระเบิด ถ้าลาวาเหลวมาก (มีความหนืดต่า) ลาวาจะไหลเอ่อนอง ทบั ถมตัวกัน เมอ่ื เยน็ ตวั แขง็ จะมีลักษณะเปน็ ชั้น ๆ ได้ การทหี่ ินหนืดปะทุออกมาภายนอกนัน้ แรจ่ ะเยน็ ตวั ตกผลึก และแข็งตวั เรว็ มาก ผลกึ แรจ่ ะมขี นาดเล็กมากจนมองดว้ ยตาเปล่าไม่เห็น เป็นรปู ผลกึ และหากลาวามกี ารเย็นตัวลง เร็วอย่างฉับพลันด้วยแล้วและไม่มีเวลามากพอให้เกิดการผลึกของแร่ ผลึกอาจไม่เกิดขึ้นเลย เช่น หินออบซิเดียน (หินแก้วภูเขาไฟ) อย่างไรก็ตาม ลาวาท่ีไหลทะลักข้ึนสู่ผิวโลกมักจะมีก๊าซและสารระเหิดอยู่ด้วย เม่ือลาวาถูกพ่น ออกมาเย็นตัวนอกผิวโลกส่วนที่เป็นก๊าซจะขยายตัวกระจายไปในอวกาศ เมื่อลาวาเย็นตัวแข็งก็จะเกิดรูพรุนอยู่ ทั่วไปในเนื้อหิน เช่น ในหินพัมมิช (Pumice) และหินบะซอลต์ประเภทมีรูพรุน (Vesicular หรือ Scoria Basalt) ตวั อย่างหนิ อคั นีพุ (รูปท่ี 1.1.3-2) ไดแ้ ก่ • หินไรโอไลต์ (Rhyolte) มีสีขาว ขาวแดงหรือแดงชมพู มักพบผลึกดอก มีปริมาณธาตุซิลิกา คอ่ นขา้ งสงู แรป่ ระกอบหินคล้ายแกรนติ หินประเภทนี้ถา้ เปน็ หินผมุ ักมักใชเ้ ปน็ ดินขาวและวัสดุ ปรับปรุงดิน
8 • หินแอนดีไซต์ (Andesite) มีสีเขียว สีเทาเขียว มีปริมาณธาตุซิลิกาปานกลาง แร่ประกอบหิน คล้ายหินไดโอไรต์ หินประเภทน้ีใช้เป็นหินประดับ หินก่อสร้างและมีความสัมพันธ์กับแหล่งแร่ โลหะมคี ่า • หินบะซอลต์ (Basalt) มีสีเข้ม สีดา มปี ริมาณธาตซุ ิลิกาตา่ แต่ปรมิ าณธาตุแมกนีเซียมและเหล็กสูง มกั พบรูพรุน แร่ประกอบหนิ คลา้ ยหินแกบโบร หินประเภทนมี้ กั ใช้เป็นหินก่อสร้าง วสั ดปุ รับปรงุ คุณภาพดนิ และมีความสมั พันธ์กบั พลอยและแรอ่ ญั มณีอ่นื ๆ อกี หลายชนดิ รูปที่ 1.1.3-2 ตัวอยา่ งหนิ อัคนี (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) หนิ ตะกอน หินตะกอน (Sedimentary Rock) เป็นหินท่ีเกิดจากการสะสมและตกตะกอนทับถมของเศษหิน ดิน ทราย ทแ่ี ตกหลุดหรือถูกชะละลายออกมาจากหินเดิมโดยตวั การธรรมชาติ เชน่ น้า ลม ธารนา้ แข็ง นา้ ทะเล พัดพา ตะกอนไปทับถมในแอ่งสะสมตัว หลังจากน้ันได้เกิดกระบวนการการเปล่ียนแปลงทางกายภาพและทางเคมี ในตะกอน ทาให้ตะกอนกลายเป็นหิน ภายหลังการสะสมตะกอน กระบวนการนี้อาจเกิดที่ผิวโลกหรือใกล้ผิวโลก ก็ได้ กระบวนการน้ีรวมถึงการอัด ซึ่งตะกอนขนาดเล็กถูกบีบอัดดีกว่าตะกอนขนาดใหญ่ การเช่ือมประสาน เป็นการตกผลกึ ของแร่รอบเมด็ ตะกอน ซ่งึ มกั เปน็ แรค่ วอตซห์ รอื แคลไซต์ การเกดิ ผลกึ ใหมด่ ว้ ย เชน่ การแทนที่ของ แมกนีเซียมในหินปูน ทาให้เกิดหินโดโลไมต์ หินช้ันสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ หินตะกอนเนื้อประสม และหินตะกอนเนอื้ ประสาน
9 1) หินตะกอนเนอื้ ประสม (Clastic Sedimentary Rock) หนิ ตะกอนเน้ือประสมเป็นหินชัน้ ทป่ี ระกอบดว้ ยเนื้อตะกอน ประเภทกรวด ทราย เศษหิน และดิน ที่มกี าร เช่อื มประสานเปน็ หนิ หนิ ตะกอนเน้อื ประสมสามารถจาแนกยอ่ ยไดโ้ ดยใช้ขนาดของเมด็ ตะกอน เช่น • หินกรวดมน (conglomerate) ประกอบด้วยเศษหินหรือกรวดมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 2 มิลลิเมตร ปะปนอยู่กับเน้ือพ้ืนท่ีมีขนาดทรายหรือทรายแป้ง มีวัตถุประสานจาพวกแคลเซียม คารบ์ อเนต เหล็กออกไซด์ ซลิ กิ า ทาใหแ้ ขง็ ตวั เป็นหนิ • หินทราย (sandstone) ประกอบด้วยตะกอนที่มีขนาดเม็ดตะกอนระหว่าง 1/16-2 มิลลิเมตร มีวัตถุประสานที่ทาใหแ้ ข็งตัวจาพวกแคลเซียมคารบ์ อเนตเหล็กออกไซด์ ซิลิกา เป็นต้น • หินทรายแป้ง (siltstone) หินโคลน (mudstone) และหินดินดาน (shale) ประกอบด้วย ตะกอนที่มีขนาดน้อยกว่า 1/16 มิลลิเมตร มีวัตถุประสานเช่นเดียวกับหินทราย และหินกรวด มน 2) หนิ ตะกอนเน้ือประสาน (Nonclastic Sedimentary Rock) หินตะกอนเน้ือประสมเป็นหินที่เกิดจากการตกผลึกทางเคมี หรือจากสิ่งมีชีวิต มีเน้ือประสานกันแน่นเป็น รูปผลึก สามารถจาแนกย่อยได้โดยใช้ส่วนประกอบทางเคมี ซ่ึงมักพบเพียง 1-2 แร่ ตัวอย่างของหินประเภทนี้ รูปที่ 1.1.3-3 คอื • หินปูน (Limestone) ทาปฏกิ ิริยากับกรดเกลือ ประกอบด้วย แรแ่ คลไซตแ์ ละ/หรือแร่โดโลไมต์ โดยอาจพบแร่ซิลิกาและแร่ดินเป็นองค์ประกอบบ้าง หินประเภทน้ีเป็นหินหลักในอุตสาหกรรม กอ่ สร้าง หนิ ประดับ และแรเ่ พอ่ื การเกษตรและประมง • หินเชิรต์ (Chert) ประกอบดว้ ยแรซ่ ลิ กิ า สาหรับหินทีม่ ีส่วนประกอบคลา้ ยกนั และมสี ดี า เรียกว่า หินฟลินส์ (Flint) หินประเภทน้ีมีความแข็งและเหนียวมาก จึงใช้ทาอาวุธหรือเคร่ืองมือล่าสัตว์ ในอดตี • เกลือหิน (Rock salt) ประกอบด้วยแร่เฮไลต์และซิลไวต์ หินประเภทน้ีใช้ทาเกลือสินเธาว์และ ปุย๋ โพแทซ
10 รูปท่ี 1.1.3-3 ตวั อย่างหนิ ตะกอน (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) หนิ แปร หินแปร (Metamorphic Rock) เป็นหินที่เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซึ่งอาจเป็นได้ท้ังหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ภายใต้อิทธิพลของความร้อน หรือความดัน หรือท้ังสองอย่างในสภาพที่ยังเป็นของแข็ง หนิ แปรอาจแสดงการเรียงตวั ของแรต่ ามแนวแรงหรือไม่มกี ็ได้อย่างไรก็ตาม หินแปรประกอบด้วยแรใ่ หม่ซ่งึ เกิดจาก กระบวนการแปรสภาพหรือการเปลี่ยนรูปทรงของแร่อยู่เสมอ ซ่ึงแร่บางชนิดสามารถใช้เป็นตัวบ่งบอกถึงอุณหภูมิ และความร้อนระหว่างที่เกิดการแปรสภาพได้ หินแปรอาจมีส่วนประกอบเหมือนหรือใกล้เคียงกับหินเดิมหรือ ต่างกนั กไ็ ด้ หนิ แปรสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1) หนิ ท่ีเกดิ จากการแปรสภาพบรเิ วณไพศาล (Regional metamorphism) หินแปรทเี่ กิดจากแปรสภาพบริเวณไพศาลมักพบเป็นบริเวณกว้าง โดยถกู อิทธิพลของความร้อนและความดัน ทาให้เกิดแร่ใหม่หรือผลึกใหม่เกิดข้ึน หินมีการจัดเรียงตัวของแร่ใหม่ และแสดงริ้วขนาน (Foliation) อนั เน่ืองมาจากแรเ่ ดมิ ถกู บีบอดั จนเรยี งตวั เปน็ แนวหรือแถบขนานกนั • หินชนวน หรือหินกาบ (Slate) เปน็ หนิ แปรเกรดตา่ ท่ีแปรสภาพจากหนิ ดินดานหรือหนิ เถ้าภูเขาไฟ มีเน้อื ละเอียดมากแบบหินชนวน (slaty texture) • หนิ ฟลิ ไลต์ (Phyllite) เป็นหินแปรทม่ี สี ่วนประกอบเช่นเดียวกบั หนิ ชนวน แตม่ ีขนาดแร่ใหญก่ วา่ • หนิ ชีสต์ (Schist) ประกอบดว้ ยแร่ทเ่ี ปน็ แผน่ ๆเหน็ ไดช้ ัดเจน ไดแ้ ก่ แร่ไมกา แร่ทลั ค์ แร่คลอไรต์ และแร่ที่มลี กั ษณะเป็นใยปนอยทู่ วั่ ไป • หินแอมฟิโบไลต์ (Amphibolite) เป็นหินแปรท่ีประกอบด้วยแร่ฮอร์นเบลนด์และเฟลด์สปาร์ เป็นหลัก มีการเรียงตัว เน่ืองจากแร่ฮอร์นเบลนด์ มักมีสีเขียว สีเทาหรือสีดา หินประเภทน้ี บางครงั้ ใชเ้ ป็นหินประดบั • หนิ ไนส์ (Gneiss) เปน็ หนิ แปรเน้ือหยาบ แปรสภาพมาจากหินแกรนิต หินแกบโบร หนิ ไดโอไรต์ หรอื หินทราย หนิ ท่ีเกิดจากการแปรสภาพสมั ผัส เป็นการแปรสภาพโดยความร้อนและปฏิกิริยาทางเคมีของสารละลายที่ ข้ึนมากับหินหนืดมาสัมผัสกับหินท้องท่ี โดยไม่มีอิทธิพลของความดันมากนัก ปฏิกิริยาทางเคมีอาจทาให้ได้แร่ใหม่ บางส่วนหรอื เกิดแร่ใหม่แทนท่แี ร่ในหินเดมิ (รูปท่ี 1.1.3-4) ตัวอย่างหินแปรได้แก่
11 • หินควอตไซต์ (Quartzite) เกิดจากการแปรสภาพมาจากหินทรายท่ีมีแร่ควอตซ์เป็น ส่วนประกอบหลัก หินควอตไซต์บริสุทธ์มีสีขาว เหล็กหรือมลทินอื่น ๆ มักทาให้มีสีเข้มหรือสี น้าตาล แร่ควอตซใ์ นเนื้อหนิ มกั มกี ารเช่ือมประสานกนั หนิ ประเภทน้ีมีความแขง็ และเหนียว • หินอ่อน (Marble) เกิดจากการแปรสภาพมาจากของหินอ่อนและหินโดโลสโตน มีขนาดเม็ด ผลึกเล็กถึงหยาบ โดยมากหินอ่อนมีสีขาว สีอ่ืนก็มี เช่น ชมพู เหลือง เขียว หินประเภทนี้ส่วน ใหญท่ าปฏกิ ริ ิยากับกรดเกลอื • หินฮอรน์ เฟลส์ (Hornfels) เกดิ จากการแปรสภาพจากหินดนิ ดาน มขี นาดเม็ดตะกอนละเอยี ดมาก สีเทาและดา รอยแตกโคง้ และคมมาก มีความแขง็ แรงและเหนยี วมาก จงึ ถกู เรยี กว่า “หนิ เหลก็ ไฟ” รปู ท่ี 1.1.3-4 ตัวอย่างหนิ แปร (กรมทรัพยากรธรณี, 2559) 1.1.4 การเรียงลาดบั และโครงสร้างของหนิ ธรรมชาติและการกระจายตัวของหินอุ้มน้า (aquifers) และหินต้านน้า (aquitards) ในระบบธรณีวิทยา ควบคุมโดย 1) ลักษณะทางกายภาพหรือเนื้อของหิน (Lithology) 2) การเรียงลาดับของช้ันหินและขนาด กว้าง ยาวและหนา (Stratigraphy) และ 3) ลักษณะของโครงสร้างของหินที่เป็นแหล่งกักเก็บและเป็นวัตถุ ตัวกลางทีย่ ่อมใหน้ า้ บาดาลไหลผา่ น การเรยี งลาดบั ของชั้นหนิ (stratigraphy) การเรียงลาดับของชั้นหิน (stratigraphy) รวมถึงขนาดรูปร่าง ความหนาและการเรียงลาดับตามการเกิด (อายุ) หนว่ ยหนิ ต่าง ๆ หรือช้นั หนิ ของหินตะกอนดังแสดงในรูปที่ 1.1.4-1 แผนทธี่ รณวี ิทยาและภาพตดั ขวางทาง ธรณีวิทยาของแอ่งน้าบาดาลอุดรธานี-สกลนครแสดงการวางตัวและโครงสร้างของหินแข็งของหินตะกอนและหิน ช้นั ชุดโคราช (รปู ที่ 1.1.4-2, กรมทรัพยากรน้าบาดาล, 2560ข)
12 รปู ท่ี 1.1.4-1 การสะสมตวั ของหินแขง็ (หนิ ตะกอนหรอื หนิ ชั้น) และตะกอนหนิ รว่ น (ดดั แปลงจาก Rivera, 2013)
13 รูปท่ี 1.1.4-2 แผนทีธ่ รณวี ทิ ยาและภาพตดั ขวางทางธรณีวทิ ยาของแอง่ นา้ บาดาลอุดรธานี-สกลนคร แสดงการวางตัวและโครงสรา้ งของหนิ แขง็ ของหนิ ตะกอนและหนิ ชัน้ ชดุ โคราช (กรมทรพั ยากรน้าบาดาล, 2560ข) รูปท่ี 1.1.4-2 แผนทธ่ี รณีวิทยาและภาพตัดขวางทางธรณวี ิทยาของแอ่งน้าบาดาลอดุ รธานี-สกลนคร แสดงการวางตวั และโครงสรา้ งของหนิ แข็งของหนิ ตะกอนและหินชัน้ ชุดโคราช (ตอ่ ) (กรมทรัพยากรน้าบาดาล, 2560ข).
14 โครงสร้างของหนิ (Structural features) ลักษณะของโครงสร้างของหินหิน (Structural features) หมายถึง ลักษณะรูปทรงเลขาคณิตที่เด่น มรี ปู รา่ ง รูปทรงสัณฐาน การกระจายหรือการวางตวั ทส่ี ามารถบรรยายลักษณะเหล่าน้ันได้ โครงสรา้ งทางธรณีวิทยา ที่สาคญั สามารถจาแนกตามชนิดของการเกดิ ไดเ้ ป็น 3 กลุ่มใหญ่ (เพียงตา สาตรกั ษ์, 2552) คอื • รอยสัมผสั (contacts) ไดแ้ กโ่ ครงสร้างทเี่ กดิ ขึน้ พร้อม ๆ กับการเกดิ ของหิน หรอื เป็นรอยสมั ผัส แบบไมต่ ่อเนอื่ ง (unconformity) ดงั แสดงในรูปท่ี 1.1.4-3 • โครงสร้างปฐมภูมิ (primary structures) ได้แก่โครงสร้างที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการเกิดของหนิ เช่น การวางตัวของช้ันหิน (Bedding) การวางตัวฉันเฉียง (cross-bedding) การวางตัวของชน้ั หินเรียงขนาด (graded bedding) ร้ิวรอยคล่ืน (ripple marks) ระแหงโคลน (mud crack) ดงั แสดงในรปู ที่ 1.1.4-4 • โครงสรา้ งทุติยภูมิ (secondary structures) เปน็ โครงสร้างทีห่ ินถกู แรงกระทา ได้แก่ รอยแตก หรือรอยแยก (joints) รอยแตกเฉือน (shear fracture) รอยเล่ือน (faults) ช้ันหินโค้ง (fold) แนวแตกเรียบ (cleavage) ร้ิวขนาน (lineation) เขตรอยเฉือน (shear zone) ดังแสดงใน รปู ท่ี 1.1.4-5 และ 1.1.4-6 ก) ข) ค) รูปที่ 1.1.4-3 รอยสัมผัส (contacts) ก) รอยชน้ั ไม่ต่อเนื่องเชงิ มุม (angular unconformity) ข) รอยช้ัน ไม่ต่อเน่อื งคงระดบั (disconformaity) ค) รอยชน้ั ไมต่ ่อเน่ืองบนหินอัคนี (nonconformity) (ทมี่ า: เพียงตา สาตรกั ษ์, 2552)
15 (ค) (ง) รปู ที่ 1.1.4-4 รอยแยก (joints) ก) รอยเกิดจากแรงดึงผวิ ของหนิ บะซอลตใ์ นแขวงจาปาสกั สปป. ลาว ข) รอยแยกแนวราบ (ที่มา: เพียงตา สาตรกั ษ์, 2552) ค) และ ง) รอยแยกในหินทราย ชดุ ภทู อก พระลานหนิ เก้งิ อ.บา้ นไผ่ จ.ขอนแกน่ (Srisuk, 1994) (ค) (ง) รูปท่ี 1.1.4-5 รอยเลื่อน (fault) ก) รอยเลื่อน ชน้ั หนิ เลอ่ื นแสดงการหมุน ที่อาเภอปากชม จ.เลย ข) รอยเลื่อน สังเกตจากความเข้มขน้ ของสีหนิ เส้นทาง จ.แพร่-นา่ น (ทมี่ า: เพียงตา สาตรักษ์, 2552) ค) และ ง) รอยเลอ่ื นที่พบในหนิ ทราย ชดุ ภูทอก ในลาน้าชี บ้านท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแกน่ (Srisuk, 1994)
Limestone 16 Alluvium ก) ข) รปู ท่ี 1.1.4-6 ก) การวางตวั ของชัน้ หินและรอยเล่ือน (fault) (Andersonand W.W. Woessner, 1992) ท่คี วบคุมการไหลของนา้ บาดาล ข) การโค้งงอของหินปูนเกิดรอยแตกตรงบริเวณสนั โคง้ งอ ทาให้เกดิ การกกั เก็บ และการซึมผา่ นของน้าฝนลงสู่นา้ บาดาล (Freeze and cherry, 1976)
17 1.2 แผนท่ีธรณีวทิ ยาและศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี หลกั การ กรมทรัพยากรธรณี ดาเนินการจาแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีรายจังหวัด ตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และแผนปฏิบตั ิราชการ 4 ปี ของกรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2548-2551 และ พ.ศ. 2551-2554 ในประเด็นยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และจัดการการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรณีเป็นไปอย่างสมดุลและแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานด้าน ทรัพยากรธรณี สาหรับการบริหารจัดการทรพั ยากรธรณีให้เกิดประโยชน์สงู สดุ สอดคล้องกับฐานทรัพยากรที่มีอยู่ ในท้องถิ่น และเกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน ท้ังนี้ ได้มีการระดมความคิดเห็นและปรับปรงุ หลักเกณฑ์การจาแนกเขต ทรัพยากรแร่มาเป็นลาดับ เพื่อให้การจาแนกเขตทรัพยากรแร่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงเพ่ือให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนและดาเนินงานได้อย่างเหมาะสมเกิดความสมดุล ระหว่างการใช้ประโยชน์กับการสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเกิดความเป็นธรรมและ โปรง่ ใส ในการเข้าถงึ ทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนาไปสู่การลดความขดั แย้งจากการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากร ระหว่าง ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน การจาแนกเขตเพ่อื การจดั การด้านธรณวี ทิ ยาและทรพั ยากรธรณี 1) กรมทรัพยากรธรณี ได้ดาเนินการจาแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ราย จังหวดั รวม 55 จงั หวัด (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2549-2555) ปัจจบุ นั กาลงั ดาเนินงานในพน้ื ทจี่ ังหวดั กระบ่ี พงั งา ภเู ก็ต และสตูล (รปู ท่ี 1.2-1) 2) กรอบแนวคิดการจาแนกเขตทรัพยากรแร่ข้อมูลพื้นที่ทรัพยากรแร่ของกรมทรัพยากรธรณี ได้จากการ ดาเนินการสารวจ ตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี และการประเมินศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี โดยจัดแบ่งพ้ืนที่ทรัพยากรแร่ออกเป็น 3 ประเภท คือ “พื้นที่แหล่งแร่” “พ้ืนท่ีศักยภาพทางแร่” และ “บริเวณพบแร่” ตามคาจากดั ความท่ีนิยามโดยคณะทางานจดั ทาแผนท่ี (2542) และคณะอนุกรรมการดา้ นทรัพยากรแร่ (2551) ดังนี้ พ้ืนท่ีแหล่งแร่ (Mineral area) หมายถึง พ้ืนที่ใดพื้นที่หนึ่งซ่ึงมีแหล่งแร่หรือแหล่งสินแร่ชนิดเดียวหรือ หลายชนิดรวมกันในพื้นท่ีน้ัน รวมท้ังพ้ืนที่ท่ีมีคาขอประทานบัตรและ/หรือประทานบัตร ท่ีได้ตรวจสอบความ ถูกต้องตามหลักวิชาการ การกาหนดขอบเขตพื้นท่ีแหล่งแร่ยึดถือข้อมูลวิชาการทางธรณีวิทยาแหล่งแร่เป็นปัจจัย หลักพื้นที่ศักยภาพทางแร่ (Mineral potential) หมายถึง พื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหน่ึงที่ยังไม่มีการค้นพบทรัพยากร แร่ แต่มีแนวโน้มที่จะมีได้ โดยมีหลักฐานบ่งช้ีจากข้อมูลทางธรณีวิทยา ธรณีวิทยาแหล่งแร่ ธรณีเคมี และธรณี ฟิสิกส์ และรวมถึงพ้ืนที่ที่มีแร่กระจัดกระจายในหินอย่างมีนัยสาคัญ หรือมีบริเวณพบแร่ในส่วนใดส่วนหน่ึงของ พ้นื ทนี่ ้นั บริเวณพบแร่ (Mineral occurrence) หมายถึง บริเวณใดบริเวณหน่ึงที่พบว่ามีแร่ (หรือบางครั้งอาจ พิจารณาในนามของสินค้าแร่ เช่น ทองแดง แบไรต์ หรือทองคา) และมีความน่าสนใจเชิงวิทยาศาสตร์หรือเชิง วิชาการ สะสมตวั อยู่
18 รูปที่ 1.2-1 แผนท่ีแสดงพ้ืนที่ที่ดา เนินการจา แนกเขตเพ่ือการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีรายจังหวัด ระหว่างปีงบประมาณ 2549 - 2555 ในการดาเนินการงานจาแนกเขตทรัพยากรแร่มุ่งเน้นความสาคัญไปใน “พื้นท่ีแหล่งแร่” ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ที่ พิสูจน์ทราบแน่ชัดแล้วว่ามีแร่อยู่แน่นอน และสามารถที่จะทาการประเมินปริมาณทรัพยากรแร่เบ้ืองต้นในแต่ละ แหล่งได้ ทรัพยากรแร่ เป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เป็นอย่างมาก โดยเป็น วัตถุดิบพื้นฐานสาหรับอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมเซรามิกส์ อุตสาหกรรมแก้ว อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมก่อสร้าง อย่างไรก็ตามทรัพยากรธรณีเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วหมดไป ไม่สามารถ สร้างข้ึนมาใหม่ได้ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมียุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรณีอย่างชัดเจนเป็น ระบบ เพื่อให้เกิดการใชป้ ระโยชน์สงู สุด ค้มุ ค่า และสง่ ผลกระทบต่อสังคมและสงิ่ แวดลอ้ มน้อยทส่ี ดุ โดยการจาแนก เขตพื้นท่ีแหล่งทรัพยากรแร่ ออกเป็น 3 เขต คือ เขตสงวนทรัพยากรแร่ เขตอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ และเขตพัฒนา
19 ทรัพยากรแร่ พร้อมกับเสนอมาตรการหรือแนวทางบริหารจัดการสาหรับแต่ละเขตท่ีได้จาแนกไว้ ซ่ึงต้องคานึงถึง หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ โดยพิจารณาแบบบูรณาการร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นๆ และรวมถึงสภาพสิ่งแวดล้อมด้วย ท้ังน้ีเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์กับการสงวนรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และให้เกิดความเป็นธรรมและโปร่งใสในการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ อนั จะนาไปสกู่ ารลดความขัดแยง้ จากการใช้ประโยชน์ทรัพยากรระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน 3) หลักเกณฑ์ในการจาแนกเขตทรัพยากรแร่ โดยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาจาแนกเขตทรัพยากรแร่ คือ พ้ืนที่ตามกฎหมายท่ีมีเง่ือนไขข้อจากัดการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ต่าง ๆ ได้แก่ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ปา่ เขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ เขตปา่ ชายเลน เขตวนอทุ ยาน เขตพืน้ ทชี่ ุม่ น้า เขตพ้ืนทซ่ี ึ่งเป็นทต่ี ั้งแหลง่ โบราณสถานท่ี ได้รับการขึ้นทะเบียน เขตพ้ืนที่ซ่ึงเป็นท่ีต้ังแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ท่ีได้รับการข้ึนทะเบียน เขตพ้ืนที่ซึ่งเป็น ท่ีต้ังแหล่งซากดึกดาบรรพ์ท่ีได้รับการขึ้นทะเบียน เขตลุ่มน้าชั้นท่ี 1 เขตพื้นท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม เขตปฏิรูปท่ีดิน เพ่ือเกษตรกรรม เขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร เขตประกาศตามมาตรา 6 ทวิ และ 6 จัตวา ตามพระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 และเขตพืน้ ท่ปี ่าเพ่ือเศรษฐกิจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กรมทรัพยากรธรณี ได้ดาเนินการทบทวนและปรับปรุงหลักเกณฑ์การ จาแนกเขตทรัพยากรแร่เพื่อการบริหารจัดการด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณี โดยนาความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากการประชุมรับฟังความคิดเห็น เร่ือง “หลักเกณฑ์การจาแนกเขตทรัพยากรแร่และการวิเคราะห์ ทางเลือกเพื่อจัดทาลาดับความสาคัญของเขตพัฒนาทรัพยากรแร่” เม่ือวันท่ี 12 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรม เดอะ ทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพมหานคร โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม จากหน่วยงานต่างๆ ที่มีภารกิจและหน้าท่ีเกี่ยวข้อง ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมา ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจาแนกเขตทรัพยากรแร่และการวิเคราะห์ทางเลือกเพ่ือจัดลาดับความสาคัญของแหล่งแร่ ให้มีความเหมาะสมและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการพัฒนาการใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่ของ ประเทศในอนาคต หลักเกณฑ์การจาแนกเขตทรัพยากรแร่ท่ีได้ผ่านการทบทวนและปรับปรุงดังกล่าว ได้นามาใช้เป็น หลักเกณฑ์มาตรฐานในการดาเนินงานจาแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีรายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (รูปท่ี 1.2-2) และเพื่อให้การจาแนกเขตทรัพยากรแร่มีประสิทธิภาพมีผลในทาง ปฏิบัติ กรมทรัพยากรธรณีจึงเสนอหลักเกณฑ์การจาแนกเขตทรัพยากรแร่และมาตรการ/แนวทางการบริหาร จัดการทรัพยากรแร่เข้าสู่การพิจารณาของคณะอนุกรรมการประสานจัดการสิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม เพื่อให้ หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งนาไปปรับใช้ในการทางานเพือ่ ให้เกิดการบูรณาการท่ีเปน็ ประโยชน์สงู สุด คณะอนุกรรมการประสานการจัดการส่ิงแวดล้อมและอุตสาหกรรม มีมติเห็นชอบกับหลักเกณฑ์การ จาแนกเขตทรัพยากรแร่เพื่อการบริหารจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี เมื่อวันท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยให้กรมทรัพยากรธรณีนาข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการฯ ไปพิจารณา ดาเนนิ การ และนาเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาตแิ ละคณะรฐั มนตรีเพ่ือพิจารณาต่อไป
20 หลักเกณฑก์ ารจาแนกเขตทรพั ยากรแร่ หลักเกณฑก์ ารจาแนกเขตทรัพยากรแร่ เป็นการนาเฉพาะพืน้ ท่ีแหลง่ แร่ทุกประเภท (ยกเวน้ ทรายก่อสรา้ ง) มาพิจารณาร่วมกับเง่ือนไขข้อจากัดการใช้พื้นที่ตามกฎหมาย แล้วจาแนกออกเป็น 3 เขต คือ เขตสงวนทรัพยากรแร่ เขตอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ และเขตพัฒนาทรัพยากรแร่ โดยได้กาหนดนยิ ามของแตล่ ะเขต (รูปที่ 1.2-2) สรุปได้ดงั น้ี รูปที่ 1.2-2 หลักเกณฑก์ ารจาแนกเขตทรัพยากรแร่ (1) เขตสงวนทรัพยากรแร่ หมายถึง พื้นท่ีแหล่งแร่ท่ีควรสงวนรักษาทรัพยากรแร่ไว้ ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีที่อยู่ ภายใต้ข้อจากัดของกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี กฎ ระเบียบต่างๆ ท่ีไม่เอ้ืออานวยให้นาทรัพยากรแร่ขึ้นมาใช้ ประโยชน์ในปัจจุบัน ควรเก็บรักษาไว้ให้ชนรุ่นหลังใช้ประโยชน์ยามจาเป็นเม่ือเกิดวิกฤติของประเทศเท่าน้ัน พนื้ ทลี่ ักษณะนี้ ไดแ้ ก่ เขตอทุ ยานแห่งชาติ เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ เขตหา้ มลา่ สตั ว์ปา่ เขตป่าชายเลน เขตวนอุทยาน เขตพื้นที่ชุ่มน้า เขตพื้นที่ซ่ึงเป็นท่ีตั้งแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์เขตพื้นที่ซ่ึงเป็นที่ตั้งแหล่งซากดึกดาบรรพ์ เขตพื้นท่ีซึ่งเป็นท่ีต้ังแหล่งโบราณสถาน และเขตพ้ืนท่ีป่าท่ีสงวนเพื่อการอนุรักษ์ (C) โดยมีรายละเอียดแต่ละพ้ืนท่ี ตามลาดบั ดงั นี้ - เขตอุทยานแห่งชาติ ทไี่ ดป้ ระกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญตั ิอทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 - เขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่า ที่ได้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
21 - เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ท่ีได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 - เขตปา่ ชายเลน ตามนยั มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในพ้ืนท่ปี า่ ชายเลน - เขตวนอุทยาน ที่ได้รับการจัดตั้งตามนัยมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 - เขตพ้ืนท่ีชุ่มน้า ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนพื้นท่ีชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศตามอนุสัญญาว่าด้วย พนื้ ทชี่ ุ่มนา้ หรอื Ramsar Convention Wetlands - เขตพ้นื ที่ซึ่งเป็นทต่ี ั้งแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนตามมติคณะรัฐมนตรี โดยความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาตติ ามพระราชบัญญัตสิ งวนและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 2535 - เขตพื้นที่ซึ่งเป็นที่ต้ังแหล่งซากดึกดาบรรพ์ ท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึก ดาบรรพ์ พ.ศ. 2551 - เขตพ้ืนท่ีซึ่งเป็นที่ตั้งแหล่งโบราณสถาน ท่ีได้รับการข้ึนทะเบียนตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุและพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 - เขตพื้นทป่ี ่าทส่ี งวนเพื่อการอนุรักษ์ (C) ตามผลการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและทีด่ ินป่าไม้ ในพ้ืนทปี่ า่ ทส่ี งวนเพ่ือการอนุรักษ์ โดยกรมปา่ ไม้ ตามมติคณะรัฐมนตรี (2) เขตอนุรักษ์ทรพั ยากรแร่ หมายถึง พื้นที่แหล่งแร่ที่ควรเก็บรักษาเพ่ือสารองไว้ใช้ประโยชนใ์ นอนาคต แต่เปิดโอกาสให้นาทรัพยากรแร่ข้ึนมาใช้ประโยชน์ในปัจจุบันได้โดยมีเง่ือนไขพิเศษ ทั้งน้ี ต้องอยู่ภายใต้ข้อจากัด ของกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี กฎ ระเบียบต่างๆ ที่เก่ียวข้อง พ้ืนที่ลักษณะนี้ ได้แก่ เขตลุ่มน้าช้ันท่ี 1 เขตพ้ืนท่ี คุ้มครองส่ิงแวดล้อม เขตปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม เขตพ้ืนที่ป่าท่ีเหมาะสมต่อการเกษตร (A) และเขตประกาศ ตามมาตรา 6 ทวิ วรรคหน่งึ โดยมรี ายละเอียดแต่ละพื้นท่ีตามลาดับ ดังนี้ - เขตลุ่มน้าชั้นที่ 1 ตามลุ่มน้าชั้นท่ี 1 ตามผลการกาหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้า โดยสานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ เดิม) ตามมติคณะรฐั มนตรี - เขตพื้นท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ท่ีได้ประกาศโดยกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 - เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ท่ีได้ประกาศในราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม พ.ศ. 2518 - เขตพื้นท่ีป่าท่ีเหมาะสมต่อการเกษตร (A) ตามผลการจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรและท่ีดินปา่ ไมใ้ นพื้นที่ป่าท่ีเหมาะสมต่อการเกษตร โดยกรมปา่ ไม้ ตามมติคณะรฐั มนตรี - เขตประกาศตามมาตรา 6 ทวิ วรรคหนงึ่ ตามพระราชบัญญตั แิ ร่ พ.ศ. 2510
22 (3) เขตพัฒนาทรัพยากรแร่ หมายถึง พ้ืนท่ีแหล่งแร่ท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาใช้ประโยชน์ได้ ซ่ึงเป็น พ้นื ที่ทอี่ ยูน่ อกเขตสงวนทรัพยากรแร่และเขตอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ ในการพัฒนาใชร้ ะโยชน์ต้องอยภู่ ายใต้กฎหมาย มตคิ ณะรฐั มนตรี กฎ ระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ของรฐั และเอกชน (4) แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของแต่ละเขต โดยคานึงถึงหลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ ตามหลักเกณฑ์การจาแนกเขตทรัพยากรแร่เพื่อการบริหารจัดการด้านธรณีวิทยา สรปุ ไดด้ งั น้ี (1) เขตสงวนทรพั ยากรแร่ (1.1) ควรมีการสารวจเพ่ือประเมินศักยภาพแหล่งแร่ในพื้นที่ท่ียังไม่มีการสารวจหรือค้นพบ ทรัพยากรแร่ท่ีชัดเจน และ/หรือพ้ืนท่ีศักยภาพทางแร่ โดยหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับการวางแผน บรหิ ารจัดการทรัพยากรแรข่ องประเทศ (1.2) พื้นท่ีแหล่งแร่ที่สารวจพบแล้ว ไม่สมควรอนุญาตให้พัฒนาใช้ประโยชน์เพื่อการเหมืองแร่ ในปจั จุบัน หากในอนาคตมคี วามจาเปน็ อยา่ งยิ่งที่ต้องพฒั นาเปน็ เหมืองแรเ่ พื่อ ประโยชน์ของชาติ รฐั อาจพจิ ารณาใหน้ าทรพั ยากรแร่ขึ้นมาใช้ประโยชนไ์ ด้ตามความจาเป็น (1.3) ควรกาหนดพื้นท่ีที่มีลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่ หรือเป็นแหล่งแร่ต้นแบบ ให้เป็นพ้ืนที่ สาหรบั การศึกษาเรยี นรู้ไว้เป็นการเฉพาะ เพ่ือเปดิ โอกาสให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนเขา้ มาศึกษาเรียนรไู้ ด้ (2) เขตอนุรักษท์ รัพยากรแร่ (2.1) ควรมีการสารวจและประเมินศักยภาพแหล่งแร่ เพ่ือกาหนดเขตพ้ืนท่ีแหล่งแร่ท่ีมีศักยภาพ สูงเป็นแหล่งแร่สารอง หากมีความจาเป็นที่ต้องพัฒนาเป็นเหมืองแร่เพ่ือประโยชน์ของชาติ รัฐและหน่วยงานท่ี เกยี่ วข้องอาจพจิ ารณาอนมุ ตั ิ อนุญาต ใหใ้ ชพ้ ื้นทแ่ี ละพฒั นาทรพั ยากรแรม่ าใช้ประโยชน์ไดต้ ามความจาเป็น (2.2) ในกรณีท่ีจะใช้ประโยชน์แหล่งแร่เชิงพาณิชย์ หน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจเก่ียวข้องในการ อนุมัติ อนุญาต กากับ ดูแล ต้องกาหนดมาตรการเป็นกรณีพิเศษในการควบคุมผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนกับ สงิ่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติประเภทอ่ืน ๆ (2.3) การนาทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์ต้องดาเนินการตามมาตรการที่กาหนด หรือตาม กฎหมายท่ีบญั ญัติไว้เป็นการเฉพาะโดยเครง่ ครัด โดยมีหน่วยงานผรู้ ับผิดชอบหลัก ได้แก่ กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐาน และการเหมืองแร่ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และสานักงา น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และหนว่ ยงานสนับสนุน (3) เขตพัฒนาทรพั ยากรแร่ (3.1) อนุญาตให้ใช้ประโยชน์พ้ืนที่และแหล่งแร่เชิงพาณิชย์ได้ ท้ังน้ีให้เป็นไปตามกฎหมายที่ บัญญัติไว้ เช่น กฎหมายว่าด้วยแร่ กฎหมายว่าด้วยการใช้ประโยชน์ท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม (3.2) การนาทรัพยากรแรข่ ึ้นมาใชป้ ระโยชน์ ควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหลง่ แร่ท่ีตอบสนองตอ่ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอันดับแรก เช่น แร่และหินเพ่ือการก่อสร้างแร่เพื่อการเกษตร และแร่ท่ีเป็น วัตถุดิบหลักสาหรับอุตสาหกรรมพื้นฐานในประเทศ เป็นต้น ส่วนแร่ท่ีผลิตเพื่อการส่งออกเป็นแร่ดิบหรือสินแรโ่ ดย ไม่มีการเพ่ิมมูลค่าก่อน ควรกาหนดมาตรการควบคุมหรือจากัดเป็นกรณีพิเศษ ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการดูแลรักษา ทรพั ยากรแร่ทีใ่ ชแ้ ลว้ หมดไป ไม่ใหส้ ้นิ เปลอื งหรือใช้อยา่ งไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ
23 (3.3) เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในข้ันตอนต่าง ๆ ของกระบวนการพิจารณา อนุญาต ตามแนวทาง ระเบียบ และกฎหมายที่กาหนดไว้ โดยประเด็นสาคัญท่ีต้องร่วมพิจารณา เช่น ข้อจากัดเชิง พนื้ ท่ี และมีสว่ นรว่ มในการรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มท้ังก่อน ระหว่าง และภายหลงั การทาเหมือง เป็นตน้ (3.4) ผู้ประกอบการควรมกี ารเสนอผลตอบแทนพิเศษอ่ืนเพ่ิมเตมิ ให้แก่ชุมชนท้องถ่ินในบริเวณท่ี มีการทาเหมืองแร่ โดยมีการหารือกับชุมชนท้องถ่ินถึงความต้องการร่วมกัน ซ่ึงอาจจะเสนอได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดต้งั กองทุนเพื่อการพัฒนาท้องถิน่ โดยมผี ้แู ทนภาคประชาชนร่วมกาหนดแผนพฒั นา ดาเนินการ และตดิ ตาม ตรวจสอบ เป็นตน้ (3.5) เมื่อมีการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่แล้ว หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังภาค ประชาชนต้องเข้มงวดในการควบคุม กากับดูแล และติดตามตรวจสอบ ให้การดาเนินการได้มาตรฐานตาม มาตรการที่กาหนดไว้การวิเคราะห์พื้นที่จาแนกเขตทรัพยากรแร่ในโครงการน้ี ได้ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ ภมู ิศาสตรด์ ้วยโปรแกรม ArcGIS และแสดงผลลพั ธใ์ นรูปแบบแผนทีจ่ าแนกเขตทรัพยากรแร่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394