Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565

คู่มือนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565

Published by supat_to, 2022-07-11 01:57:44

Description: คู่มือสำหรับนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565
ที่รวบรวมข้อมูลคณะวิทยาการจัดการ รายละเอียดสวัสดิการ ที่เกี่ยวข้อง และช่องติดต่อ ติดตามฝ่าย คณะ

Search

Read the Text Version

คณะกรรมการดําเนินงาน ผูจดั ทาํ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ท่ปี รึกษา : คณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักด์ิ คลายสงั ข รองคณบดีฝา ยบรหิ าร อาจารยป ต มิ นัส บรรลือ รองคณบดฝี ายวชิ าการ ดร.กฤษณะ เช้ือชัยนาท รองคณบดีฝายแผนงานและประกันคุณภาพ ดร. อิทธภิ ูมิ พรหมมา รองคณบดีฝา ยวจิ ยั ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ณฐั พงษ เตชะรตั นเสฏฐ รองคณบดีฝา ยกจิ การนกั ศึกษา ดร.พงศวรี  สภุ านนท ---------------------------------------------------------------------- บรรณาธกิ าร ดร.พงศวีร สภุ านนท กองบรรณาธิการ นางสาวสายบวั นนทศ ิลา นายสมภพ บุญคมุ นางสาวเบญจมา สายวจิ ติ ร นายสพุ พตั เสกทวลี าภ ปท ี่พิมพ กรกฏาคม 2565 1

สารจากคณบดีคณะวิทยาการจัดการ ในนามของคณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอตอนรับนักศึกษาใหม ทุกคนที่สอบผานการคัดเลือกเขามาเปนนักศึกษาในร้ัวของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภายใต คณะวทิ ยาการจัดการ ในปการศึกษา 2565 น้ี นับเปนโอกาสอันดีที่ทุกคนไดกาวเขาสูคณะวิทยาการจัดการ ซ่ึงเปนผูนํา ดานการจัดการเรียนการสอนและสรางความเปนผนู ําในหลักสตู รดานบริหารธุรกิจ โดยมุงเนนใหนักศึกษาเปน ผมู ีความรู มีทักษะ มีสาํ นึกดานคณุ ธรรมและจริยธรรม เพ่ือทจ่ี ะสาํ เร็จออกไปเปนบัณฑิตทม่ี ีคุณภาพ เปน คนดี มีความสามารถในการปรับตัว สามารถแกไขปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ใหผานพนไดดวยดี ผมขอใหนักศึกษา ใหมทุกคน ใชเวลาในการเรียนรูและมีความเพียรพยายามอยางตอเนื่อง รูจักแบงเวลาในการเรียนและ ทํากิจกรรมตาง ๆ ใหเหมาะสม ซึ่งจะเปนประโยชนตอนักศึกษาเอง นําไปสูความเจริญงอกงามทางจิตใจ และสตปิ ญ ญา ท้ังนี้ จะเปน สว นสําคญั ตอ การพัฒนาตนเอง สงั คม และประเทศชาติตอ ไป สุดทายนี้ ขออวยพรใหนักศึกษาทุกคนมีความสุขและประสบความสําเร็จในการเรียน เปนบัณฑิต ตามทต่ี นเองและครอบครวั มุง หวังไว และขอตอ นรบั นกั ศึกษาใหมทุกคน สูครอบครวั ของคณะวิทยาการจัดการ ดว ยความยนิ ดีย่ิง (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักด์ิ คลา ยสังข) คณบดีคณะวทิ ยาการจดั การ กรกฎาคม 2565 2

ประวตั คิ ณะวทิ ยาการจดั การ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา เลขท่ี 1 ถนนอูทองนอก แขวงวชิระ เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร 10300 โทรศพั ท 0-2160-1494 / โทรสาร 0-2160-1491 คณะวิทยาการจัดการ ไดเริ่มกอตั้งข้ึนปพ.ศ. 2528 ซ่ึงขณะนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ยังมีฐานะเปน วิทยาลัยครูสวนสุนันทา และคณะวิทยาการจัดการใชช่ือวา คณะวิชาวิทยาการจัดการ คณะทํางานท่ีรวมกันกอตั้งคณะวิชาประกอบดวยอาจารยจากสาขาวิชาเศรษฐศาสตรและรัฐศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวน 3 ทาน คือ อาจารยรัชพิณ รัชตะนาวิน, อาจารยเชวง แสนทวสี ุข และ อาจารยอภิชาต กําภูมิประเสริฐ รวมท้ังบุคลากรจากหนวยงานอ่ืนอีก 2 ทาน ไดแก อาจารยเปรมจิตต สระวาสี จาก คณะวิชาวิทยาศาสตร และอาจารยสมศักด์ิ ขาวลาภ จากหนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ โดยวิทยาลัยมอบหมายใหอาจารยเปรมจิตต สระวาสี เปนหัวหนาคณะทํางาน ในการกอตั้งคณะวิชาวิทยาการจัดการ ระยะแรกของโครงการกอต้ังคณะนั้นไดทดลองเปดสอน ในหลกั สูตรโปรแกรมวิชาธุรกจิ ศึกษากอน หลังจากนั้นมาจงึ เรมิ่ มกี ารพฒั นาหลักสูตรอยา งตอ เนื่อง ดังนี้ พทุ ธศกั ราช 2530 ดําเนนิ การพัฒนาหลกั สตู รอนปุ รญิ ญา ศิลปศาสตร สาขาการจัดการท่ัวไป พรอมกับมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหคณะวิทยาการจัดการเปนสวนราชการหนึ่งของวิทยาลัยครู สวนสุนันทา ประกอบดวยภาควิชา 5 ภาควิชาคือ ภาควิชาการเงินและการบัญชี ภาควิชาการตลาด ภาควิชาการสอ่ื สารและการประชาสมั พันธ ภาควิชาการบริหารธรุ กิจและสหกรณ และภาควชิ าเศรษฐศาสตร มีหนาท่ีในการบริหารจัดการและดูแลการจัดการเรียนการสอนในระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี 2 ป ตอเน่ือง และ ปรญิ ญาตรี 4 ป ในสายบริหารธุรกจิ และการจดั การ สายนิเทศศาสตรแ ละสายอุตสาหกรรมบริการ พุทธศักราช 2538 มีการประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 นบั ตั้งแตน ั้นเปนตน มา คณะวชิ าวิทยาการจัดการก็ไดเ ปลยี่ นชอ่ื เปน คณะวิทยาการจัดการ เปนสว นราชการหนงึ่ ในสถาบันราชภฏั สวนสนุ นั ทา พทุ ธศกั ราช 2539 คณะวิทยาการจัดการปรับเปล่ียนสว นราชการภายในคณะจากการบริหาร แบบภาควิชาเปนการบริหารงานแบบโปรแกรมวิชา ประกอบดวย โปรแกรมวิชาการจัดการท่ัวไป โปรแกรมวิชาการบรหิ ารธุรกจิ และโปรแกรมวิชานเิ ทศศาสตร พุทธศักราช 2543 จดั ตัง้ สาขาวิชาโปรแกรมวชิ าเศรษฐศาสตรธ รุ กจิ พุทธศกั ราช2547 มกี ารปรบั เปล่ยี นสถานะองคกร จากสถาบันราชภัฏเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในสวนโครงสรา งของคณะวิทยาการจัดการ พรอ มกับมีการจดั ตั้งโปรแกรมวิชาวชิ าการบญั ชี พทุ ธศักราช2549 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา มีการปรับโครงสรางองคกรใหทุกหนวยงาน และสําหรับในสวนของคณะวิทยาการจัดการประกอบดวย สํานักงานคณบดี โดยมีการจัดต้ัง โปรแกรมวิชาบรหิ ารธุรกจิ และโปรแกรมวิชาวิชานิเทศศาสตร พุทธศักราช2550 - 2554 มีการปรับเปล่ียนโครงสรางองคกรทุกหนวยงานอีกคร้ังในสวน คณะวิทยาการจัดการ ไดเปลี่ยนคําวา “โปรแกรมวิชา” เปนคําวา “กลุมสาขาวิชา” ซ่ึงมีทั้งส้ิน 18 สาขาวิชา และจาํ แนกเปนหลกั สตู รได 3 หลักสตู ร ดงั น้ี 3

- หลักสูตรบริหารธุรกิจ ประกอบดวย สาขาวิชาการตลาด สาขาการบริหาร ทรัพยากรมนุษย สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการเงินการธนาคาร สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ สาขาธุรกิจระหวา งประเทศ สาขาการจัดการธรุ กิจบริการ และสาขาการประกอบการธรุ กิจ - หลักสูตรการบัญชี ประกอบดวย สาขาวิชาการบัญชี - หลักสูตรนิเทศศาสตร ประกอบดวย สาขาวารสารศาสตร สาขาประชาสัมพันธ สาขาการโฆษณา สาขาวิทยุโทรทัศน สาขาวิทยุกระจายเสียง สาขาภาพยนตรและสื่อสารการแสดง สาขาภาพเคลอ่ื นไหวและส่ือผสม และสาขาวชิ าการแพรภ าพผา นสอื่ ผสมสมยั ใหม พทุ ธศกั ราช 2559 - 2560 มีการปรับหลักสตู รใหม เปน 5 หลักสตู ร ประกอบดวย - หลักสูตรบริหารธรุ กิจ แขนงวิชาการตลาด แขนงวิชาการบริหาร ทรัพยากรมนุษย แขนงวชิ าการเงินการธนาคาร แขนงวิชาธุรกิจระหวางประเทศ แขนงวิชาการจัดการ ธุรกิจบริการ และแขนง การประกอบการธรุ กิจ - หลกั สูตรคอมพวิ เตอรธ รุ กิจ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ ุรกิจ - หลักสูตรเศรษฐศาสตรธุรกิจ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตรธรุ กจิ - หลกั สูตรการบญั ชี สาขาวิชาการบญั ชี - หลักสูตรนิเทศศาสตร แขนงวิชาวารสารสนเทศ แขนงวิชาการประชาสัมพันธ และการส่ือสารองคกร แขนงวิชาการโฆษณาและส่ือสารการตลาด แขนงวิชาวิทยุกระจายเสียง และวิทยโุ ทรทศั น และแขนงวชิ าภาพยนตรและสื่อดจิ ทิ ลั พทุ ธศกั ราช 2564 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทามีการจดั ต้งั วิทยาลัยนเิ ทศาสตรว ิทยาเขต นครปฐม คณาจารยและบุคลากรประจําหลักสูตรนิเทศศาสตรนิเทศศาสตรบัณฑิต จึงไดยายจาก คณะวิทยาการจัดการไปสังกัดวิทยาลัยนิเทศาสตรแทน ปจจุบันคณะวิทยาการจัดการ จึงมีหลักสูตร ทท่ี าํ การเปดการเรยี นการสอนทางดา นบริหารธุรกจิ โดยเฉพาะ ประกอบดวย 3 หลักสูตร ดงั นี้ 1. หลักสูตรบญั ชบี ณั ฑติ 2. หลกั สูตรเศรษฐศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตรธ ุรกจิ 3. หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต - แขนงวิชาการเงินการธนาคาร - แขนงวิชาการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย - แขนงวชิ าการตลาด - แขนงวิชาธุรกจิ ระหวางประเทศ - แขนงวชิ าการจดั การธุรกจิ บริการ - แขนงวิชาการประกอบการธรุ กจิ 4

นับต้ังแตปพทุ ธศกั ราช 2528 – 2564 คณะวิทยาการจัดการ มีคณบดบี รหิ ารงาน จาํ นวน 9 ทา น ดงั นี้ 1. อาจารยเปรมจิตต สระวาลี (หวั หนา คณะวิชา) พ.ศ. 2530 – 2533 2. อาจารยร ัชพณิ รัชตะนาวนิ (หัวหนาคณะวิชา) พ.ศ. 2533 – 2536 3. รองศาสตราจารยอุไร ถาวรายุศม (หวั หนาคณะวิชา) พ.ศ. 2536 – 2538 (คณบดโี ดยตําแหนง ) พ.ศ. 2538 – 2539 4. ผูช ว ยศาสตราจารยส มศกั ดิ์ ขาวลาภ 5. ผูชว ยศาสตราจารยว ภิ าพรรณ กนษิ ฐนาคะ (คณบดี) พ.ศ. 2539 – 2542 6. อาจารยทรงศักด์ิ พิรยิ ะกฤติ (คณบดี) พ.ศ. 2542 – 2546 (คณบดี) พ.ศ. 2546 – 2549 ผชู ว ยศาสตราจารยช ัยธนตั ถกร ภวิศพิรยิ ะกฤติ (คณบดี) พ.ศ. 2549 – 2552 (เปล่ียนช่ือ-นามสกลุ ) 7. ผชู วยศาสตราจารย ดร.สมเดช รุงศรสี วัสดิ์ (คณบดี) พ.ศ. 2552 – 2556 8. ผชู วยศาสตราจารย ดร.ประทีป วจีทองรัตนา (คณบดี) พ.ศ. 2556 – 2563 9. ผูช วยศาสตราจารย ดร. สมศกั ดิ์ คลา ยสังข (คณบดี) พ.ศ. 2563 – ปจจุบนั 5

คณะวิทยาการจดั การ ปรชั ญา “แมแ บบทดี่ ีของสงั คม” วิสยั ทัศน “คณะวทิ ยาการจัดการ : แมแบบทดี่ ีของสงั คม ดา นการบริหารจัดการ” พนั ธกิจ 1. ผลิตบณั ฑิตบรหิ ารธุรกิจ ทม่ี คี ุณภาพตรงตามความตองการขององคกรช้ันนําและสงั คม ใหม ีความรู คูคุณธรรม และรูจกั ปรับตัวบนพื้นฐานแหงโลกวถิ ใี หม กา วไปสคู วามเปน นานาชาติ 2. พัฒนาคณาจารยสูความเปนเอตทัคคะ เพ่ือทําหนา ท่ีวิจัย สรางนวัตกรรม และองคความรู ทางบรหิ ารธรุ กิจสูการพฒั นาสงั คมไทยสูสากล 3. บริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยีดานบริหารธุรกิจ แกชุมชนและสังคม ผานระบบการเรียน การสอนออนไลนท่ีสมบรู ณแ บบ เพ่อื ยกมาตรฐานความเปน อยขู องชมุ ชนและสงั คม 4. สงเสรมิ การทาํ นบุ ํารงุ ศิลปวัฒนธรรมและธาํ รงไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 6

โครงสรา งองคกรและโครงสรางการบรหิ าร คณะกรรมการประจําคณะวิทยาการจดั การ คณบดี คณะกรรมการประจาํ คณะ คณะกรรมการบรหิ าร รองคณบดี สายวิชาการ สายสนับสนุนวิชาการ 1. หลักสูตรบญั ชบี ณั ฑิต 1. ฝา ยบริหารงานทัว่ ไป ธรุ การ 9. สวนงานฝก ประสบการณวิชาชีพ 2. หลกั สตู รเศรษฐศาสตรบณั ฑิต และประชาสัมพันธ และสหกจิ ศกึ ษา สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธรุ กจิ 2. ฝา ยคลังและพสั ดุ 10. ฝายกิจการนกั ศกึ ษาและ 3. หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต 3. สวนงานอาคาร สถานท่ี ศิลปวฒั นธรรม - แขนงวชิ าการเงนิ การธนาคาร และโสตทัศนปู กรณ 11. สวนงานศนู ยปฏิบตั ิการวทิ ยุ - แขนงวิชาการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย 4. สว นงานการเงนิ และบญั ชี โทรทัศนและสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง - แขนงวชิ าการตลาด 5. ฝา ยบริการการศกึ ษา - แขนงวชิ าธรุ กจิ ระหวางประเทศ 6. ฝา ยวิจัยและบรกิ ารวิชาการ - แขนงวชิ าการจัดการธุรกิจบรกิ าร 7. ฝา ยแผนงานและประกนั คณุ ภาพ - แขนงวชิ าการประกอบการธุรกิจ 8. สวนงานศนู ยคอมพิวเตอร 7

ผูบริหารคณะวทิ ยาการจดั การ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักด์ิ คลา ยสังข คณบดีคณะวิทยาการจดั การ อาจารยปต ิมนัส บรรลือ ดร.อิทธภิ ูมิ พรหมมา ดร.กฤษณะ เช้อื ชัยนาท รองคณบดีฝายบริหาร รองคณบดีฝา ยแผนงานและประกันคุณภาพ รองคณบดฝี ายวชิ าการ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ณัฐพงษ เตชะรัตนเสฏฐ ดร.พงศวีร สุภานนท รองคณบดฝี ายวจิ ยั รองคณบดฝี ายกิจการนักศึกษา 8

การประกันคณุ ภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กําหนดให สถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผล การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา การประกันคุณภาพภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและ ประเมินการดําเนินงานของสถานศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐาน ที่กําหนดโดยสถานศึกษา และ/หรือ หนวยงานตนสังกัด โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดให มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง มีการจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงาน ประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบันหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพ่ือพิจารณาและ เ ป ด เ ผ ย ต อ ส า ธ า ร ณ ช น เ พื่ อ นํ า ไ ป สู ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ เ พ่ื อ ร อ ง รั บ การประกนั คุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เปนการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อใหมีการติดตาม และตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาใน แตละระดับ ซ่ึงประเมินโดย “สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องคก ารมหาชน)” หรือเรียก ช่ือยอ วา “สมศ.” ดวยความจําเปนดังกลาวสถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจึงจําเปนตองพัฒนาระบบและกลไก การประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถปุ ระสงคดงั นี้ 1. เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาํ เนนิ งานของสาขาวิชา คณะหรือหนวยงานเทยี บเทา และสถาบัน อุดมศึกษาในภาพรวมตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้น โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ ผลการดําเนิน งานตามตัวบงช้ใี นทกุ องคประกอบคุณภาพวาเปน ไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน 2. เพื่อใหสาขาวิชา คณะหรือหนวยงานเทียบเทา และสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพ ของตนเองอันจะนําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสูเปาหมาย (Targets) และเปาประสงค (Goals) ทตี่ งั้ ไวต ามจดุ เนน ของตนเองและเปน สากล 3. เพ่ือใหสาขาวิชา คณะหรือหนวยงานเทียบเทา และสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดท่ีควรปรับปรุง ตลอดจนไดรับขอเสนอแนะในการพัฒนาการดําเนินงานเพื่อเสริมจุดแข็ง และพัฒนา จดุ ทคี่ วรปรบั ปรงุ ของสถาบันอยางตอเน่ือง 4. เพื่อใหขอมูลสาธารณะที่เปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหม่ันใจวาสถาบันอุดมศึกษา สามารถสรา งผลผลิตทางการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพและไดมาตรฐานตามท่ีกําหนด 5. เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของมีขอมูลพ้ืนฐานท่ีจําเปน สําหรบั การสง เสริมสนบั สนนุ การจดั การอดุ มศกึ ษาในแนวทางทเี่ หมาะสม 9

องคป ระกอบคุณภาพการศึกษา ระดับอดุ มศึกษา 9 ดา น คอื • ปรชั ญา ปณิธาน วตั ถปุ ระสงค และแผนดําเนินการ • การเรียนการสอน • กิจกรรมการพฒั นานสิ ติ นักศกึ ษา • การวจิ ัย • การบริการทางวชิ าการแกสังคม • การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม • การบรหิ ารและการจัดการ • การเงนิ และงบประมาณ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ นอกจากนี้คณะไดคํานึงถึงนโยบายและมาตรการของภาครัฐในดานตาง ๆ โดยระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิทยาการจัดการน้ัน คํานึงถึงองคประกอบคุณภาพการศึกษาดังกลาว และถือเปนกลไก เปนเครื่องมือที่จะตรวจสอบ ประเมิน กระตุนการปฏิบัติพันธกิจของคณะ โดยมุงใหเกิด คุณภาพและการสรา ง วฒั นธรรมคุณภาพใหเ กิดขนึ้ ในมโนสํานกึ ของคณาจารย บุคลากร และนักศึกษาทกุ คน ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ มุงเนนใหเกิดวงจรคุณภาพ (PDCA) ในการดําเนินงานทุกพันธกิจ ทั้งในระดับคณะและสาขาวิชา โดยมีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ที่ครอบคลุมการดําเนินงาน ตามองคประกอบคุณภาพการศึกษาที่กําหนด วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ประกอบดว ย P = Plan คอื การวางแผนงานจากวตั ถปุ ระสงค และเปาหมายทไี่ ดกําหนดขน้ึ D = Do คือ การปฏิบัตติ ามข้นั ตอนในแผนงานทไ่ี ดเ ขยี นไวอยา งเปนระบบและมคี วามตอเน่ือง C = Check คือ การตรวจสอบผลการดําเนนิ งานในแตละข้นั ตอนของแผนงานวามีปญหาอะไรเกิดข้ึน จาํ เปน ตอ งเปลี่ยนแปลงแกไขแผนงานในขนั้ ตอนใด A = Action คอื การปรับปรงุ แกไขสวนที่มีปญหา หรอื ถา ไมมีปญ หาใด ๆ ก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัติ ตามแผนงานที่ไดผ ลสาํ เร็จ เพอื่ นาํ ไปใชในการทํางานครั้งตอไป คํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ท่สี ง ผลตอ คุณภาพการศึกษาตามตวั บง ชค้ี ณุ ภาพการศึกษา 10

ฝายกจิ การนักศึกษาและศิลปวฒั นธรรม ปรัชญา บรกิ ารดวยนํา้ ใจ ใสใจนักศึกษา พฒั นาดวยกิจกรรม คุณธรรมนําหนา วิชาการกา วล้ํา พรอมนาํ สงั คม วสิ ัยทัศน หนวยงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการสงเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของนักศึกษา โดยเนนการบรกิ ารดว ยน้าํ ใจ ใชกจิ กรรมเปน กระบวนการในการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษา ใหครบทกุ ดา น ตามคณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค ภายใตกรอบนโยบายของคณะและมหาวทิ ยาลัย พันธกจิ 1. สงเสริมและสนับสนุนใหนักศึกษาทํากิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเอง ตามคุณลักษณะบัณฑิต ทพ่ี ึงประสงคท ง้ั 5 ดาน ดงั ตอไปน้ี - ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม - ดานความรู - ดา นทกั ษะทางปญญา - ดา นทกั ษะความสมั พนั ธระหวางบุคคลและความรบั ผิดชอบ - ดา นทักษะการวิเคราะหเชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช IT 2. สงเสริมสนับสนนุ ใหน ักศึกษาทํากิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองใหเปน ผมู ีความสมบรู ณ ทั้งดานวิชาการ สติปญ ญา รางกาย อารมณ สังคม และจริยธรรม 3. แนะแนวใหคําปรึกษา สรางความเขมแข็งของงานสหกิจศึกษา การฝกงานและการมีงานทํา ของบัณฑติ 4. ปลกู ฝง จิตสาํ นกึ ใหน กั ศึกษาหา งไกลยาเสพติด และอบายมุขทงั้ หลาย 5. ดําเนนิ กจิ กรรมทส่ี าํ คญั ของคณะฯ และมหาวทิ ยาลยั ฯ ตามท่ไี ดร บั มอบหมาย ทตี่ ัง้ ของฝา ยกิจการนกั ศกึ ษา อาคาร 56 คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา แขวงวชริ ะ เขตดสุ ิต กรงุ เทพ 10300 โทรศัพท 0-2160-1494 E-mail: [email protected] Facebook: FMSactivities Youtube: Students affair FMS 11

แผนผังฝายกจิ การนักศกึ ษาและศิลปวฒั นธรรม ผูชว ยศาสตราจารย ดร.สมศักด์ิ คลายสังข คณบดคี ณะวิทยาการจดั การ ดร.พงศวรี  สุภานนท รองคณบดีฝา ยกิจการนกั ศึกษา นางสาวสายบัว นนทศิลา หัวหนา ฝา ยกจิ การนกั ศึกษาและศิลปวัฒนธรรม นายสมภพ บุญคมุ นางสาวเบญจมา สายวิจิต นายสพุ พตั เสกทวีลาภ เจา หนาท่ฝี ายกจิ การนักศึกษา เจา หนาทีฝ่ ายกิจการนักศึกษา เจา หนา ทีฝ่ า ยกจิ การนกั ศกึ ษา 12

คณะกรรมการดําเนินงาน ทปี่ รกึ ษา ประธานกรรมการ 1. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สุพตั รา กาญจโนภาส กรรมการ 2. อาจารย ดร.พงศวรี  สภุ านนท กรรมการ 3. อาจารย ดร.ลดาพร พทิ ักษ กรรมการ 4. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ชตุ มิ า คลา ยสงั ข กรรมการ 5. อาจารยเ ทพ เหมือนฟู กรรมการและเลขานุการ 6. ผูช วยศาสตราจารย ดร.พสิ ษิ ฐ พจนจารวุ ิทย ผชู ว ยเลขานุการ 7. นางสาวสายบวั นนทศิลา ผูช วยเลขานกุ าร 8. นายสมภพ บญุ คมุ ผูชว ยเลขานกุ าร 9. นางสาวเบญจมา สายวิจิตร 10. นายสุพพัต เสกทวลี าภ ประธาน กรรมการ กรรมการงานกจิ การนกั ศึกษา กรรมการและเลขานุการ ผชู วยเลขานกุ าร 1. อาจารยสุวิตา พฤกษอาภรณ ผูชวยเลขานุการ 2. ผชู วยศาสตราจารย ดร.ชตุ มิ า คลายสงั ข ผูช วยเลขานุการ 3. นางสาวสายบวั นนทศิลา 4. นายสมภพ บญุ คมุ ประธาน 5. นางสาวเบญจมา สายวิจิตร กรรมการ 6. นายสุพพตั เสกทวลี าภ กรรมการและเลขานุการ ผูชวยเลขานุการ กรรมการงานศลิ ปวัฒนธรรม ผูชวยเลขานุการ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พสิ ษิ ฐ พจนจารวุ ทิ ย 2. อาจารยเ ทพ เหมอื นฟู 3. นางสาวสายบวั นนทศ ิลา 4. นางสาวเบญจมา สายวจิ ติ ร 5. นายสุพพัต เสกทวีลาภ 13

แนวทางการดําเนนิ งานฝา ยกิจการนักศึกษา สําหรับแนวคิดการทํางานของฝายกิจการนักศึกษาและศิลปวัฒนธรรม คณะวิทยาการจัดการ ยึดม่ันในแนวทางการดําเนินงาน ที่จะพัฒนานักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ใหเปนบุคคลท่ีมีคุณภาพ ควบคูกับการเปนผมู ีคุณธรรมและจรยิ ธรรมอนั ดงี าม โดยปฏิบตั ิงานภายใตกรอบแนวคิด 3 ส. ประกอบดว ย 1. สงางาม นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการตองมีความ สงางาม เปนผูที่มีบุคลิกภาพดี ทั้งภายในและ ภายนอก โดยเปน ผทู ่ไี ดรบั การยอมรับของบุคคลทัว่ ไป 2. สามคั คี มคี วามสามคั คีในหมูคณะ และมีความสมคั รสมานฉันทตอ กนั พรอ มรว มมือรวมใจ รว มทาํ กิจกรรมตามทกี่ าํ หนด 3.สรรคสราง รูจักสรรคสรางส่ิงดีงามเพ่ือสังคม ประเทศชาติและมีความคิดริเริ่มสรางสรรคสิ่งตางๆ อันเปน ประโยชนตอ หมูคณะ และสถาบนั 14

นโยบายการดาํ เนนิ งาน 1.ดา นการจดั กิจกรรม ฝายกิจการนักศึกษาและศิลปวัฒนธรรม มีนโยบายการจัดกิจกรรมในการสงเสริมและพัฒนา นกั ศึกษาใหสอดคลอ งกับคณุ ลักษณะบณั ฑิตที่พงึ ประสงค 5 ดา น ดงั น้ี 1.1 คณุ ธรรม จริยธรรม สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใชดุลยพินิจทางคานิยม ความรูสึก ของผูอื่น คานิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางดานคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวนิ ัย มีความรบั ผดิ ชอบ ซอ่ื สัตยส จุ ริต เสียสละ เปนแบบอยางที่ดี เขา ใจผอู นื่ และเขา ใจโลก เปนตน 1.2 ความรู กิจกรรม ประกอบดวยกิจกรรมที่สอดคลองกับคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค 5 ดาน คือ มีองคความรใู นสาขาวชิ าอยา งกวางขวางและเปน ระบบ ตระหนกั รหู ลกั การและทฤษฎใี นองคความรทู เี่ ก่ียวของ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเขาใจเก่ียวกับความกาวหนาของความรูเฉพาะดานในสาขาวิชา และตระหนัก ถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เกี่ยวของกับการแกปญหาและการตอยอดองคความรู สวนหลักสูตรวิชาชีพท่ีเนน การปฏิบัตจิ ะตอ งตระหนักในธรรมเนยี มปฏิบตั ิ กฎระเบียบ ขอบงั คับ ทเ่ี ปล่ยี นแปลงตามสถานการณ 1.3 ทกั ษะทางปญญา สามารถคนหาขอเท็จจริง ทําความเขาใจและสามารถประเมินขอมูลแนวคิดและหลักฐานใหมๆ จากแหลง ขอมูลที่หลากหลาย และใชขอมูลที่ไดในการแกไขปญหาและงานอ่ืนๆ ดวยตนเอง สามารถศึกษา ปญหาท่ีคอนขางซับซอน และเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค โดยคํานึงถึงความรูทาง ภาคทฤษฎี ประสบการณทางภาค ปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ สามารถใชทักษะและความเขาใจ อันถองแทในเนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพนักศึกษาสามารถใชวิธีการ ปฏิบัตงิ านประจํา และหาแนวทางใหมใ นการแกไขปญ หาไดอยา งเหมาะสม 1.4 ทกั ษะความสัมพันธร ะหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีสวนชวยและเอ้ือตอการแกปญหาในกลุมไดอยางสรางสรรค ไมวาจะเปนผูนําหรือสมาชิก ของกลุม สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในสถานการณท่ีไมชัดเจนและตองใชนวัตกรรมใหม ๆ ในการแกปญหา มีความคิดริเร่ิมใน การวิเคราะหปญหาไดอยางเหมาะสมบนพ้ืนฐานของตนเองและของกลุม รบั ผดิ ชอบในการเรียนรูอ ยางตอ เนื่อง รวม ทงั้ พัฒนาตนเองและอาชพี 1.5 ทกั ษะการวิเคราะหเ ชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช IT สามารถศึกษาและทาํ ความเขา ใจในประเด็นปญหา สามารถเลือกและประยุกตใชเทคนคิ ทางสถิติ หรือ คณิตศาสตรท่ีเก่ียวของอยางเหมาะสมในการศึกษาคนควาและเสนอแนะแนวทางในการแกไข ปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนําเสนอขอมูล ขาวสารอยา งสมํ่าเสมอ สามารถสื่อสารไดอยางมปี ระสิทธิภาพท้ังในการพูด การเขยี น สามารถเลือกใชรูปแบบ ของการนาํ เสนอท่ีเหมาะสม สําหรับกลมุ บคุ คลทแี่ ตกตา งกนั ได 15

2. ดานทนุ การศกึ ษา ประสานงานกับกองพัฒนานักศึกษา ในการใหทุนการศึกษากับนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑ ทีม่ หาวทิ ยาลัย หรอื หนวยงานที่มอบทนุ กาํ หนด สามารถแบง ประเภทของทุน ไดด งั นี้ 2.1 ทุนกยู มื เพื่อการศึกษา 2.2 ทนุ ตอ เนื่อง 2.3 ทุนเฉพาะป 2.4 ทุนทมี่ ีผบู รจิ าคในวาระตาง ๆ ท้ังนี้ แตละทุนจะมีเกณฑประกอบการพิจารณาเบื้องตน คือ เปนผูมีความประพฤติดี และมคี ะแนนเฉลยี่ สะสมไมต าํ่ กวา 2.00 3. ดา นระเบยี บวนิ ยั และความประพฤติของนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา มีภารกิจในการกํากับ สอดสอง ดูแล ความประพฤติ ความเปนอยู และความมีระเบยี บวินยั ของนกั ศกึ ษาคณะวทิ ยาการจดั การ โดยใหความสาํ คญั ในเร่อื งตาง ๆ ดังน้ี 3.1 การแตง กาย และความประพฤตขิ องนกั ศกึ ษา 3.2 การเลน พนัน 3.3 การดม่ื สุรา 3.4 การสบู บหุ รบ่ี นอาคารเรียนและบริเวณอาคารเรยี น 3.5 ยาเสพตดิ ท้งั นห้ี ากนักศึกษาคนใดไมป ระพฤติตามกฎระเบยี บจะถูกลงโทษตามกฎระเบียบที่มหาวิทยาลัยกําหนด 4. การผอนผันเขารับการตรวจเลือกเขารับราชการทหารกองประจําการ (สําหรับนักศึกษา ท่ีไมไ ดเ รียน รด.) นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการที่ประสงคขอผอนผันเขารับการตรวจเลือกเขารับราชการทหาร กองประจําการ สามารถรับแบบฟอรมการขอผอนผันไดท่ีกองพัฒนานักศึกษา ในวันเวลาราชการ การยื่น แบบฟอรมขอผอนผัน สามารถยื่นไดทกี่ องพฒั นานักศึกษา โดยนักศกึ ษาจะตอ งเตรียมหลักฐาน ดังน้ี 4.1 สาํ เนา สด.9 4.2 สาํ เนาหมายเรยี กเขารับราชการทหาร 4.3 สาํ เนาบตั รประจําตวั ประชาชน 4.4 สาํ เนาทะเบียนบาน 16

6. การขอรับคาสนิ ไหมทดแทนเนื่องจากอุบัติเหตุ - เจบ็ ปวย นักศึกษาท่ีมีรหสั ตั้งแต 59 เปน ตน ไป ทางมหาวทิ ยาลัยไดจ ัดตงั้ กองทุนสวสั ดิภาพและพฒั นานักศึกษา เพื่อเปนหลักประกันสําหรับนักศึกษา ใหความคุมครองการสูญเสียชีวิตอวัยวะตาง ๆ และคารักษาพยาบาล อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ-เจ็บปวยระหวางเลาเรียนและเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ขณะศึกษาอยูในมหาวิทยาลัย โดยการขอรบั เงินคาสินไหมทดแทน ฯ จะอยูภายใตประกาศของมหาวิทยาลยั นักศกึ ษา สามารถรับแบบฟอรมขอรับคาสินไหมทดแทน เน่ืองจากอุบัติเหตุไดท่ีกองพัฒนานักศึกษา และยืน่ คํารอ งพรอมแนบใบเสร็จรบั เงิน ตามวัน เวลาราชการ 7. การขออนุมตั เิ งินรางวัลสําหรับนกั ศึกษาท่ีสรา งช่ือเสยี งใหก บั มหาวิทยาลัย ฝายกิจการนักศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ไดสนับสนุนนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ ทไ่ี ดรับรางวัลจากการสงผลงานเขาประกวดในระดับชาติหรือนานาชาติ โดยใหนกั ศกึ ษามายื่นเอกสารหลักฐาน การรับรางวลั ตา ง ๆ ทฝ่ี า ยกจิ การนกั ศึกษาฯ เพื่อทําบนั ทกึ ขอ ความขออนุมตั ิเงินรางวัล ดงั ตอ ไปนี้ 1. เอกสารเชิญเขา รวมงาน หรอื หนงั สือประชาสัมพันธก ารประกวด 2. เอกสารยืนยนั การรบั รางวลั จากหนว ยงานทมี่ อบให 3. สําเนาบัตรนกั ศกึ ษาของผูเขา ประกวด 4. สาํ เนาประกาศนียบัตร และรปู ถายโลรางวลั 5. รปู ภาพตอนรบั รางวลั นอกจากการบริการตาง ๆ ที่คณะวิทยาการจัดการ และมหาวิทยาลัยจัดให เพ่ือชวยเหลืออํานวย ความสะดวก และเอ้ืออํานวยประโยชนตอการศึกษาเลาเรียนแลว ทางคณะวิทยาการจัดการ ยังสงเสริม ใหนักศึกษาไดใชเวลาวางจากการศึกษาดา นวชิ าการตามหลักสตู ร เขารวมกิจกรรมอื่น ๆ กับทางมหาวิทยาลยั คณะ กลุมสาขาวชิ า ชมรม ฯลฯ เพ่ือจะไดฝกฝนทกั ษะทางสังคม เพิ่มประสบการณชวี ิตใหก บั นักศึกษา 8. การบรกิ ารนกั ศึกษา 8.1 อุปกรณกฬี า ฝายกิจการนักศึกษาสนับสนุนใหนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการไดใชเวลาวางจากการเรียนให เกิดประโยชน โดยการออกกําลังกายเลนกีฬาในรูปแบบตาง ๆ นักศึกษาสามารถขอเบิกอุปกรณกีฬา ในเวลาราชการ อาทิ ไมเทเบิ้ล เทนนิส แบดมินต้ัน หมากฮอส หมากรุก ฯลฯ ไดท่ี ฝายกิจการนักศึกษาฯ โดยกรอกแบบฟอรมขอเบิกอุปกรณกีฬาของมหาวิทยาลัย คณะ โดยฝายกิจการนักศึกษาฯ งดการใหบริการ เบิกอุปกรณกีฬาชวงสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 8.2 บริการดานพยาบาล ฝายกิจการนักศึกษาใหบริการดานพยาบาลเบื้องตนแกนักศึกษาของคณะหากนักศึกษาปวดศีรษะ เปนไข ปวดประจําเดือน เปนแผล ฯลฯ สามารถขอรับบริการดานเวชภัณฑไดท่ี ฝายกิจการนักศึกษาฯ 17

รวมทั้งการจัดกิจกรรมของคณะ สโมสรนักศึกษา ชมรม ที่สังกัดในคณะ สามารถเบิกกระเปาพยาบาล เพือ่ ใชใ นกจิ กรรมได 8.3 อุปกรณใ ชใ นกจิ กรรม ฝายกิจการนักศึกษาฯ ใหบริการอุปกรณที่ใชในการประกอบกิจกรรมของนักศึกษาในคณะ หรือ กิจกรรมการเรียน การสอน หรือ กิจกรรมนอกสถานท่ี อาทิ โทรโขง พาน กระติกนํ้าแข็ง คูลเลอร กระเปาพยาบาล ปกคํากลาวรายงานเปดงาน ฯลฯ นักศึกษาสามารถขอเบิกอุปกรณ ดังกลาว ไดท่ี ฝายกิจการนักศึกษาฯ โดยกรอกแบบฟอรมขอเบิกอุปกรณใชในกิจกรรม อาจารยที่ปรึกษากิจกรรม/ ผสู อนเซ็นรบั รองพรอ มแนบบตั รนกั ศกึ ษา 9. การกูยมื เพื่อการศึกษา (กยศ.) ประสานงานกับกองพัฒนานักศึกษา ในการใหขอมูลคําแนะนํา แจงข้ันตอน เร่ืองการยื่นกูยืมเพื่อ การศกึ ษา (กยศ.) ของนักศึกษา ผา นเพจฝา ยกิจการฯ 10. การชวยเหลือนักศกึ ษา กรณไี ดรับเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฝายกิจการนักศึกษาฯ ใหคําแนะนํา ขอมูล ขั้นตอน เรื่องการยื่นขอรับเงินชวยเหลือคารักษาพยาบาล แตไมเกิน 5,000 บาทตอรายจากมหาวิทยาลัย ตามประกาศกองทุนพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา เร่ือง การชวยเหลือนักศึกษา กรณีไดรับเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2564 รวมถงึ การประสานงานกับทางกองพัฒนานักศึกษา เพ่ือตรวจสอบขอ มูลเบื้องตน 18

แผนภาพขนั้ ตอนการรับคํารอ งเรือ่ งการผอนผันการเกณฑทหาร ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน 3 ขั้นตอน รวมระยะเวลาการดาํ เนินงาน 3-5 วนั ขั้นตอนท่ี 1 รบั แบบฟอรม การผอ นผนั การเกณฑทหารของนักศึกษา และตรวจสอบความถกู ตองของเอกสาร 1 วัน ขัน้ ตอนท่ี 2 นําเสนอรองคณบดีฝา ยกจิ การนกั ศกึ ษาและศิลปวัฒนธรรม พิจารณาลงนาม 3 วนั ขั้นตอนที่ 3 นกั ศึกษารบั เอกสารทผ่ี า นการลงนามเรยี บรอ ยแลว พรอ มสาํ เนาเอกสารเกบ็ ไวเปนหลกั ฐาน 1 วนั 19

แผนภาพขัน้ ตอนการขอหนังสือรับรองความประพฤติ มีการดาํ เนินงาน 4 ข้ันตอน รวมระยะเวลาการดาํ เนินงาน 3-5 วนั ข้ันตอนขทน้ั่ี 1ต: รอับนแบกบาฟรอดรํมากเนารินขอกหานรงั ขสืออรอบั รนอุมงคัตวิเางมนิ ปรระาพงฤวตัลิ 1ใวหนั น ักศกึ ษา 1. แกนรอบกสขําทอเนม่ีไาดลู บขร ตั อับรงนนรักักาศศงึกึกษวษาาัลใแแหลเลระยีใะบบสผรลอรกยาางแรลชเระียื่อตนรเเสวทจยีอสมงอลบาคสวดุ ามถูกตอง 2. 3. นําแบบฟอรมไปใหที่ปรึกษาเซ็นรบั ทราบ 4. นาํ เอกสารกลบั มายื่นที่ฝายกจิ การนักศกึ ษา ข้นั ตอนท่ี 2: นาํ เสนอรองคณบดีฝา ยกจิ การนักศกึ ษาพิจารณาลงนาม 1-2 วัน เจาหนา ทีน่ าํ แบบฟอรมของนักศึกษามาพิมพหนังสอื รับรองความประพฤติ และนาํ ไปเสนอทา นรองคณบดฝี า ยกิจการนักศกึ ษาพิจารณาลงนาม ข้นั ตอนท่ี 3: นําเสนอคณบดีคณะวิทยาการจัดการพจิ ารณาลงนาม 1 วัน เจา หนาทีน่ ําหนงั สอื รับรองความประพฤติ เสนอคณบดีคณะวทิ ยาการจดั การ เพอ่ื พจิ ารณาลงนาม และประทบั ตรามหาวทิ ยาลัย ข้นั ตอนที่ 4: แจงนักศึกษามารับเอกสาร 1 วนั เจา หนา ทนี่ าํ หนังสอื รบั รองความประพฤติมาคดั สาํ เนาไว 1 ชดุ เพ่ือเกบ็ เปนหลักฐาน และแจงใหน ักศึกษามารับเอกสารได ทห่ี นาเคาเตอรฝา ยกจิ การนักศึกษาและศลิ ปวัฒนธรรม อาคาร 56 20

แผนภาพการขออนุมัตเิ งินรางวัลสําหรบั นกั ศกึ ษา ท่สี รา งช่ือเสียงใหก ับมหาวทิ ยาลัย มีการดําเนินงาน 4 ขน้ั ตอน (รวมระยะเวลาการดําเนนิ งาน 2-4 สปั ดาห) ข้ันตอนท่ี 1: จัดเตรยี มเอกสาร 1 วนั ทาํ การ ใหนักศึกษาจัดเตรียมเอกสารหลักฐานการรับรางวลั และตรวจสอบความถูกตอ ง ดังตอ ไปน้ี 1. หนังสือเชญิ เขา รวมงาน 2. รปู ภาพกจิ กรรม/ตอนรับรางวลั /รปู โลรางวัล (ถา มี) 3. สําเนาประกาศนยี บัตร 4. สําเนาบตั รนกั ศกึ ษา ขัน้ ตอนท่ี 2: เจาหนาทด่ี ําเนินการสง ขอมูลเขา ระบบ 1 วันทาํ การ จดั ทาํ บันทกึ ขอ ความขออนมุ ัติเงนิ รางวัลใหกับนกั ศึกษาท่ีสรา งชื่อเสียง เสนอรองอธกิ ารบดีฝา ยกิจการนักศึกษา ข้ันตอนที่ 3: เจา หนา ทก่ี องพัฒนานักศกึ ษานําเร่ืองเขาที่ประชมุ เวลา 1-2 สัปดาห นําเรือ่ งเสนอผูมีอํานาจลงนาม/พจิ ารณา/นําเขาทป่ี ระชมุ /แจง ผล ขนั้ ตอนที่ 4: แจง ผลการดําเนินการใหน ักศึกษาทราบ เมอ่ื เจาหนาทกี่ องพัฒนานักศึกษาแจง การอนมุ ัติเงินรางวัล ทางฝา ยกิจการนกั ศึกษาจะติดตอนักศึกษาเพื่อมารับเงนิ รางวัล โดยใหเตรียมเอกสาร ดงั นี้ 1. สาํ เนาบตั รนกั ศึกษา 2. สําเนาหนาบุคแบงคธนาคารกรงุ เทพ 21

แผนภาพการขอรับคาสนิ ไหมทดแทนเนื่องจากอุบตั ิเหตุ – เจ็บปว ย มกี ารดําเนนิ งาน 3 ขัน้ ตอน (รวมระยะเวลาการดาํ เนนิ งาน 1-2 สปั ดาห) ขน้ั ตอนท่ี 1: ดาวนโ หลดใบคํารอ งของรับคาสินไหมทดแทนเนื่องจาํ กอบุ ตั เิ หตุ นกั ศกึ ษาดาวนโหลดที่ http://sdd.ssru.ac.th/page/download และกรอกขอมูลใหครบถว น ข้นั ตอนท่ี 2: นักศกึ ษานาํ เอกสารสงฝายกิจการนักศกึ ษาฯ เจา หนาท่ตี รวจสอบความ ถกู ตอง และเสนอ ตอรองคณบดลี งนาม ขน้ั ตอนท่ี 3: เจา หนาท่ี ติดตอนักศกึ ษารบั เอกสาร นักศกึ ษารับเอกสารทเี่ สนอลงนามเรยี บรอย นําสง ตอกองพัฒนานักศกึ ษา พรอ มเอกสารเบิกตาง ๆ ดงั นี้ 1. ใบเสร็จคา รักษาพยาบาล 2. ใบรบั รองแพทย 22

แผนภาพการยื่นขอกูยืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) มีการดาํ เนนิ งาน 3 ขน้ั ตอน ขั้นตอนที่ 1: นักศกึ ษาลงทะเบียนขอรับรหสั ผา นและจัดทําแบบคําขอกูย ืมเงิน ใหน ักศึกษาลงทะเบยี นขอรหสั ผาน แบะจัดทําแบบคําขอกยู ืมเงินในระบบ DSL ที่ https://wsa.dsl.studentloan.or.th/ ข้นั ตอนท่ี 2: นกั ศึกษาพมิ พและยืน่ แบบคําขอกูยืมเงิน นกั ศกึ ษาจดั พิมพและยนื่ แบบคําขอกูย มื พรอ มเอกสารหลักฐานตาง ๆ ให มหาวทิ ยาลัยตรวจสอบ ตามวันทกี่ ําหนด ขั้นตอนท่ี 3: เจา หนาทตี่ รวจสอบ และทําสัญญากู เมอ่ื เจา หนา กองทนุ ตรวจสอบเรียบรอ ยแลว จะกาํ หนดนัดหมายประชุม จดั ทาํ สญั ญากู และเปดบัญชีธนาคารและบันทึกสญั ญากใู นระบบ DSL พรอมเอกสารประกอบตาง ๆ ตามกาํ หนด 23

แผนภาพการชว ยเหลอื นักศึกษา กรณไี ดร บั เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มกี ารดําเนินงาน 3 ข้ันตอน (รวมระยะเวลาการดาํ เนนิ งาน 2-4 สัปดาห) ขั้นตอนที่ 1: นักศกึ ษาแจง ขอมลู ตออาจารท ี่ปรกึ ษา ใหนักศึกษาที่ไดรับเชอ้ื ไวรส COVID-19 แจงขอมูลรวมถึง ใบรบั รอง และหรือ ใบผลตรวจเช้ือ ตออาจารยท ี่ปรึกษา ขั้นตอนที่ 2: อาจารยท ี่ปรกึ ษา ทําบันทกึ รายงานพบนักศึกษาไดรบั เชอื้ COVID-19 อาจารยทีป่ รึกษาจัดทําบันทึกรายงานพบนักศกึ ษาไดร บั เชื้อ COVID-19 ถงึ อธกิ ารบดี ขั้นตอนท่ี 3: เจา หนา ท่กี องทุน กองพัฒนาตรวจสอบขอมูลและตดิ ตอนักศกึ ษา เมอื่ บนั ทึกกองทุน เจา หนาทจ่ี ะตรวจสอบขอมลู ตดิ ตอนักศกึ ษา เพื่อนัดสง เอกสารสําหรบั เบิกคารกั ษาพยาบาล 24

ปฏทิ นิ การจัดกจิ กรรมโครงการของฝา ยกิจการนกั ศกึ ษาและศิลปวัฒนธรรม ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2565 ท่ี กิจกรรมฝายกจิ การนักศึกษาและศลิ ปวฒั นธรรม กาํ หนดเวลา 1 โครงการ “จัดทําคมู ือนักศกึ ษา คณะวทิ ยาการจัดการ ปการศึกษา 2565” มถิ ุนายน 2565 ข้ึนเวบ็ คณะวิทยาการจดั การ (www.fms.ssru.ac.th) 2 โครงการ “จดั ทําซุมแสดงความยินดีกบั บณั ฑติ ใหม คณะวทิ ยาการจัดการ ประจาํ ป ตามท่ีมหาลัยกําหนด พุทธศักราช 2565” 3 โครงการ “ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม คณะวิทยาการจัดการ ประจําปการศึกษา 2565” 2-3 กรกฎาคม 2565 4 โครงการ “สานสายใยนองพี่ คณะวิทยาการจัดการ ประจําปก ารศกึ ษา 2565” 7-10 กรกฎาคม 2565 5 โครงการ “พธิ ีไหวค รู ประจาํ ปก ารศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ” 18 สงิ หาคม 2565 6 โครงการ “พธิ บี วงสรวงและบําเพ็ญกุศลทักษิณานุประทานถวายแด สมเดจ็ พระ 10 พฤศจิกายน 2565 นางเจา สุนนั ทากุมารีรัตน พระบรมราชเทว”ี 7 โครงการสงเสรมิ ผลงานนักศึกษาสูก ารประกวดในระดบั ชาติหรือนานาชาติ 27 ธนั วาคม 2565 ประจําปการศกึ ษา 2565 8 โครงการ “ทําบุญตกั บาตรวนั ปใ หม ประจาํ ป 2565” 27 ธันวาคม 2565 9 โครงการ “รณรงคแตงกายดวยผาไทย ประจาํ ปการศึกษา 2565” 27 ธนั วาคม 2565 10 โครงการ “การแขง ขนั กีฬาสุนนั ทาสามัคค”ี ตามทมี่ หาลัยกําหนด 11 โครงการพฒั นาจิตสาธารณะ คณะวิทยาการจดั การ ประจําปการศึกษา 2565 มกราคม-มนี าคม 2566 12 โครงการจัดกจิ กรรมตามขอ ตกลงความรว มมือของเครอื ขา ยและทองถ่ิน (เครือขาย มกราคม-กมุ ภาพนั ธ 2566 ชุมชน) โครงการแลกเปล่ยี นเรยี นรูองคความรูดา นบรหิ ารจัดการ 13 โครงการประกวดเชฟมือหนีง่ สุดยอดเสนหป ลายจวัก (We Chef) มกราคม–กุมภาพันธ 2566 14 โครงการ “เสริมสรา งความเขมแข็งดา นศลิ ปะและวฒั นธรรมของชมุ ชนและทองถนิ่ มกราคม-กุมภาพันธ 2566 ประจําปการศกึ ษา 2565” 15 โครงการการมีสว นรว มของเครอื ขายและทองถน่ิ ในการพัฒนามหาวิทยาลัย 31 มกราคม 2566 (เครอื ขา ยศิษยเกา) โครงการคืนสูเหยา คณะวทิ ยาการจัดการ 16 โครงการ “การบูรณาการงานดานทาํ นุบํารุงศลิ ปะและวัฒนธรรมกับการจัดการ มกราคม-กมุ ภาพนั ธ 2566 เรียนการสอนของหลักสูตร ประจําปการศึกษา 2565” 17 โครงการ “พัฒนานกั ศึกษาดานศิลปะและวัฒนธรรม ประจาํ ปการศึกษา 2565” กมุ ภาพนั ธ- มนี าคม 2566 18 โครงการ “M-Science Sport’s Day 2023” กมุ ภาพันธ- เมษายน 2566 19 โครงการ “อบรมพัฒนาศักยภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําปการศึกษา 2565” 4 กุมภาพนั ธ-5 มีนาคม 2566 20 โครงการ “อบรมพัฒนาศกั ยภาพดานภาษาองั กฤษ ประจาํ ปก ารศึกษา 2565” 4 กมุ ภาพนั ธ- 5 มนี าคม 2566 21 โครงการ “อบรมใหค วามรูทางดา นงานประกนั คุณภาพ ประจําปก ารศึกษา 2565” 14 กมุ ภาพนั ธ 2566 22 โครงการ “อบรมใหความรกู บั ศิษยเกา ประจําปง บประมาณ 2566” มนี าคม 2566 23 โครงการความรวมมอื กับเครือขายภายในประเทศ (เครือขายผูป ระกอบการ) มนี าคม 2566 โครงการพัฒนานักศึกษาใหพรอ มสําหรับการประกอบอาชพี ในอนาคต 25

ปฏทิ ินการจดั กิจกรรมโครงการของฝายกิจการนกั ศึกษาและศิลปวฒั นธรรม ประจําปก ารศกึ ษา 2565 ท่ี กจิ กรรมฝายกิจการนักศึกษาและศิลปวฒั นธรรม กําหนดเวลา 24 โครงการ “อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม ประจาํ ปการศึกษา 2565” มีนาคม 2566 1 เมษายน 2566 25 โครง.การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ เรื่อง “เทคนิคการทําธุรกิจและการประกวด แผนการตลาดสาํ หรับผูประกอบการมอื ใหม (SMEตแี ตก) คร้ังที่ 2 ประจาํ ป 2566 เมษายน 2566 26 โครงการ การประกวดรอ งเพลงระดับอุดมศึกษาแหงประเทศไทยครง้ั ที่ 3 เมษายน 2566 ประจาํ ป 2566 (FMS Singing Contest) 10 เมษายน 2566 27 โครงการ “พัฒนาศักยภาพความเปน ผูนําสูความเปน เลศิ ประจาํ ปการศึกษา พฤษภาคม 2566 2565” 31 พฤษภาคม 2566 28 โครงการ “ลูกพระนางรวมใจสืบสานประเพณสี งกรานต ประจําป 2566” 29 โครงการ “สรางเครือขายความรว มมือดา นศิลปะและวฒั นธรรม ประจําป กรกฎาคม 2566 การศกึ ษา 2565” 30 โครงการ “มนัสคารวะสมเดจ็ พระนางเจา สนุ นั ทากุมารีรตั น พระบรมราชเทวี ประจาํ ป 2566” 31 โครงการความรวมมือกับเครือขายภายในประเทศ (เครือขายสมาคมวิชาชีพ) โครงการพัฒนาศักยภาพดา นวชิ าชพี แกน ักศึกษา คณะวทิ ยาการจดั การ หมายเหตุ - กําหนดการอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม - สอบถามเพิม่ เติม ฝา ยกจิ การนักศกึ ษาและศลิ ปวัฒนธรรม โทร. 02 160 1494 26

แนวปฏบิ ัติในการตดิ ตอส่อื สารกบั หนวยงานตาง ๆ ในคณะ 1. ฝายกจิ การนักศึกษาและศิลปวฒั นธรรม การใหบ ริการแกนักศกึ ษา 1.1 การใหบริการเวชภัณฑ อุปกรณป ฐมพยาบาล ยารักษาโรคตางๆ 1.2 การแนะแนวเเละการดําเนินงานดา นเอกสารเก่ียวกบั ทนุ การศึกษา 1.3 การดําเนนิ งานดานเอกสารเก่ียวกบั การผอนพนั ทหาร 1.4 การยนื่ ขออนมุ ัติเงินรางวัล สําหรับนักศกึ ษาท่ีไดร บั รางวัลจากการแขง ขนั ตางๆ 1.5 การยืม-คนื อปุ กรณ (การจดั กิจกรรมตางๆ) 1.6 งานวินัยนักศกึ ษา ตดิ ตอ ฝายกจิ การนกั ศึกษาและศลิ ปวัฒนธรรม สถานท่:ี อาคาร 56 ชนั้ 1 คณะวทิ ยาการจัดการ โทร: 0-2160-1494 Facebook: ฝา ยกจิ การนกั ศึกษาและศิลปวัฒนธรรม คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา 2. งานธรุ การ การใหบริการแกนักศึกษา 2.1 การจัดทําหนังสือติดตอราชการภายนอก กรณีที่นักศึกษามีความประสงคขอขอมูลการลงพ้ืนที่ เเละ/หรือการดําเนินการท่ีเกี่ยวของในรายวิชาเรียน โดยส่ิงที่นักศึกษาตองเตรียมในการขอจัดทํา หนงั สอื ติดตอ ราชการภายนอกเเละดําเนินการตามขนั้ ตอน ดังน้ี (1) กรอกเอกสารบันทึกขอความ เรื่อง ขอความอนุเคราะหออกติดตอราชการภายนอก รับไดทสี่ ํานกั งานคณบดี อาคาร 56 ช้นั 1 ชอ งกระจกที่ 2 (2) เอกสารเเนบ สาํ เนาบัตรนกั ศกึ ษา จํานวน 1 ฉบับ (3) สง เอกสารไดท งี่ านธุรการคณะฯ ต้ังเเตเวลา 08:30 - 15:30 น. (4) ระยะการดําเนนิ การ 2 วนั ทาํ การ ตดิ ตอฝา ยบริหารงานทัว่ ไป (งานธรุ การ) สถานท:่ี สํานักงานคณบดี อาคาร 56 ช้ัน 1 (ชองกระจก 2) โทร: 0-2160-1491 27

3. ฝา ยบริการการศึกษา การใหบ ริการแกน ักศึกษา 3.1 การใหข อมูลหลกั สตู รและแผนการเรียน 3.2 การเทียบโอนรายวิชา 3.3 การลงทะเบยี นเรียน 3.4 การเพ่มิ -ถอนรายวิชา 3.5 การเปล่ียนรหสั รายวิชา 3.6 การใหค ําปรึกษาเก่ยี วกับการเรียน ติดตอ ฝายบรกิ ารการศึกษา สถานที:่ อาคาร 56 ชนั้ 1 คณะวิทยาการจัดการ โทร: 0-2160-1495/ 0-2160-1064 Facebook: ฝา ยบริการการศกึ ษา คณะวิทยาการจัดการ 4. งานประชาสัมพันธ การใหบ ริการแกน ักศกึ ษา 4.1 บรกิ ารฝากขาวประชาสัมพนั ธส าํ หรบั หนวยงานภายในและภายนอก ซึ่งมีขั้นตอนดังน้ี (1) ตดิ ตอสอบถามการฝากขาวประชาสัมพันธเบือ้ งตน 0-2160-1491 (2) จัดทําบนั ทกึ ขอความขอความอนุเคราะหฯ ถงึ งานประชาสัมพันธค ณะวิทยาการจดั การ หรือสงรายละเอียดพรอมรูปถายกจิ กรรม/ขาวประชาสัมพันธไ ดที่ [email protected] 4.2 บริการติดปายประกาศขา วประชาสัมพันธกิจกรรมตา ง ๆ ดาํ เนนิ การ ดงั น้ี (1) นําบนั ทึกขอความหนังสือแจงจากหนว ยงานตนสงั กดั พรอมปา ยติดประกาศ สงท่ีงานประชาสมั พันธ ประจําคณะฯ เพ่ือพิจารณาและลงประทับอนญุ าต (2) การติดปา ยประชาสมั พนั ธตามจดุ ตาง ๆ ตามที่กําหนด **หา มติดปา ยประกาศบริเวณอาคารหรอื จดุ ทม่ี ไิ ดกําหนดใหตดิ ปายประชาสมั พนั ธ โดยไมไดร ับอนุญาต** ตดิ ตอฝายบริหารงานท่ัวไป (งานประชาสัมพันธ) สถานท่ี: สํานกั งานคณบดี อาคาร 56 ชน้ั 1 (ชอ งกระจก 2) โทร: 0-2160-1491 / E-mail : [email protected] 28

5. งานโสตทศั นูปกรณ การใหบรกิ ารแกนักศกึ ษา 5.1 งานควบคุมส่อื ทัศนูปกรณ หองเรียน หองประชมุ 5.2 งานซอ มบาํ รุงส่อื โสตทัศนปู กรณ กรณอี ปุ กรณเกดิ ปญ หาในหองเรยี น หอ งประชมุ ฯลฯ 5.3 บริการยมื -คืนอปุ กรณโสตทศั นปู กรณ ครุภณั ฑโสตทศั นูปกรณ โดยกรอกแบบฟอรม รับไดที่คณะฯ ชองกระจกที่ 1 พรอมแนบบัตรนักศึกษา สงที่เจาหนาท่ี เพื่อดาํ เนินการตามลําดบั ขั้นตอน 5.4 บรกิ ารคียการด และอปุ กรณสาํ หรับใขในหองเรยี น โดยแจงรายละเอยี ดตอเจาหนาที่ ไดแ ก หอ งเรยี น อาจารยผ ูสอน อุปกรณท่ีตอ งใชแ ละยมื สําหรบั เรียน พรอมแนบบัตรนกั ศกึ ษา 5.5 การใหบริการยืมคืนอุปกรณสําหรับการใชจัดประชุม สัมนา โดยกรอกแบบฟอรม รับไดท่ีคณะฯ พรอมแนบบัตรนกั ศึกษา ตดิ ตอฝายบริหารงานทว่ั ไป (งานโสตทศั นูปกรณ) สถานท่ี: สาํ นกั งานคณบดี อาคาร 56 ชน้ั 1 (ชอ งกระจก 1) โทร: 0-2160-1491 6. ศูนยป ฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร การใหบรกิ ารแเกน ักศกึ ษา 6.1 ใหบริการหอ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอรส าํ าหรบั การเรียนการสอนเเละใชบรกิ ารสบื คนขอ มูล เพ่ือการศึกษา 6.2 ใหบรกิ ารแกปญหา/ชอมบาํ รุง/ใหค าํ แนะนาํ เกยี่ วกบั การใชงานและดา นเทคนิคเก่ียวกบั คอบพิวเตอร ดแู ลระบบเครือขายคอมพิวเตอรเเมขายประจําหนวยงาน ดูแลระบบเวบ็ ไซตป ระจาํ หนว ยงาน ประสานงานดานนโยบายแเละระบบสารสนเทศตา ง ๆ รว มกบั สาํ นักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ การใชงานทรัพยากรสารสนเทศของมหาวิทยาลัย ตดิ ตอ ศนู ยป ฏิบัติการคอมพิวเตอร สถานท:่ี อาคาร 57 ชน้ั 1 คณะวิทยาการจดั การ โทร: 0-2160-1510 Website : www.fms.ssru.ac.th 29

7. ศนู ยปฏิบัตกิ ารวิทยโุ ทรทศั นและสถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี ง การใหบรกิ ารแเกนักศึกษา 7.1 ใหบ รกิ ารยืม-คืนอุปกรณสาํ หรับถายทาํ เเละผลติ ผลงานสําหรบั อาจารยเ เละนกั ศกึ ษา 7.2 ใหบ ริการหอ งปฏบิ ตั กิ ารตางๆสําหรบั การเรียนการสอน หองปฏิบตั กิ ารผลิตรายการโทรทศั น หองบันทกึ เสยี ง 7.3 ใหบ รกิ ารหอ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยกุ ระจายเสียงสําหรบั จดั รายการวิทยุ ตดิ ตอศนู ยป ฏิบตั กิ ารวิทยุโทรทศั นเละสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง สถานที่: อาคาร 34 ช้นั 3 โทร: 0-2160-1910 30

การแตง กายสาํ หรบั นักศกึ ษาใหม 31

เบอรโ ทรศพั ทตดิ ตอหนวยงานภายในมหาวทิ ยาลยั ชอื่ หนวยงาน ท่ตี ้งั โทร E-mail คณะ คณะครศุ าสตร อาคาร 11 02-160-1056 [email protected] คณะวทิ ยศาสตรแ ละเทคโนโลยี อาคาร 26 02-160-1143 [email protected] คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร อาคาร 35 02-160-1284 [email protected] คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม อาคาร 42 02-160-1435 [email protected] คณะวทิ ยาการจดั การ อาคาร 56 02-160-1490 [email protected] คณะศิลปกรรมศาสตร อาคาร 58 02-160-1388 [email protected] ตอ 100 วิทยาลัย วทิ ยาลยั พยาบาลและสุขภาพ อาคาร 37 02-160-1206 [email protected] วิทยาลัยนวตั กรรมและการจัดการ อาคาร 37 02-160-1182 [email protected] วทิ ยาลัยสถาปต ยกรรมศาสตร 02-160-1561, [email protected] 02-160-1565 วิทยาการลัยการเมืองและ อาคาร 37 02-160-1571, www.facebook.com/cpgssru การปกครอง 02-160-1573 วทิ ยาลัยนเิ ทศศาสตร วทิ ยาเขตนครปฐม 065-242-7588 www.facebook.com/CCA.SSRU วทิ ยาลัยการจัดการอุตสาหกรรม วทิ ยาเขตนครปฐม 034-964-946 www.facebook.com/chmssru บรกิ าร วิทยาลัยนานาชาติ วทิ ยาเขตนครปฐม 034-964-946 [email protected] วิทยาลัยโลจสิ ติกสแ ละซัพพลายเชน วทิ ยาเขตนครปฐม 062-491-3343 [email protected] วทิ ยาลยั ภาพยนตศลิ ปะการแสดง วทิ ยาเขตนครปฐม 034-964-918 [email protected] และสอื่ ใหม วิทยาลัยสหเวชศาสตร ศนู ยการศึกษา 034-773-904 [email protected] จงั หวดั สมุทรสงคราม บัณฑิตวทิ ยาลัย อาคารศรจี ุฑาภา 02-160-1174 [email protected] 02-160-1175 32

เบอรโ ทรศพั ทต ิดตอหนว ยงานภายในมหาวทิ ยาลยั ชือ่ หนวยงาน ท่ตี ั้ง โทร E-mail วทิ ยาเขต/สถาบนั /สํานกั /ศูนย สถาบันสรา งสรรคแ ละสงเสริมกา อาคาร 31 02-160-1224 [email protected] รเรยี นรูตลอดชวี ติ สาํ นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี อาคาร 31 02-160-1274 [email protected] ารสนเทศ สํานักศิลปะและวฒั นธรรม อาคาร 22 02-160-1216 [email protected] สาํ นกั งานอธกิ ารบดี สาํ นกั งาน 02-160-1312 [email protected] อธิการบดี (อาคาร32) สาํ นักทรัพยสนิ และรายได โรงแรมวัง 02-160-1360, [email protected] สวนสนุ ันทา 02-160-1480 สถาบันวิจยั และพฒั นา อาคารขางหอประชุม 080-572-2715 [email protected] สนุ ันทานุสรณ สาํ นกั วิชาการศึกษาท่ัวไปและ อาคาร 34 02-160-1265 [email protected] นวตั กรรมการเรยี นรอู เิ ลก็ ทรอนิกส ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อาคาร 31 02-160-1229, [email protected] ศูนยว ิทยบริการ (หองสมุด) 02-160-1230 [email protected] สํานักงาน อธิการบดี 02-160-1246 (อาคาร32) สถาบันสง เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพ จงั หวดั สมุทรสงคราม 034-766-477 [email protected] สังคมสูงวยั ศนู ยการศกึ ษาจังหวัดสมุทรสงคราม จงั หวัดสมทุ รสงคราม 034-773-902 [email protected] ศนู ยการศึกษาจงั หวดั อดุ รธานี จังหวดั อุดรธานี 042-129-556 [email protected] ศนู ยก ารศึกษาจังหวัดระนอง จังหวัดระนอง 077-813-308 [email protected] วทิ ยาเขตนครปฐม จงั หวดั นครปฐม 034-964-927 www.facebook.com/ssrunkpt 33

เบอรโ ทรศัพทติดตอหนว ยงานภายในมหาวิทยาลัย ชื่อหนวยงาน ทตี่ ้งั โทร E-mail กอง สาํ นักงาน 02-160-1023 [email protected] กองกลาง อธกิ ารบดี 02-160-1029 [email protected] (อาคาร32) 02-160-1017 [email protected] กองคลัง สํานักงาน กองบริการการศกึ ษา อธิการบดี (อาคาร32) สํานักงาน อธิการบดี (อาคาร32) กองพฒั นานกั ศกึ ษา อาคาร38 02-160-1356 [email protected] กองบริหารงานบุคคล สาํ นักงาน 02-160-1252 [email protected] อธกิ ารบดี กองนโยบายและแผน (อาคาร32) 02-160-1038 [email protected] สํานกั งาน งานทะเบียนและวดั ผล อธกิ ารบดี 02-160-1024 [email protected] (อาคาร32) สํานักงาน อธิการบดี (อาคาร32) 34

ชอ งทางตดิ ตามขาวสาร กิจกรรม คณะวิทยาการจดั การ Website Facebook Twitter IG TikTok YouTube ชอ งทางติดตามขาวสาร กจิ กรรม ฝา ยกิจการนักศกึ ษาและศิลปวฒั นธรรม Facebook YouTube ชองทางตดิ ตามอ่ืน ๆ YouTube Smart FMS 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook