Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่5_EIS

หน่วยที่5_EIS

Published by nimpluet59, 2018-11-13 08:58:37

Description: หน่วยที่5_EIS

Search

Read the Text Version

ระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบ รหิ ารระดับสงู EIS

ความหมายระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสงู ระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร ( Executive Information Systems ) หรือที่เรียกวา EISหมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาข้ึนโดยเฉพาะ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการ ทักษะ และความสามารถในการเขาถึงสารสนเทศสําหรับ ผูบริหารเนื่องจากผูบริหารเปนกลุมบุคคลท่ีตองการขอมูลท่ีมีลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะดานระยะเวลาในการเขาถึงและทําความเขาใจกับขอมูลโดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงและการแขงขันทางธุรกิจที่เกิดขึ้นและปรับตัวอยางรวดเร็วในปจจุบันไดสรางแรงกดดันให ผูบริหารตองตัดสินใจภายใตขอจํากัดของทรัพยากรทางการจัดการระยะเวลาขอมูล และการดาํ เนินงานของคแู ขง ขนั

โดยทว่ั ไปแลว ผบู รหิ ารจะไดร ับขอมลู จาก 3 แหลง ดงั ตอ ไปนี้ 1. ขอมูลท่ีไดจากกระบวนการดําเนินงาน (Transaction Processing Data) เปนขอมูลที่แสดงผลการปฏิบตั ิงานขององคก าร หนวยงาน หรือระบบที่สนใจ 2. ขอมูลจากภายในองคการ (Internal Data) เปนขอมูลที่จัดทําข้ึนภายในองคการ เพื่อแสดงใหเหน็ ถงึ เปา หมายหรือผลการดาํ เนนิ งานของกิจกรรม และ/หรอื โครงการในดานตา ง ๆ 3. ขอมูลจากภายนอกองคการ (External Data) ปจจัยภายนอกมีผลกระทบตอองคการโดยเฉพาะในสถานการณป จ จบุ ันทก่ี ารเปล่ยี นแปลงปจจยั ทางเศรษฐกจิ การเมือง สังคม แลวทิ ยาการในประเทศหน่ึงจะมเี ก่ียวเน่อื งไปท่ัวโลก

คณุ ลกั ษณะของระบบ EIS (Characteristics of EIS )1. การเจาะลึกขอ มูล (Drill down)2. ปจ จัยวิกฤตสาํ เรจ็ (Critical success Factors : CSF)3. สถานะการเขาถงึ ขอ มลู (Status access)4. การวเิ คราะหข อมลู (Analysis)5. การสรางรายงานพเิ ศษ (Exception reporting)6. ความสามารถในการใชสแี ละเสียง (Colors and audio)7. มรี ะบบนํารอ งขา วสารหรือปุมชี้ (Navigation of information)8. การส่ือสาร (Communication)

ขาวสารเพอื่ การบรหิ ารขาวสารเพอื่ การบรหิ าร ผบู รหิ ารจาํ เปน ตองมขี าวสารเพอื่ ประกอบการตดั สนิ ใจและทํางาน ประเภทของขอมลู /ขาวสารท่จี าํ เปน ตอผบู ริหารระดบั ตา งๆ จะแตกตา งกนั ไป ประเภทของขา วสารเพอ่ื การบรหิ าร 1. ขา วสารภายใน (Internal) 2. ขาวสารภายนอก (External)

ภาระหนา ทีข่ องผูบรหิ ารระดบั สูงและระบบขา วสารท่ตี อ งการ ผูบริหารระดับสูง คือ บุคคลที่บริหารจัดการองคกร ท้ังองคกร หรือ บางคร้ังอาจเปนแผนก/หนวยงานอิสระ (เชนโรงงานผลิต) ภาระความรับผิดชอบกวางขวางโดยมากไมเฉพาะที่งานใดงานหนึ่ง ไดแก การวางแผนกลยุทธ การรักษาความอยูรอดขององคกรฯลฯ เปนผูตัดสินใจในเรื่องสําคัญๆ เปนคนสุดทาย เชน ดานงบประมาณ ดานบุคคลากร และแผนงานธุรกิจตาง ๆ นอกจากน้ันผูบริหารระดับสูง ยังเปนผูท่ีตองติดตอ เจรจา ทําความตกลง รวมมือกับองคกรอื่นๆ ผูบริหารจึงมีภารกิจความรับผิดชอบสูงที่สุดในองคกร ภารกิจหนาท่ีไดแก ภารกิจดานการบริหาร, ภารกิจดานบทบาท, การตัดสนิ ใจและขาวสารเพื่อการบรหิ าร

คณุ สมบัติของระบบสารสนเทศสาํ หรบั ผูบรหิ าร1. สนบั สนุนการวางแผนกลยทุ ธ (Strategic Planning Support)2. เชอื่ มโยงกบั ส่งิ แวดลอ มภายนอกองคก ร (External Environment Focus)3. มคี วามสามารถในการคาํ นวณภาพกวาง (Broad-based Computing Capabilities)4. งายตอการเรียนรูและใชง าน (Exceptional Ease of Learning and Use)5. พฒั นาเฉพาะสาํ หรับผูบ ริหาร (Customization)

ผลกระทบของระบบ EIS ตอองคก ร การจัดเตรยี มระบบขาวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง กอใหเกดิ ผลกระทบตอ องคก รในหลายดา นดวยกัน 1. ดานเปา หมายนโยบายขององคก ร 2. ดานบคุ ลากร 3. ดานเทคโนโลยี

ขอ ดขี องระบบสารสนเทศสาํ หรับผบู ริหาร1. งา ยตอ การใชง านของผูใชโดยเฉพาะผบู รหิ ารระดบั สงู2. ผูใ ชไ มจาํ เปน ตอ งมีความรูอยา งลกึ ซง้ึ ในเรอ่ื งคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ3. คน หาสารสนเทศทตี่ อ งการไดในเวลาสนั้4. ชว ยใหผ ูใชเขา ใจสารสนเทศทน่ี ําเสนออยางชัดเจน5. ประหยดั เวลาในการดาํ เนินงานและการตัดสนิ ใจ6. สามารถติดตามและจดั การสารสนเทศอยา งมีประสทิ ธิภาพ

ขอดอ ยของระบบสารสนเทศสําหรบั ผูบ รหิ าร1. มีขอ จํากดั ในการใชง าน เนอื่ งจาก EIS ถกู พฒั นาขน้ึ เพอื่ ใชง านเฉพาะอยาง2. ขอมลู และการนําเสนออาจไมสอดคลองกับความตองการของผบู รหิ าร3. ยากตอ การประเมินประโยชนแ ละผลตอบแทนทอ่ี งคก ารจะไดรบั4. ไมถกู พฒั นาใหท าํ การประมวลผลท่ีซบั ซอนและหลากหลาย5. ซบั ซอนและยากตอการจดั การขอ มลู6. ยากตอการรักษาความทันสมัยของขอ มลู และของระบบ7. ปญ หาดา นการรักษาความลับของขอ มลู

โครงสรา งระบบบรหิ าร EIS



รปู แบบขอ มูลในแตล ะจดุระบบรองรบั ใหสามารถเก็บขอมูลในลักษณะ ดังตอ ไปนี้ 1. ขอ มลู ทวั่ ไป (Static Information) ในรูปแบบขอ ความ หรือ ตัวเลข เชน ชอ่ื , ท่ีอยู, เบอรโ ทรศพั ท 2. รูปภาพ หรอื VDO 3. ขอมูลสถติ ิ (Statistics & History) เชน ยอดขาย หรอื จาํ นวนลกู คา เพอ่ื ใชในการวิเคราะหขอ มลู หรือเรียกดูขอ มลู ตามเงอ่ื นไขท่กี าํ หนด 4. ขอมลู ในรปู แบบทีก่ าํ หนดเอง (Customized Form Design) 5. URL Link เชน CCTV, Measurement device

คณะผูจดั ทํา1. นางสาวชวพร นิม่ พฤติ รหัสนกั ศึกษา 60320400012. นางสาวสภุ ัสสร การุญ รหสั นกั ศกึ ษา 60320400173. นางสาวอาทมิ า ขันอนิ ทร รหัสนักศกึ ษา 60320400244. นางสาววภิ าพร ภสั สรวิชาญ รหสั นกั ศึกษา 60320400365. นางสาวศศปิ ระภา กระชอนสุข รหสั นกั ศกึ ษา 60320400386. นางสาวเนตรนภา ชวู งษ รหสั นักศกึ ษา 6032040043ภาคเรยี นที่ 2/2561 วชิ าระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การ (MIS.)ปวส.2/1 แผนกคอมพิวเตอรธรุ กจิ

อาจารยผ ูสอนชอื่ -นามสกลุ : อาจารยวลิ าวลั ย วชั โรทยัรายวชิ า : วิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการคจดั การ (3204-2105)ตาํ แหนงครู : วทิ ยฐานะครูชํานาญการ แผนกวิชาคอมพิวเตอรธรุ กจิ วทิ ยาลยั เทคนิคปทุมธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook