Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

Published by wirun.patti, 2021-06-30 06:11:53

Description: รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

Search

Read the Text Version

แสดงน้าใจ เพื่อให้เกิดดารยอมรับ ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานการร่วมมือที่ดีในทุกๆด้าน มีความต้ังใจจริงในการ ให้ความชว่ ยเหลือ ให้ความสนใจ ใสใ่ จกบั ทุกปัญหาและความตอ้ งการ เลิกการคดิ แบบ “ชา่ งมันสิ” รักองค์กร พยายามให้ส่ิงดีๆเกิดกับองค์กร เพื่อให้เกิดดารยอมรับในระหว่างเครือข่าย เครือข่ายดี งาน สาเรจ็ เสมอ หลีกเล่ยี งการตดั สิน การตาหนเิ ครือขา่ ย ลดข้ันตอนการทางาน ลดความยุ่งยาก ให้เกิดความสะดวกในการติดต่อ หรือประสานงานต่างๆซ่ึงกัน และกัน สิ่งเหลา่ น้เี ป็นพนื้ ฐานสาคัญของการสรา้ งเครือขา่ ยทดี่ ี ได้รับการยอมรับ การมีรอยยิ้มซ่ึงกนั และกนั เป็น ความสขุ ของการทางานรว่ มกัน สรุปผลการเรียนรหู้ ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 47

หัวข้อ กระบวนการคิดในการตดั สินใจทางการบรหิ าร วนั ท่ี 15 มถิ ุนายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. วิทยากร นายแพทยส์ มหมาย บุญเกลี้ยง รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย สรปุ ประเด็นสาคญั ในปจั จุบันการทางาน มักม่งุ ถึงตวั ช้วี ัด เพอ่ื ให้ตอบโจทย์ “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พึ่งได้” ซง่ึ ในความเปน็ จริงไม่ได้ เป็นไปเช่นน้ัน จงึ ตอ้ งมีการปรับกระบวนการคิดให้เกิดขึน้ เพื่อประกอบการคิดในการตัดสินใจทางการบรหิ าร อย่าคบคนเฉพาะกลุ่ม เราตอ้ งคบให้ได้ทกุ คน ทุกระดับ เพราะแต่ละคนมีความสาคัญแตกต่างกันไปตาม บทบาทหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบทม่ี ี หลักการบริหารทด่ี ีตอ้ งทัว่ ถงึ ทกุ ระดบั เพื่อทาใหร้ ะบบอยไู่ ด้ เชน่ แพทยจ์ ะ ทาการรักาผู้ปว่ ยจิตเวช ถา้ ไมม่ เี วรเปลช่วยจบั ก็ไมส่ ามารถท่ีจะให้การรกั ษาได้ ผู้บริหารต้องคิดให้เป็น ให้ครบ ให้เฉียบ ทางานให้เยอะ และต้องทาในสิ่งท่ีถูกต้อง คิดหาวิธีท่ีดีและ ถูกตอ้ งเสมอ งานที่มีคุณภาพต้องให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานมีความรู้ ทักษะท่ีแม่นยา เช่น การตรวจพัฒนการเด็ก จะต้องให้บุคลากรผู้ตรวจพัฒนาการมีวิธีตรวจท่ีถูกต้อง แปลผลท่ีถูกต้อง ไม่ให้เกิดการแปลผลผิดจากทักษะที่ไม่ดี ของผู้ตรวจ การบริหารบุคลากรในองค์กรมีความสาคัญ ต้องให้คนในองค์กรมีความสุขตามสิทธิที่พึงได้รับ ต้องไม่ เกลียดชังผู้ใต้บังคับบัญชา ถึงเราจะรู้สึกว่าผู้ใต้บังคับบัญชาเกลียดเรา ต้องปรับความคิดด้านการรัก การเกลียด ความชอบ ความไมช่ อบให้ได้ การเกิดเรื่องร้องเรียน หรือความผิดพลาดใดๆ จาเป็นต้องรีบจัดการโดยเร็ว ลงมือแก้ไขปัญหาโดยเร็ว ที่สุดเพ่ือปกป้ององค์กร ไม่ให้เกิดความเสียหาย ต้องมีวิธีการจัดการให้เหตุการณ์สงบโดยเร็ว แม้อาจต้องสูญเสีย บางสงิ่ ไปบ้าง พึงระลึกเสมอว่า คุณค่าของงานเราอยู่ตรงไหน คืออะไร การจะสร้างคุณค่าให้มากหรือน้อย อยู่ท่ีตัวเรา เป็นสาคญั เช่น คณุ คา่ ของงานบรกิ ารทางการแพทย์ทม่ี ีมากกวา่ ส่งิ อนื่ คือ การรักษาชวี ิตให้ได้ การให้ความสาคัญกับมุมมอง ซึ่งอาจมีไม่เหมือนกัน เราต้องยอมรับความแตกต่าง เราต้องทบทวนให้ได้ วา่ ตวั เรามองอยา่ งไร ตา่ งจากคนอ่นื อย่างไร สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 48

ต้องมีความมุ่งมั่นในการแกป้ ัญหาใหป้ ระชาชน ผู้บรหิ ารทด่ี ีตอ้ งฉลาดในการแกป้ ัญหา และกล้ายืนยันใน สิ่งท่ีถูกต้อง ต้องไม่ติดกรอบ ต้องสูงาน และ Learning by doing เช่น กรณีการส่งต่อระหว่างชายแดนไทย มาเลเซีย ท่ีทาสาเร็จ ต้องเกิดจากการะบวนการคิด การทาความเข้าใจบริบท วัฒนธรรมของพื้นท่ี การประสาน การลงมอื ทา และความต้ังใจจริงในการแก้ปัญหา ควรคิดวิธีทางานท่ีนอกกรอบ ทางานนอกเหนือจากตัวช้ีวัด ซึ่งมีกถูกตีกรอบจากการ “ผ่าน” หรือ “ไม่ ผ่าน” เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกับการแก้ปัญหาในพ้ืนที่ เช่น การมี อสม.พม่า มีถุงยางอนามัยบริการในสถาน ประกอบการ ทุกอย่างเป็นการปรับกระบวนการคิดเพื่อมุ่งให้ประชาชนมีความสุข บุคลากรย้ิมได้ “ ถ้าเราไม่เข้าใจ มนุษย์ จงอยา่ คดิ เป็นผู้บริหาร” สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 49

หัวข้อ ภาวะผ้นู ายุคใหมก่ ับการบริหารการเปลยี่ นแปลง วันที่ 16 มิถนุ ายน 2564 เวลา 09.00-12.00 น. วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย สรปุ ประเด็นสาคญั ผู้นายุคใหม่และทักษะในการบริหารงานในองค์กรในยุคปัจจุบันซ่ึงเป็นยุคที่กล่าวกันว่าเป็นยุคแห่งการ เปลี่ยนแปลงทุกๆ องค์กรต้องเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลง ท้ังในระดับกลุ่ม ระดับองค์กร ระดับภูมิภาค ระดบั ประเทศ และระดบั สงั คมโลก ทง้ั ในด้านสภาพแวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม คา่ นยิ ม ขอ้ มูล ข่าวสาร เทคโนโลยีและอ่ืนๆ ผลจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมสาหรับประเทศ ไทย ทผ่ี า่ นมาเราได้เผชิญกับสภาวะวิกฤติเศรษฐกิจอย่างรุนแรงและยังมผี ลกระทบต่อเน่ืองตามมาถึงปัจจุบัน หาก มองในระดับองค์กรทุกภาคส่วน ท้ังในภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ และ และในทุกๆ ระดับมีความจาเป็นอย่าง ยิ่งท่ีจะต้องมีการวิเคราะห์องค์กร ตลอดจนวิเคราะห์หรือหาจุดเด่น จุดด้อย โอกาสและอุปสรรคปัญหากับคู่แข่ง ขนั ขององค์กรต่างๆ ซึง่ ในความเปน็ ภาวะผนู้ ายุคใหม่เป็นหนา้ ทหี่ นงึ่ ในหลายๆ หน้าทข่ี องผ้บู ริหาร ภาวะความเปน็ ผู้นาหรือผู้บริหารจึงแตกต่างกันกล่าวคือ ผู้บริหารเป็นตาแหน่งที่กาหนดข้ึนในองค์กร มีอานาจโดยตาแหน่งและ ได้รับความคาดหวงั ในหน้าท่ีเฉพาะเจาะจง จะมุ่งเน้นทกี่ ารควบคมุ การตัดสนิ ใจ และผูบ้ รหิ ารจะตอ้ งมีลกั ษณะของ ผ้นู าองคก์ ร ส่วนภาวะผนู้ ายุคใหมน่ ้ันจะไดร้ ับมอบอานาจทางสายงานแต่มีอานาจโดยวิธีอ่ืนๆ มีบทบาทท่กี ว้างกว่า บทบาทผู้บริหาร ภาวะผู้นายุคใหม่จะเน้นที่กระบวนการการมีส่วนส่วนของกลุ่ม การรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร การ ให้ข้อมูลย้อนกลับ และการใช้อานาจกับบุคคลอ่ืนๆ ดังน้ันภาวะผู้นาคือศาสตร์และศิลป์ในการบริหารงานของผูน้ า และผู้บริหาร จึงเป็นปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็จขององค์กร งานจะดาเนินไปด้วยดีและบรรลุวัตถุประสงค์ ย่อมขึ้นอยู่กับทักษะการบริหารงานในองค์กรท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน รฐั วิสาหกจิ และองคก์ รอนื่ ๆ ท่ีสามารถพัฒนา ไดอ้ ย่างตอ่ ยอดเพอ่ื มงุ่ สู่ความสาเรจ็ ความสาคัญของภาวะผู้นายุคใหม่กับทักษะในการบริหารงานในองค์กรและมีความเร่งด่วนในการที่ จะต้องปรับเปล่ียนหรือเปล่ยี นแปลงตนเองและเพื่อให้ตระหนักถึงภาวะผู้นายุคใหม่และทักษะในการบริหารงานใน องค์กร รวมถึงการบรหิ ารจดั การยุคใหม่ ทกุ วนั นม้ี ีการเปลยี่ นแปลงไปมาก ธรุ กิจก็ย่อมจะเยอะขึน้ ผบู้ ริหารตา่ งก็มี เทคนิคในการบริหารงานท่ีเก่ง ดูทันสมัยขึ้น และเม่ือให้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงข้ึน ซ่ึง เปน็ จดุ ประกายกอ่ ใหเ้ กิดการประสบความสาเรจ็ ในทุกๆดา้ นในการบริหารองค์กร สรุปได้ว่า ภาวะผู้นายุคใหม่กับทักษะในการบริหารงานในองค์กรนั้นทักษะผู้นาท่ีดี เก่งคน เก่งงาน มีความก้าวหน้าในอาชพี นักบริหารถึงแม้วา่ การได้รบั หรือได้เล่ือนตาแหน่งให้ผู้นานั้นเป็นเรื่องยาก แต่ส่ิงที่ยากกว่า คือการเป็นผู้นาที่มีทักษะผู้นา เพื่อทาตัวเองกลายเป็นผู้นาที่ดี ซ่ึงจะต้อง เก่งคน เก่งงานและสามารถสร้างความ สรปุ ผลการเรยี นร้หู ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 50

เจริญก้าวหน้าในอาชีพนักบริหารได้ ปกติผู้นาจะต้องมีความสามารถมากกว่าผู้ตามเสมอ ถึงจะได้รับการยอมรับ และไดร้ บั ความศรทั ธาจากผู้ตาม ดังน้ันผู้นาทด่ี ีควรพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง หมน่ั ศึกษาหาความรใู้ หม่ๆ รวมท้ัง ปรับปรุงภาวะความเป็นผู้นาให้ดยี ่ิงข้ึน ทกั ษะผู้นาทดี่ ีต้องสามารถโน้มน้าวผู้ตาม ให้ลงมอื ทางานจนบรรลุผลสาเร็จ ได้ตามเป้าหมาย ท่ีไดต้ กลงร่วมกันดว้ ยความเต็มใจ ซงึ่ อาศยั เทคนคิ การมสี ่วนร่วมของคนในองคก์ รเปน็ สาคัญ สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 51

หวั ข้อ เทคโนโลยีดิจิทัล และนวตกรรม วันท่ี 16 มิถนุ ายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. วทิ ยากร เภสชั กรไพสิฐ จริ รัตนโสภา รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย รว่ มกบั เร่ืองเล่าประกอบ และการมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียน สรปุ ประเด็นสาคญั Health 4.0 หมายถึง การปฏิรูประบบการดูแลสุขภาพไปสู่ ยุคใหม่ โดยเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญส่วน หนึ่งของบริบท Thailand 4.0 การปฏิรูประบบการดูแลสุขภาพในยุคใหม่นี้ จะดาเนินการเปลี่ยนแปลงระบบเดิม (แบบ Analog)ให้เป็นระบบใหม่ (แบบ Digital) โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่อง มือหลักในการปฏิรูป ระบบ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งใน การใช้ชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ ทั้งในเรื่อง การทางาน การจัดการกิจวัตรประจาวัน จนถึงการพักผ่อนหย่อนใจ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยการดูแลสขุ ภาพของประชาชน จะทาให้เกิดผลลัพธ์ท่ีกว้างขวาง มีผลต่อประชาชนส่วนใหญ่ ในระดับสูงอย่างที่ไม่เคยเป็นมา กอ่ น หนว่ ยงานตา่ งๆ ทม่ี บี ทบาทในการจัดระบบดูแลสุขภาพ เช่น กระทรวงสาธารณสจงึ ควรให้ ความสาคญั ทาง ความเข้าใจการปฏิรูป ระบบในภาพรวม ทั้งหมดแล้วกาหนดยุทธศาสตร์หลัก เพ่ือ ขับเคลื่อน การปฏิรูปไปสู่ Health 4.0 อยา่ งมั่นคงและยัง่ ยนื ต่อไป ประโยชน์ eHealth 1) ชว่ ยให้ผู้ปว่ ยเขา้ ถงึ ระบบบรกิ ารสุขภาพไดส้ ะดวกรวดเรว็ 2) ข้อมูลสุขภาพข้อมูลการรักษามีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น สามารถบันทึกและสง่ ต่อข้อมูลได้อยา่ ง มีคุณภาพ 3) ทาให้ผู้ป่วยสามารถได้รับการให้คาปรึกษาผ่าน Video conference หรือ Telehealth และ ตดิ ตามอาการใน 24 ชม 4) ช่วยใหป้ ระชาชนสามารถจัดการสุขภาพของตัวเอง สามารถเขา้ ถึงคาแนะนาและข้อมูลสุขภาพ PLATFORM REVOLUTION Uber : เป็นบริษัทแทกซท่ี ่ใี หญ่ท่ีสุดในโลก แต่ไมม่ ีแทก็ ซ่เี ป็นของตนเอง Facebook : เป็นบริษทั ดานมเี ดยี ท่มี ีคนใชม้ ากท่สี ุดในโลก แตไ่ ม่มีการผลติ นอ้ื หา(Content) เป็นของตนเอง Alibaba : เป็นบริษทั ทม่ี ีมลู คา่ สูงสุ ดในโลก แต่ไมต่ ้องมีสนิ คา้ คงคลังเป็นของตนเอง Airbnb : เป็นบริษทั จดั หาหอ้ งพักท่ใี หญท่ ่ีสุดในโลก แต่ไม่ต้องมอี สังหารมิ ทรัพย์เปน็ ของตนเองเลย เทคโนโลยที ีเ่ ป็นกลไกขับเคลอื่ น Health 4.0 สรุปผลการเรียนร้หู ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 52

เทคโนโลยที ีจ่ ะเปน็ กลไกหลักในการขับเคลื่อนใหเ้ กิด Health 4.0 ประกอบดว้ ยเทคโนโลยีสาคัญที่เป็น หลัก 6 ประการ ดงั ต่อไปน้ี 1) Social Webs and Network เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ท่ีออกแบบมาให้สามารถเช่ือมโยงและติดต่อกัน ได้ เราจะได้เห็นการใช้ LINE, Facebook, YouTube ฯลฯ ในการเช่อื มโยงการสื่อสารเพ่ือดูแลรักษา ระหวา่ งประชาชนดว้ ย กนั เอง ระหว่าง ประชาชนกบั แพทยล์ ดคา่ ใช้จา่ ยในระบบการดแู ลสุขภาพได้มากขนึ้ 3) Mobile Application เป็นการใช้อุปกรณ์พกพาติดตัวในการติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูล ส่งภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ให้ถึงตัวบุคคลในเวลาอันรวดเร็ว โดยการพัฒนา Application ท่ีสนับสนนุ การดแู ล สุขภาพ และการเสรมิ ประสิทธิภาพการใหบรกิ ารของหนว่ ยบรกิ าร สุขภาพตา่ งๆ 4) Internet of Things ทุกสิ่งเช่ือมโยงกับอินเทอร์เน็ต เพ่ือให้ส่งสัญญานแก่ระบบหรือ ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ผา่ นทางอินเทอร์เน็ตได้ 5) Big Data and Health Analytics เทคโนโลยีการจดั เกบ็ ข้อมลู จานวนมหาศาลไว้ได้ท้ังหมดโดยมี ค่าใช้จ่ายไม่มาก ข้อมูลสุขภาพของประชาชนไทยทุกคนจะถูกจัดเก็บ ไว้ในระบบ Cloud Computing ได้ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงวันตาย แพทย์ที่รักษาผู้ป่วยจะไม่ต้องเสียเวลา ซักถาม เรื่องราวในอดตี จากตัวผู้ป่วย แต่จะสามารถ เรียกข้อมูลจากระบบมาใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค และการรักษาไดเ้ ลย กบั โรคท่ผี ูป้ ว่ ยเปน็ และเหมาะสมกับลกั ษณะของ ผ้ปู ่วยแตล่ ะคนได้ 6) Robotics วิทยาการห่นุ ยนตม์ กี ารพัฒนามาจนถึง 7) ขั้นใช้งานจริงเพื่อช่วยดูแลสุขภาพได้หลายด้านในโรงพยาบาล แพทย์สามารถทาการผ่าตัดได้โดย การ เจาะรูเล็กๆเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยแล้ว ขยายภาพอวัยวะภายในให้เห็นบนหน้าจอจากน้ัน แพทย์สามารถ บังคับแขนกลหรือเครื่องมือผ่าตัดให้ดาเนินการตามข้ันตอนการผ่าตัดได้อย่าง แม่นยา ถูกตาแหน่ง ได้มากขึ้นลดความผิด พลาดและช่วยให้ผู้ป่วยออกจาก โรงพยาบาลได้ไวขึ้น ในบ้านท่ีมีผู้ป่วยที่ต้องการการ ดูแลเป็นพิเศษ อาจใช้หุ่นยนต์ช่วยเตือนให้กินยา ตรวจจับการผิด ปกต่ิ และยังสามารถ ส่งสัญญานติดต่อสื่อสารขอความช่วยเหลือจาก ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ไดด้ ้วย 8) Artificial Intelligences ปัญญาประดิษฐ์ เป็นเทคโนโลยีท่ีสามารถทาให้เกิดระบบอัตโนมัติท่ีช่วย ดูแลสุขภาพประชาชนได้โดยพัฒนา แบบ mobile application ให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อมูลให้ระบบ ช่วยวิเคราะห์และให้คาแนะนาได้ เช่น ให้ผู้ใช้ป้อนอาการง่ายๆแล้วจ่ายยาตามการวิเคราะห์ เบอื้ งต้น สรปุ ผลการเรยี นร้หู ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 53

หัวข้อ การบริหารความขดั แย้ง วันที่ 18 มิถนุ ายน 2564 เวลา 09.00-12.00 น. วทิ ยากร นายแพทยธ์ ิติพนั ธ์ ธานีรัตน์ รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย ร่วมกบั เร่ืองเล่าประกอบ และการมสี ่วนร่วมในชนั้ เรียน สรปุ ประเด็นสาคญั What is the Effective Leaders What is a Conflict? ความขัดแย้ง (Conflict) หมายถึง สถานการณ์ที่ 2 ฝา่ ย (ขึ้นไป) มีความคดิ เห็นท่ีแตกต่างกนั และยังไม่ สามารถหาข้อสรปุ ได้ VUCA World สรุปผลการเรียนรู้หลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 54

Compare with Conflict Thought แนวคิดเดิม 1. ความขัดแย้งเป็นส่งิ ท่ีไม่ควรหลีกเลย่ี ง 2. ความขดั แย้งเกิดจากความผดิ พลาดของการบรหิ ารงานและการสอื่ สาร 3. ความขดั แย้งทาลายความสามัคคีของกลุ่มและเกิดผลเสยี ต่อการปฏบิ ัตงิ านและองคก์ ร ดังนัน้ ไมค่ วรมี ความขัดแย้ง 4. ภารกจิ ของผูบ้ รหิ ารคอื การขจัดความ แนวคดิ ปัจจุบัน 1. ความขัดแย้งเปน็ สง่ิ ทเ่ี กดิ ขึ้นตามธรรมชาตแิ ละหลกี เล่ียงไม่ได้ 2. ความขัดแย้งเกดิ จากหลายสาเหตุ เช่น โครงสร้าง, ทรัพยากร, เป้าหมาย, ค่านยิ ม และอน่ื ๆ 3. ความขัดแย้งมีทงั้ ประโยชนแ์ ละโทษ ขึน้ อย่กู ับการบรหิ ารความขดั แย้งให้อยู่ในระดบั ทเี่ หมาะสม จะ ช่วยใหผ้ ลการปฏิบตั ิงานสงู และมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ภารกจิ ของผูบ้ รหิ ารคือการบริหารและจัดการความขดั แย้งเพ่อื ใหเ้ กดิ ผลดีต่อการปฏิบัติงาน Signs of Conflicts 1. มีการแบ่งฝักแบง่ ฝ่ายอยา่ งชดั เจน 2. การประสานงานระหวา่ งหน่วยงานล่าชา้ 3. มีลกั ษณะการโยนความผดิ ซงึ่ กันและกัน 4. มีการโตเ้ ถยี งดว้ ยอารมณห์ รือทะเลาะวิวาทอย่บู ่อยครง้ั 5. มี turnover rate สูง โดยไม่มีเหตุผลท่ีเหมาะสม 6. ผลลัพธ์ขององค์กรและสมั พนั ธภาพในองคก์ รลดน้อยลง Leaderships VS Conflicts “ ผู้บริหารท่ดี ตี ้องสามารถบริหารจัดการความขัดแยง้ ภายใตท้ รพั ยากรทม่ี ีอย่างจากัดไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ” Steps of Conflict Management 1. ระบุปัญหาความขัดแย้ง 2. สอ่ื สารทวั่ ถงึ 3. เจรจาหาทางออก 4. ปฏิบัติตามข้อตกลง 5. ติดตามผล สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 55

Results of Conflict Management 1. Domination ใช้อานาจในการจัดการแต่ละฝา่ ย ไดผ้ ล แพ้-ชนะ 2. Compromising Solution ไมม่ ฝี า่ ยใดได้ท้ังหมด ต่างฝา่ ยตา่ งได้แค่บางสว่ น 3. Integrated Solution เน้นความพอใจของทั้งสองฝ่าย ไม่มกี ารแพ้-ชนะ ไม่ต้องเสยี บางส่วน Types of Conflict Management Forcing 1. ผูบ้ ริหารใชอ้ านาจในการบรหิ ารจัดการ 2. เนน้ เปา้ หมายมากกว่าการรกั ษาสมั พันธภาพ 3. ใช้กับปญั หาทีเ่ รง่ ด่วนและผบู้ รหิ ารมีอานาจเต็มที่ 4. ผล : แพ-้ ชนะ และอาจสร้างปัญหาอีกในภายหลัง Avoiding 1. ใชว้ ิธีหลีกเลย่ี ง ไมเ่ ผชญิ กบั คกู่ รณี 2. ใช้กับปัญหาที่ไม่สาคัญหรือเวลาขณะนน้ั ยังไม่เหมาะท่ีจะดาเนนิ การ 3. ผล : แพ-้ ชนะ ตามกลไกของความขดั แย้งและอาจสร้างปัญหาอกี ในภายหลัง Accommodating 1. แกป้ ญั หาแบบเน้นการรักษาสัมพันธภาพมากกว่าเป้าหมาย 2. ให้อยูร่ ่วมกนั แบบมีสนั ตสิ ขุ 3. ใชก้ ับปัญหาท่ีไมส่ าคัญและต้องเน้นความพงึ พอใจของคน 4. ผล : compromising ผลด้านสมั พันธภาพสูง/ด้านเป้าหมายตา่ Collaborating 1. เผชิญปญั หาแบบสขุ มุ รอบคอบและตอบสนองความต้องการของผูร้ ว่ มงาน 2. ใช้กับปัญหาทมี่ ีเวลาในการแก้ไขมาก เพ่ือให้แตล่ ะฝ่ายไดแ้ สดงเหตุผล และความต้องการอย่างจริงใจ 3. ผล : integrated ได้ทุกฝ่าย ผลด้านสัมพนั ธภาพและเปา้ หมายสูง แตใ่ ช้เวลามาก Compromising 1. แก้ปญั หาแบบเฉพาะหน้า ใช้ทางสายกลาง 2. มกั ไดผ้ ลดใี นการจัดการปัญหาเกี่ยวกบั บุคคล 3. ใชก้ บั ปญั หาที่มีเวลาในการแก้ไขพอสมควร ตอ้ งใช้ทักษะสูงเนือ่ งจากไมต่ ้องการให้มผี แู้ พ้/ผชู้ นะ 4. ผล : compromising ผลดา้ นสมั พันธภาพและเปา้ หมายสูง สรปุ ผลการเรยี นรูห้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 56

Alternative Managements 1. เลง็ ปญั หากอ่ นเกดิ 2. สรา้ งศตั รูร่วมกัน 3. ทาให้เกดิ ความแตกตา่ ง ในระหวา่ งคแู่ ข่งขนั 4. เพิม่ ความกดดนั ให้กบั องค์กร 5. หาทรัพยากรเพมิ่ Processes of Conflict Management ระบุความขดั แยง้ 1. ระดับของความขัดแย้ง 2. ชนดิ ของความขดั แย้ง ตั้งเปา้ หมายของการจัดการความขดั แย้ง 1. ผลลัพธข์ ององค์กร (Assertion) 2. สมั พันธภาพในองค์กร (Co-operation) พจิ ารณาเลอื กวิธีการจดั การความขัดแย้ง Case Scenario การจัดการความขัดแย้งในระบบการแพทย์และสาธารณสุข พบว่า ระบบสาธารณสุข ในปัจจุบันมีความ ขัดแย้งเกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากความรู้สึกไม่ไว้วางใจต่อโรงพยาบาล และเจ้าหน้าท่ี ความรู้สึกไม่ได้รับความ ยุตธิ รรมจากโรงพยาบาล การใชอ้ านาจของผ้ใู หบ้ รกิ ารท่ีไม่ถูกต้องปัญหาการสื่อสารระหว่างแพทย์หรือพยาบาลกับ ผู้รบั บริการ Importance of negotiations การเจรจาต่อรองมีบทบาทสาคัญ การท่ีองค์กรหรือหน่วยงานให้ความสาคัญกับการเจรจาต่อรองเพิ่ม มากข้นึ จะทาให้ทั้งผลสัมฤทธ์ิขององคก์ ร และสัมพนั ธภาพภายในองคก์ รดขี น้ึ ตามไปดว้ ย Four Strategies of the Harvard Negotiation Approach Humans วิเคราะหค์ นแยกออกจากปัญหา Interests เนน้ ท่ีความสนใจไม่ใชต่ าแหนง่ /บทบาท Criteria ยืนยนั ในหลักการ/ ระเบยี บทเ่ี หมาะสม Possibilities สรา้ งทางเลอื กเพอื่ รับ ประโยชน์ร่วมกนั ทง้ั สองฝ่าย สรุปผลการเรียนรู้หลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 57

หัวข้อ ผูบ้ รหิ ารและการขดั แย้งกันแห่งผลประโยชน์ วนั ท่ี 18 มิถนุ ายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. วทิ ยากร ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรทพิ ย์ พิมพส์ รุ โสภณ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย ร่วมกับ เรื่องเลา่ ประกอบ และการมสี ่วนร่วมในชนั้ เรียน สรปุ ประเด็นสาคัญ กาฝาก (น.) หมายถึง ชอื่ พชื ชนิดเบียนหลายชนดิ ในหลายวงศท์ ่ีอาศัยเกาะดูดนาและแร่ธาตหุ รอื สารอาหารทสี่ งั เคราะหแ์ ล้วจากพรรณไม้ท่อี าศัย Corruption การแก้ปัญหาทุจริตแบบยั่งยืน คือ ต้องคิดได้ คิดดี และคิดเป็นการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ความขัดแย้ง (Conflict) หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของบุคคลซ่ึงเป็นผล มาจากการรับรู้ในเปา้ หมาย และสิ่งจูงใจท่ีมีต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ในลักษณะของ ความไม่ลงรอยกันทางความคิด ความเช่ือ และ คา่ นิยม ส่งผลใหบ้ ุคคลไมส่ ามารถตดั สนิ ใจกระทา การสง่ิ ใดส่ิงหน่ึงได้ ซ่ึงความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นมีทั้งความขัดแย้งใน เชิงบวกและความขดั แย้ง ในเชงิ ลบ โดยความขดั แยง้ ในเชงิ บวกเปน็ ความขดั แยง้ อย่างสร้างสรรค์ กอ่ ให้เกดิ ผลดีต่อ ตนเอง องค์กร สังคม และประเทศชาติ การหาทางออกหรือวิธีการแก้ไขความขัดแย้งในเชิงบวก จะเกิดขึ้นใน ลักษณะของความสมานฉันท์ ความสามัคคี เกิดเป็นแนวทางหรือองค์ความรู้ใหม่ ส่วนความขัดแย้งในเชิงลบเป็น ความขัดแย้งท่ีก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและส่วนรวม ซ่ึงการแสดงออกของการแก้ไขความขัดแย้งในเชิงลบมัก สะท้อนออกมาในรปู แบบของการใช้ ความรนุ แรง การทะเลาะเบาะแวง้ และการแตกความสามคั คี ผลประโยชนส์ ่วนตน (Private Interest) หมายถึง สิ่งใด ๆ ท่ีเป็นผลตอบแทน ท่ีบุคคลได้รับ โดยเห็นวา่ มี คุณค่าเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง บุคคล หรือ กลุ่มบุคคลที่ตนเองมีปฏิสัมพันธ์ด้วย เช่น สามี ภรรยา บุตร ญาติพนี่ อ้ ง เพอ่ื น ผรู้ ่วมลงทุน เปน็ ต้น ซง่ึ ผลประโยชน์ส่วนตน มี 2 ประเภท คือ 1) ผลประโยชน์สว่ น ตนท่ีเกี่ยวกับเงิน (pecuniary) เป็นรูปแบบของการได้มาซ่ึงเงิน ทอง และการเพิ่มพูนหรือรักษาปกป้องส่ิงท่ีมีอยู่ แล้วไม่ให้ เกิดการสูญเสีย โดยหมายความรวมถึงส่ิงท่ีไม่ได้อยู่ในรูปของตัวเงิน แต่มีมูลค่าตีเป็นราคา หรือสามารถ แปรเปล่ียนเป็นตัวเงินได้ เช่น หนุ้ ท่ีดนิ ของขวญั ของกานลั เป็นต้น และ 2) ผลประโยชนส์ ว่ นตนที่ไมเ่ กี่ยวกับเงิน (non-pecuniary) เป็นลักษณะของความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงอยู่ในรูปแบบของความเชื่อ ความคิด ค่านิยม ท่ีมักมีอคติ ความลาเอียง เข้ามาเกี่ยวข้องโดยปราศจากความย้ัง คดิ ถึง ความถกู ต้องเปน็ ธรรมตามหลักธรรมาภิบาล ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่ก่อให้เกิดผลที่มี คุณค่าต่อสมาชิกหรือ ประชาชนในสงั คมโดยสว่ นรวม สรปุ ผลการเรยี นรูห้ ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 58

การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) หมายถึง สถานการณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจกระทาการส่ิงใดส่ิงหน่ึงของบุคคล ในฐานะพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วย การใช้ตาแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองและพวกพ้อง ทาให้ไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าท่ี ได้อย่างตรงไปตรงมา เกิดการตัดสินใจกระทาในสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง ละเมิดต่อหลักกฎหมาย และหลัก ธรรมาภบิ าล รูปแบบการขดั กนั ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 1. การรับผลประโยชน์ (Accepting benefits) คือ การรับของขวัญ การรับสินบน หรือผลประโยชน์ ในรปู แบบต่าง ๆ ทีไ่ มเ่ หมาะสมและส่งผลต่อการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี ของเจา้ พนักงานของรัฐ ท้ังทีเ่ ป็นเงนิ และไม่ใช่เงินใน หลากหลายรูปแบบ เช่น การแบ่งหุ้น การให้ คูปอง การจัดเล้ียงอย่างฟุ่มเฟือย รวมถึงการให้ความบันเทิงใน รูปแบบต่าง ๆ ทสี่ ่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจของเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ใหเ้ กิดความลาเอียงและไม่เปน็ ธรรม หรือเป็นไปในทาง ท่ีเอื้อประโยชน์ต่อผู้ให้ของขวัญ ตัวอยา่ ง : เจ้าหน้าทีข่ องรฐั ได้รบั กระเปา๋ และเคร่อื งสาอางราคาแพงเป็นของขวัญ ปใี หม่จากผบู้ ริหารบริษัทเอกชนแหง่ หนงึ่ เมือ่ ตอ้ งปฏิบตั หิ นา้ ทีเ่ ก่ยี วกบั การจัดซื้อ จัดจา้ ง เจา้ หนา้ ที่คนดงั กล่าวก็ให้ การชว่ ยเหลือ บรษิ ัทเอกชนแหง่ น้นั ได้รบั งาน ตัวอย่าง : เจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับแพ็คเกจ ทัวร์ไปเที่ยวต่างประเทศจากผู้ปกครองของ นักศึกษา โดย ขอใหบ้ ุตรของตนมรี ะดบั คะแนนทส่ี ูงขน้ึ เจ้าหนา้ ทก่ี ไ็ ด้ความช่วยเหลือ ด้วยการปรบั คะแนนให้ 2. การหาผลประโยชน์ให้ตนเอง (Self-Dealing) คือ การใช้ตาแหน่งหน้าท่ี การงานเพ่ือหาประโยชน์ ให้กับตนเอง ครอบครวั หรือพวกพอ้ ง ตัวอย่าง : เจ้าหน้าท่ีของรัฐจัดทาสัญญา เช่ารถและเช่าที่พักในการสัมมนาศึกษา ดูงานต่างจังหวัด ซึ่งมี คนในครอบครวั ตนเองหรอื ตนเองมีรายช่อื เป็นหุ้นส่วน ในกจิ การ 3. การทางานหลังเกษียณ (Post-Employment) คือ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ เม่ือออกจากหน่วยงาน ของรัฐ หรือภายหลังเกษียณได้ไปทางานโดยใช้อิทธิพลจากที่เคยดารง ตาแหน่งเดิมมารับงานหาผลประโยชน์ให้ ตนเองและพวกพ้อง 4. การทางานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) คือ การใช้ สถานภาพตาแหน่ง หน้าท่กี ารงานเข้าไปเปน็ ทีป่ รึกษา กรรมการ ห้นุ สว่ น หรอื เป็นเจา้ ของกิจการ ภาคเอกชน เพอ่ื สร้างความนา่ เช่ือถือ ว่าจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณางานจากหน่วยงานรัฐ ท่ีตนสังกัดอยู่ นอกจากน้ียังรวมถึงการใช้เวลา เคร่ืองมือ วสั ดุอุปกรณ์ของรัฐ ในการท างานพิเศษ ภายนอกท่ีไมใ่ ชง่ านทไี่ ด้รับมอบหมายจากหนว่ ยงานของรัฐ 5. การรับรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information) คือ สถานการณ์ท่ีเจ้าหน้าท่ี ของรัฐรับรู้รับทราบ ขอ้ มูลภายในหนว่ ยงานแล้วน าขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปแสวงหาผลประโยชนใ์ หต้ นเอง และพวกพอ้ ง สรปุ ผลการเรยี นร้หู ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 59

6. การนาทรัพยส์ นิ ของหน่วยงานไปใช้ชวั่ คราวในกจิ การท่ีเปน็ ส่วนของตน (Using your employer’s property for private advantage) คือ การนาทรัพย์สิน ต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว ทา ให้หน่วยงานของรัฐเสียหายหรือเสีย ประโยชน์ เช่น การน าเคร่ืองใช้สานักงานกลับไปใช้ที่บ้าน การนา รถยนต์ ราชการไปใช้ทาธุระ สว่ นตวั 7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพ่ือประโยชน์ทางการเมือง (Pork Barreling) คือ การ ใชอ้ ทิ ธพิ ลทางการเมืองเพื่ออนุมัตโิ ครงการหรือผลตอบแทนในพืน้ ที่ ที่ตนรับผดิ ชอบ เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการหา เสียงเลือกตงั้ สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 60

หัวข้อ กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์ วันท่ี 21 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. วิทยากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรทพิ ย์ พมิ พ์สุรโสภณ รูปแบบการนาเสนอ กจิ กรรมกลุม่ และการมีส่วนรว่ มในชั้นเรยี น สรุปประเดน็ สาคัญ วทิ ยากร ใช้วิธกี ารทากิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ์เพื่อให้เกิดการละลายพฤติกรรม สร้างสมั พันธภาพระหว่างผเู้ ข้า อบรม พร้อมทั้งเกิดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการทากิจกรรมและการเล่นเกมส์ต่างๆ อาทิ ทักษะสาคัญของการเป็น ผู้นา เช่น การมีสติ, การมีสมาธิ, ความสามารถคิดตอ่ ยอด, ความซ่ือสัตย์, ความสามัคค,ี การคดิ และทางานเปน็ ทีม, น้อมรับกับส่ิงท่ีเกิดข้ึน, การยอมรับข้อผิดพลาดของตน, การทางานแบบมีส่วนร่วม, ความคิดสร้างสรรค์, การคิด วิเคราะห์แบบบูรณาการ/คิดเป็นองค์รวม, ทักษะ Team building, การทา brain stroming, การเสียสละ, การ เก็บรกั ษาทรัพยส์ ินขององค์กร, การแก้ปญั หาเฉพาะหน้า, การร่วมแรงร่วมใจ, การอดทน, การฟังอย่างมีสต,ิ ความ ไว้วางใจ, ความสามารถในการแยกแยะ, ทักษะการตติ งิ หรือวิพากษใ์ นส่ิงทีถ่ ูกต้อง เป็นตน้ สรปุ ตวั อยา่ งสาระบางสว่ นจากการทากิจกรรมกล่มุ ไดด้ ังนี้ คุณสมบัติของผู้นาทพ่ี ึงประสงค์ คุณสมบตั ิของผนู้ าทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ มวี สิ ัยทัศน/์ มเี ป้าหมายท่ีชัดเจน ไม่มวี ิสยั ทศั น์ ไม่มีเปา้ หมายท่ชี ัดเจน มคี ณุ ธรรม มีธรรมาภิบาล ขาดคณุ ธรรม ไม่ซอ่ื สตั ย์ มคี วามรู้ ความสามารถ รอบรู้ ฉลาด มไี หวพรบิ ขาดความรคู้ วามสามารถ ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ ง ไม่ปฏบิ ัตติ ามระเบียบวนิ ยั ไม่เปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ี มีความรบั ผิดชอบ ขาดความรับผดิ ชอบ มคี วามกล้าหาญ กล้าคิด กล้าทา กลา้ ตัดสนิ ใจ ไมก่ ลา้ ตดั สนิ ใจ, ไมเ่ ดด็ ขาด, ไมเ่ ขม้ แขง็ รับฟงั ความคดิ เห็นผูอ้ ืน่ เผดจ็ การ สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 61

คุณสมบัตขิ องผู้นาท่ีพึงประสงค์ คุณสมบตั ิของผู้นาทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ มีความสามารถในการสร้างทีม/เครือข่าย/ความ ไมท่ างานเปน็ ทีม(ตใี หแ้ ตกแยกปกครอง) สามัคคี สง่ เสริมสนับสนุนลูกนอ้ ง, ดแู ลเอาใจใส่ ชอบตาหนิ ไมใ่ ห้กาลงั ใจ มีความทันสมัย ก้าวทันเทคโนโลยีและยุคสมัยท่ี ไมย่ อมรบั การเปลี่ยนแปลง เปลีย่ นแปลง มบี ุคลิกภาพท่ีดี ไมด่ แู ลและพัฒนาตนเอง มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ี ใชอ้ ารมณ์ในการตัดสนิ ใจ มที กั ษะความสามารถในการส่ือสาร ส่ือสารไม่ชัดเจน มีทัศนคตเิ ชิงบวก คดิ ลบ มอบหมายงานตรงความสามารถของบคุ คล ขาดทักษะในการบรหิ ารงาน,บคุ คล มคี วามสามารถในการยดื หย่นุ ไมป่ รับตวั มีความยุติธรรม มอี คติ ( เช่น สายโลหติ , ศษิ ย์ใกล้เคียง, เสบยี งถึงบ้าน, บริการประทับใจ) สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 62

หวั ข้อ การบรหิ ารจัดการในภาวะวิกฤต วนั ท่ี 23 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. วิทยากร พญ.คณุ หญิงพรทิพย์ โรจนสุนนั ท์ รปู แบบการนาเสนอ บรรยาย สรปุ ประเดน็ สาคัญ Commonization-Global common 1. วิกฤตเศรษฐกิจ 2. วิกฤตการก่อการร้าย 3. โรคระบาด 4. โลกร้อน สิง่ ที่จาเปน็ ตอ้ งมใี นผ้นู า 1. การส่ังการ 2. การควบคุม 3. การประสานงาน ทักษะการพฒั นากระบวนการคิด 1. การสงั เกต 2. การตงั้ ประเดน็ 3. การค้นควา้ หาข้อมลู 4. การวเิ คราะห์ 5. การสรปุ โลกใหม่หลงั COVID_19 1. ความไม่แนน่ อน – ความเสี่ยง 2. ทักษะทีจ่ าเปน็ – Attitude (เปดิ ใจกว้าง เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสขุ กบั การเรียนรู้), Skill (คดิ อยา่ ง มวี จิ ารณญาณ), Knowledge (เทคโนโลย)ี 3. AI - Artificila Intelligent เทคโนโลยพี ลิกผนั 4. ชาตนิ ิยม ความม่ันคงทางอาหารและพลังงาน 5. สงั คมข้อมลู (Dat-Driven Society) 6. Business disruption คนตกงาน 7. สขุ ภาพตอ้ งมาก่อน สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 63

ภาคผนวก สรปุ ผลการเรยี นร้หู ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 64

การพฒั นาทกั ษะการนาเสนอรายบคุ คล 5 นาที วทิ ยากรผู้วิพากษ์ 1. เภสัชกรอวริ ทุ ธ์ สงิ ห์กุล 2. ดร.ภัคณฐั วรี ขจร 3. ดร.อบุ ลทิพย์ ไชยแสง 4. ทนั ตแพทย์หญิงพิรยิ า ผาตวิ ิกรัยวงค์ วนั ท่ี ลาดับ ชื่อ - นามสกลุ หัวข้อการนาเสนอ ที่ 2 มิถนุ ายน 1. นางสาวพศิ มยั ยอดพรหม ความภาคภูมิใจทางการบริหารโดยใชห้ ลัก 2564 ธรรมาภิบาล 2. นางณัฐธิดารตั น์ สงิ หกลุ การบรหิ ารคนรุนเจเนอเรช่ันวาย (Generation Y) ใหสุขใจและได้ผล 3. นายมะซอและห์ สาและ การพัฒนาการมีสว่ นร่วมของ T-PAR และ กระบวนการ DE ในการพฒั นางานสาธารณสุข 3 มิถนุ ายน 4. นางศวุ ลกั ษณ์ ไตรสวุ รรณ์ ทฤษฎี \"ฝงู หา่ น\" ผลัดกันนา ผลัดกันตาม 2564 5. นางสาววันวสิ า แสงทิม ขอ้ ควรปฏบิ ัตขิ องผนู้ าท่ีดี 6. นายสรายุทธ ชว่ ยศรี ความภาคภูมิใจทางการบริหาร 7. นายกติ ติพชิ ช์ เชาว์ดี การเปน็ ผบู้ รหิ ารทดี่ ี บทบาทและหน้าท่ขี อง ผบู้ รหิ าร 8. นางสาวอุษณีย์ คงคากลุ ผบู้ ริหารกับการตัดสินใจ 9. นายอทุ ัย เสม็ ยง้ หลกั การ 7 ข้อในการทางาน 10. นางสาวภาวิณี ออ่ นมขุ “MERGE” หลักธรรมเหนีย่ วนาใจในการ บรหิ ารงาน 11. นายมะยาซี ควรเอกวญิ ญู ผู้บริหารรนุ่ ใหม่ท่ีเติบโตขึ้นในช่วงเวลาของการ ตื่นตวั ดา้ นคอมพวิ เตอร์ 12. นายสุทธพิ ร คงเพ็ง การจดั ตัง้ ห้องปฏบิ ัตกิ ารตรวจโรคตดิ เชอ้ื โคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีได้มาตรฐาน สรปุ ผลการเรยี นรูห้ ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 65

วันท่ี ลาดับ ช่ือ - นามสกุล หวั ข้อการนาเสนอ 4 มิถุนายน ท่ี 2564 13. นางสาวธราพร พชั รินทร์ไพจติ การบริหารเวลาด้วย Time blocking 7 ทักษะสาคัญชว่ ยคุณเป็นผู้ท่ีประสบ 7 มถิ ุนายน 14. นายเอกวัฒน์ วงศ์พัทธวฒุ ิ ความสาเร็จ 2564 เป็นคนเก่งได้เปรยี บหน่ึงปี ทัศนคติดีได้เปรียบ 15. นางสาวบุญญาพร ตนั วโรภาส ไปตลอดชีวิต 8 มถิ นุ ายน 6 คณุ สมบัติของหวั หนา้ ยอดแย่ เปน็ ผู้นาไมไ่ ด้ 2564 16. นายสมควร พรหมคุณ การจะเปน็ ผู้บรหิ ารที่ดีควรยดึ หลกั ธรรมาภิบาล 17. นางกัลยา ต้งั สิริวรกุล ความภาคภูมใิ จทางการบรหิ าร 18. นายชาญชยั ภวู งษ์ การบริหารงานโดยใช้ความคิดเชิงบวก 19. นายซาอูดี เจะดอเลาะ 6 กลยุทธแ์ ก้ไขความขัดแย้งในที่ทางาน 20. นางวริ ัลพัชร สกลุ สนั ตพิ ร เศลล์ ความภาคภูมใิ จทางการบริหาร 21. นายสมรฐั คงเขียว หลักการครองงาน 22. นายสงิ ห์ณกรณ์ ใจช่นื การเปน็ ผนู้ าที่ดใี นยุคดิจติ อล (How to be a 23. นางสาวอภริ ดา พันธ์สิ ิทธิ์ good leader in Digital Age) โค้ชงานแบบไหน เพื่อสร้างคนเกง่ ให้แกอ่ งค์กร 24. นายสนธยา แก้วคาแสน [อา้ งอิงผลการศึกษาจาก Gartner] ความภาคภูมิใจทางการบริหาร 25. นางสาวมนสิชา ชมุ แก้ว ความภาคภูมิใจทางการบริหาร 26. นางอุมาภรณ์ กาลงั ดี การบริหารงานบนความขดั แยง้ 27. นายมนสั มากพทุ ธ วางแผนกลยทุ ธ์อย่างไร ใหส้ ามารถนาองค์กร 28. นางอรัญญา จงึ รกั ษ์พงษ์ ไปถงึ ภาพฝัน (วสิ ัยทศั น์) คนสาราญ งานสาเร็จ 29. พ.จ.ท.สายัน ภาคโภไคย 888 เคล็ดลับบริหารเวลาใน 1 วนั เพื่อชวี ติ 30. นายโนราห์ ทศั นสวุ รรณ ท่สี มดุล สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 66

วนั ท่ี ลาดับ ชอ่ื - นามสกลุ หวั ข้อการนาเสนอ 9 มถิ นุ ายน ที่ Mindset หัวใจนักบรหิ าร : กุญแจแห่ง 2564 ความสาเร็จ 31. นางสุนิสา สวุ รรณรกั ษ์ หลกั การเป็นหัวหน้างาน (Principle of Supervisor) ทีด่ ี 32. นายสนั ติ เกิดทองทวี การทางานเปน็ “ทมี Team” หลักการบรหิ ารจัดการ 4M’s 33. ว่าท่ีร.อ.มนตรี ราชพัฒน์ การสร้างทีมให้มปี ระสิทธภิ าพ 34. นางสาววนั ทิตา ดลุ ยะศริ ิ การพฒั นาภาวะความเป็นผู้นาใน 5 ระดับ 35. นายกติ ติพงษ์ บวั ตกิ (The 5 Levels of Leadership) 36. นายคอลดิ ครนุ นั ท์ 5 เคลด็ ลับ วิธสี ร้างความสุขให้กับตนเอง บรหิ ารชีวติ เปลี่ยนวิธคี ิด พลกิ ชีวิตหลังเกษียณ 10 มิถุนายน 37. นายชยั วฒั น์ แพทย์พงศ์ ถอดบทเรียนสคู่ นรุ่นใหม่ 2564 38. นายวฒุ ิ ศริ ิพันธุ์ เส้นทางการบรหิ ารด้วยความรกั การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนโดยการ 39. นางสาวดรุณี ทศรักษา มีส่วนรว่ มผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนา 40. นายปรีชา เมฆรัตน์ คณุ ภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) การเปน็ ผู้นา ตามหลักธรรมภิบาล 41. นายกติ ตศิ ักด์ิ กาดี ทกั ษะเกยี่ วกับการบรหิ ารจัดการ ที่ผู้นาสาย 42. นางฉววี รรณ ทองสาร Smart ทกุ คนต้องมี การบรหิ ารเวลาอย่างมปี ระสิทธิภาพ 43. นายบารุง หนอู นิ ทร์ ผู้นาในภาวะวกิ ฤต 11 มถิ นุ ายน 44. นางอรชร อฐั ทวลี าภ ทักษะการบริหาร 2564 45. นายจักรี ตวงวไิ ล การบริหารคนแบบช่างๆ ยอดดี 46. นายชาญชยั สรุปผลการเรียนรูห้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 67

รายชื่อวทิ ยากรพ่ีเลีย้ ง ชือ่ – นามสกุล ตำแหนง่ 1. นายอวิรุทธ์ สงิ หก์ ุล เภสัชกรชำนาญการพเิ ศษ 2. นายภัคณฐั วรี ขจร พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการพเิ ศษ 3. นายวชิ าญ ภิบาล วทิ ยาจารย์ชำนาญการพิเศษ 4. นายไพสฐิ จริ รัตนโสภา เภสชั กรชำนาญการพเิ ศษ 5. นางสาวขวญั จิต พงศ์รัตนามาน ทันตแพทยช์ ำนาญการพิเศษ 6. นางปารฉิ ตั ร อทุ ัยพนั ธ์ เภสัชกรชำนาญการพิเศษ 7. นางสาวนริ ชั รา ลลิ ละฮ์กุล พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ 8. นางอญั ชลี พงศเ์ กษตร วทิ ยาจารยช์ ำนาญการพิเศษ 9. นางอุไรวรรณ ศริ ธิ รรมพนั ธ์ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการพเิ ศษ 10. นางสาวจามรี สอนบุตร วทิ ยาจารยช์ ำนาญการพิเศษ 11. นางสาวพริ ิยา ผาตวิ ิกรัยวงค์ ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ 12. นางอุบลทิพย์ ไชยแสง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพเิ ศษ 13. นายไฟศอล มาหะมะ แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ 14. นางสาวกนกกร มอหะหมดั แพทยแ์ ผนไทยชำนาญการ 15. นายมะการิม ดารามะ วิทยาจารยช์ ำนาญการพิเศษ 16. นางสาวชมพูนชุ สุภาพวานชิ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพเิ ศษ 17. นายชยั ณรงค์ ชทู อง เภสชั กรชำนาญการพิเศษ 18. นายเจตนว์ ิชยุตม์ บรริ กั ษ์ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพิเศษ สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 68

รายช่อื ผู้เขา้ อบรมหลักสูตรผู้บรหิ ารสาธารณสุขระดบั กลาง รุ่นท่ี 34 ลาดับ ชอ่ื นามสกลุ ตาแหนง่ สถานทีป่ ฏบิ ตั งิ าน จังหวัด 1 นาง กลั ยา ตง้ั สริ วิ รกุล พยาบาลวชิ าชีพ รพ.ปตั ตานี ปัตตานี ชานาญการพิเศษ อุดรธานี 2 นาย กติ ติพงษ์ บัวตกิ นักวิชาการสาธารณสขุ สสอ.ประจกั ษ์ นนทบรุ ี ชานาญการ ศลิ ปาคม สรุ าษฎร์ธานี 3 นาย กติ ตพิ ิชช์ เชาว์ดี นายชา่ งเทคนคิ ชานาญงาน ศูนย์สนบั สนุน บรกิ ารสขุ ภาพท่ี 4 ยะลา 4 นาย กติ ตศิ ักดิ์ กาดี นายช่างเทคนิคชานาญงาน ศนู ยส์ นบั สนุน ตราด บรกิ ารสขุ ภาพท่ี สรุ าษฎรธ์ านี 5 นาย คอลิด ครนุ นั ท์ วิทยาจารยช์ านาญการพิเศษ 11 สงขลา วิทยาลัยพยาบาล นนทบรุ ี 6 นาย จกั รี ตวงวิไล นักวชิ าการสาธารณสุข บรมราชชนนี ยะลา นครศรีธรรมราช ชานาญการ สสอ.บอ่ ไร่ ยะลา 7 นาง ฉววี รรณ ทองสาร พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ ศรีสะเกษ 8 นาย ชยั วัฒน์ แพทย์พงศ์ นกั วชิ าการสาธารณสุข รพ.บา้ นนาสาร ยโสธร ชานาญการพิเศษ รพ.สงขลา สรุ าษฎร์ธานี 9 นาย ชาญชยั ภวู งษ์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและ แผนชานาญการ กองยุทธศาสตร์ 10 นาย ชาญชยั ยอดดี นายช่างเทคนคิ ชานาญงาน และแผนงาน รพ.มหาราช 11 นาย ซาอูดี เจะดอเลาะ นกั วชิ าการสาธารณสุข นครศรธี รรมราช ชานาญการ สสจ.ยะลา 12 นาง ณัฐธิดารัตน์ สิงหกลุ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ นกั เทคนิคการแพทย์ รพ.ราษไี ศล 13 นางสาว ดรณุ ี ทศรักษา ชานาญการ รพ.กดุ ชุม ทนั ตแพทยช์ านาญการพิเศษ 14 นางสาว ธราพร พชั รนิ ทรไ์ พจิต รพ.บ้านนาสาร สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 69

ลาดบั ชอ่ื นามสกุล ตาแหนง่ สถานท่ีปฏิบัติงาน จังหวัด 15 นาย โนราห์ ทศั นสวุ รรณ นายแพทย์ชานาญการพเิ ศษ รพ.นราธวิ าส นราธวิ าส ราชนครินทร์ นราธิวาส 16 นาย บารุง หนูอินทร์ นกั วชิ าการสาธารณสุข สสอ.สไุ หงโกลก ตรัง ชานาญการ 17 นางสาว บญุ ญาพร ตันวโรภาส พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ วิทยาลยั การ นราธิวาส สาธารณสุขสริ ินธร นราธวิ าส 18 นาย ปรีชา เมฆรัตน์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ จังหวัดตรงั 19 นางสาว พิศมัย ยอดพรหม ชานาญการ สสอ.สุไหงปาดี นนทบรุ ี นักวิชาการสาธารณสุข 20 นางสาว ภาวนิ ี อ่อนมขุ ชานาญการ สถานีอนามยั เลย เฉลิมพระเกยี รติ พัทลงุ 21 ว่าที่ ร.อ. มนตรี ราชพฒั น์ แพทย์แผนไทยชานาญการ 60 พรรษา ลพบุรี นวมนิ ทราชนิ ี นราธวิ าส 22 นางสาว มนสิชา ชุมแกว้ นักวชิ าการสาธารณสขุ ไอปาโจ ปตั ตานี 23 นาย มนัส มากพุทธ ชานาญการ รพ.การแพทย์ สุราษฎรธ์ านี พยาบาลวิชาชีพชานาญการ แผนไทยและ 24 นาย มะซอและห์ สาและ นกั วิชาการสาธารณสขุ การแพทย์ ชานาญการ ผสมผสาน 25 นาย มะยาซี ควรเอกวญิ ญู นักวิชาการสาธารณสขุ สสอ.เมอื งเลย ชานาญการ 26 นางสาว วนั ทิตา ดุลยะศริ ิ นักวิชาการสาธารณสขุ รพ.ป่าพะยอม ชานาญการ รพ.สต. พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ พรหมมาสตร์ สสอ.บาเจาะ สสจ.ปตั ตานี รพ.เกาะสมุย สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 70

ลาดบั ชือ่ นามสกลุ ตาแหนง่ สถานที่ปฏิบัตงิ าน จังหวัด 27 นางสาว วนั วสิ า แสงทมิ ผชู้ านาญการ สานกั งาน นนทบรุ ี พยาบาลวชิ าชีพ ชานาญการพเิ ศษ คณะกรรมการ นกั วชิ าการสาธารณสุข สขุ ภาพแห่งชาติ ชานาญการ 28 นาง วริ ลั พชั ร สกลุ สันตพิ ร พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ วทิ ยาลัยพยาบาล อบุ ลราชธานี เศลล์ นักวชิ าการสาธารณสุข ชานาญการ บรมราชชนนี นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ สรรพสิทธปิ ระสงค์ นกั วิชาการสาธารณสขุ 29 นาย วุฒิ ศริ ิพันธ์ุ ชานาญการ สสอ.หนองวัวซอ อุดรธานี นกั วิชาการสาธารณสขุ 30 นาง ศุวลกั ษณ์ ไตรสวุ รรณ์ ชานาญการ รพ.ป่าพะยอม พัทลงุ 31 นาย สนธยา แกว้ คาแสน นกั วชิ าการสาธารณสขุ สสจ.อุดรธานี อดุ รธานี ชานาญการพเิ ศษ 32 นาย สมควร พรหมคุณ สสอ.ยางชุมนอ้ ย ศรีสะเกษ นักวชิ าการสาธารณสขุ 33 นาย สมรัฐ คงเขยี ว ชานาญการ สสอ.แม่ลาน ปัตตานี นักวชิ าการสาธารณสขุ 34 นาย สรายุทธ ชว่ ยศรี ชานาญการพิเศษ สสอ.ตะโหมด พัทลงุ นักเทคนิคการแพทย์ 35 นาย สนั ติ เกิดทองทวี ชานาญการ สานกั งานป้องกัน นครสวรรค์ ผจู้ ัดการงานรับรองและ ควบคมุ โรคท่ี 3 ขอนแก่น 36 พ.จ.ท. สายนั ภาคโภไคย กากับมาตรฐานผู้ปฏิบตั กิ าร จังหวดั นครสวรรค์ 37 นาย สิงห์ณกรณ์ ใจช่นื สสอ.แวงนอ้ ย 38 นาย สทุ ธพิ ร คงเพ็ง 39 นาง สนุ สิ า สุวรรณรักษ์ สสจ.สุราษฎธ์ านี สรุ าษฎรธ์ านี รพ.มหาราช นครศรธี รรมราช นครศรธี รรมราช นนทบรุ ี สถาบนั การแพทย์ ฉกุ เฉินแห่งชาติ สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 71

ลาดบั ชื่อ นามสกุล ตาแหนง่ สถานทป่ี ฏบิ ตั งิ าน จงั หวดั 40 นางสาว อภริ ดา พนั ธิส์ ิทธ์ิ หัวหนา้ งาน สานักงาน กรุงเทพมหานคร นกั วิชาการสาธารณสุข ชานาญการพเิ ศษ หลกั ประกนั สุขภาพ เภสชั กรชานาญการพเิ ศษ นักวิชาการสาธารณสุข แหง่ ชาติ ชานาญการ 41 นาง อรชร อัฐทวลี าภ พยาบาลวชิ าชพี สสจ.ภูเกต็ ภเู กต็ ชานาญการพิเศษ 42 นาง อรญั ญา จึงรักษ์พงษ์ พยาบาลวิชาชีพ รพ.ราษีไศล ศรีสะเกษ 43 นาย อทุ ัย เส็มย้ง ชานาญการพิเศษ สสอ.บางกลา่ สงขลา นักวิชาการสาธารณสขุ 44 นาง อุมาภรณ์ กาลังดี ชานาญการ รพ.บางไทร พงั งา 45 นาง อุษณีย์ คงคากลุ รพ.นราธิวาส นราธิวาส ราชนครนิ ทร์ ยะลา 46 นาย เอกวฒั น์ วงศพ์ ทั ธวุฒิ สสอ.กาบงั สรุปผลการเรยี นรูห้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 72

ตารางการอบรมหลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณส ระหวา่ งวันท่ี 31 พฤษภาคม – 25 มิถนุ ายน 2564 ณ โร จดั โดย วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธ วัน เวลา 08.00 – 9.00 น. 9.00 – 12.00 น. วนั จันทร์ บรรยายพเิ ศษ เร่อื ง 31 พ.ค. 64 พธิ เี ปิด นโยบายสำ คญั ดา้ นสาธารณสขุ ทพญ.ขวญั จติ พงศร์ ตั นามาน วนั องั คาร การพัฒนาบคุ ลิกภาพ ัพกกลาง ัวน เวลา 12.00-13.00 น. รศ ผศ.ดร.พรทพิ ย์ พิมพส์ รุ โสภณ และ 1 มิ.ย. 64 วันพุธ ธรรมาภิบาลสำหรับผูบ้ รหิ าร นพ.ไพศาล เกื้ออรณุ 2 ม.ิ ย. 64 วันพฤหสั บดี การพัฒนาทักษะ การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ 1 3 มิ.ย. 64 การนาเสนอ หลกั การ /เครอื่ งมอื ในการเกบ็ ขอ้ มลู วชิ าการ 5 นาที รศ.ดร.จรสั อตวิ ทิ ยาภรณ์ วันศกุ ร์ การบริหารเชงิ กลยุทธ์ (ตอ่ ) 4 ม.ิ ย. 64 รศ.ดร.จรสั อติวทิ ยาภรณ์ สรุปผลการเรียนร้หู ลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 25

สุขระดบั กลางรุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 รงแรม ATK garden hill อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา ธร จงั หวัดยะลา (สัปดาหท์ ี่ 1 ออนไลน์) 13.00 – 16.00 น. เวลา 16.00-18.00 น. 18.00 – 20.00 น. ศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง กจิ กรรมแนะนาตนเอง ศึกษาเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง “บอกตัวตนใน 2 นาที” ดร.ภัคณัฐ วรี ขจร และคณะ ศกึ ษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารและ การตดั สนิ ใจ ศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ภก.ไพสฐิ จิรรัตนโสภา และคณะ แนวคดิ และกระบวนการ CBL ศ.ดร.ปญุ ญพฒั น์ ไชยเมล์ และคณะแบง่ กลมุ่ 5 กลุ่ม วทิ ยากรกล่มุ กลมุ่ ละ 2 คน เครื่องมอื การบรหิ ารจดั การ (Tool and Technical Management) รศ.ดร.จรสั อตวิ ทิ ยาภรณ์ แบง่ กลมุ่ 5 กลมุ่ วิทยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน การบรหิ ารมุ่งผลสมฤทธ์ิ รศ.ดร.จรสั อติวทิ ยาภรณ์ ะคณะแบง่ กลุม่ 5 กลุ่ม วิทยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน 564 หนา้ 73

ตารางการอบรมหลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณส ระหวา่ งวันท่ี 31 พฤษภาคม – 25 มิถุนายน 2564 ณ โร จดั โดย วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธ วัน เวลา 08.00 – 09.00 น. 09.00 – 12.00 น. วนั จนั ทร์ การพฒั นาทกั ษะการ (Gr.1) การออกแบบเครอ่ื งมือเก็บขอ้ มลู / 7 มิ.ย. 64 นาเสนอวิชาการ 5 นาที วางแผน และเตรยี มความพรอ้ มในการ เก็บขอ้ มลู และนาเสนอ แบ่งกล่มุ 5 กลมุ่ วันองั คาร 8 ม.ิ ย. 64 วทิ ยากรกล่มุ กลมุ่ ละ 2 คน วันพธุ บรรยายภาพรวม ศกึ ษาดงู านดา้ น สธ. ท่ี สสอ. 5 แหง่ พรอ้ ม 9 ม.ิ ย. 64 จงั หวดั โดย นพ.สสจ. รบั ฟังบรรยาย เพื่อหาปญั หาดา้ นการ บรหิ ารงานสาธารณสุข โดยเอกสาร หรอื วันพฤหสั บดี การพฒั นาทกั ษะ Virtual วิทยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 1 คน 10 ม.ิ ย. 64 การนาเสนอ การบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ 2 วิชาการ 5 นาที (การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพือ่ การ วันศกุ ร์ วางแผนกลยทุ ธ)์ 11 ม.ิ ย. 64 รศ.ดร.จรสั อติวทิ ยาภรณ์ การบรหิ ารดา้ นการเงิน คณุ กฤตยา วลั อาจ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทเ่ี ก็บมา เพอื่ วางแผนกลยุทธ์ แบ่งกลมุ่ 5 กลมุ่ วทิ ยากรกลุ่ม กลมุ่ ละ 2 คน สรปุ ผลการเรียนรู้หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 25

สุขระดับกลางร่นุ ท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 รงแรม ATK garden hill อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ธร จังหวดั ยะลา (สปั ดาห์ท่ี 2 ออนไลน)์ 13.00 – 16.00 น. 18.00 – 20.00 น. ศกึ ษาเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ปรับปรุงเครอื่ งมือการเก็บขอ้ มลู แบง่ กลมุ่ 5 กลุ่ม วิทยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน ศึกษาดูงานดา้ นสธ. ท่ี สสอ. 5 แหง่ พรอ้ มรบััพกกลางวัน เวลา 12.00-13.00 น.ศกึ ษาเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ฟังบรรยาย เพ่ือหาปญั หาดา้ นการบรหิ ารงานเวลา 16.00-18.00 น. ศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ศกึ ษาเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง สาธารณสขุ โดยเอกสาร หรอื Virtual ศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง วิทยากรกลุม่ กลุ่มละ 1 คน (Gr.2) การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทเี่ ก็บมา เพ่อื วางแผนกลยุทธ์ แบง่ กลุ่ม 5 กล่มุ วทิ ยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน การบริหารความเสย่ี งดา้ นการเงนิ บัญชี และ พสั ดุ คุณกฤตยา วลั อาจ การวิเคราะหข์ ้อมลู ทเ่ี กบ็ มา เพอื่ วางแผนกลยทุ ธ์ แบง่ กลุม่ 5 กลมุ่ วทิ ยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน 564 หน้า 74

ตารางการอบรมหลกั สูตรผ้บู รหิ ารการสาธารณส ระหว่างวนั ที่ 31 พฤษภาคม – 25 มิถนุ ายน 2564 ณ โร จัดโดย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธ วนั เวลา 08.00 – 9.00 น. 9.00 – 12.00 น. วันจนั ทร์ การพัฒนาทกั ษะ หลมุ พรางทางการบรหิ าร ัพกกลาง ัวน เวลา 12.00-13.00 น. 14 มิ.ย. 64 การนาเสนอ ดร.สชุ าติ คา้ ทางชล วนั องั คาร วิชาการ 5 นาที 15 ม.ิ ย. 64 การสร้างเครอื ขา่ ยและ การมีส่วนรว่ ม วันพธุ 16 ม.ิ ย. 64 นพ.สมหมาย บญุ เกลย้ี ง วันพฤหสั บดี ภาวะผนู้ ำยคุ ใหม่กบั การบรหิ าร 17 มิ.ย. 64 การเปลย่ี นแปลง วันศกุ ร์ ผศ.ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ 18 ม.ิ ย. 64 (Gr.3) วางแผนกลยทุ ธ์และ กาหนดแผนงาน โครงการเพ่ือ พัฒนาการบรหิ ารงาน แบง่ กลมุ่ 5 กลมุ่ วทิ ยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน การบรหิ ารความขดั แยง้ นพ.ธิตพิ ันธ์ ธานรี ตั น์ สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 25

สขุ ระดบั กลางรุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 รงแรม ATK garden hill อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา ธร จังหวดั ยะลา (สปั ดาหท์ ่ี 3 ออนไลน)์ 13.00 – 16.00 น. 18.00 – 20.00 น. หลมุ พรางทางการบรหิ าร เวลา 16.00-18.00 น. ศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดร.สชุ าติ คา้ ทางชล ศกึ ษาเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ศกึ ษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง กระบวนการคดิ ในการตดั สินใจ ศกึ ษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ทางการบรหิ าร ศกึ ษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง นพ.สมหมาย บญุ เกล้ียง เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และนวัตกรรม กบั ระบบสขุ ภาพ ภก.ไพสฐิ จริ รตั นโสภา (Gr.3) วางแผนกลยทุ ธ์และ กาหนดแผนงาน โครงการเพ่อื พฒั นา การบริหารงาน แบง่ กลุม่ 5 กลมุ่ วิทยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน ผู้บรหิ ารและการขดั กนั แหง่ ผลประโยชน์ ผศ.ดร.พรทพิ ย์ พมิ พส์ รุ โสภณ 564 หน้า 75

ตารางการอบรมหลกั สตู รผบู้ ริหารการสาธารณส ระหวา่ งวันท่ี 31 พฤษภาคม – 25 มิถนุ ายน 2564 ณ โร จัดโดย วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธ 9.00 – 12.00 น. 13. เวลา เวลา บ ิรหาร ิจตกิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ ลงทะ วันอาทติ ย์ 12.00-13.00 น. ัพก ัรบประทานอาหารกลาง ัวนผศ.ดร.พรทิพย์ พมิ พส์ รุ โสภณกิจกรรม 20 มิ.ย. 64 ผศ.ดร.พรทิพ KM ประชมุ กลมุ่ แล วนั จนั ทร์ ดร.ภัคณฐั วรี ขจร 21 มิ.ย. 64 การบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต นำเสนอผล วันองั คาร พญ.คณุ หญงิ พรทพิ ย์ โรจนสนุ นั ท์ 22 มิ.ย. 64 ดร.ภัคณัฐ ว นาเสนอผลเรยี นรู้ CBL พิธีมอบ วันพุธ และเ 23 ม.ิ ย. 64 นาเสนอสรปุ ผลการเรยี นรู้ ตลอดหลกั สตู ร วนั พฤหสั บดี 24 ม.ิ ย. 64 และรายงานผลการประเมนิ วนั ศกุ ร์ 25 ม.ิ ย. 64 สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 25

สขุ ระดบั กลางรนุ่ ที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 รงแรม ATK garden hill อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา ธร จังหวัดยะลา (สปั ดาห์ท่ี 4 ออนไลน)์ .00 – 16.00 น. 18.00 – 20.00 น. ะเบยี นเขา้ ทพี่ ัก 16.00-18.00 น. ัพก ัรบประทานอาหารเ ็ยน ช้แี จงกิจกรรมการอบรม มกลมุ่ สัมพนั ธ์ ดร.ภัคณัฐ วรี ขจร พย์ พิมพ์สรุ โสภณ ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ CBL กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ ผศ.ดร.พรทพิ ย์ พมิ พส์ รุ โสภณ ลการเรยี นรู้ CBL เตรยี มการนำเสนอ CBL แบง่ กลมุ่ 5 กลมุ่ วทิ ยากรกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน สรปุ จดั ทำรายงานการเรยี นรตู้ ลอดหลกั สตู ร AAR สรปุ ผลการเรยี นรตู้ ลอดหลกั สตู ร วีรขจร และทีมผู้จดั เดนิ ทางกลบั บประกาศนยี บตั ร เขม็ วทิ ยฐานะ 564 หนา้ 76

ประมวลภาพถา่ ยกจิ กรรม ตลอดหลักสูตร สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 77

สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 78

สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 79

สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 80












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook