Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาฎศิลป์

นาฎศิลป์

Published by aonxph22, 2021-07-23 13:15:15

Description: นาฎศิลป์

Search

Read the Text Version

นาฎศลิ ปไ์ ทย รำ

คำนำ ส่ือการเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ี เป็นส่วนหนงั ของรายวชิ า นาฎศิลป์ (ศ 32101) ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 จดั ทาข้ึนใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ในเร่ือง รา และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอื่ เป็นประโยชนก์ บั การเรียนการสอน ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ ส่ือการเรียนการสอนน้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อผอู้ ่านทุกท่านไม่มากกน็ อ้ ย หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทา กข็ ออภยั มา ณ ท่ีน้ี คณะผจู้ ดั ทา

ประวตั ิควำมเป็ นมำ การราไทยเป็นการแสดงประเภทหน่ึงของ “นาฏศิลป์ ไทย” มีเอกลกั ษณ์การร่ายราโดยการเคล่ือนไหวประกอบกบั เสียงดนตรีดว้ ย ลีลาที่อ่อนชอ้ ยและสอดคลอ้ งกลมกลืนกนั ระหวา่ งส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะ มือ แขน เทา้ และลาตวั มีบทขบั ร้องดว้ ยหรือไม่ก็ ได้ มีผแู้ สดงต้งั แต่ 1-2 คนข้ึนไป แบ่งประเภทเป็นการราเด่ียว ราคู่ หรือราหมู่ แต่งกายตามรูปแบบของการแสดง ท่าราจะเช่ือมโยง ต่อเนื่องกนั และเป็นสื่อใหผ้ ชู้ มสามารถเขา้ ใจและลึกซ้ึงถึงอารมณ์ของผแู้ สดงได้ เพลงรามีท้งั เร็วและชา้ ท้งั น้ี สามารถแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั วา่ จะเป็นการราพ้ืนเมืองจากทางภาคใดดว้ ย อาทิเช่น การราพ้ืนเมืองภาคเหนือ นิยมเรียกกนั ทวั่ ไปวา่ “ฟ้อน” จะมีท่าทางลีลาที่อ่อนชอ้ ย นุ่มนวล การราพ้ืนเมืองภาคกลาง จะมีท่าราสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวติ ประจาวนั ราเพอื่ ความบนั เทิงสนุกสนาน พกั ผอ่ นหยอ่ นใจหลงั จาก ทางาน การราภาคอีสานส่วนมากจะเรียกวา่ การรา “เซิ้งและหมอลา” มีจงั หวะรวดเร็ว เร้าใจและสนุกสนาน นอ้ ยคนนกั เม่ือไดย้ นิ เสียงจะ ยงั คงนงั่ อยกู่ บั ที่เฉยๆ ได้ ส่วนการราภาคใตก้ จ็ ะเร็วและสนุกสนานเช่นกนั

ประเภทของ รำ

1 กำรรำเดย่ี ว การราเดี่ยว คือ การแสดงราท่ีใชผ้ แู้ สดงเพียงคนเดียว แสดงถึงความสามารถของผรู้ า และแสดงศิลปะของลีลาการ ร่ายราตามแบบนาฏศิลป์ ตลอดท้งั ใหถ้ ึงเห็นความงามของเครื่องแต่งกาย การราเดี่ยวมกั นิยมใชเ้ ป็นชุดเบิกโรง ใช้ แสดงสลบั ฉาก หรือใชแ้ สดงในโอกาสตา่ งๆ เช่น ราฉุยฉายพราหมณ์ ราฉุยฉายเบญกาย ราฉุยฉายทศกณั ฐล์ งสวน ราพลายชุมพล โอกำสทใ่ี ช้แสดง - งานมงคลต่างๆ - งานตอ้ นรับชาวต่างชาติ

ตวั อย่ำงรำเดย่ี ว รามโนห์ราบูชายญั เป็นการราเด่ียวท่ีมีลีลาอ่อนชอ้ ย งดงาม ของนางกินรีท่ีมีช่ือวา่ \"มโนห์รา\" ในตอนหน่ึง ของละครเรื่องมโนห์ราที่กรมศิลปากรปรับปรุงข้ึนใหม่ กล่าวถึงนางมโนห์ราถูกปุโรหิตผรู้ ิษยากราบทูลยยุ งทา้ ว อาทิตยวงศ์ ใหพ้ ระสุธนไปปราบศึกจบั นางกินรีมโนห์ รามาบูชายญั เพื่อสะเดาะพระเคราะห์ทา้ วอทิต ยวงศ์ นางมโนห์ราจึงอุบายทูลขอปี กหางและนามา สวมใส่ แลว้ ราตามแบบกินรีใหท้ อดพระเนตรเป็นคร้ัง สุดทา้ ย การราตอนน้ีเองที่เรียกวา่ \"มโนห์ราบูชา ยญั \" จากน้นั นางกบ็ ินหนีกลบั ไปยงั นครไกรลาศ

2 กำรรำคู่ กำรรำคู่ คือ การราที่ใชผ้ แู้ สดง ๒ คน ลกั ษณะการราคู่มี ๒ ประเภท คือ การราคู่เชิงศิลปะการต่อสู้ และการราคู่ ชุดสวยงาม ๑. กำรรำคู่เชิงศิลปะกำรต่อสู้ เป็นการราท่ีไม่มีบทร้อง ผรู้ าท้งั คู่ตอ้ งมีท่าราท่ีสมั พนั ธก์ นั อยา่ งดีในเชิงศิลปะการต่อสู้ ที่หวาดเสียวกบั ความสวยงามในทางนาฏศิลป์ เป็นการอวดลีลาท่ารา เพราะการต่อสูม้ ีท้งั รุกและรับผแู้ สดงท้งั สองฝ่ ายต่อสูก้ นั ดว้ ยลีลาคนละแบบ ดงั น้นั ผแู้ สดงจึงตอ้ งฝึกท้งั สองอยา่ งในเวลาเดียวกนั มกั ใชแ้ สดงสลบั ฉาก หรือในโอกาสต่างๆตามความ เหมาะสม ไดแ้ ก่รากระบี่กระบอง ราดาบสองมือ ราทวน ราโล่ ราดาบ รากริช เป็นตน้ ๒. กำรรำคู่ชุดสวยงำมคนมกั นิยมดูกนั มำก เพราะเป็นร่ายราตามบทร้อง หรือท่ีเรียกวา่ การราใชบ้ ท หรือราทา บท หมายถึง การใชล้ ีลาท่าราตามบทที่วางไวท้ าใหท้ ่ารามี ความหมายตามบท ในการแสดงราคู่น้ีผแู้ สดงจะราคนละบทลีลาท่า ราจะแตกตา่ งกนั มุ่งเนน้ แสดงลีลาการร่ายราอยา่ งสวยงามตลอดท้งั ชุด เช่น รารจนาเสี่ยงพวงมาลยั ราหนุมานจบั สุพรรณ มจั ฉา ราพระลอตามไก่ พระรามตามกวาง หนุมานจบั นางเบญจกาย เมขลารามสูร ทุษยนั ตต์ ามกวาง รถเสนจบั มา้ ราประเลง รา ก่ิงไมเ้ งินทอง เป็นตน้

ตวั อย่ำงรำคู่ รจนาเส่ียงพงมวาลยั เป็นการแสดงที่มี ลกั ษณะพเิ ศษตอนหน่ึง ในบทละครเร่ือง สังขท์ อง ซ่ึงมีพระสงั ขเ์ ป็นพระเอก และ รจนา เป็นนางเอก ในตอนรจนาเสี่ยง พวงมาลยั น้ีมีช่ือเรื่องวา่ พระสงั ขซ์ ่ึงตวั จริง รูปร่างสวยงาม ผวิ เป็นทองท้งั ตวั แต่แกลง้ ปลอมแปลงตวั โดยเอารูปเงาะเขา้ สวมใส่ แลว้ แกลง้ ทาเป็นบา้ ใบ้ พระสงั ขใ์ นตอนน้ีจึง ถูกเรียบตามรูปนอกวา่ “เจา้ เงาะ” แลว้ ถูกพา มาใหเ้ จา้ รจนา ซ่ึงเป็นเจา้ หญิงเลือกคู่ เน่ืองจากเป็นบุปเพสนั นิวาส นางรจนาจึง มองเห็นรูปทองขา้ งในของเจา้ เงาะ แลว้ ทิ้ง พวงมาลยั ใหเ้ พ่อื เลือกพระสงั ข์ คือเจา้ เงาะ ปลอม เป็นสวามี

3 กำรรำหมู่ กำรรำหมู่ คือ การแสดงท่ีใชผ้ แู้ สดงมากกวา่ ๒ คนข้ึนไป มุ่งความงามของท่าราและความพร้อมเพรียง ของผแู้ สดง เช่น ราโคม ราพดั ราซดั ชาตรี เป็นตน้ ในกรณีที่นา การแสดงที่ตดั ตอนมาจากการแสดง ละคร และการราน้นั เป็นการราของตวั ละครตวั เดียวมาก่อน เมื่อนามาราเป็นหมู่กย็ งั คงเรียกวา่ ราตามเดิม เช่น ราสีนวล ราแม่บท หลกั สำคญั ของกำรรำหมู่ คือ 1.การแปรแถว การแสดงเป็นหมู่จาเป็นตอ้ งมีการแปรแถวที่สวยงาม ในสมยั ก่อนยงั ไม่มีการแปรแถวที่ หลากหลาย ต่อมามีวิวฒั นาการในการประดิษฐส์ ร้างสรรคใ์ หม้ ีการแปรแถวในลกั ษณะต่างๆท่ีหลากหลาย 2.ท่าราท่ีใชป้ ระกอบในการแสดงตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกบั เน้ือเพลง การร่ายราตอ้ งลงตามจงั หวะและส่ือ อารมณ์ ทานองเพลง 3.การแสดงหมู่ตอ้ งมีความพร้อมเพียงในการแสดง

ตวั อย่ำงรำหมู่ สีนวลเป็นชื่อของเพลงหนา้ พาทยท์ ่ีใชบ้ รรเลง ประกอบการแสดงละคร โดยใชป้ ระกอบกิริยาไปมา ของสตรีที่มารยาทชดชอ้ ยสวยงาม ทานองเพลงมี ท่วงทีซ่อนความ พริ้งเพราไวใ้ นตวั ต่อมามีผปู้ ระดิษฐ์ ทานองร้องประกอบการรา ซ่ึงแต่เดิมราสีนวลเป็น การแสดงชุดหน่ึงที่นามาจากละครนอกเร่ือง “ไชย เชษฐ”์ ภายหลงั ไดน้ ามาใชแ้ สดงเป็นระบาเบด็ เตลด็ เน่ืองจากการราสีนวลเป็นศิลปะที่สวยงามท้งั ท่ารา และเพลงขบั ร้อง จึงพฒั นามาเป็นชุดสาหรับจดั แสดง ในงานทว่ั ๆ ไป และนบั เป็นการแสดงนาฏศิลป์ ไทย อีกชุดหน่ึงท่ีนิยมแพร่หลายเป็นที่รู้จกั กนั อยา่ ง กวา้ งขวาง ลกั ษณะท่าราและคาร้องของราสีนวล มี ความหมายถึง การบนั เทิงรื่นรมยข์ องหญิงสาวแรก รุ่นท่ีมีจริตกิริยางดงาม อ่อนหวาน และ มีอิริยาบถท่ี นุ่มนวลอ่อนชอ้ ยตามลกั ษณะกลุ สตรีไทย

4.รำละคร รำละคร คือกำรรำท่ีใชใ้ นกำรแสดงละครหรือโขน เป็นกำรแสดงท่ำท่ำงส่ือควำมหมำยไปกบั บทร้อง หรือบทละคร และเพลงหนำ้ พำทยต์ ่ำงๆในกำรแสดงละครที่ประกอบดว้ ยท่ำรำ ดนตรีบรรเลง และบทขบั ร้องเพอื่ ดำเนินเรื่อง ละคร รำมีผแู้ สดงเป็นตวั พระ ตวั นำง และตวั ประกอบ แต่งองคท์ รงเครื่องตำมบท งดงำมระยบั ตำ ท่ำรำตำมบทร้องประสำน ทำนองดนตรีที่บรรเลงจงั หวะชำ้ เร็ว เร้ำอำรมณ์ใหเ้ กิดควำมรู้สึกคึกคกั สนุกสนำน หรือเศร้ำโศก ตวั ละครส่ือ ควำมหมำยบอกกล่ำวตำมอำรมณ์ดว้ ยภำษำท่ำทำง โดยใชส้ ่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย วำดลีลำตำมคำร้อง จงั หวะและ เสียงดนตรี

ในสมยั โบราณ ตวั พระและตวั เทวดาต่างสวมหวั โขนในการแสดง ต่อมาภายหลงั มีการเปลี่ยนแปลงไม่ตอ้ งสวมหวั โขน คง ใชใ้ บหนา้ จริงเช่นเดียวกบั ละคร แต่งกายแบบเดียวกบั ละครใน เครื่องแต่งกายของตวั พระและตวั ยกั ษใ์ นสมยั โบราณมกั มี สองสีคือ สีหน่ึงเป็นสีเส้ือ อีกสีหน่ึงเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพมุ่ หรือลายกระจงั ตาออ้ ย ส่วนเคร่ืองแต่งกายตวั ลิงจะเป็นลายวงทกั ษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดาเนินเร่ืองดว้ ยการกล่าวคานาเล่าเร่ือง เป็นทานองเรียกวา่ พากยอ์ ยา่ งหน่ึง กบั เจรจาเป็นทานองอยา่ งหน่ึง ใชก้ าพยย์ านีและกาพยฉ์ บงั โดยมีผใู้ หเ้ สียงแทนเรียกวา่ ผู้ พากยแ์ ละเจรจา มีตน้ เสียงและลูกคู่ร้องบทให[้ 9] ใชว้ งป่ี พาทยเ์ คร่ืองหา้ ประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรต์ิและอุณ รุท ปัจจุบนั สานกั การสงั คีต ทาหนา้ ที่ ดาเนินการดา้ นนาฏดุริยางคศิลป์ ในงานพระราชพธิ ี รัฐพธิ ี และพิธีการต่างๆ ตามจารีต ประเพณี และรวมองคค์ วามรู้ดา้ นนาฏดุริยางคศิลป์ โดยการ ศึกษา คน้ ควา้ วิจยั และอนุรักษ์ ส่งเสริม สนบั สนุน ใหบ้ ริการ และฝึกอบรมแก่หน่วยงานอ่ืนท้งั ภาครัฐ และเอกชนที่ดาเนินงานศิลปวฒั นธรรม ดา้ นนาฏดุริยางคศิลป์ และดาเนินการ เกี่ยวกบั กิจการ โรงละครแห่งชาติ สงั กดั กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม และ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ มีหนา้ ท่ีหลกั ใน การสืบทอดการฝึกหดั โขน และกรมศิลปากร มีหนา้ ท่ีในการจดั การแสดง[10]

ตวั อย่ำงรำละคร ศึกกมุ ภกรรณ ตอน โมกขศกั ด์ิ กมุ ภกรรณ พญายกั ษซ์ ่ึงเป็นอนุชาของทศกณั ฐ์ ดารงตาแหน่งพระ อุปราช กุมภกรรณเป็นพญายกั ษซ์ ่ึงครองธรรม รักษาไวซ้ ่ึงสจั จะ และความสุจริตยตุ ิธรรม หลงั จากที่พญามยั ราพณ์ พระนดั ดาตอ้ ง สิ้นชีพลงแลว้ ทศกณั ฐไ์ ดร้ าพงึ ถึงการศึกที่จะทาสงครามกบั ฝ่ าย พระราม ทศกณั ฐน์ ึกถึงกมุ ภกรรณพระอนุชาจึงเชิญข้ึนมาเฝ้า ปรึกษาศึก กมุ ภกรรณผมู้ ีความสุจริตยตุ ิธรรม ตรึกตรองถึงชนวน ศึกเห็นวา่ ตน้ เหตุมาจากทศกณั ฐไ์ ปลกั พานางสีดามเหสีของ พระรามมาไวใ้ นอุทยานกรุงลงกา จึงทูลใหท้ ศกณั ฐส์ ่งคืนนางไป เสีย ดว้ ยราคะจริตของทศกณั ฐท์ ี่หลงใหลในรูปโฉมนางสีดา จึง บริภาษประกาศโทษและขบั ไล่ กมุ ภกรรณเห็นวา่ เม่ือทดั ทานมิ เป็นผลจึงจาใจรับอาสาออกทาสงคราม โดยจะนาหอกโมกขศกั ด์ิ อนั มีฤทธ์ิร้ายกาจ ซ่ึงฝากไวก้ บั พระพรมาธิบดีบนสรวงสวรรค์

จัดทำโดย 1.น.ส.อรอนงค์ พมิ พพ์ นั ธ์ เลขท่ี 2 2.น.ส.รินรดำ อินทจำปำ เลขท่ี 33 ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 5/6 เสนอ คุณครู พรหมภสั สร พสุชำธญั ภทั ร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook