Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือทักษะ 8Q 25 ญาณัจฉรา วงษา หมู่ 6 รุ่น 23

คู่มือทักษะ 8Q 25 ญาณัจฉรา วงษา หมู่ 6 รุ่น 23

Published by 25 ญาณัจฉรา วงษา, 2022-02-26 09:41:44

Description: คู่มือทักษะ 8Q

Search

Read the Text Version

1 คูม่ อื ทักษะ ทางดจิ ิทัล สาหรับครู

ก คานา คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสาหรับครู เป็นส่วนหน่ึงของวิชา GD58201 วิชาการพัฒนา ความเป็นครู จุดประสงค์ในการจัดทาเพ่ือให้ครูเป็นผู้ฉลาดในยุคดิจิทัลและส่ือสังคมออนไลน์ที่ครูควรปฏิบัติ เพ่ือให้เป้นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียนและสังคมเพราะการส่ือสารในยุคดิจิทัลนั้นเป็นการสื่อสารไร้พรมแดนทาให้ เลือกที่จะปฏบิ ัตติ นเองให้เหมาะสมกับยคุ ดิจิทลั และสามารถถา่ ยทอดให้กบั ผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม ผู้จัดทา นางสาวญาณจั ฉรา วงษา รหสั นกั ศกึ ษา 647190625หมู่ 6 รุน่ 23

ข สารบญั เรอ่ื ง หน้า พลเมืองดจิ ทิ ลั คืออะไร (What is Digital Citizen?) 1 ความฉลาดทางดิจทิ ัล (Digital intelligence) คืออะไร 1 ดา้ นที่ 1 เอกลกั ษณพ์ ลเมืองดิจทิ ลั (Digital Citizen Identity) 2 ดา้ นท่ี 2 การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ทิ ัล (Screen Time Management) 3 ด้านที่ 3 การจดั การการกลนั่ แกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) 4 ดา้ นที่ 4 การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครอื ข่าย (Cybersecurity Management) 5 ดา้ นที่ 5 การจดั การความเปน็ สว่ นตัว (Privacy Management) 6 ดา้ นที่ 6 การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) 7 ด้านท่ี 7 ร่องรอยทางดิจิทัล (Digital Footprints) 8 ด้านท่ี 8 ความเห็นอกเหน็ ใจและสรา้ งสัมพันธภาพท่ดี ีกบั ผอู้ นื่ ทางดิจทิ ัล (Digital Empathy) 9 ทาไมครูตอ้ งมคี วามฉลาดทางดิจิทลั 10 สงั คมดิจทิ ลั 11 ครูต้องปรบั ตวั อย่างไรเพ่ือให้เปน็ พลเมืองยคุ 4.0 12 บทสรปุ 13 อ้างอิง 14 ประวตั ิผู้จดั ทา 15

1 พลเมืองดจิ ทิ ัลคอื อะไร (What is Digital Citizen?) จอห์น แบร์โลว์ ได้ให้ความหมายของความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) ไว้คือแนวคิด และแนวปฏิบัติท่ีสาคัญซึ่งจะช่วยให้พลเมืองเรียนรู้ว่าจะใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล และปกป้อง ตนเองจากความเส่ียงต่าง ๆ อย่างไร รวมทั้งรู้จักเคารพสิทธิของตนเองและมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม ในโลกสมัยใหม่ไปจนถึงเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อสังคม และใช้เพ่ือ สร้างการเปล่ียนแปลง ทางสังคมในเชิงบวก ความเป็นพลเมืองดิจิทัลคือ ผู้ใช้งานส่ือดิจิทัลและสื่อ สังคมออนไลน์ท่ีรู้จักการปฏิบัติตัวให้เหมาะสม และมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสอื่ สารในยุคดิจทิ ลั เป็นการสอื่ สารท่ไี ร้ พรมแดน (พจิ ติ รา เพชรพารี, https://bit.ly/2MgdOqH, 2562) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (Digital intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดิจทิ ัล เปน็ ผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานท่ีเกิดจากความ ร่วมมือกันของภาครัฐและเอกชนท่ัวโลกประสานงานร่วมกับ เวิลด์อีโคโนมิกฟอร่ัม (World Economic Forum) ท่ีมงุ่ มนั่ ให้เดก็ ๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลท่ีมีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลก ออนไลน์อย่างปลอดภัยด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นกรอบแนวคิดที่ ครอบคลมุ ของความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเข้าใจและความคิดทางสังคมท่ีมีพื้นฐานอยู่ในค่านิยมทาง ศีลธรรมที่ช่วยให้บุคคลท่ีจะเผชิญกับความท้าทายทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยม โดยบทความน้ีจะกล่าวถึงทักษะ 8 ด้านของ ความฉลาดดิจิทัลในระดับพลเมืองดิจิทัล ซ่ึงเป็นความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและส่ือในรูปแบบที่ ปลอดภยั รบั ผิดชอบ และมจี รยิ ธรรม ดังน้ี

2 ดา้ นท่ี 1 เอกลักษณพ์ ลเมอื งดิจทิ ลั (Digital Citizen Identity) เอกลักษณพ์ ลเมืองดิจิทัล เป็นความสามารถสรา้ งและบริหารจดั การอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่าง ดที ้งั ในโลกออนไลน์และโลกความจริงอัตลักษณ์ที่ดีคือ การที่ผู้ใช้สื่อดิจิทัลสร้างภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของ ตนเองในแงบ่ วก ทัง้ ความคิดความรสู้ ึก และการกระทา โดยมวี จิ ารณญาณในการรับส่งข่าวสารและแสดงความ คิดเห็น มีความเห็นอกเห็นใจผู้ร่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ และรู้จักรับผิดชอบต่อการกระทา ไม่กระทาการท่ี ผดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธิ์ การกล่ันแกล้งหรือการใช้วาจาท่ีสร้างความ เกลียดชังผูอ้ ่ืนทางสื่อออนไลน์

3 ดา้ นท่ี 2 การบรหิ ารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ัล (Screen Time Management) การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล เป็นความสามารถควบคุมตนเอง ความสามารถในการจัดสรร เวลาในการ ใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัลและอุปกรณ์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้งานส่ือสังคม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง สามารถบริหารเวลาที่ใช้ อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์ และโลกความเป็นจริง อีกท้ัง ตระหนกั ถึงอนั ตราย และสุขภาพจากการใช้เวลาหนา้ จอนานเกินไป และผลเสียของการเสพตดิ สอื่ ดจิ ิทัล

4 ดา้ นท่ี 3 การจัดการการกล่นั แกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจัดการการกลั่นแกล้งบนไซเบอร์ เป็นความสามารถในการป้องกันตนเอง การมีภูมิคุ้มกันในการรับมือ และจดั การกับ สถานการณ์การกลั่นแกล้งบนอินเทอร์เน็ตได้อย่างชาญฉลาด การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือ หรือชอ่ งทางเพ่อื ก่อให้เกดิ การคุกคามล่อลวงและการกลั่นแกล้งบนโลกอินเทอร์เน็ตและส่ือสังคมออนไลน์ โดย กลุ่มเป้าหมายมักจะเป็นกลุ่มเด็กจนถึง เด็กวัยรุ่น การกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์คล้ายกันกับการกล่ันแกล้งใน รูปแบบอื่น หากแต่การกล่ันแกล้งประเภทน้ีจะกระทาผ่านสื่อออนไลน์หรือส่ือดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทาง โทรศัพท์ ผู้กลั่นแกล้งอาจจะเป็นเพื่อนร่วมชั้น คนรู้จักในสื่อสังคมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคนแปลกหน้าก็ได้ แต่ส่วนใหญ่ผู้ที่กระทาจะรู้จักผู้ท่ีถูกกล่ันแกล้งรูปแบบของการกล่ันแกล้งมักจะเป็นการว่าร้าย ใส่ความ ขู่ทา รา้ ย หรอื ใชถ้ อ้ ยคาหยาบคาย การคุกคามทางเพศผ่านส่ือออนไลน์ การแอบอ้างตัวตนของผู้อ่ืน การแบล็กเมล์ การหลอกลวง การสรา้ งกลมุ่ ในโซเชยี ลเพอ่ื โจมตโี ดยเฉพาะ

5 ด้านที่ 4 การจดั การความปลอดภัยบนระบบเครอื ข่าย (Cybersecurity Management) การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย เป็นความสามารถในการสารวจ ตรวจสอบ การป้องกัน และ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครือข่าย ป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยท่ี เข้มแข็ง และป้องกันการโจรกรรมข้อมูลหรือการถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรักษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกออนไลนก์ ารรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกป้องอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลที่ จัดเก็บและข้อมูลสว่ นตัวไมใ่ ห้เสียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรมจากผไู้ ม่หวังดีในโลกไซเบอร์

6 ดา้ นท่ี 5 การจัดการความเปน็ สว่ นตัว (Privacy Management) การจัดการความเป็นส่วนตัว เป็นความสามารถในการจัดการกับความเป็นส่วนตัวของตนเองและของ ผู้อ่ืน การใช้ข้อมูลออนไลน์ร่วมกัน การแบ่งปันผ่านส่ือดิจิทัล ซ่ึงรวมถึงการบริหารจัดการ รู้จักป้องกันข้อมูล ส่วนบุคคลของตนเอง เช่น การแชร์ข้อมูลต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือดิจิทัล การขโมยข้อมูลอัตลักษณ์ เป็นต้น โดย ต้องมีความสามารถในการฝึกฝนใช้เคร่ืองมือ หรือวิธีการในการป้องกันข้อมูลตนเองได้เป็นอย่างดี รวมไปถึง ปกปิดการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ในเว็บไซต์ เพื่อรักษาความเป็นส่วนตัวความเป็นส่วนตัวในโลกออนไลน์ คือสิทธิ การปกปอ้ งข้อมลู ความส่วนตัวในโลกออนไลน์ของผู้ใช้งานท่ีบุคคลหรือการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว รวมถึง การใช้ดุลยพนิ จิ ปกป้อง ขอ้ มูลส่วนบคุ คลและข้อมูลท่เี ป็นความลบั ของผู้อนื่

7 ด้านท่ี 6 การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตัดสินของบุคคลว่าควรเชื่อ ไม่ควรเชื่อ ควรทา หรือไม่ควรทาบนความคิดเชิงเหตุและผล มีความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลท่ี ถูกตอ้ งและข้อมลู ท่ผี ิด ขอ้ มูลทีม่ ีเนื้อหาเป็นประโยชน์และข้อมูลท่ีเข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ที่ น่าต้ังข้อสงสัยและน่าเชื่อถือได้ เม่ือใช้อินเทอร์เน็ต ทราบว่าเน้ือหาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และประเมิน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ใน สอื่ ดิจทิ ัล เช่น ขา่ วปลอม เว็บไซต์ปลอม ภาพตดั ต่อ ขอ้ มลู อนั ทีเ่ ท็จ เป็นตน้

8 ด้านท่ี 7 ร่องรอยทางดิจิทลั (Digital Footprints) ร่องรอยทางดิจิทัล เป็นความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลว่าจะ หลงเหลือร่องรอยข้อมูลท้ิงไว้เสมอ ร่องรอยทางดิจิทัล อาจจะส่งผลกระทบในชีวิตจริง ท่ีเกิดจากร่องรอยทาง ดิจิทัลเข้าใจผลลัพธ์ท่ีอาจเกิดข้ึน เพ่ือนามาใช้ในการจัดการกับชีวิตบทโลกดิจิทัลด้วยความรับผิดชอบ ข้อมูล ร่องรอยทางดจิ ิทัล เชน่ การลงทะเบยี น อเี มล การโพสต์ขอ้ ความหรือรปู ภาพ ไฟล์งานต่าง ๆ เมื่อถูกส่งเข้าโลก อนิ เทอรเ์ น็ตแลว้ จะท้ิงรอ่ งรอยขอ้ มูลส่วนตวั ของผใู้ ช้งานไว้ ให้ผู้อ่ืนสามารถติดตามได้ และจะเป็นข้อมูลที่ระบุ ตัวบุคคลไดอ้ ยา่ งง่ายดาย

9 ดา้ นท่ี 8 ความเห็นอกเหน็ ใจและสร้างสมั พันธภาพทด่ี ีกับผอู้ ื่นทางดจิ ทิ ัล (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืนทางดิจิทัล เป็นความสามารถในการเข้าใจผู้อ่ืน การตอบสนองความต้องการของผู้อื่น การแสดง ความเห็นใจและการแสดงน้าใจต่อผู้อื่นบนโลกดิจิทัลได้อย่าง เหมาะสม มีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อคนรอบข้าง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพ่ือนทั้งในโลกออนไลน์และในชีวิตจริง ไม่ด่วน ตดั สนิ ผูอ้ น่ื จากข้อมูลออนไลน์แตเ่ พยี งอยา่ งเดียว และจะเป็นกระบอกเสียงให้ผทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือในโลก ออนไลน์

10 ทาไมครตู อ้ งมีความฉลาดทางดจิ ิทลั เหตุผลที่ครูต้องมีความฉลาดทางดิจิทัล เพราะวิถีชีวิตของเด็กรุ่นใหม่ท่ีเติบโตมาพร้อม อุปกรณ์ไอทีต่าง ๆ สื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตมากข้ึน ท้ังการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ การตดิ ตอ่ สอื่ สารอย่างอิสระ อยกู่ ับเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ และสอื่ ออนไลน์ตลอดเวลา ใช้ในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และท่ีสาคัญ คือ รูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป มีช่องทาง การเรียนรู้ จากส่ือออนไลน์หลากหลายทางมากข้ึน การเรียนรู้ไม่จาเป็นต้องเรียนรู้จากในห้องเรียนเพียง อย่างเดียว แต่สามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งรอบๆ ตัว สืบค้นข้อมูลได้ทุกท่ีทุกเวลา จึงทาให้เกิดทักษะชีวิตใหม่ๆ เกิดขึ้น มากมายเช่น ทักษะความฉลาดทางดิจิทัลท่ีประกอบด้วยทักษะการแสดงตัวตนบนโลกดิจิทัล ทักษะ การใช้ เคร่ืองมือและสื่อดิจิทัล ทักษะความปลอดภัยทางดิจิทัล ทักษะความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล ทักษะ ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดิจทิ ลั ทกั ษะการสื่อสารดิจิทัล ทักษะการรู้ดิจิทัล ทักษะสิทธิทางดิจิทัล เป็นต้น ซงึ่ จาเป็นจะตอ้ งมีการเรียนรพู้ ัฒนา และฝกึ ฝนใหม้ ีความพร้อมกับการรบั มือในการทีจ่ ะใชช้ วี ิต

12 สังคมดิจิทัล (สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้(องค์การมหาชน) ,http://www.thai- explore.net/ search_detail/result/7072, 2563) สังคมดิจิทัลที่เปลี่ยนไป ทั้งการดารงชีวิตและการเรียนรู้ในรูปแบบที่เปล่ียนไป เมื่อวิธีการ เรียนรู้เปล่ียนไปเป็นแบบดิจิทัลและสื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทในการเรียนรู้มากขึ้น ครูก็ต้องมีรูปแบบการ เรียนการสอนที่เท่าทันและเหมาะสมกับผู้เรียน ในยุคดิจิทัลด้วย เพ่ือที่จะสอนเด็กรุ่นใหม่ท่ีกาลังโตขึ้นมาเป็น เยาวชน เป็นกาลังสาคัญของชาติให้มีทักษะ ชีวิตดังกล่าว ครูจึงจาเป็นจะต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลา เพราะ จะต้องเปน็ ต้นแบบให้ นักเรียน ต้องปรับตวั เรียนรู้ทักษะชีวิตใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นได้เสมอ ต้องสร้างความตระหนัก ในเร่อื งของ ภาพลักษณ์ การแสดงออกทางความคิดและสามารถจัดการผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการแสดงตัวตน บนโลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว รู้จักการใช้งาน ควบคุม และการจัดการใช้อุปกรณ์ดิจิทัล และสื่อ ดิจิทัลให้เกิดความพอดีในชีวิตออนไลน์และออฟไลน์เพ่ือให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมกับการใช้ เทคโนโลยี ให้เกิดประโยชน์จัดการความเส่ียงในโลกออนไลน์ เช่น การกลั่นแกล้งบนอินเทอร์เน็ต ล่อลวง คุกคามการเขา้ ถึงเน้ือหาทีผ่ ิดกฎหมายหรอื เปน็ อนั ตรายสามารถตรวจจบั ภยั คุกคามในโลกไซเบอร์เช่น การแฮก และมัลแวร์ เพ่ือทาความเข้าใจ สามารถเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีท่ีสุดและเลือกใช้เคร่ืองมือในการรักษา ความปลอดภัยที่เหมาะสมสาหรับการป้องกันข้อมูลได้เข้าใจความรู้สึกของคนอื่นและสร้างความสัมพันธ์ ท่ีดี กับบุคคลอ่ืน ๆ ในโลกออนไลน์ เข้าใจและรักษาสิทธิส่วนบุคคลของตนอง สิทธิเสรีภาพตามกฎหมาย รวมถึง สิทธิในความเป็นส่วนตัว ทรัพย์ในสินทางปัญญา เสรีภาพในการพูด การแสดงความคิดเห็นและ การป้องกัน ตนเองจากคาพูดท่ีแสดงถึงความเกลียดชั งส่ิงต่างๆเหล่านี้นักศึกษาวิชาชีพครูต้องรู้และเข้าใจ ก่อนถงึ จะสามารถสอนใหเ้ ด็กปฏบิ ัตติ ามได้สามารถปรับตัวและป้องกันตนเอง ดารงชีวิตยุคดิจิทัลให้ ปลอดภัย ไม่เกิดอันตรายต่อตนเองและบุคคลอื่นที่อยู่ในสังคมออนไลน์ด้วยเช่นกัน และเป็นพลเมืองยุค 4.0 หรือพลเมืองดิจิทัลได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้บทบาทและหน้าที่ของครูในยุคดิจิทัลตาม สานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนหรือสานักงาน ก.พ. ได้กาหนดทักษะด้านดิจิทัลของ ข้าราชการและ บุคลากรภาครัฐ เพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ จะต้องมี ความสามารถด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (DigitalLiteracy) มีความสามารถ ด้านการควบคุม กากับ และการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบายและมาตรฐานการจัดการด้านดิจิทัล (Digital Governance, Standard,and Compliance)ความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อยกระดับ ศักยภาพองค์กร (Digital Technology) ความสามารถด้านการออกแบบกระบวนการและการให้บริการด้วย ระบบดิจิทัลเพื่อ การพัฒนาคุณภาพงานภาครัฐ (Digital Process and Service Design) ความสามารถด้าน การบริหาร กลยุทธแ์ ละการจัดการโครงการ (Strategic and Project Management) ความสามารถด้านผู้นา ดิจิทัล (Digital Leadership) ความสามารถด้านการขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลงด้านดิจิทัล (Digital Transformation) ดังน้ันครูในยุคดิจิทัลก็จะต้องมีทักษะเหล่าน้ีเพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมี 8 skills “Digital Intelligence Quotient” of students in the teaching profession to citizensh

12 ครูตอ้ งปรบั ตวั อย่างไรเพ่อื ใหเ้ ปน็ พลเมอื งยคุ 4.0 ครูจะต้องปรับตัวเองเพ่ือให้เป็นพลเมืองยุค 4.0 หรือพลเมืองดิจิทัล โดยจะต้องมีทักษะ เหล่าน้ีในการท่ีจะเป็นพลเมือง ดิจิทัลที่ดีทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเอง ครูต้องสามารถสร้าง อัตลกั ษณ์ท่ดี ี ของตนเองท้ังในโลกออนไลน์และโลกความจริงในแง่บวก ท้ังความคิด ความรู้สึก และการกระทา โดยมี วิจารณญาณในการรบั สง่ ข่าวสารและแสดงความคิดเห็น เข้าใจและเห็นใจผู้ร่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ และรู้จักรับผิดชอบต่อการกระทาไม่ทาผิดกฎหมายและจริยธรรมในโลกออนไลน์ ทักษะการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณท่ีดี ครูต้องสามารถวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูล ที่ผิด ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์และข้อมูลที่อันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ที่เชื่อถือได้สามารถวิเคราะห์และประเมินข้อมูล จากแหล่งขอ้ มูลที่หลากหลายได้เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในโลกไซเบอร์ได้ ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ ครูต้องสามารถ ป้องกันข้อมูล ด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยและป้องกันการโจรกรรมข้อมูลในการรักษาความปลอดภัย ของตนเองใน โลกออนไลน์การรักษาและปกป้องอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลที่จัดเก็บและข้อมูลส่วนตัวไม่ให้เสียหายหรือ ถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวังดีในโลกไซเบอร์ ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ครูต้องมี ดุลพินิจในการจัดการข้อมูลส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์ เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวท้ังของ ตนเองและผอู้ ื่นเป็นสิง่ สาคัญท่ีต้องประกอบอยู่ในพลเมืองดิจิทัล และต้องมีความเท่าเทียมกันทางดิจิทัลเคารพ ในสิทธิของทุกคน รวมถึงต้องมีวิจารณญาณในการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูลตนเองในสังคมดิจิทัลต้องรู้ วา่ ขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ข้อมูลใดไม่ควรเผยแพร่และ ต้องจัดการความเส่ียงของข้อมูลของตนในสื่อสังคมดิจิทัล ไดด้ ว้ ย ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ ครูต้องบริหารเวลาท่ีใช้อุปกรณ์ดิจิทัล รวมถึง ควบคุม เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์และโลกภายนอก ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้เวลาหน้า จอนาน เกินไป การทางานหลายอยา่ งในเวลาเดยี วกนั และผลเสียของการเสพติดสื่อดิจิทัล ทักษะในการบริหารจัดการ ข้อมูลที่ผู้ใช้งานที่มีการท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ครูต้องเข้าใจธรรมชาติของ การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลว่าจะทิ้ง รอ่ งรอยของขอ้ มลู ทิง้ ไว้เสมอรวมถึงตอ้ งเข้าใจผลลพั ธ์ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ เพอ่ื การรกั ษาข้อมลู อยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ ทักษะในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ ครูต้องรู้จักเรื่องของ การกลั่นแกล้ง บนโลกไซเบอร์ว่าคืออะไร ทาไมต้องให้ความสาคัญกับส่ิงเหล่าน้ีเพราะการกลั่นแกล้งกัน บนโลกไซเบอร์จะ สง่ ผลเสียตามมาดังน้ัน ควรป้องกันโดยมีมารยาทในการสื่อสารกับคนอื่น คิดก่อนโพสต์ คิดถึงผลดีผลเสียท่ีจะ ตามมา ภาษาที่ใช้ต้องไมท่ าให้เกิดความเข้าใจผิด ไม่ควรโพสต์ข้อมูลส่วนตัวท่ีควรเป็นเรื่องส่วนตัวและลดเวลา ในการใชโ้ ซเชียลเพอ่ื เพม่ิ การสื่อสารในชีวิตจรงิ

13 ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจ และสร้าง ความสัมพันธ์ที่ ดีกับผู้อื่นบนโลกออนไลน์แม้จะเป็นการส่ือสารท่ีไม่ได้เห็นหน้ากัน ต้องมีปฏิสัมพันธ์อันดี ต่อคนรอบข้างทั้งใน โลกออนไลน์และในชวี ิตจริงคิดกอ่ นจะโพสตล์ งสงั คมออนไลน์กอ่ นท่ีจะโพสต์รูปหรือ ข้อความลงในส่ือออนไลน์ ไม่ควรโพสต์ขณะกาลังอยู่ในอารมณ์โกรธส่ือสารกับผู้อ่ืนด้วยเจตนาดีไม่ใช้วาจาที่สร้างความเกลียดชังทาง ออนไลนไ์ ม่นาล้วงข้อมลู ส่วนตวั ของผอู้ น่ื ไม่กลน่ั แกลง้ ผอู้ ่นื ผ่านส่ือดิจิทลั ทักษะเหล่าน้ีครูจาเป็นอย่างมากท่ีจะต้องควรมีเพราะจะช่วยให้ตนเองเป็นพลเมืองยุค 4.0 หรอื พลเมอื งดิจทิ ลั ท่ีดีและใชช้ วี ิตบนโลกดิจิทัลได้อย่างมีความสุข นอกจากน้ีในฐานะที่ครูเป็นผู้นาความรู้ไปใช้ กับเด็กในโรงเรียน เพ่ือใช้ใน การแก้ปัญหากับผู้เรียน ถึงแม้ว่าการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์จะไม่ได้เกิดขึ้นใน โรงเรยี นโดยตรง แต่ผลกระทบที่เกดิ กบั เด็กท่ถี ูกกลั่นแกลง้ อาจสง่ ผลตอ่ พฤติกรรมในโรงเรยี นได้ บทสรุป เทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึนทาให้ทุกอย่างเปล่ียนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทาให้คนในยุค ดิจิทัล สะดวกสบายในการติดต่อส่ือสารมากข้ึน จึงทาให้เกิดทักษะชีวิตใหม่ ๆ ขึ้นมากมายดังที่กล่าวมา ข้างตน้ เช่น ความฉลาดด้านดจิ ิทัลทงั้ 8 ดา้ น เอกลักษณ์พลเมอื งดิจิทลั การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล การจัดการการกลั่นแกล้งบนไซเบอร์ ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ การจดั การความเป็นสว่ นตัว การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ร่องรอยทางดิจิทัล ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่นทาง ดจิ ิทัล ทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ ทักษะใน การรับมือกับการกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์ ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม เป็นต้น ซ่ึงเป็นทักษะ ที่ครูในยุคดิจิทัลจาเป็นจะต้องมีนอกจากน้ีทักษะดังกล่าวจะเป็นทักษะที่เช่ือมโยงไปสู่ การเป็นพลเมือง 4.0 หรือพลเมืองดิจิทัล ซึ่งการเป็นพลเมืองดิจิทัล คือ ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ท่ีดี ของตนเอง ทักษะการคิด วิเคราะหม์ ีวจิ ารณญาณที่ดที ักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลก ไซเบอร์ และใช้ชีวิตสังคมดิจิทัล และนาไปใชท้ างานในการเปน็ ครผู ู้สอนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพนนั่ เอง

14 แหล่งที่มา สถาบันสอ่ื เดก็ และเยาวชน. (2561). การจดั ทา Fact Sheet‘ความฉลาดทางดจิ ิทลั ’ (Digital Intelligence : DQ) และการศึกษาการรงั แกกันบนโลกไซเบอรข์ องวยั รุ่น. กรงุ เทพมหานคร : สถาบันสื่อเด็กและ เยาวชน Yuhyun Park. (2016). 8 digital skills we must teach our children. Retrieved March 8, 2017, https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-we-must-teach our-children Yuhyun Park. (2016). 8 digital life skills all children need - and a plan for teaching them. Retrieved Janury 22, 2019 from https://www.weforum.org/agenda/2016/09/8-digitallife-skills- all-children-need-and-a-plan-for-teaching- them?utm_content=buffer4422b&utm_medium=social&utm_source=facebook.com&utm_ca mpaign=buffer. https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence

15 เสนออาจารยผ์ สู้ อน อาจารยด์ ร. สธุ ิดา ปรชี านนท์ อาจารยด์ ร. สจุ ิตตรา จนั ทรล์ อย รายวชิ า GD58201 การพฒั นาความเป็นครู หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ ประวตั ิผจู้ ดั ทา ชื่อ – นามสกลุ : นางสาวญาณจั ฉรา วงษา วฒุ ิการศกึ ษา : สาเรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาตรี คณะวทิ ยาลยั การฝึกหดั ครู มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร กาลงั ศกึ ษา : หลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู รุน่ ท่ี 23 มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ

15 จบแลว้ คะ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook