Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล

สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล

Published by yuthtj2546, 2020-02-11 01:01:27

Description: สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล

Search

Read the Text Version

ส่อื กลางในการส่ือสารขอมลู สื่อกลางในการสอ่ื สารข้อมลู เปน็ ส่วนทที่ าใหเ้ กิดการเชือ่ มต่อระหวา่ งอุปกรณ์ต่าง ๆ เขา้ ด้วยกนั และอปุ กรณน์ ี้ยอมให้ข่าวสารข้อมลู เดนิ ทางผา่ นจากผสู้ ง่ ไปยัง ดา้ นของปริมาณขอ้ มลู ทส่ี อื่ กลางน้ัน ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปรมิ าณหรอื ความจใุ นการนาขอ้ มูล ห Second : BPS) ลกั ษณะของตัวกลางตา่ งๆ มดี ังตอ่ ไปนี้ 1. สือ่ กลางประเภทมีสาย (wired system) สอ่ื กลางประเภทมีสาย หมายถึง สอื่ กลางทเ่ี ป็นสายซ่ึงใช้ในการเชื่อมโยงโดยอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เพ่อื ใชใ้ นการสง่ ผ่านข้อมูลระหว่างอปุ 1) สายค่บู ดิ เกลยี ว (Twisted Pair) สายคบู่ ดิ เกลยี ว ประกอบดว้ ยเส้นลวดทองแดงท่ีหมุ้ ดว้ ยฉนวนพลาสติก 2 เสน้ พนั บิดเปน็ เกลยี ว ทงั้ นี้เพือ่ ลดการรบกวนจากคล่ืนแ นี้ยอมใหส้ ญั ญาณไฟฟา้ ความถสี่ งู ผ่านได้ สาหรบั อตั ราการส่งขอ้ มลู ผา่ น สายคบู่ ิดเกลยี วจะข้ึนอยู่กบั ความหนาของสายด้วย กลา่ ว สามารถส่งข้อมลู ดว้ ยอตั ราสง่ สงู โดยทว่ั ไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดจิ ติ อล สัญญาณท่สี ่งเป็นลักษณะคลน่ื สี่เหล่ยี ม สายคบู่ ิด สายค่บู ิดเกลยี วมีราคาไมแ่ พงมาก ใช้สง่ ข้อมูลได้ดี จงึ มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง ตวั อย่างเช่น ก. สายคบู่ ดิ เกลียวชนดิ หุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เปน็ สายค่บู ิดเกลยี วท่หี ุ้มดว้ ยลวดถกั ชนั้ นอกท่ีหนาอีกชนั้ เพ่อื ข. สายคู่เกลียวชนิดไมห่ มุ้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เปน็ สายคูบ่ ิดเกลยี วมีฉนวนชน้ั นอกทบ่ี างอีกชั้น ทาใหส้ ะด ก็มีราคาตา่ กว่าจึงนิยมใชใ้ นการเชอื่ มตอ่ อุปกรณ์ในเครือข่าย ตวั อยา่ งของสายคบู่ ิดเกลยี วชนดิ ไมห่ มุ้ ฉนวน ท่เี ห็นในชวี ติ ประจาวัน 2) สายโคแอกเซียล (coaxial cable) สายโคแอกเซยี ลมีลักษณะเช่นเดยี วกับสายทีต่ อ่ จากแผงรับสญั ญาณมายงั โทรทัศน์ มอี ยู่ 2 ชนดิ คอื 50 โอหม์ ใช้สง่ ข้อมุลประเภท พนั เป็นเกลยี วอยู่ถดั จากชน้ั ฉนวนพลาสติดนอกสุด เพือ่ ป้องกันการรบกวนของคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ และสญั ญาณรบกวนอน่ื ๆ สาย

เช่ือมโยงผา่ นใต้ทะเลและใตด้ ิน 3)สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber) ทาจากแก้วหรอื พลาสติกมลี กั ษณะเปน็ เส้นบางๆ คลา้ ย เส้นใยแก้วจะทาตัวเปน็ ส่ือในการส่งแสงเลเซอร์ท่ีมีความเรว็ ในการสง่ สัญญ เปลย่ี นสัญญาณ (ขอ้ มลู ) ไฟฟา้ ให้เปน็ คลนื่ แสงก่อน จากน้นั จึงส่งออกไปเป็นพัลส์ ของแสง ผา่ นสายไฟเบอร์ออปติกสายไฟเบอร์อ ต่างกัน ลาแสงทีส่ ่งออกไปเปน็ พัลส์น้ันจะสะท้อนกลบั ไปมาทีผ่ วิ ของสายชั้นในจนถึงปลายทาง จากสญั ญาณข้อมลู ซงึ่ อาจจะเปน็ ส สญั ญาณมอดูเลต ผา่ นตัวไดโอดซง่ึ มี 2 ชนดิ คือ LED ไดโอด (light Emitting Diode) และเลเซอรไ์ ดโอด หรอื ILD ไดโอด (Inject แสงในย่านที่มองเห็นไดห้ รอื เป็นลาแสงในย่านอินฟราเรดซงึ่ ไมส่ ามารถมองเห็นได้ ความถยี่ ่านอินฟราเรดท่ใี ชจ้ ะอยูใ่ นชว่ ง 1014- ไดโอด (Photo Diode)ทท่ี าหนา้ ที่รับลาแสงทถ่ี ูกสง่ มาเพอ่ื เปลย่ี นสญั ญาณแสงให้กลบั ไปเปน็ สัญญาณมอดเู ลตตามเดมิ จากนน้ั กจ็ สัญญาณขอ้ มูลท่ีตอ้ งการ สายไฟเบอรอ์ อปติกสามารถมแี บนดว์ ิดท์ (BW) ไดก้ ว้างถงึ 3 จกิ ะเฮิรตซ์ (1 จกิ ะ = 109) และมอี ัตราเร ทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมชี ่องทางสอื่ สารได้มากถึง 20,000-60,000 ชอ่ งทาง สาหรบั การส่งขอ้ มลู ในระ

2. สือ่ กลางประเภทไร้สาย 1) ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณไมโครเวฟเปน็ ส่อื กลางในการสื่อสารทม่ี ีความเรว็ สูงสง่ ข้อมลู โดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซ่งึ เป็นสญั ญาณคลื่นแมเ่ หล็กไ และเนอ่ื งจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลยี้ วหรอื โค้งตามขอบโลกที่มคี วามโคง้ ได้ จงึ ต้องมีการตงั้ สถาน สถานีปลายทาง แตล่ ะสถานจี ะตั้งอยูใ่ นทส่ี งู เช่น ดาดฟ้า ตกึ สงู หรอื ยอดดอย เพอ่ื หลกี เล่ยี งการชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแน เหมาะกับการส่งขอ้ มูลในพนื้ ทหี่ ่างไกลมากๆและทรุ กันดาร 2) ดาวเทียม (satellite system) ในปจั จุบันมีการสง่ สญั ญาณผา่ นดาวเทยี มกนั อยา่ งแพรห่ ลายทั้งในการส่งข้อมูลคอมพวิ เตอร์ งานบริการด้านโทรศัพท์ การสง่ สัญญ ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต หลักการทางานของระบบดาวเทยี มจะคล้ายกบั ระบบไมโครเวฟ ซ่งึ จะทาการสง่ สญั ญาณจากแตล่ ะส ดาวเทียมที่ลอยอยเู่ หนือตาแหนง่ พื้นทีข่ องตนเอง เรยี กว่า สญั ญาณเชื่อมตอ่ ขาขึ้น และดาวเทียมจะตรวจสอบตาแหนง่ ของสถานีป ทนั ที เรียกว่า สัญญาณเชื่อมตอ่ ขาลง แตห่ ากสถานปี ลายทางอยนู่ อกเขตพ้นื ทท่ี ี่ดาวเทยี มรบั สัญญาณครอบคลุมอยู่ กจ็ ะส่งสัญญา การส่งแบบกระจายไปทกุ ที่ ทกุ ๆ สถานภี าคพืน้ ดนิ ทอ่ี ยใู่ นรศั มขี องลาคลืน่ จะสามารถรับสญั ญาณไดท้ ง้ั หมด ดงั น้นั ข้อมูลทสี่ ่งผา่ น

3 ) คลื่นวทิ ยุ (radio) เปน็ การแพรส่ ัญญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในคลน่ื ความถ่ตี งั้ แต่ 30 เมกกะเฮติ รซ์ (MHz) จนถึง1 กกิ ะเฮิตรซ์ (GHz) เหมาะสาหรับก คล่นื วทิ ยุทีต่ ัวเคร่อื งรบั แม้จะอยู่ในระยะทางไกล แต่คล่ืนวทิ ยุจะแพรก่ ระจายไปทว้ั ทุกทิศทาง จึงมีความปลอดภยั ของขอ้ มลู นอ้ ย หรอื งานดา้ นการทหารและตารวจ เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook