Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

Published by wirun.patti, 2021-06-30 06:11:53

Description: รายงาน ผบก34_ดร.วิรัลพัชร

Search

Read the Text Version

สรุปผลการเรยี นรู้ การอบรมหลักสตู รผู้บรหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) ร่นุ ที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 ระหวา่ งวนั ที่ 31 พฤษภาคม – 25 มิถุนายน 2564 จดั โดย วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา จัดทาโดย นางวิรลั พัชร สกลุ สนั ติพร เศลล์ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

คำนำ การอบรมหลักสูตรผู้บริหารสาธารณสุขระดับกลาง รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 โดยวิทยาลัย การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา เป็นหลักสูตรที่วิทยาลัยนักบริหาร กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนินการพัฒนา หลักสูตรตามสมรรถนะที่ผู้บริหารระดับกลางต้องมีเพื่อให้ได้ผู้บริหารที่มีคุณสมบัติพึงประสงค์ ในการอบรมคร้ังน้ี มีผู้เข้าร่วมอบรม 46 คน มาจากหลายจังหวัดหลากหลายวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ สมรรถนะในด้านการบรหิ ารจดั การ การบรหิ ารงานตามบทบาทหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบของผู้บริหารระดับกลาง เข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ มีการพัฒนาตนเอง พัฒนางานและการทางานร่วมกับผู้อ่ืน ได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ สร้างเครอื ข่ายในการทางาน ทาให้สามารถนาความรู้ท่ีได้รบั ไปปรบั ใช้ตามบริบทเพื่อให้เป็นผู้บริหาร ที่มีสมรรถนะ สามารถบริหารงานที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้สรุปรวบรวมสาระการอบรมคร้ังนี้ เพ่อื ใหผ้ ู้สนใจไดศ้ ึกษาและนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป นางวิรัลพัชร สกลุ สันติพร เศลล์ ผ้เู ขา้ อบรมหลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง รุ่นที่ 34

สารบญั หน้า ก คานา ข สารบญั 1 1. นโยบายสาคัญดา้ นสาธารณสุข 3 2. การพัฒนาบุคลิกภาพ 9 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการตัดสนิ ใจ 11 4. ธรรมาภิบาลสาหรบั ผูบ้ รหิ าร 13 5. แนวคิดและกระบวนการ Community Based Learning (CBL) 16 6. การบริหารเชิงกลยุทธ์ เครื่องมือการบริหารจัดการ 19 7. การบริหารมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ 21 8. ระบบสุขภาพในบรบิ ทเขตสขุ ภาพที่ 12 23 9. การบริหารด้านการเงนิ 34 10. การบริหารความเส่ียงด้านการเงินบญั ชีและพสั ดุ 43 11. หลุมพลางทางการบรหิ าร 46 12. การสรา้ งเครือขา่ ยและการมสี ่วนร่วม 48 13. กระบวนการคดิ ในการตดั สินใจทางการบรหิ าร 50 14. ภาวะผู้นายุคใหม่กับการบริหารการเปลย่ี นแปลง 52 15. เทคโนโลยีดิจิทลั และนวตกรรม 54 16. การบรหิ ารความขัดแย้ง 58 17. ผ้บู ริหารและการขัดแย้งกนั แห่งผลประโยชน์ 61 18. กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ 63 19. การบริหารจัดการในภาวะวิกฤต ภาคผนวก 65 20. การพัฒนาทกั ษะการนาเสนอรายบุคคล 5 นาที 68 21. รายช่ือวทิ ยากรพเ่ี ลยี้ ง 69 22. รายชอ่ื ผู้เขา้ อบรมหลักสตู รผู้บรหิ ารสาธารณสขุ ระดบั กลาง รนุ่ ท่ี 34 73 23. ตารางการอบรม 77 24. ประมวลภาพถา่ ยกิจกรรม ตลอดหลักสูตร 81 25. คาสง่ั แตง่ ตง้ั ผู้เขา้ รับการอบรมเปน็ กรรมการกลุ่ม เพอ่ื บริหารจดั การการอบรมหลกั สตู ร ผบู้ รหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลาง รนุ่ ท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564

หวั ข้อ นโยบายสาคัญด้านสาธารณสุข วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. วิทยากร ทพญ.ขวัญจติ พงศร์ ตั นามาน รูปแบบการนาเสนอ เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง นโยบายสาคัญด้านสาธารณสุข สรปุ ประเด็นสาคญั นโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ปี 2564 1. ใหค้ วามสาคญั สูงสุดต่อโครงการพระราชดาริ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติฯ 2. ระบบสุขภาพ  มุ่งพฒั นาระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ  ยกระดบั ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิและ อสม. คนไทยทกุ คนต้องมหี มอประจาตัว 3 คน  ดูแลสขุ ภาพองค์รวม ทั้งร่างกายจิตใจ สงั คม 3. ระบบบรกิ ารก้าวหน้า  เสริมสร้าง พฒั นา Basic Excellence ให้มีศกั ยภาพ ครอบคลุมทกุ เขตสุขภาพ  New Normal Medical Care  ยกระดับสู่ Innovation healthcare management  สนบั สนนุ 30 บาท รักษาทุกท่ี 4. เศรษฐกจิ สุขภาพ  เพม่ิ มลู ค่าทางเศรษฐกจิ ในผลิตภัณฑ์และบริการสขุ ภาพ  ให้ความสาคัญกบั สมนุ ไพร กัญชา กญั ชง ทางการแพทย์  เพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถึงอยา่ งปลอดภัย 5. สุขภาพดีวิถีใหม่ (New Normal)  สรา้ งความม่ันใจและความพรอ้ มในการจดั การกับโรคอบุ ัติใหม่ COVID-19  สร้างเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพประชาชน สขุ ภาพดีวิถีใหม่ 3 อ. 6. บริหารด้วยหลักธรรมาภบิ าล  บริหารดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้  สร้างความปลอดภัยให้กับบคุ ลากรและผ้รู บั บรกิ าร  งานได้ผล คนเปน็ สุข มีความเปน็ พี่ เพื่อน น้อง  สร้างผ้นู ารนุ่ ใหม่ และ พฒั นาคนให้เกง่ กล้า (อัศวนิ สธ.) สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 1

นโยบาย กระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 “ประชาชนแขง็ แรง เศรษฐกจิ แขง็ แรง ประเทศไทยแขง็ แรง” 1. ระบบสขุ ภาพปฐมภมู เิ ข้มแข็ง : ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และอสม. 1 ให้คนไทยทกุ ครอบครัว มหี มอประจาตัว 3 คน 2. เศรษฐกิจสุขภาพ : เพ่ิมมูลค่านวตกรรมผลิตภัณฑ์ บริการทางสุขภาพ มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลาง สขุ ภาพนานาชาติ (Medical & Wellness Hub) 3. สมุนไพร กญั ชา กัญชง 3 ผลักดันสมนุ ไพร กญั ชา กญั ชง เพื่อสขุ ภาพ 4. สุขภาพดวี ถิ ีใหม่ : ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสุขภาพ New Normal โดยเฉพาะอาหาร ออกกาลงั กาย 5. COVID-19 : เพ่ิมศกั ยภาพความมน่ั คงทางสุขภาพ 5 ในการจดั การกับโรคอบุ ตั ใิ หม่ 6. หน่วยบรกิ ารก้าวหน้า  New Normal Medical Care  Innovative Health Service 7. ดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม  ดแู ลสุขภาพกลมุ่ วัยอย่างเป็นระบบ  ม่งุ เน้นกลุ่มเดก็ ปฐมวยั และ ผสู้ งู อายุ  พัฒนาระบบการดูแลสขุ ภาพจิตเชงิ รกุ 8. ธรรมาภิบาล โปรง่ ใส : บรหิ ารด้วยหลกั ธรรมาภบิ าล โปรง่ ใส เปน็ ธรรม ตรวจสอบได้ 9. องค์กรแห่งความสุข : พัฒนาสู่องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ งานได้ผล คนเป็นสุข ปลอดภัย สร้างผู้นารนุ่ ใหม่ (Happy & High-Performance Organization) สรปุ ผลการเรียนรู้หลักสูตรผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 2

หวั ข้อ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ (Personality Development) วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. วิทยากร ผศ.ดร.พรทิพย์ พิมพ์สุรโสภณ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย ร่วมกบั การมสี ว่ นร่วมในชั้นเรียน สรปุ ประเด็นสาคญั บุคลิกภาพสาคัญอย่างไร : บุคคลที่มีบุคลิกภาพดีจะได้เปรียบผู้อ่ืน เพราะสามารถสร้างความน่าเชื่อถือ ศรทั ธาแกผ่ พู้ บเหน็ รวมท้งั ไดร้ บั ความร่วมมอื ในด้านต่างๆ ซ่ึงจะชว่ ยให้การทางานประสบความสาเร็จ การสร้างคุณค่าให้ตัวเอง : การสร้างคุณค่าในตนเองเป็นกระบวนการพัฒนาบุคคลเพ่ือให้เกิดการยอมรับ ตนเองตามความเป็นจริง มีความภาคภูมิใจและเชื่อม่ันในความสามารถของตนเอง สามารถควบคุมการแสดงออก อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ ขณะเดยี วกันร้วู ่าตนมีจุดแข็ง หรอื ความสามารถในเรื่องใด พรอ้ มที่ จะนาความสามารถมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและผู้อื่นได้ หัวหนา้ แบบไหนท่ีลูกน้องไม่ปล้ืม - ไมย่ ตุ ิธรรม มีอคติ - ไรห้ วั ใจ ออกคาสัง่ เป็นห่นุ ยนต์ - ไมเ่ คารพเวลา - ขาดวุฒภิ าวะ อารมณไ์ มม่ น่ั คง - ขาดจรรณยาบรรณ ไม่น่าเคารพ - ไม่มอบหมายงานชัดเจน - ขาดความสามารถ - ขาดความรับผดิ ชอบ ลกู นอ้ งแบบไหนท่ีหัวหนา้ ไมป่ ลื้ม - นกสองหวั - ขาเมาท์ นินทา - ทัศนคติไม่ดี - ชอบอา้ ง - เอาดีเข้าตวั ชว่ั เข้าคนอน่ื - อโี กส้ ูง - ล้าเส้น ขา้ มหวั หน้า - ให้งานแตม่ ปี ญั หา สรุปผลการเรียนร้หู ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 3

ลกั ษณะบุคลิกภาพ มี 2 แบบ Introvert คนท่ีมีโลกส่วนตวั คอ่ นขา้ งสูง - สาหรับคนประเภท Introvert คือ กลุ่มคนท่ีมีโลกส่วนตัวค่อนข้างสูง มีความสุขกับการอยู่คนเดียว ชอบ คิดอะไรเรื่อยเปื่อยคนเดียว ดูเหมือนจะข้ีอาย มีจานวนเพื่อนสนิทแบบนับคนได้ มีความเห็นอกเห็นใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา อ่อนไหว เป็นพวกคิดมาก คิดก่อนพูด และในขณะเดียวกันก็พูดน้อย ไม่ชอบเสวนา เร่ืองท่ไี รส้ าระ ฉาบฉวยซักเท่าไหร่ Introvert มองเผินๆ อาจจะดูเหมอื นคนขอ้ี าย ไม่กลา้ พดู แตท่ จี่ รงิ แลว้ พวกเขาแค่เบื่อสังคม หรือเบื่อหมู่คนมากๆ และมักถูกเข้าใจผิดว่าก้าวร้าว เน่ืองจากรักสันโดษ มักจะไม่ คอ่ ยพดู คยุ เรื่องไร้สาระ หรือเร่อื งทวั่ ๆ ไป นน่ั ทาใหถ้ กู มองวา่ เปน็ คนไมน่ า่ คบหา ไม่นา่ พูดคุยด้วย - คนประเภท Introvert ไม่ชอบเป็นศูนย์กลางของความสนใจ ช่ืนชอบการได้อยู่เบื้องหลัง การได้อยู่หลัง ไมค์ มากกว่าการได้อยู่ท่ามกลางสปอร์ตไลท์ ชอบสร้างกาแพง เปิดใจให้ใครยาก ทาให้มีเพื่อนน้อย และ พลาดโอกาสท่เี จอคนดีๆ เข้ามาในชีวิต นอกจากนี้ พวกเขาคอ่ นข้างจะมปี ัญหากับการสานสายสัมพนั ธ์ ไม่ ชอบปาร์ตี้ แต่ในทางกลับกันเม่ือชาว Introvert ม่ันใจ และเปิดใจจะเป็นเพ่ือนกับใครแล้ว สามารถม่ันใจ ได้เลยว่าคุณทั้งสองจะได้เป็นเพ่ือนกันอีกนาน เพราะ Introvert อาจไม่ถนัดในเร่ืองเริ่มต้นสร้าง ความสัมพันธ์ แต่ถนัดในเรื่องการพัฒนาความสัมพันธ์ให้เป็นความสัมพันธ์ระยะยาวได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ี คนประเภท Introvert นนั้ จะรสู้ ึกดกี ับการได้อยคู่ นเดยี ว เพราะร้สู ึกไดพ้ กั และรู้สึกผ่อนคลาย มากกว่า Extrovert คนทชี่ อบการสังสรรค์เป็นชวี ิตจติ ใจ - คนประเภท Extrovert นั้น เรียกงา่ ยๆ วา่ พวกขาปารต์ ้ี เฮฮา มนษุ ยสมั พนั ธ์ดี เข้าไดก้ ับทกุ คน ดนู า่ คบหา คนกลุ่มนี้จะเพ่ิมพลังงานของตัวเองจากการอยู่กับคนหมู่มาก ซ่ึงตรงกันข้ามกับ Introvert โดยสิ้นเชิง เพราะ Introvert ช่นื ชอบและจะเพิม่ พลังงานของตัวเองไดจ้ ากการอยคู่ นเดยี ว แต่กลับกนั ชาว Extrovert จะรู้สกึ โดดเดยี่ ว และเบ่อื หนา่ ย ถ้าจะตอ้ งอยู่คนเดยี ว เพราะพวกเขาร้สู ึกดมี ากกวา่ ถ้ามเี พอ่ื นเยอะๆ หรือ อยู่ท่ามกลางคนหมู่มากนั่นเอง ชาว Extrovert ชื่นชอบการเป็นจุดสนใจท่ามกลางผู้คน ต้องการการ ยอมรับจากสังคม ชอบแสดงออกด้วยการพูดมากกว่าการเขียน เลือกท่ีจะไปปาร์ต้ี มากกว่าที่จะนอนอ่าน หนังสอื อยบู่ ้าน ดว้ ยเหตนุ ้ี ทาให้พวกเขาค่อนข้างแคร์ ชื่อเสียง ความมงั่ มี และสถานะในสังคมจะเป็นเรื่อง สาคัญมาก ชาว Extrovert ด้วยความที่เป็นมติ ร และชอบเข้าหาผู้คน ทาให้รู้จกั ผ้คู นมากมาย หลากหลาย ประเภท จึงทาให้เป็นคนกว้างขวาง มีความรู้รอบตัวเยอะ รู้ว่าการเข้าหาคนแบบนี้ต้องทาตัวยังไง มีความ ม่ันใจสูง นอกจากนี้ พวกเขายัง เป็นพวกกระตือรือร้น ช่างพูดช่างเจรจา สามารถต่อรองเร่ืองต่างๆ ได้ดี ด้วยเหตุนี้เอง คนประเภท Extrovert มีแนวโน้มที่จะก้าวหน้าในหน้าท่ีการงานมากกว่า ชาว Introvert เพราะสามารถเข้าก็เพื่อนร่วมงานได้ง่ายกว่า เอาใจเจ้านายได้ดีกว่า และมีโอกาสที่จะได้รับการช่วยเหลือ มากมายเพราะรู้จักคนเยอะ ที่สาคัญ พวกเขามีทักษะการเป็นผู้นาสูง ทางานเป็นกลุ่มได้ดี ด้วยความโดด สรปุ ผลการเรยี นรูห้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 4

เดน่ ของ Extrovert ทาให้พวกเค้ามีหน้ามีตาในสงั คม และไดร้ บั การยอมรบั มากกวา่ แตค่ น Extrovert ก็มี ขอ้ เสยี ท่ีเป็นพวกพูดไม่คดิ ทาให้เจอเรอื่ งเดือดร้อน เพราะปากพาจนอยู่เสมอ และทาให้ดูเปน็ คนท่ีไม่ใส่ใจ ผู้อ่ืน นอกจากน้ี พวกเขายังไม่สามารถแยกแยะเร่ืองราวความคิดต่างๆ ที่แล่นเข้ามาในหัวออกจากกันได้ เพราะชอบใช้เวลาอยู่กับคนอ่ืน และรับข้อมูลจากคนโน้นคนน้ีมามากเกินไป ทาให้จิตใจสับสนวุ่นวาย ลังเล และไม่รคู้ วามตอ้ งการทแ่ี ท้จริงของตวั เองได้ ปจั จัยทน่ี าไป สู่ความสาเร็จสาหรับผนู้ า บุคลกิ ภาพของผู้นา + กรอบแนวคิด มคี วามสาคญั มาก Success = Mindset 80% + Strategy 20% บคุ ลิกภาพท่ีควรมใี นผนู้ าแลว้ คณุ จะประสบความสาเร็จ - Kind ความเหน็ อกเหน็ ใจ - Firm ความมัน่ คง ความชัดเจน 2 วิ ท่ผี ูน้ าตอ้ งผ่านใหไ้ ด้ เพื่อไดร้ ับการยกย่องจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชา - วกิ ฤต - วิสยั ทศั น์ บคุ ลกิ ภาพ 2 มติ ิ 1. มติ ิดา้ นการแสดง และเก็บตัว ซ่งึ ประกอบดว้ ยลักษณะยอ่ ย 2. มติ ิท่ีมลี กั ษณะทางด้านอารมณ์ บุคลกิ ภาพของผู้นาทีป่ ระสบความสาเร็จ>>>>> Passion แรงผลักดนั + Practice เทา่ กับ Professional 5 บุคลิกภาพร่วมท่ดี ีของผู้นาองคก์ ร 1. Visionary ความเปน็ ผมู้ วี สิ ยั ทัศน์ สงั่ งานลูกนอ้ งได้ 2. Harmonize สรา้ งความปรองดอง ใหค้ ่าของทมี งาน 3. Producer เปน็ ผ้สู รา้ ง โฟกัสกบั ผลลพั ธ์ 4. Collaborator นากลุม่ คนเกง่ ๆ มาทางานได้ คนแตกต่าง 5. Coaching โคช้ ชิ่ง Outsource ไมไ่ ด้ คณุ สมบตั ิของผนู้ า ตาม John C. Maxwell 1) ผนู้ าตอ้ งเปน็ คนมวี ิสยั ทัศน์ ต้องมองไปถึงอนาคต และเห็นจุดมงุ่ หมายอยา่ งชดั เจน 2) ผู้นาตอ้ งใฝ่รู้ ต้องไม่ลา้ หลัง ตดิ ตามเรียนรูใ้ หท้ นั การเปลย่ี นแปลงอยเุ่ สมอ 3) ผนู้ าตอ้ งเป็นผรู้ บั ใชท้ ่ดี ี เรยี นรู้การปฏิบัติจากผ้อู น่ื 4) ผู้นาตอ้ งมวี ินยั ในตนเอง เพ่ือเปน็ ตวั อย่างในการสร้างวินยั ให้กับองค์กร 5) ผนู้ าตอ้ งเปน็ ผมู้ ั่นคงในหลักการ อุดมการณ์ ไมห่ วน่ั ไหวต่อสถานการณ์ สรปุ ผลการเรยี นรูห้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 5

6) ผนู้ าต้องเปน็ คนกลา้ รบั ผิดชอบผลทเ่ี กดิ จากการตดั สินใจ 7) ผนู้ าตอ้ งเป็นผู้มีมนุษยสมั พันธด์ ี ทาให้การทางานเกิดความราบรนื่ 8) ผู้นาตอ้ งเปน็ คนรจู้ ักแกป้ ัญหาทง้ั ระยะส้ันระยะยาวถา้ รวู้ ่ามีปัญหาตรอ้ งรบี แก้ไม่ปล่อยให้ ปัญหา คงค้าง 9) ผู้นาต้องเป็นผ้มู ีทัศนคติท่ีดใี นการทางาน ต้องเชอ่ื วา่ ทาได้ 10) ผู้นาตอ้ งมีใจรักในงาน รักผรู้ ่วมงาน รักผูเ้ กีย่ วข้องในงาน รกั ผู้รบั บรกิ าร รกั ตนเองเขา้ ใจตนเอง 11) ผู้นาต้องมีคุณธรรม เชอื่ มัน่ ในหลักคณุ ธรรม 12) ผู้นาต้องมีเสนห่ ์ บคุ ลิกดี ความประทับใจแรกพบช่วยให้งานประสบความสาเรจ็ ได้ง่าย 13) ผนู้ าตอ้ งทุ่มเท เช่อื มน่ั ในสิ่งท่ีทา หากไมท่ ่มุ เทจะเป็นเพยี งนกั ฝัน 14) ผนู้ าต้องรู้จักการสือ่ สารที่ดี มีความสามารถสื่อใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจในสิ่งทตี นเองคิด ทาเรื่องยากใหง้ า่ ย 15) ผ้นู าต้องเปน็ คนมีประสิทธภิ าพ ทางานอยา่ งมีหลักวชิ าการให้เกิดความสาเรจ็ 16) ผู้นาต้องกล้าหาญ ทาในสงิ่ ที่ถูกต้องกลา้ คัดคา้ นในสิ่งผิด 17) ผนู้ าต้องมีวจิ ารณญาณท่ีดี รจู้ กั วิเคราะห์ ตัดสินใจถูกต้อง 18) ผูน้ าต้องมีความแจ่มชดั ในทุกด้าน 19) ผู้นาตอ้ งเปน็ คนมนี า้ ใจ 20) ผ้นู าต้องเป็นคนมีความคิดรเิ ริ่มในสง่ิ ใหม่ๆ 21) ผู้นาตอ้ งเปน็ ผ้ฟู ังทีด่ ี เพื่อเขา้ ถงึ จิตใจคน บคุ ลกิ ภาพและความรับผิดชอบของผนู้ า 1) Create Vision Create Vision สร้างวสิ ัยทัศนใ์ หอ้ งคก์ ร 2) Create Culture Create สรา้ งวัฒนธรรมองค์กรให้ทมี งาน 3) Create Organization Create สร้างองคก์ ร 4) Motivate Team Motivate สรา้ งแรงจงู ใจให้ทีมงาน 5) Get Result สร้างผลลัพธใ์ หอ้ งคก์ ร ลักษณะทั้งภายนอกและภายในผ่านการแสดงออกทางร่างกาย และที่สาคัญที่สุดในการสร้างเสริมบุคลิกภาพให้ดี ขึ้น How to improve your personality ท่าเดิน ท่าน่ัง ท่าเดิน การส่ือสารแสดงออกทางใบหน้า และการสร้าง ความมัน่ ใจในตวั เอง 9 เร่ืองที่คนประสบความสาเรจ็ จะไมท่ า ซ่งึ คุณกส็ ามารถทาได้ 1) ไม่ปล่อยให้อดีตมากาหนดอนาคต ทุกคนเคยทาผิดพลาด ส่ิงสาคัญคือ การเรียนรู้จากความผิดพลาดเหล่านั้นได้มากแค่ไหน ใช้ความ ผิดพลาดมาเปน็ บทเรยี น อยา่ พลาดโอกาสในการเรยี นรู้ สรุปผลการเรียนรู้หลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 6

2) ไมน่ นิ ทาคนอน่ื เม่ืออยู่ในวงสนทนาคุณไม่สามารถปฏิเสธเร่ืองการนินทาได้เลย ถ้าคุณได้พูดถึงคนนอกออกไป นั่น หมายความวา่ คณุ ไดต้ ัดสนิ พวกเขาไปแล้ว ในทางกลับกนั ถ้าคณุ เปน็ คนท่ีไม่ได้อยใู่ นวงสนทนาล่ะ คณุ คดิ ว่าจะรอด หรือไม่ ไมน่ า่ รอด ไม่มีใครหนีคานินทาได้ สาหรับคนทป่ี ระสบความสาเร็จ พวกเขาจะพดู อยา่ งเปิดเผย แสดงความ คิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา พูดกับคนๆ น้ันโดยตรง ด้วยเจตนาที่ดี อย่าลืมว่าคาตาหนิท่ีห่วงใย ย่อมดีกว่ากาลังใจท่ี ไม่จริงจัง 3) จะไม่พดู วา่ “ใช่” ถ้ารู้สึกว่า “ไม”่ ไมว่ า่ จะเปน็ คาขอจากเพอ่ื นรว่ มงาน ลูกคา้ หรือแมก้ ระทงั่ เพ่อื นสนิท ถ้าพวกเขารสู้ กึ ไมเ่ ห็นดว้ ย พวกเขา ก็จะไม่ทา จากที่เราเห็นกันบ่อยๆ คนส่วนใหญ่มักจะตอบรับคาขอ โดยที่ไม่รู้ว่าทาได้ หรือไม่ได้ ถ้าคิดว่าทาไม่ได้ จริงๆ ก็ตอบปฏิเสธไปเลยดีกว่า แม้จะเสียความรู้สึกกันอยู่สักครู่ ก็ดีกว่าต้องทาในสิ่งที่ไม่อยากทา ซึ่งสุดท้ายแล้ว คุณก็จะรู้สึกผิดกับตัวเองอีกด้วย ในส่วนของคนที่ประสบความสาเร็จ พวกเขาจะมีศิลปะในการปฏิเสธคนอ่ืนๆ ทั้ง วธิ กี ารพดู นา้ เสยี ง และท่าทาง เพือ่ ไม่ใหเ้ สียความรูส้ ึกกบั ทง้ั ตวั เอง และอีกฝ่าย 4) ไม่พูดแทรกคนอนื่ การเป็นผู้ฟังที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนควรจะเป็น การรับฟังความคิดเห็นจากคนอ่ืนๆ จะช่วยให้คุณได้เรียนรู้ แนวคิดทนี่ ามาปรับใช้ได้กับตัวเองได้ บางคร้งั การพูดแทรกคนอ่ืนกท็ าลายความสัมพันธ์ได้ ทางทีด่ ีควรปล่อยให้อีก ฝ่ายพูดให้จบก่อน หรือถ้ามีคาถาม ข้อโต้แย้งใดๆ ให้ตอบคาถามตัวเองให้ได้ก่อนว่า คุณได้ตั้งใจฟังจริงๆ หรือไม่ แลว้ คอ่ ยพดู ในส่ิงท่ีตอ้ งการ 5) ไมผ่ ิดนัด หรอื ไปสาย (โดยไมม่ ีเหตุผล) ใครๆ ก็เคยสาย ไปช้าบ้างนิดหน่อยคงไม่เป็นไร แต่เราเช่ือว่า ระหว่างทางคุณจะรีบมาก จนจิตใจไม่อยู่ กับเน้ือกับตัว การมาสายนอกจากจะทาให้ตัวเองเหน่ือยแล้ว ยังทาให้อีกฝ่ายไม่พอใจด้วย “เวลา” เป็นสิ่งสาคัญ ที่สุดในชีวิตเลยก็ว่าได้ อย่าปล่อยให้คนอ่ืนรอนานเกินไป บางคร้ังคุณอาจเสียโอกาสดีๆ ไปโดยไม่รู้ตัว วิธีง่ายๆ คือ ตื่นให้เร็วข้ึน (นิดหน่อยก็ยังดี) แค่มาก่อนเวลานัด คุณก็จะเครียดน้อยลง ซ่ึงจะส่งผลถึงการทางานตลอดวัน แล้ว เคยสังเหตุไหมว่าทาไมคนที่ประสบความสาเร็จ ถึงมีความคิดแปลกใหม่ได้ตลอดเวลา นั่นก็เพราะพวกเขาให้เวลา กับทกุ ส่งิ ท่ที า มเี วลาใหต้ ัวเองเพือ่ ทบทวนสงิ่ ต่างๆ 6) ไม่เปรียบเทยี บตัวเองกบั คนอน่ื ดั่งคากล่าวของ Nelson Mandela ท่ีบอกว่า “ความไม่พอใจ (ความแค้น) คือการที่คุณดื่มยาพิษ แล้ว หวังท่ีจะให้ศัตรูของคุณตาย” เชน่ เดียวกับอารมณ์เดือด ความอิจฉา และไมพ่ อใจ เมอื่ คณุ รสู้ ึกแบบน้ีกบั คนอ่ืน คน ท่ีเจ็บท่ีสุดก็คือ ตัวเอง คนท่ีประสบความสาเร็จจะไม่หมกมุ่นไปกับอารมณ์เหล่านี้ ไม่เปรียบเทียบตัวเองกับคนอ่ืน จนทาใหเ้ กดิ ความอจิ ฉา หรือรสู้ ึกไมพ่ อใจในตัวเอง สรุปผลการเรียนรูห้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 7

7) ไม่เคยบอกวา่ “ไมม่ เี วลา” ไม่ว่าจะเป็นคนรวย คนจน หัวหน้า หรือลูกน้อง เราทุกคนมีเวลาเท่ากัน เคยสงสัยไหมว่า ทาไมคนๆ เดยี วถึงทาทุกอย่างได้ทันเวลา จรงิ ๆ แล้วพวกเขากแ็ ค่เลือกทาส่ิงที่สาคัญก่อน ตดั สง่ิ ทีไ่ ม่จาเป็นออกไป แล้วเร่มิ ลง มือทา เส้นก้ันบางๆ ของคนท่ีประสบความสาเร็จ กับคนธรรมดา อยู่ท่ีการบริการจัดการเวลามีอยู่เท่ากัน ทา อยา่ งไรจึงจะใช้ไดค้ ุ้มค่า และเกดิ ประโยชนท์ ่สี ุด 8) ไม่คดิ วา่ ตวั เองดที ส่ี ุด ในโลกแห่งความเป็นจริง เราไม่สามารถทาให้ใครรักเราได้ ท้ังเสื้อผ้าท่ีใส่ รถที่ขับ บ้านท่ีอาศัย ไม่มีใคร ชอบทกุ อยา่ งทเี่ ปน็ เราได้ทง้ั หมด รวมถงึ ตัวเราเองด้วย เพราะจรงิ ๆ แล้วไม่มีใครที่ดที ส่ี ดุ คนทปี่ ระสบความสาเร็จก็ เช่นกัน พวกเขาจะไม่ตัดสินคนโดยที่ยังไม่รู้จักกันดีพอ ไม่มองว่าตัวเองดีที่สุด ไม่ยกตัวเองให้อยู่เหนือคนอ่ืน ไม่ แสดงออกในสงิ่ ท่ีไมใ่ ชต่ ัวเอง ดว้ ยอปุ นสิ ยั เหล่าน้ี จะทาให้พวกเขาได้พบแตค่ นดีๆ 9) ไม่กลวั ที่จะทาเรอื่ งสาคญั จากคาพูดของ แฟรงคลิน ดี รูสเวลท์ กล่าวว่า “สิ่งเดียวที่เราต้องกลัว คือ ความกลัวท่ีเราสร้างขึ้นมา เอง” ซึ่งกเ็ ป็นความจริง เพราะเรามักจะกลัวในสง่ิ ท่ยี ังไมเ่ กดิ ขนึ้ สิ่งที่คาดเดาไม่ได้ สง่ิ ท่ียังไมไ่ ดท้ า หรือกลัวคนอืน่ ๆ จะตาหนิ ความกลัวเหล่านี้ จะทาให้เราลังเล ไม่กล้าลงมือทาอะไรสักที มัวแต่รอนั่นรอน่ีจนเหลือทางเลือกไม่มาก สดุ ท้ายกไ็ ม่ได้ทาสิ่งท่อี ยากทา เพราะฉะนนั้ อย่าปลอ่ ยใหค้ วามกลวั มาเปน็ อปุ สรรคในการดาเนนิ ชวี ติ สุดท้ายแล้ว คนที่จะประสบความสาเร็จได้ น้ันต้องเกิดจากความตั้งใจ และลงมือทา ถ้าไม่เร่ิมต้นต้ังแต่ ตอนน้ี กไ็ ม่มีวนั ทจ่ี ะก้าวไปถงึ เส้นชัย สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 8

หวั ข้อ เทคโนโลยีสารสนเทศและการตดั สินใจ วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. วทิ ยากร ภก.ไพสิฐ จิรรตั นโสภา รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย ร่วมกบั การมีส่วนร่วมในชน้ั เรยี น สรุปประเด็นสาคญั ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทและความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของเรามาก โดยเฉพาะเมืองใหญ่ๆ ท่ีมีอุปกรณ์การสื่อสารท่ีทันสมัย เราจึงจาเป็นต้องศึกษาเรียนรู้เพื่อจะได้ใช้งานได้อย่าง เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทและความสาคัญต่อเราในแทบทุกด้าน ทั้ง ดา้ นการประกอบอาชีพการงาน การศกึ ษาเลา่ เรยี น การตดิ ตอ่ สอ่ื สารการรักษาพยาบาล ขอ้ มลู กับสารสนเทศมคี วามหมายทแ่ี ตกต่างกัน คอื ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับคน สัตว์ ส่ิงของ และเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนใน แต่ละวัน อาจอยู่ในรูปแบบของตัวอักษรหรือตัวเลขก็ได้ เป็นข้อเท็จจริงท่ีมีการเก็บรวบรวมไว้ยังไม่ได้ผ่าน กระบวนการประมวลผลใดๆ เช่น ข้อมลู รายการซ้ือขายรายวัน ข้อมลู สินค้าคงเหลือรายวัน สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ท่ีได้จากการนาเอาข้อมูลมาทาการประมวลผล หรือ เปล่ียนแปลงด้วยกรรมวิธีท่ีเชื่อถือได้จนเป็นข่าวสารที่พร้อมสาหรับนาไปใช้งานหรือใช้ประโยชน์ด้านใดด้านหน่ึง ตามที่ผใู้ ช้ต้องการ ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการประมวลผลข้อมูลข่าวสารหรือ การจัดการข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบที่มีระบบ เป็นระเบียบ เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตดั สินใจของผบู้ รหิ าร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) หมายถึง วิชา ท่วี า่ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การจดั เกบ็ ข้อมลู ทีม่ อยู่ให้เปน็ ระบบ เพ่อื การเรยี กใชข้ ้อมลู อย่างรวดเรว็ ในเวลาที่ ต้องการ รวมไปถึงวิธีการต่างๆ ในการประมวลผล การวิเคราะห์ผลท่ีได้จากการประมวลผลและการแสดงผล ข้อมูล ระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการมีความสาคญั และมีประโยชนต์ อ่ องค์กร ดงั นี้ 1. สนับสนุนการทางานขององค์กร เป็นการใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือประกอบการทางานตาม ภาระหนา้ ท่ขี ององค์กรน้ันๆ 2. สนับสนุนการตัดสินใจในระดับต่างๆ การทางานขององค์กรน้ันจะต้องมีการตัดสินใจโดยจะต้อง ต้งั อยู่บนพืน้ ฐานของข้อมูล ซึ่งกค็ ือ สารสนเทศทเ่ี ปน็ ระบบน่ันเอง สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 9

3. สนับสนุนการวางแผนระยะยาวขององค์กร ระบบสารสนเทศมีความสาคัญมากต่อการวาง แผนการทางานขององค์กร เพราะแผนงานจะเกิดประสิทธิผลหรือมีประโยชน์ต่อองค์กรได้น้ัน จาเปน็ ต้องอาศยั สารสนเทศที่มีคุณภาพ 4. สนับสนุนการวางแผนระบบปฏิบัติงานให้มีมาตรฐาน ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาและหา ทางแก้ไขปญั หานั้นๆ ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแบง่ ตามลกั ษณะงานตา่ งๆ ไดด้ ังน้ี 1. ระบบการประมวลผลรายการระบบ : (Transaction Processing System : TSP) 2. เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ระดับพ้ืนฐานเพ่ือการประมวลผลรายการหรือรายละเอียดที่เกิดขึ้น ประจาวันให้เกดิ ความราบรน่ื เชน่ รายการซ้ือขายสนิ ค้า รายจา่ ยตา่ งๆ 3. ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ (Management Information System : MIS) 4. เป็นระบบท่ีพัฒนาข้ึนมาโดยมีจุดประสงค์เพ่ือรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการ ควบคุม กากับ จัดการเก่ียวกับงานขององค์กร เป็นระบบที่นาเอาข้อมูลจากระบบทีพีเอสมา จดั ทาเป็นรายงานเพือ่ ให้ผูบ้ รหิ ารใชเ้ พ่อื ประกอบการตัดสินใจ 5. ระบบช่วยการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) เป็นระบบท่ีช่วยในการ จัดเตรียมสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ หากเป็นการใช้โดยผู้บริหารระดับสูง ระบบน้ี เรียกว่า ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพ่ือการบริหาร ระบบนี้ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการ วางแผนเพ่ือแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ท่ีเกิดขน้ึ 6. ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหาร (Executive Information System : EIS) เป็นระบบ สารสนเทศทพ่ี ฒั นาเพอ่ื ผบู้ รหิ ารโดยเฉพาะ ชว่ ยใหม้ ีความลอ่ งตวั ในการวางแผน กาหนดนโยบาย 7. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automatic System : OAS) เป็นระบบสารสนเทศท่ี สนบั สนุนการส่ือสารภายในองคก์ รหรือกับหนว่ ยงานภายนอกก็ได้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการทางาน ของทุกคนโดยใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีท่ีทันสมัย ระบบ OAS ครอบคลุมงานสานักงาน 4 ด้าน คอื งานด้านการจัดการเอกสาร งานดา้ นข้อมลู งานด้านการประชมุ และงานสนบั สนุนสานักงาน 8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence/Expert System : Al/ES) เป็นระบบที่ใช้ ผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละสาขาอาชพี ทาการใส่ข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือให้เครอ่ื งสามารถวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เป็นเสมือนผู้เช่ียวชาญอยู่ร่วมช่วยตัดสินใจสาหรับความรู้ที่เก็บไว้ใน คอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยความร้พู ื้นฐานและกฎข้อวนิ ิจฉัย สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 10

หวั ข้อ ธรรมาภิบาลสาหรบั ผูบ้ ริหาร วนั ท่ี 2 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. วทิ ยากร นพ.ไพศาล เก้ืออรุณ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย รว่ มกับ การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรียน สรุปประเดน็ สาคญั ธรรมาภิบาล คือหลักในการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ีดี ถือเป็นหลักการบริหารเพ่ือการอยู่ร่วมกันใน บา้ นเมืองและสังคมให้เกิดความสงบสขุ โดยมีองค์ประกอบทสี่ าคัญ 6 ประการดงั นี้ 1. หลักนิติธรรม หมายถึง การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ๆ ให้ทันสมัยและ เป็นธรรม โดยคานึงถึงสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิกในการถือปฏิบัติ ร่วมกันอยา่ งเสมอภาค 2. หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน เพ่ือให้คนไทยมีความซ่ือสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินยั ประกอบอาชีพสุจรติ จนเป็นนิสัย 3. หลักความโปรง่ ใส หมายถงึ การสร้างความไวว้ างใจซง่ึ กันและกนั ของคนในชาติ การทาให้สงั คมไทย เป็นสังคมท่ีเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา การทางานขององค์กรทุกองค์กรมีความ โปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้ และช่วยใหก้ ารทางานของภาครัฐและภาคเอกชนปราศจากการทุจริต คอรปั ชัน่ 4. หลักการมสี ่วนรว่ ม หมายถงึ การเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมสี ว่ นร่วมรับรูแ้ ละแสดงความคิดเหน็ โดย เปิดโอกาสให้ประชาชนมีช่องทางในการเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ การแจ้งความเห็น การไต่สวน สาธารณะ การประชาพิจารณก์ ารแสดงประชามติ หรอื อื่น ๆ 5. หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าท่ี ความสานึกในความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมืองและการกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพ ในความคดิ เหน็ ที่แตกตา่ งและความกลา้ ทจ่ี ะยอมรับผลดแี ละผลเสยี จากการกระทาของตนเอง 6. หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยการรณรงค์ให้คนไทยมีความประหยัด ใช้ของอย่างคุ้มค่า สร้างสรรค์สินค้าและบริการท่ีมีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก และรักษาพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาตใิ ห้สมบรู ณย์ ัง่ ยืน สรุปผลการเรยี นรูห้ ลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 11

สรปุ ความสาคัญของหลกั ธรรมาภิบาลต่อระบบราชการ หลกั ธรรมาภิบาล เปน็ แนวคิดสาคัญในการบริหารงานและการปกครอง โดยเฉพาะข้าราชการ เพราะธรร มาภบิ าลเปน็ การบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ตง้ั มน่ั อยู่บนหลักการบรหิ ารงานท่ีเท่ียงธรรม สจุ รติ โปรง่ ใส และสามารถตรวจสอบได้ ดงั น้นั หลกั ธรรมาภบิ าลหรือการบริหารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี จึงมคี วามสาคัญต่อ ระบบราชการเพราะเป็นการการพัฒนาระบบราชการ ซึ่งเปน็ กลไกสาคัญในการบรหิ ารราชการแผ่นดิน ใหส้ ามารถ ขับเคลอ่ื นนโยบายต่าง ๆ ไปสกู่ ารปฏิบัตใิ ห้บังเกิดผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน สรุปผลการเรยี นรูห้ ลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 12

หวั ข้อ แนวคดิ และกระบวนการ Community Based Learning (CBL) วนั ท่ี 2 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. วิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย และแบ่งกลุม่ ระดมสมอง สรปุ ประเดน็ สาคญั Community based learning : CBL เป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างหน่ึง ที่ใช้ในการจัดการเรียนการ สอนโดยใชช้ ุมชนเป็นฐานการเรยี นรู้ ทีเ่ นน้ ให้ผู้เรยี นไดเ้ กดิ การเรียนรู้จากการได้ปฏบิ ตั งิ านจากสถานการณจ์ ริงของ ชุมชน และยังเป็นการผสมผสานท่ีหลากหลายในชุมชน การสะท้อนกลับ โดยผลลัพธ์ที่ได้ชุมชนจะเกิด กระบวนการเรยี นรู้ เกดิ การแก้ไขปญั หาในชุมชน Community based learning เป็นวิธีการท่ีใช้ในการฐานการศึกษาเป็นหลัก ซึ่งการเรียนรู้หากเรียน เฉพาะในหอ้ งอย่างเดียว อาจทาใหน้ กั เรยี นเกดิ กระบวรนการเรียนรู้ได้ไมเ่ ตม็ ที่ หลักการของ Community based learning เป็นการเรียนรู้จากประสบการณข์ องผู้ปฏิบตั จิ รงิ ซึ่งประสบการณท์ ไ่ี ด้จะชว่ ยสนับสนุนตัวแนวทางปฏิบัติ เดิมที่มี และเกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในแต่ละชุมชนได้ ซึ่งแต่ละชุมชนจะเลือกใช้วิธีการ แบบใด ก็ขึ้นอยู่กับบริบทของชุมชนแต่ละแห่ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้อง รวมทั้งประวัติศาสตร์ของชุมชน สังคม วฒั นธรรม และธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อมของชุมชนนั้นๆ ด้วย ซึ่งวิธกี ารเดียวกัน ผลลัพธ์ทไ่ี ด้ในแต่ละชุมชนอาจ แตกต่างกันก็ได้ นับได้ว่า CBL เป็นแนวทางที่ดีอย่างหนึง่ ท่ีใช้ในการสร้างความรู้ใหม่พ่ือกาหนดแนวทางการดูแล สุขภาพ ซ่ึงจะมาช่วยเติมเต็มความต้องการของชุมชน และยังทาให้นักเรียนเกิดความรู้ เชิงประจักษ์จาก ประสบการณใ์ นสถานการณ์จรงิ วิธกี ารของ CBL 1. ความเชอ่ื มโยงขององค์กรตา่ งๆ ในพ้นื ท่ี (Instructional connections) 2. การผสมผสานกนั ในชุมชน (Community integration) 3. การมีสว่ นรว่ มของชุมชน (Community participation) 4. พลังของชุมชน (Citizen action) Bloom’s Taxonomy จากทฤษฎีการเรยี นรูข้ อง Bloom ได้แบง่ ระดบั การเรยี นรเู้ ป็น 6 ระดับ คือ 1. ความรทู้ ่ีเกดิ จากความจา ซึง่ เปน็ ระดับลา่ งสุด 2. ความเข้าใจ 3. การประยกุ ต์ 4. การวิเคราะห์ สามารถแก้ปญั หา ตรวจสอบได้ 5. การสงั เคราะห์ นาสว่ นตา่ งๆ มาประกอบเปน็ รปู แบบใหม่ได้ให้แตกตา่ งเดิม เนน้ โครงสร้างใหม่ สรุปผลการเรียนรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 13

6. การประเมินคา่ วัดได้ และตดั สนิ ได้ว่าอะไรถูกหรือผดิ ประกอบการตัดสนิ ใจบนพื้นฐานของเหตุผล และเกณฑ์ทีแ่ นช่ ดั Three R’s of CBL Reflection เชือ่ มโยงประสบการณแ์ ละ ทฤษฎี Rigor Reciprocity คุณภาพทางการ เรยี นรจู้ ากชมุ ชน ศกึ ษาและบริการ และประโยชนช์ ุมชน ของชุมชน องค์ประกอบของ CBL 1. Community Integration : การผสมผสานในชุมชน สามารถประสบความสาเร็จได้ โดยการให้ ผู้นาชมุ ชน หรือปราชญ์ชาวบ้านมามีส่วนรว่ ม 2. Service Learning : การนาระบบบริการไปใช้ในพ้ืนที่ เพ่ือเป็นตัวช่วยเสริม อาจเป็นโครงการที่ เปน็ ความจาเป็นสาหรับชุมชน เพอื่ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงผลลพั ธ์ตามท่ีตอ้ งการ 3. Community Participation : ทฤษฎีการมีส่วนร่วม มีความหลากหลาย เป็นตัวบ่งบอก กระบวนการเรยี นร้ใู นตัวชุมชนเอง 4. Community Based Research : แกป้ ญั หาและตอ่ ยอดโดยใชก้ ระบวนการวิจัย การ Approaches 1. Knowledge Management : KM 1) การบ่งชีค้ วามรู้ 2) การสรา้ งและแสวงหาความรู้ 3) การจัดการความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ 4) การประมวลและกลนั่ กรองความรู้ สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 14

5) การเข้าถงึ ความรู้ 6) การแบง่ ปันแลกเปลีย่ นความรู้ 7) การนาองค์ความรู้ไปใช้และการประเมินผล 2. กิจกรรมการเรียนรู้จากกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม AIC Approaches (Appreciation, Influencing and Control) เป็นการประชุมแบบมีส่วนร่วม ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานความพึงพอใจ และมี จดุ มงุ่ หมายเดยี วกนั แบ่งเปน็ 3 ขนั้ ตอน คอื 1) ขัน้ ตอนความพึงพอใจ หรือ Appreciation (A) 2) ข้นั ตอนกลวธิ ที ที ี่มอี ิทธิพลต่อความสาเร็จหรือ Influence (I) 3) ขั้นตอนการควบคุม หรอื Control (C) 3. กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning Approach) โดยการสร้างความคุ้นเคย กระตุ้นให้ผู้เข้าอบรมไดพ้ ดู คยุ แลกเปลี่ยนลกั ษณะนสิ ัยบางประการ การสบื ค้นข้อมูล ด้วยวิธีการต่างๆ 1) การใชแ้ ผนทีช่ มุ ชน 2) การใชแ้ ผนท่ีร่างกาย 3) การสรปุ โดยสรุปกระบวนการการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ประกอบด้วย 1. การประเมินชุมชน (Community Assessment) : การศึกษาชุมชน รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูล 2. การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน (Community Diagnosis) : การวินิจฉัยปัญหา และการจัดลาดับ ความสาคัญของปญั หา ระบปุ ัญหาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของคนในชมุ ชน ซงึ่ ก า ร ร ะ บุ ปั ญ ห า ข อ ง ชุ ม ช น ใ ช้ ห ลั ก 5D (Death, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction) แล้วเปรียบเทียบกับเกณฑม์ าตรฐาน ใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการระบุปญั หา 3. การวางแผนเพ่อื แกป้ ญั หาสขุ ภาพชุมชน (Community Planning) 4. การปฏิบตั ติ ามแผนงานสุขภาพชมุ ชน (Community Implementation) 5. การประเมนิ ผลการดาเนินงานสขุ ภาพชมุ ชน (Community Evaluation) สรุปผลการเรยี นรู้หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 15

หัวข้อ การบรหิ ารเชิงกลยุทธ์ เคร่ืองมือการบรหิ ารจัดการ (Tool and Technical Management) วนั ท่ี 3 มิถนุ ายน 2564 เวลา 09.00 – 16.00 น. วทิ ยากร รองศาสตราจารย์ ดร.จรัส อตวิ ิทยาภรณ์ รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย และแบ่งกลุ่มระดมสมอง สรุปประเดน็ สาคัญ การบรหิ ารจดั การท่ีดี ตอ้ งมเี ครอื่ งมือที่ดี จะได้ผลลพั ธ์ทีด่ ี คือ ต้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ Success = People + Tools + Process คอื ส่ิงท่ผี ้บู ริหารจาเป็นต้องรู้ และทาความเข้าใจ องคป์ ระกอบของผูบ้ รหิ าร 3 ภมู ิ 1. ภมู ิรู้ (Cognitive) How to Learn ได้แก่ Learn to know, Learn to do, Learn to work together, Learn to beซึ่ง ต้องมาจากฐานคิด Thinking Base ได้แก่ Creative think และ Critical think ฐานคิดจะต้องเป็นการคิดเชิงบวก (Positive thinking) เพ่ือให้เกิดการจัดการปัญหาที่มีประสิทธภิ าพ ซ่ึงผู้บริหารจะต้องมี 3 น้ามหาเสน่ห์ คือ น้าคา นา้ มือ นา้ ใจ 2. ภมู ิธรรม (Effective) ฐานใจ Heart Base การตัดสินใจด้วยความดี ความงาม จิตใจที่ดีท่ีงดงามต้องหล่อเล้ียงด้วยสมุนไพร 5 ส่วน ไดแ้ ก่ ราก = ออ่ นนอ้ ม, ใบ = ยอ, ก่งิ = เมตตา, กา้ น = กรณุ า, ดอก = อภัย ตน้ ไม้จรยิ ธรรม ยอมงอแตไ่ ม่ยอมหัก แต่ข้ึนอย่กู บั ระดับจิตใจมนษุ ยท์ ีต่ ่างกัน 3 ระดบั 2.1 มนษุ ยท์ ม่ี ีจิตใจเป็นสตั ว์ คือ ตา่ กว่าเกณฑท์ างสงั คม 2.2 มนุษยท์ ี่มีจติ ใจเป็นคน คอื เทา่ กับกว่าเกณฑท์ างสังคม 2.3 มนุษยท์ ม่ี จี ติ ใจเปน็ เทวดา คอื สูงกว่าเกณฑท์ างสงั คม ผู้บริหารท่ีมีความดีงามต้องไม่ผิดจริยธรรมสาคัญคือ คอร์รัปชั่นหรือทุจริต และจริธรรมทางเพศ ต้องไม่ ตดิ เบด็ พราน และระวงั พรานบญุ 3. ภมู ิฐาน (Psychomotor) ฐานกาย (Body Base) คอื บคุ ลิกภาพภายนอกที่ต้องพฒั นา ไดแ้ ก่ 3.1 บคุ ลกิ ภาพภายนอก เปรยี บเทียบสัตว์ 4 ชนิด เสอื สิงห์ กระทงิ แรด และหมแี พนด้า 3.2 การพดู และทกั ษะทางสังคม 3.3 ภาษา 3.4 เศรษฐกจิ ชีวติ คนเราเปรียบเหมือนทะเลมรี าบเรียบบา้ ง คล่นื ลมบา้ ง สุขทกุ ขป์ ะปนกันไปเปน็ ธรรมดา สรปุ ผลการเรียนรู้หลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 16

เครอ่ื งมือการบรหิ ารจัดการ เคร่ืองมือเร่ิมตน้ ของการบรหิ ารทีม่ คี ุณภาพ Basic Quality Tools 1. Management By Fact - Data collection - Figures - Statistics - Information 2. Brainstorming เช่ือมัน่ ว่าความคิดทุกคนมคี า่ ให้อสิ ระการคิด เป็นกนั เอง และเสรมิ ตอ่ ความคดิ 3. The Deming Cycle วงลอ้ PDCA เริ่มตรงจุดไหนก็ได้ ข้ึนอยู่กบั ลักษณะของงานน้นั ๆ 4. Cause& Effect Diagram การวางแผนรับสถานการณ์ฉุกเฉนิ Scenario and Contingency Planning (SCP) กลวิธหี รอื เครือ่ งมือการจดั การ 1. การวิเคราะห์ความเส่ยี ง - ความเสี่ยงกลยุทธ์ Strategic Risk ; SR - ความเสี่ยงในการปฏบิ ตั ิการ Operation Risk ; OR - ความเส่ียงดา้ นการเงนิ Financial Risk ; FR - ความเส่ียงด้านข้อผกู พนั ตามกฎหมาย Compliance Risk ; CR จัดการวเิ คราะหโ์ ดย ตารางวเิ คราะหค์ วามเส่ยี ง ระหวา่ งโอกาส และผลกระทบ ได้ระดับความเส่ียง 5 ระดบั ได้แก่ เสี่ยงน้อย เสีย่ งปานกลาง เสีย่ งมาก เสยี่ งมากท่สี ดุ และเสยี่ งขัน้ วิกฤติ 2. Benchmarking มี 4 กลมุ่ - Competitive Benchmarking เปรยี บเทยี บกบั คู่แข่ง โรงพยาบาลใช้วิธีนี้ - Funtional Benchmarking เปรยี บเทียบกบั มาตรฐาน - Internal Benchmarking เปรียบเทยี บกันในองค์กร - Generic Benchmarking เปรียบเทียบท่ัวไป การใช้วิธีการ Benchmarking จะทาใหไ้ ด้ Best Practice 3. Budget Management - หาได้ (ดว้ ยความสามารถ) - ใชเ้ ปน็ (คมุ้ ค่า ครอบคลุม) - โปร่งใส (ถกู ต้อง ถูกใจ) สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 17

หลกั การ ไคเซน Kai Zen เป็นการปรบั ปรงุ ดว้ ยการมีส่วนรว่ มของบุคลากรทุกคน หาวธิ กี าร ใหม่ๆในการทางานอยา่ งต่อเน่อื ง (เลกิ ลด เปลยี่ น) การเขยี นไคเซน - กอ่ นทา - หลังทา - ผลท่ไี ด้ 4. การวางแผนกลยุทธ์ (SWOT) - องค์กรจะไปทางไหน - สภาพแวดล้อมเปน็ อยา่ งไร - องค์กรจะถงึ จุดหมายได้อย่างไร S = Strength ข้อไดเ้ ปรยี บ จดุ เดน่ W = Weakness ขอ้ เสยี เปรยี บ จุดด้อย O = Opportunity ปัจจยั ภายนอกเชงิ บวก T = Threat ปัจจยั ภายนอกเชิงลบ อุปสรรค เครื่องมือในการทา SWOT มีทั้งแบบ Digital และ Manual มีการทดลองทาการสร้างแบบเก็บข้อมูล ออนไลน์ โดยใช้ Google Form สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 18

หวั ข้อ การบริหารมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ วนั ท่ี 4 มถิ ุนายน 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. วิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.จรัส อติวทิ ยาภรณ์ รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย และแบง่ กล่มุ ระดมสมอง สรุปประเดน็ สาคญั องค์ประกอบ 1. Leadership 2. Results Base Management 3. Strategic Plan Leadership  Boss ผู้บรหิ าร  Leader ผนู้ า ทางานร่วมกับผู้รว่ มงาน จะตอ้ งมีลักษณะเฉพพาะ คอื นกั บรหิ ารมืออาชพี และมีภาวะ ผนู้ าเชงิ กลยทุ ธ์ ซึ่งสามารถพัฒนาได้ ดงั น้ี 1. ปรบั สมดลุ ชวี ิต ในเรื่อง ส่วนตวั ครอบครวั และการงาน เพ่อื ให้เกดิ ความสขุ ในชวี ิต 2. Lifestyle ยอมรบั ตนเอง ยอมรบั คนอื่น Results Base Management การบริหารท่ีมุ่งเน้นความประหยัด Economy ประสิทธิภาพ Efficiency และประสิทธิผล Effectiveness Result = Output + Outcome ผลสัมฤทธ์ิ = ผลผลติ + ผลลัพธ์ โดยวิธีการดงั น้ี 1. กาหนดหลกั ปจั จัยแห่งความสาเร็จโดย KPI ( Key Performance Indicators ) 2. กาหนด Goal 3. การวางแผน - ผู้บริหารระดับสงู ทาแผนยุทธศาสตร์ Strategic Plan - ผู้บรหิ ารระดบั กลางทาแผนยุทธวิธี Tactical Plan - ผ้บู ริหารระดับตน้ ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร หรอื โครงการ Operation Plan สรุปผลการเรยี นรู้หลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 19

Strategic Plan (ฝกึ ปฏิบตั ิ) วิเคราะองค์กรโดยการมีส่วนร่วมจากทุกคน (SWOT) จากเคร่ืองมือบน GOOGLE FORM ท่ีฝึกเก็บเป็นการบ้าน โดยใช้เคร่ืองมือ Menti.com อาจารย์เป็นผู้กาหนดรหสั การเข้าใชง้ าน เม่ือได้ผล SWOT ทุกคนร่วมสร้างวสิ ัยทัศน์ องค์กร Vision เปน็ ภาพอนาคตที่สามารถทาได้ในเวลาที่กาหนดท่ีมาจากจุดเดน่ SO ปจั จุบนั กาหนดนอ้ ยกวา่ 5 ปี พันธะกิจ (Mission) ภาระตามขอบข่ายงานในองค์กร สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ โดยคานึงถึง การบริหารแบบถ่วงดุล Balance Scorecard กจิ กรรมกลุ่ม ฝกึ กาหนดแผนทงั้ 3 ระดบั - Strategic Plan ระยะยาว 5 ปี - Tactical Plan ระยะ 1-3 ปี - Operation Plan ระยะ 1 ปี กิจกรรมกลุ่ม ประเมนิ การเรียนรเู้ ร่อื งการจัดทาแผน โดย Kahoot.it สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 20

หวั ข้อ ระบบสุขภาพในบริบทเขตสุขภาพท่ี 12 วันท่ี 8 มิถนุ ายน 2564 เวลา 09.00 – 10.00 น. วิทยากร นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม นายแพทยส์ าธารณสขุ จังหวดั ยะลา ประธานคณะอนุกรรมการยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศ เขตสขุ ภาพท่ี 12 รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย สรุปประเดน็ สาคัญ บรบิ ทเขตสุขภาพที่ 12 เขตสุขภาพท่ี 12 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จงั หวัดยะลา จังหวัดปตั ตานี และจังหวัดยะลา มีการแบ่งโซนออกเป็น 3A ได้แก่ โซน A1 ตรงั -พัทลงุ เปา้ หมาย Excellence Stroke, Newborn โซน A2 สงขลา-สตูล เป้าหมาย Excellence Cancer, STEMI โซน A3 ยะลา-ปตั ตานี-นราธิวาส เป้าหมาย Excellence Maternal death, War surgery (Trauma) มปี ระชากรจานวน 4,985,402 คน สว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาอสิ ลามร้อยละ 53.36 และศาสนาพุทธร้อยละ 45.43 พ้ืนที่ติดชายแดนไทย – มาเลเซีย มีจุดผ่านแดนถาวร 9 จุด เป็นพ้ืนที่การค้าอันดับ 1 ของประเทศ มีมูลค่ากว่า 222,872 ล้านบาท โดยด่านสะเดา มมี ูลค่าการค้าชายแดน และการผ่านแดนสูงสุด สถานะสุขภาพในเขต 12 อตั ราการเกิดสูงสุด อยทู่ ่ีจังหวัดยะลา และอัตราตายสงู สดุ อยูท่ ีจ่ ังหวัดสงขลา 5 อนั ดบั สาเหตุการปว่ ยผู้ป่วยใน เขต 12 อันดบั 1 ปอดบวม อันดับ 2 ความผิดปกตเิ กย่ี วกบั ต่อมไร้ทอ่ โภชนาการและเมตาบอลซิ มึ อ่นื ๆ อนั ดับ 3 โรคความดนั โลหติ สงู อันดับ 4 โรคหลอดลมอกั เสบ ถงุ ลมโป่งพองและปอดอดุ ก้นั แบบเร้ือรงั อน่ื ๆ 5 อันดับสาเหตกุ ารป่วยผปู้ ว่ ยนอก เขต 12 อันดบั 1 โรคความดันโลหติ สงู อันดบั 2 การติดเช้ือทางเดินหายใจสว่ นบนแบบเฉยี บพลนั อืน่ ๆ อนั ดับ 3 เบาหวาน อนั ดับ 4 โรคระบบไหลเวียนเลอื ด อันดับ 5 เนอื้ เย่อื ผิดปกติ สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 21

ปัญหาสาคญั ของเขตสุขภาพที่ 12 อนั ดับ 1 ปญั หามารดาตายจากการคลอด ยงั คงสูงต่อเนื่อง อนั ดบั 2 ปัญหาวัณโรค มีแนวโนม้ ตกเกณฑ์ อนั ดบั 3 ความแออดั ในสถานพยาบาล อนั ดบั 4 บาดเจ็บ/เสยี ชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบ อันดับ 5 กญั ชา เป็นความท้าท้าย อนั ดบั 6 การส่งต่อโรค มะเรง็ NB Trauma อนั ดบั 7 โรคเร้ือรงั ไตวาย Stroke STEMI เปน็ สาเหตุการตายหลัก อันดับ 8 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ ยงั ตกเกณฑ์ จุดเน้นการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาสาธารณสขุ จุดเนน้ ของเขตสุขภาพที่ 12 “เครอื ขา่ ยสุขภาพเข้มแข็ง ระบบสขุ ภาพยง่ั ยนื ประชาชนสุขภาพดี เจา้ หน้าทม่ี คี วามสุข” โดยใช้โมเดล 5 โรค 5 ระบบ 5 สนับสนุน 5 โ รค Service Excellence ประกอบด้ว ย (1) Primary care (NCD, IMC, CKD, Stroke, STEMI) (2) Fast Track (High risk pregnancy, Sepsis) (3) Newborn (4) Cancer และ (5) Trauma 5 ระบบ Agenda base ประกอบด้วย (1) Vaccine (2) พระราชดาริราชทัณฑ์ปันสุข (3) 30 บาทรกั ษาทุกท่ี (4) Growth & Development (5) สมนุ ไพร กญั ชา กัญชง 5 สนับสนนุ (1) CPPO-CSO (2) CHRO (3) CIO (4) CFO และ (5) CGO ประเดน็ ความทา้ ท้าย 1. โรคอุบัติใหม่ บูรณาการในทกุ ภาคส่วนโดยใช้คณะกรรมการ EOC 2. ผลกระทบดา้ นเทคโนโลยี มกี ารปรับเปล่ยี นรปู แบบการให้บรกิ าร เชน่ ระบบนดั รับยาใกล้บ้าน 3. ความเช่อื ทางศาสนาและพหวุ ฒั นธรรมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน ได้แก่ 3.1 ปัญหาการวางแผนครอบครัว ส่งผลต่อสุขภาพของมารดา มีปัญหาของ Teenage pregnancy เกิดการต้ังครรภ์บ่อย การฝากครรภ์ไม่ต่อเน่ือง ไม่ได้เล้ียงดูบุตรอย่างเต็มที่ เกิดภาวะ Malnutrition ในเด็ก เป็นต้น ในส่วนน้ีได้มีการทาความเข้าใจกับผู้นาทาง ศาสนา เพอื่ ให้เปน็ ตวั แทนของสาธารณสุขในการประชาสมั พนั ธ์ให้กบั ประชาชนในพื้นท่ีได้ เขา้ ใจ 3.2 การฉีดวัคซีนในเด็กไมค่ รอบคลุม ตอ้ งสร้างความเขา้ ใจ โดยการใชห้ ลกั ทางศาสนาเข้าช่วย 4. ปัญหาการเคล่ือนย้ายของประชากรข้ามแดน มีการปรับ Information system เพ่ือเช่ือมข้อมูล ประชากรในพ้นื ท่ี 5. กญั ชา พบการใชไ้ มถ่ ูกต้อง เปน็ ฮารอม ต้องปรับภาพลักษณใ์ หม่ โดยให้ รพ.สต. มีสว่ นร่วม สรุปผลการเรียนร้หู ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 22

หัวข้อ การบริหารดา้ นการเงิน วันท่ี 10 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 09.00-12.00 น. วิทยากร คณุ กฤตยา วัลอาจ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย สรปุ ประเดน็ สาคญั สรปุ สาระสาคญั การเบกิ จา่ ยเงนิ จากคลัง การเก็บรกั ษาเงิน และการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ.2562 ระเบยี บกระทรงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลงั การรับเงนิ การจ่ายเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการนา เงินสง่ คลงั พ.ศ.2562 สาระสาคญั ดงั นี้ วัตถปุ ระสงค์ 1) ให้มีความสอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญตั วิ นิ ัยการเงนิ การคลงั ของรฐั พ.ศ. 2561 2) ให้มีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานระบบการชาระเงินแบบอิเลก็ ทรอนิกส์แหง่ ชาติ (National e-Payment Master Plan) 3) ให้รองรับการปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Government Fiscal Management Information System : GFMIS) เป็น New GFMIS Thai คานิยามทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบิกเงินจากคลงั การรบั เงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการ นาเงนิ สง่ คลัง พ.ศ.2562 ไดใ้ ห้คานยิ ามไว้ ในที่นจี้ ะกลา่ วถงึ เฉพาะคานิยามที่เกย่ี วข้อง ดงั น้ี 1) หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า 1.1. ส่วนราชการ 1.2 รัฐวิสาหกิจ 1.3 หน่วยงานของรัฐสภา 1.4 ศาลยุตธิ รรม 1.5 ศาลปกครอง 1.6 ศาลรฐั ธรรมนูญ 1.7 องค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ 1.8 องค์กรอัยการ 1.9 องค์การมหาชน 1.10 ทุนหมุนเวียนที่มฐี านะเป็นนิติบุคคล 1.11 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 23

2) หน่วยงานผู้เบิก หมายความว่า หน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายและเบิกเงินจาก กรมบญั ชกี ลางหรือสานักงานคลังจงั หวัด แลว้ แต่กรณี 3) หนว่ ยงานย่อย หมายความว่า หนว่ ยงานในสงั กัดของส่วนราชการในราชการบริหารสว่ นกลาง หรอื ใน ราชการบรหิ ารส่วนภูมิภาค หรือท่ตี งั้ อยใู่ นอาเภอ ซึ่งมิไดเ้ บิกเงนิ จากกรมบัญชีกลาง หรือสานกั งานคลังจงั หวัด แต่ เบกิ เงนิ ผา่ นสว่ นราชการท่ีเปน็ หนว่ ยงานผูเ้ บิก 4) เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงิน หมายความว่า หัวหน้าฝา่ ยการเงนิ หรอื ผ้ดู ารงตาแหน่งอ่ืนซ่ึงปฏิบัติงานในลักษณะ เช่นเดียวกันกบั หวั หนา้ ฝา่ ยการเงิน และให้หมายความรวมถงึ เจ้าหนา้ ที่รับจา่ ยเงนิ ของส่วนราชการด้วย 5) งบรายจา่ ย หมายความวา่ งบรายจา่ ยตามระเบียบวา่ ด้วยการบริหารงบประมาณ 6) หลักฐานการจ่าย หมายความว่า หลักฐานที่แสดงว่าได้มีการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับหรือเจ้าหน้ีตามข้อ ผูกพนั โดยถูกต้องแล้ว 7) เงินยืม หมายความว่า เงินท่ีส่วนราชการจ่ายให้แก่บุคคลใดบุคคลหน่ึงยืมเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการ เดนิ ทางไปราชการ หรือการปฏิบตั ริ าชการอนื่ ทงั้ นี้ ไมว่ ่าจะจ่ายจากงบประมาณรายจา่ ยหรอื เงนิ นอกงบประมาณ สรปุ สาระสาคญั ของระเบยี บท่ีเก่ยี วข้องกับหน่วยงาน มีดงั น้ี หมวด 1 ความทวั่ ไป กรณี หน่วยงาน มีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติหรือไม่สามารถปฏิบัติ ตามข้อกาหนดในระเบียบน้ี ให้ หัวหน้าหน่วยงาน ขอหารือไปยังกระทรวงการคลัง เพื่อให้กระทรวงการคลังวินิจฉัย หรือขอทาความตกลงกับ กระทรวงการคลัง หรือให้กระทรวงการคลังกาหนดหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การ จา่ ยเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลงั แลว้ แต่กรณี เพอ่ื เป็นแนวทางให้หนว่ ยงานถอื ปฏบิ ตั ิ หมวด 2 การใชง้ านในระบบ หมวดน้ีจะเน้นการดาเนินงานของหน่วยงานผู้เบิก เป็นผู้ใช้ระบบโดยให้กาหนดถึงหน้าท่ี ความ รบั ผดิ ชอบ แนวทางการควบคมุ การเขา้ ใชง้ าน สทิ ธติ า่ งๆ ตามทก่ี ระทรวงการคลงั กาหนดไว้ หมวด 3 การเบกิ เงิน หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารเบกิ จ่ายเงนิ การขอเบกิ เงนิ ทกุ กรณีใหร้ ะบวุ ตั ถุประสงคท์ ่จี ะนาเงนิ นั้นไปจา่ ย เงินที่ขอเบิกจากคลังเพ่ือการใด ให้นาไปจ่ายได้เฉพาะเพ่ือการนั้นเท่าน้ัน จะนาไปจ่าย เพื่อการอ่ืนไม่ได้ เชน่ กรณีเบิกเงินยมื ไปราชการ ผู้ยืมต้องนาไปใชเ้ ปน็ คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ หน่วยงานผู้เบิกจะจ่ายเงินหรือก่อหน้ีผูกพันได้แต่เฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ัง กาหนดไว้ หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้ หรือตามท่ีได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง ดังนั้น หากหน่วยงานจะ จ่ายเงิน หรอื กอ่ หน้ีผูกพนั จะตอ้ งคานงึ วา่ ไดจ้ ่ายเงินหรือก่อหน้ีผูกพันทีเ่ กิดข้นึ ตามระเบยี บใด เชน่ การเบิกคา่ ทาง ด่วนพิเศษ ในการเดินทางไปราชการ เป็นการเบิกจ่ายตามระเบียบค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ซ่ึงการเบิกค่าทาง สรปุ ผลการเรียนรู้หลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 24

ด่วนพิเศษ แบ่งเป็น 2 กรณี คือกรณีไปราชการ ต้องขออนุมัติเดินทางไปราชการแล้วมีค่าทางด่วนพิเศษ กับกรณี เดนิ ทางไปประชุม ไปตดิ ต่องาน ไปส่งหนังสอื ไปกรมบัญชีกลาง ซึ่งตอ้ งอธิบายความจาเป็นวา่ ทาไมต้องใช้เส้นทาง ด่วน การเบิกค่าทางด่วน ให้แยกเบิกจากรายงานการเดินทางไปราชการ (8708) สาหรับรถท่ีเบิกได้ ต้องเป็นรถ ส่วนกลาง หรือรถส่วนตัวท่ีนามาเป็นรถประจาตาแหน่ง (เลือกรับเงินค่าตอบแทน) หรือการเบิกค่าอาหารว่างใน การประชมุ ระหวา่ งประเทศ เป็นการเบิกจา่ ยตามระเบยี บเฉพาะเรอ่ื งการจดั ประชุมระหวา่ งประเทศ เป็นตน้ หลกั เกณฑ์การเบกิ เงินของส่วนราชการ การขอเบิกเงินทุกกรณีห้ามมิให้ขอเบิกเงินจนกว่าจะถึงกาหนด หรือใกล้จะถึงกาหนดจ่ายเงิน เช่น หาก บุคลากรในสังกัด ส่งเรื่องขอเงินยืมไปราชการ โดยยื่นเร่ืองล่วงหน้าก่อนเดินทางไปราชการ เป็นเวลา 2 อาทิตย์ โดยหน่วยงานจะพจิ ารณาตามเรื่องทส่ี ่งมาว่าจะเบกิ ได้เลยหรือไม่ กรณียืมเงินไปราชการ ซ่ึงค่าใช้จ่ายในการยืมครง้ั นี้ ได้รวมค่าบัตรโดยสารเครอ่ื งบินไวด้ ้วย ต่อมาผู้ยืมได้ จ่ายเงินสารองค่าบัตรโดยสารเคร่ืองบินไปก่อน (บัตรเครดิต) ก่อนได้รับเงินยืม สอบถามว่าการส่งใช้หลักฐานการ จ่ายครั้งน้ี จะพิจารณาหลักฐานการส่งใช้เงินยืมดังกล่าวอย่างไร ขอช้ีแจงว่า วันที่จ่ายเงินยืม หน่วยงานจะไม่เห็น หลกั ฐานการจ่ายคา่ บัตรโดยสารเคร่ืองบนิ แต่ถา้ มีกรณีนาเงินส่วนตัวไปสารองจ่ายก่อน กไ็ มส่ ามารถยืมเงนิ ค่าบัตร โดยสารเคร่ืองบินได้ ต้องนาหลกั ฐานค่าบัตรโดยสารเครอ่ื งบนิ ดงั กล่าว สง่ เบกิ เงนิ สด ทั้งนี้ การตรวจสอบหลักฐานส่งใช้เงินยืม ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าท่ีอาจจะไม่ได้ตรวจสอบวันที่ใน ใบเสร็จรับเงินค่าบัตรโดยสารเครื่องบิน แต่โดยหลักการของการยืมเงิน จะให้ยืมเฉพาะเท่าท่ีจาเป็น กรณีที่สารอง จ่ายเงินค่าบัตรไปก่อนที่จะรับเงินยืม น่ันหมายถึงการยืมเงินค่าบัตรโดยสารเคร่ืองบินดังกล่าว จึงไม่เข้าหลักการ ของการยืมเงิน (ไมเ่ ป็นไปตามระเบยี บกาหนด ขอ้ 59) ดงั น้ัน ผยู้ มื เงิน หรือผู้เดนิ ทางไปราชการ ควรส่งเบิกคา่ บัตร โดยสารเครื่องบนิ เปน็ เงนิ สด ไม่ควรนาหลกั ฐานดังกล่าว ไปส่งหักล้างเงินยืม ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีน้ันไปจ่าย ในกรณีมีเหตุ จาเป็นไม่สามารถเบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีน้ันได้ทัน ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของ ปีงบประมาณถัดไปได้ โดยเป็นการก่อหนี้ผูกพันตามงบประมาณรายจ่ายท่ีได้รับอนุมัติ และให้ปฏิบัติตามวิธีการที่ กระทรวงการคลังกาหนด ค่าใช้จ่ายท่ีถือเป็นรายจ่าย เมื่อได้รับแจ้งให้ชาระหนี้ หมายถึง ให้นามาเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย ประจาปีท่ีไดร้ ับแจง้ ให้ชาระหน้ี เชน่ คา่ เชา่ บ้าน เดือนตุลาคม รับหลกั ฐานการจา่ ยในเดือนตลุ าคม (เป็นค่าเชา่ บ้าน เดือน สงิ หาคม หรือ กันยายน) เปน็ ต้น ส่วนค่าใช้จ่ายที่เบิกเงินงบประมาณปีถัดไปที่นามาเบิกได้ แต่แค่เฉพาะค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นในเดือน กันยายน เท่าน้ัน ได้แก่ ค่าน้ามันเช้ือเพลิง ตามหนังสือเวียนกระทรวงการคลัง ท่ี กค 0502/ว 178 ลงวันที่ 12 พฤศจกิ ายน 2535 เรื่อง คา่ ใชจ้ า่ ยทีใ่ หถ้ ือว่าเปน็ รายจ่ายเม่อื ไดร้ บั แจ้งใหช้ าระหน้ี สรุปผลการเรียนรู้หลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 25

วธิ ีการเบิกเงินของสว่ นราชการ แบ่งเปน็ การขอเบิกเงินท่ีต้องทาตามระเบยี บพสั ดุ ได้แก่ ซ้ือทรพั ยส์ ิน จา้ งทาของหรือเชา่ ทรพั ย์สิน โดยระเบียบฯ กาหนดให้ส่วนราชการขอเบิกเงินจากคลังโดยเร็วอย่างช้า ไม่เกิน 5 วันทาการนับแต่วันท่ีได้ตรวจรับทรพั ย์สินหรอื ตรวจรับงานถูกต้องแลว้ หรือนับแต่วันทไ่ี ด้รบั แจ้งจากหน่วยงานยอ่ ย ตามระเบยี บฯ ข้อ 28 (2) วรรคสอง 1) ถ้ามีการทา PO คือ ใบส่ังซ้ือใบส่ังจ้างและมีวงเงินตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นไปหรือตามที่ กระทรวงการคลังกาหนดให้ส่วนราชการจัดทา หรือลง PO เพื่อทาการจองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจะเป็นผู้จ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการ โดยตรง 2) ไม่มีการทา PO คือ ใบสั่งซ้ือใบส่ังจ้างวงเงินน้อยกว่า 5,000 บาท ซ่ึงกรณีน้ี หน่วยงานมีสิทธิที่จะ จา่ ยเงนิ ได้ 2 แบบ คอื 2.1 จา่ ยเงนิ ผ่านบญั ชสี ่วนงาน แลว้ ให้จ่ายเงินใหเ้ จ้าหนี้หรือผู้มีสทิ ธิรบั เงนิ ตอ่ ไป หรือ 2.2 หากสว่ นงาน ต้องการให้จ่ายเงนิ เขา้ บัญชีให้กับเจ้าหน้ีหรอื ผู้มสี ทิ ธิรบั เงนิ ของสว่ นงานโดยตรง หมวด 4 การจา่ ยเงนิ ของสว่ นราชการ หลกั เกณฑ์การจ่ายเงิน 1. ต้องมีกฎหมายระเบียบข้อบังคับคาส่ังกาหนดไว้หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้ หรือตามที่ ไดร้ ับอนุญาตจากกระทรวงการคลงั และ 2. ให้ผมู้ อี านาจอนมุ ัติ สง่ั อนมุ ัตกิ ารจ่ายเงินพร้อมกับลงลายมือชื่อในหลักฐานการจ่าย หรือหลักฐานการ ขอรับชาระหน้ีทุกฉบับหรือจะลงลายมอื ชอ่ื อนุมตั ิในหนา้ งบหลักฐานการจ่ายก็ได้ 3. การจา่ ยเงนิ ตอ้ งมีหลักฐานการจา่ ยไวเ้ พอื่ ประโยชนใ์ นการตรวจสอบทุกคร้งั 4. การจ่ายเงิน โดยที่ยังไม่ได้มีการจ่ายเงินให้แก่เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิรับเงิน ห้ามมิให้ผู้มีหน้าท่ีจ่ายเงิน เรียกหลกั ฐานการจ่าย หรอื ให้ผรู้ ับเงนิ ลงลายมอื ชอ่ื รับเงินในหลกั ฐาน 5. ให้เจ้าหน้าท่ีผู้จ่ายเงิน ประทับตราข้อความว่า “จ่ายเงินแล้ว” โดยลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายเงิน และระบุช่ือผู้จ่ายเงินด้วยตัวบรรจง พร้อมท้ังวัน เดือน ปี ที่จ่ายกากับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ เพ่ือ ประโยชน์ในการตรวจสอบ 6. ในกรณีที่หลักฐานการจ่ายเป็นภาษาต่างประเทศ ให้มีคาแปลเป็นภาษาไทยตามรายการและให้ผู้ใช้ สทิ ธขิ อเบกิ เงินลงลายมอื ชอื่ รบั รองคาแปลดว้ ย 7. เงินประเภทใดซ่ึงโดยลักษณะจะต้องจ่ายประจาเดือนในวันทาการส้ินเดือน ให้ส่วนราชการส่งคาขอ เบิกเงนิ ภายในวนั ที่ 15 ของเดือนน้นั หรือตามทีก่ ระทรวงการคลงั กาหนด 8. การจ่ายเงิน ถ้าหน่วยงานยังไม่ได้มีการจ่ายเงิน ให้แก่เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิรับเงิน ห้ามเรียกหลักฐาน การจา่ ย หรือให้ผ้รู ับเงินลงลายมอื ชอื่ รับเงนิ ในหลกั ฐาน สรุปผลการเรยี นรู้หลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 26

9. ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบานาญ หรือเบ้ียหวัด ไม่สามารถมารับเงินได้ด้วย ตนเอง จะมอบฉันทะให้ผู้อ่ืนเป็นผู้รับเงินแทนได้ โดยใช้ใบมอบฉันทะตามแบบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด ซึ่ง หน่วยงานจะจ่ายเป็นเงินสด หรือจ่ายเป็นเช็ค ก็ได้ แต่ถ้าต้องการให้จ่ายเป็นเช็ค เลือกที่จะสั่งจ่ายในนามผู้มอบ ฉนั ทะ หรอื ผรู้ บั มอบฉนั ทะ ก็ได้ หลักฐานการจ่าย หลักฐานที่การจ่ายเงิน หมายความว่า หลักฐานท่ีแสดงว่าได้มีการจ่ายเงินให้แก่ผรู้ ับเงินหรือเจ้าหนี้ ตาม ขอ้ ผูกพันโดยถูกต้องแล้ว **การจ่ายเงนิ ตอ้ งไดร้ ับใบเสรจ็ รับเงนิ และใบเสรจ็ รบั เงนิ ตอ้ งมีรายการ ดงั นี้ (1) ชื่อ สถานที่อยู่ หรือทที่ าการของผรู้ ับเงิน (2) วนั เดือน ปี ที่รับเงนิ (3) รายการแสดงการรบั เงินระบุว่าเป็นค่าอะไร (4) จานวนเงินทงั้ ตวั เลขและตวั อกั ษร (5) ลายมอื ช่ือของผรู้ ับเงนิ * ถ้าผู้ท่ีจะรับเงินไม่มีใบเสร็จรับเงิน และจ่ายเงินจากส่วนราชการ หน่วยงานจะออกใบสาคัญรับเงินให้ผู้รับเงินลง ช่อื รับเงนิ กรณีข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้างของส่วนราชการ จ่ายเงินไปโดยได้รับใบเสร็จรับเงิน ซ่ึงมี รายการไมค่ รบถ้วน ตามรายการขา้ งตน้ หรอื ซ่ึงตามลกั ษณะไม่อาจเรียก ใบเสรจ็ รับเงนิ จากผู้รับเงินได้ เชน่ ยืมเงิน ไปจ่ายค่าพาหนะ (Taxi) เดินทางไปราชการ หรือ จ่ายสารองส่วนตัวไปก่อน ก็ให้ทาใบรับรองการจ่ายเงิน หรือ ปัจจุบนั ทเี่ ราใช้คอื บก111 ใบรบั รองแทนใบเสรจ็ รบั เงิน กรณใี บเสรจ็ รับเงนิ หาย ให้ใช้สาเนาใบเสรจ็ รับเงนิ ซงึ่ ผรู้ ับเงินรบั รองเปน็ เอกสารประกอบการขอเบิกเงิน แทนได้ แตถ่ ้าขอสาเนาใบเสร็จไม่ได้ ใหท้ าใบรับรองการจ่ายเงิน โดยชแ้ี จงเหตุผลว่าสูญหายไปอย่างไร หรือไม่อาจ ขอสาเนาใบเสร็จรับเงินได้ และรับรองว่ายังไม่เคยนาใบเสร็จรับเงินน้ันมาเบิกจ่าย แม้พบภายหลังจะไม่นามา เบิกจ่ายอกี แล้วเสนอปลัดกระทรวง เพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติ ต่อไป การจ่ายเงินจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ให้เป็นไปตามหนังสือเวียนกระทรวงการคลังด่วน ที่สุด ที่ กค.0402.2/ว 3 ลงวันที่ 30 มกราคม 2562 เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบตั ิในการจ่ายเงิน การรับเงินและ การนาเงินส่งคลังของส่วนราชการผ่านระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) เพ่ิมเติม และหนังสือเวยี น กระทรวงการคลังด่วนทส่ี ุด ท่ี กค 0402.2/ว 103 ลงวันที่ 1 กนั ยายน 2559 เร่อื ง หลักเกณฑแ์ ละวิธีปฏิบัติในการ จ่ายเงนิ การรบั เงินและการนาเงนิ สง่ คลงั ของส่วนราชการผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) สรุปผลการเรียนรูห้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 27

วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงนิ 1. การจ่ายเงินให้จ่ายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ให้แก่ผู้มีสิทธิรับเงินที่เป็นข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบานาญ ผู้รับเบ้ียหวัด หรือบุคคลภายนอก รวมทั้งการจ่ายเงินเพ่ือชดใช้คืนเงินทด รองราชการ ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ตั ิท่ีกระทรวงการคลังกาหนด 2. การจ่ายเงินเป็นเช็คหรือเงินสด ให้กระทาได้เฉพาะในกรณีที่มีเหตุขัดข้องหรือมีความจาเป็นเร่งด่วน ซงึ่ ไมส่ ามารถดาเนนิ การตามขอ้ 1 ได้ 3. ในกรณีท่ตี ้องจา่ ยเงินเปน็ เชค็ ใหเ้ ขียนเช็คสงั่ จา่ ย ดงั น้ี 3.1 การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงิน ในกรณีซ้ือทรัพย์สิน จ้างทาของ หรือเช่า ทรัพย์สนิ ให้ออกเช็คส่ังจา่ ยในนามของเจ้าหน้หี รอื ผูม้ ีสิทธริ ับเงิน โดยขดี ฆ่าคาว่า “หรือผ้ถู ือ” ออกและขีดครอ่ ม 3.2 การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงิน นอกเหนือจากข้อ 3.1 ให้ออกเช็คส่ังจ่ายในนาม ของเจ้าหนีห้ รือผมู้ สี ทิ ธริ ับเงนิ โดยขดี ฆา่ คาว่า “หรอื ผถู้ ือ” และจะขดี คร่อมหรอื ไมก่ ็ได้ 3.3 ในกรณีสั่งจ่ายเงินเพ่ือขอรับเงินสดมาจ่าย ให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าท่ีการเงินของ ส่วนราชการ และขีดฆ่าคาวา่ “หรอื ผถู้ อื ” ออก ห้ามออกเช็คสง่ั จา่ ยเงนิ สด 3.4 ห้ามลงลายมือช่อื ส่ังจ่ายเชค็ ไวล้ ่วงหน้า โดยยังมไิ ดม้ กี ารเขยี นหรือพิมพช์ อื่ ผู้รบั เงนิ หมวด 5 การเบิกจ่ายเงนิ ยมื ของส่วนราชการ (ขอ้ 55-68) การจ่ายเงินยืมจะจ่ายได้แต่เฉพาะผู้ยืมตามสัญญาการยืมเงิน และผู้มีอานาจได้อนุมัติแล้ว โดยจ่ายผ่าน ระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Payment) ตามหลักเกณฑ์วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ี่กระทรวงการคลังกาหนด อนมุ ัตใิ ห้ยมื เฉพาะเท่าทจ่ี าเปน็ และหากผยู้ ืมไมไ่ ดค้ นื เงนิ ยมื ทเ่ี คยยมื ไว้เดิม กไ็ ม่สามารถยืมเงินใหมไ่ ด้ อนุมัติให้ยืมเงิน ให้ใช้ดุลพินิจให้ยืมได้เท่าท่ีจาเป็นเร่งด่วน และเหมาะสม โดยผู้ยืมต้องประมาณการ ค่าใช้จ่ายในการยืมเงิน เพื่อใช้ในราชการ เช่น ค่าพาหนะ ค่าเบ้ียเล้ียง ค่าที่พัก ให้เป็นไปตามสิทธิ รวมเป็น คา่ ใช้จ่ายทค่ี านวณได้ เพอ่ื นาไปทาสัญญาการยมื เงนิ กรณีท่ีต้องจา่ ยเงนิ ยืมในการปฏบิ ัติงานทค่ี าบเกี่ยวจากปีงบประมาณปจั จบุ นั ไปถึงปีงบประมาณถดั ไป ให้ เปน็ เงินยืมค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ ให้ใช้จ่ายได้ไม่เกิน 90 วันนับแตว่ นั เรม่ิ ตน้ งบประมาณใหม่ เงินยมื ปฏิบัตริ าชการอ่ืนๆ ให้ใช้จา่ ยไดไ้ มเ่ กิน 30 วนั นับแตว่ นั เริ่มต้นปีงบประมาณใหม่ การจ่ายเงินยืมเพื่อเป็นค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ ในราชอาณาจักร ใหจ้ า่ ยได้สาหรับระยะเวลา การเดินทางท่ีไม่เกิน 90 วัน หากมีความจาเป็นจะต้องจ่ายเกินกว่ากาหนดเวลาดังกล่าว ส่วนราชการจะต้องขอทา ความตกลงกบั กระทรวงการคลงั กอ่ น ใหผ้ ู้ยมื ส่งหลักฐานการจ่ายและเงนิ เหลอื จา่ ยทย่ี มื ไป (ถ้ามี) ภายในกาหนด ระยะเวลา ดงั นี้ สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 28

1) กรณีเดินทางไปประจาต่างสานักงาน หรือการเดินทางไปราชการประจาในต่างประเทศ หรือกรณี เดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม ให้ส่งแก่ส่วนราชการผู้ให้ยืมโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับ เงิน 2) กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทง้ั การเดินทางไปราชการต่างประเทศช่วั คราว ใหส้ ง่ แก่สว่ นราชการผู้ ใหย้ ืมภายใน 15 วันนับแตว่ นั กลับมาถงึ 3) การยืมเงินเพื่อปฏบิ ัติราชการนอกจาก (1) หรือ (2) ใหส้ ง่ แก่สว่ นราชการผู้ให้ยืมภายใน 30 วนั นับแต่ วันไดร้ ับเงนิ ในกรณีท่ีผู้ยืมได้ส่งใช้คืนเงินยืมแล้ว หน่วยงานตรวจสอบแล้วมีเหตุต้องทักท้วง ต้องแจ้งข้อทักท้วงให้ผู้ ยืมทราบโดยดว่ น แล้วให้ผู้ยืมปฏิบัติตามคาทักทว้ งภายใน 15 วนั นับแตว่ ันที่ไดร้ บั คาทกั ท้วง เมอ่ื ผยู้ มื ส่งหลักฐานการจา่ ยและ/หรือเงนิ เหลือจ่ายทย่ี ืม (ถ้าม)ี ใหเ้ จา้ หน้าทผี่ ู้รับคืน บันทึกการรบั คืนใน สญั ญาการยมื เงนิ และพิมพ์หลกั ฐานการรับเงนิ คืนจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ตามท่ีกระทรวงการคลัง กาหนด และ/หรอื ออกใบรบั ใบสาคัญตามแบบทีก่ รมบญั ชีกลางกาหนด ใหผ้ ูย้ ืมไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน หมวด 6 การรบั เงนิ ของสว่ นราชการ ใบเสร็จรับเงิน 1) ใบเสร็จรับเงิน ให้ใช้ตามแบบที่กระทรวงการคลัง กาหนดและให้มีสาเนาเย็บติดไว้กับเล่มอย่างน้อย หนึง่ ฉบับ หรอื ตามแบบท่ีไดร้ ับความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลัง 2) การจ่ายใบเสร็จรับเงิน ให้หนว่ ยงานหรือเจา้ หน้าท่ีไปจดั เกบ็ เงนิ ใหพจิ ารณาจ่ายในจานวนทีเ่ หมาะสม แกล่ กั ษณะงานทปี่ ฏิบตั ิ และให้มหี ลกั ฐานการรบั สง่ ใบเสรจ็ รบั เงินนั้นไวด้ ้วย 3) ใบเสร็จรับเงินเล่มใด เม่ือไม่มีความจาเป็นต้องใช้ เช่น ยุบเลิกสานักงานหรือไม่มีการจดั เก็บเงนิ ต่อไป อกี ให้หวั หน้าหน่วยงานที่รับใบเสร็จนน้ั นาส่งคืนสว่ นราชการทจ่ี า่ ยใบเสรจ็ รบั เงนิ น้นั โดยดว่ น 4) เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ให้หัวหน้าหน่วยงานซ่ึงรับใบเสร็จรับเงินไปดาเนินการจัดเก็บเงิน รายงานให้ ผู้อานวยการกองคลัง หรือหัวหน้าส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาคทราบว่า มีใบเสร็จรับเงินอยู่ในความ รับผดิ ชอบเล่มใด เลขทีใ่ ดถึงเลขท่ใี ด และไดใ้ ช้ใบเสรจ็ รับเงินไปแล้วเล่มใด เลขทีใ่ ดถึงเลขที่ใด อย่างชา้ งไมเ่ กินวันท่ี 31 ตุลาคมของปงี บประมาณถดั ไป 5) ใบเสร็จรับเงินเล่มใด สาหรับรับเงินของปีงบประมาณใด ให้ใช้รับเงินภายในปีงบประมาณน้ัน เม่ือข้ึน ปงี บประมาณใหม่ ให้ใชใ้ บเสรจ็ รบั เงินเลม่ ใหม่ ใบเสรจ็ รับเงินฉบบั ใดยงั ไม่ใชใ้ หค้ งติดไว้กับเล่มแต่ให้ปรุ เจาะรู หรือ ประทบั ตราเลกิ ใช้ เพอ่ื ให้เปน็ ทีส่ ังเกตมิให้นามารับเงนิ ไดอ้ ีกต่อไป 6) หากใบเสร็จรบั เงนิ ฉบบั ใดลงรายการรับเงนิ ผดิ พลาด ให้ขีดฆา่ จานวนเงินและเขยี นใหมท่ ั้งจานวนโดย ให้ผู้รับเงินลงลายมือช่ือกากับการขีดฆ่าน้ันไว้ หรือขีดฆ่าเลิกใช้ใบเสร็จรับเงินนั้นทั้งฉบับแล้วออกฉบับใหม่ โดยให้ นาใบเสร็จรบั เงินทขี่ ีดฆา่ เลกิ ใชน้ นั้ ตดิ ไว้กบั สาเนาใบเสรจ็ รบั เงินในเลม่ สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผ้บู ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 29

การรับเงนิ 1) การรบั เงนิ ให้รับผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Payment) ตามหลักเกณฑว์ ิธีปฏิบตั ิทกี่ ระทรวงการคลัง กาหนด เว้นแต่กรณีท่ีมีเหตุขัดข้องหรือมีความจาเป็นเร่งด่วนซึ่งไม่สามารถรับผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้รับ เปน็ เงินสดหรือเช็ค หรือเอกสารแทนตวั เงนิ อื่นท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด 2) ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มเดียวกันรับเงินทุกประเภท เว้นแต่เงินประเภทใดที่มีการรับชาระเป็นประจา และมีจานวนมากราย จะแยกใบเสร็จรับเงินเล่มหนึ่งสาหรับการรับชาระเงินประเภทนั้นก็ได้ โดยให้บันทึกข้อมูล การรับเงินในระบบภายในวันที่ได้รับเงิน และเงินประเภทใดท่ีการออกใบเสร็จรับเงินในวันหน่ึงๆ หลายฉบับ จะ รวมเงินประเภทนั้นตามสาเนาใบเสร็จรับเงินทุกฉบับมาบันทึกเป็นรายการเดียวในระบบก็ได้ โดยให้แสดง รายละเอียดว่าเป็นเงินรับตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใดและจานวนเงินรวมรับท้ังส้ินเท่าใดไว้ด้านหลังสาเนา ใบเสร็จรับเงนิ ฉบบั สุดทา้ ย 3) เมือ่ สิน้ เวลารับจ่ายเงนิ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ผู้มีหน้าท่จี ัดเก็บหรือรับชาระเงิน นาเงนิ สดหรือเช็ค หรอื เอกสาร แทนตัวเงินอ่ืนที่ได้รับพร้อมกับสาเนาใบเสร็จรับเงินและเอกสารอื่นที่จัดเก็บในวันน้ันท้ังหมดส่งต่อเจ้าหน้าที่ การเงินและส่วนราชการนั้น หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของส่วนราชการ สถานที่เก็บรักษาเงนิ ให้ส่วนราชการเก็บรักษาเงินที่จัดเก็บหรือได้รับเป็นเงินสดหรือเช็คหรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น ไว้ในตู้ นริ ภัยซึ่งต้ังอยใู่ นที่ปลอดภัยของส่วนราชการ โดยตู้นิรภัยให้มลี ูกกุญแจอยา่ งน้อยสองสารับ แตล่ ะสารับไมน่ ้อยกว่า สองดอกแตไ่ มเ่ กนิ สามดอก โดยแตล่ ะดอกต้องมลี ักษณะต่างกนั โดยสารับหน่งึ มอบให้กรรมการเก็บรักษาเงิน ส่วน สารบั ท่ีเหลือใหน้ าฝากเกบ็ รักษาไว้ในลักษณะหบี ห่อ ณ สถานทที่ ่ปี ลอดภัย กรรมการเกบ็ รักษาเงิน 1) ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการ ซ่ึงดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบตั กิ าร หรือประเภททว่ั ไป ระดับปฏบิ ัติงาน หรอื เทยี บเทา่ ข้นึ ไป อย่างนอ้ ยสองคน เปน็ กรรมการเกบ็ รักษาเงนิ 2) ให้กรรมการเก็บรักษาเงินถือลูกกุญแจตู้นิรภัยคนละหนึ่งดอก ในกรณีที่ตู้นิรภัยมีลูกกุญแจสามดอก และมีกรรมการเก็บรักษาสองคน ให้กรรมการเก็บรักษาเงินถือลูกกุญแจคนละดอก ส่วนลูกกุญแจท่ีเหลือให้อยู่ใน ดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการทีจ่ ะมอบให้กรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ ผใู้ ดถือลูกกญุ แจน้นั 3) ถ้ากรรมการเก็บรักษาเงินผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้หัวหน้างานราชการพิจารณาแต่งตั้ง ข้าราชการตามข้อ 1 ปฏิบัติหน้าท่ีกรรมการเก็บรักษาเงินแทนให้ครบจานวน การแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าท่ีกรรมการ เกบ็ รกั ษาเงินแทนจะแตง่ ตั้งไวเ้ ปน็ การประจากไ็ ด้ สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 30

การเกบ็ รักษาเงิน 1) ในกรณที ่ีวนั ใดไม่มีรายการรับจ่ายเงิน จะไม่ทารายงานเงินคงเหลือประจาวนั สาหรับวันน้ันก็ได้ แต่ให้ หมายเหตุไวใ้ นรายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั ทม่ี กี ารรับจา่ ยเงนิ ของวนั ถัดไปด้วย 2) เมอื่ สิ้นเวลารบั จ่ายเงนิ ให้เจา้ หนา้ ท่ีการเงินนาเงนิ ที่จะเก็บรกั ษา และรายงานเงินคงเหลือประจาวันส่ง มอบให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงินร่วมกันตรวจสอบตัวเงิน และเอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือ ประจาวัน เมื่อปรากฏว่าถูกต้องแล้ว ให้เจ้าหน้าท่ีการเงินนาเงินและและเอกสารแทนตัวเงินเก็บรักษาในตู้นิรภัย และให้กรรมการเก็บรักษาเงินทุกคนลงลายมือช่ือในรายงานเงินคงเหลือประจาวันไว้เป็นหลักฐาน และเสนอ หัวหน้าสว่ นราชการเพื่อทราบ หมวดที่ 8 การนาเงินส่งคลงั และฝากคลงั การนาเงินสง่ คลังหรือฝากคลงั กาหนดเวลานาเงนิ สง่ คลงั หรือฝากคลงั ของส่วนราชการ 1. เช็ค/เอกสารแทนตวั เงนิ อืน่ - วนั ที่ได้รบั หรอื อยา่ งชา้ ภายในวนั ทาการถดั ไป 2. เงินรายไดแ้ ผ่นดนิ ทร่ี บั เปน็ เงินสด - อย่างน้อยเดอื นละครั้ง ถา้ เกนิ หมื่นบาทนาส่งโดยด่วน ไมเ่ กิน 3 วันทาการ 3. เงนิ รายได้แผ่นดนิ ที่รับดว้ ยระบบ e-Payment - วนั ทาการถัดไปหรอื ตามท่กี ระทรวงการคลงั กาหนด 4. เงนิ เบิกเกนิ สง่ คืน/เงินเหลอื จ่ายปี เก่าสง่ คนื ที่รับเป็น เงินสดหรอื เชค็ - ภายใน 15 วันทาการ นบั จากวันได้รบั เงนิ จากคลัง หรอื ได้รบั เงินคนื 5. เงนิ เบิกเกินสง่ คนื /เงินเหลือจา่ ยปี เกา่ ส่งคนื ท่ีรบั ผา่ นระบบ e-Payment - วนั ทาการถัดไปหรือตามทก่ี ระทรวงการคลงั กาหนด 6. เงินนอกงบประมาณทรี่ บั เป็นเงินสด - อย่างน้อยเดอื นละ 1ครง้ั 7. เงินนอกงบประมาณเบกิ จากคลังเพ่ือรอการจ่าย - ภายใน 15 วนั ทาการนับจากวันรับเงนิ จากคลงั สรปุ ผลการเรยี นร้หู ลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 31

การนาเงนิ ส่งคลงั หรือฝากคลงั ผ่านระบบ KTB Corporate Online  บญั ชที ีข่ อเปิดใช้บริการนาเงินส่งคลัง ผา่ นระบบ KTB Corporate Online (GFMIS)  บัญชที ่ีเปิดสาหรับรับชาระเงิน (Bill Payment)  บญั ชเี งินฝากธนาคารอนื่ ๆ ทสี่ ว่ นราชการใชใ้ นการรบั เงินตามที่กระทรวงการคลงั กาหนดหรือท่ี ได้รบั อนุมัตจิ ากกระทรวงการคลัง  ประเภทการนาเงนิ สง่ คลังหรือฝากคลงั ผา่ นระบบ KTB Corporate Online  การนาสง่ เงนิ รายได้แผ่นดนิ  การนาสง่ เงินรายไดแ้ ผน่ ดนิ แทนกัน  การนาเงนิ นอกงบประมาณฝากคลงั และ  การนาเงนิ นอกงบประมาณฝากคลังแทนกัน  การดาเนินการนาเงนิ ส่งคลังหรือฝากคลงั ผ่านระบบ KTB Corporate Online  เลือกหมายเลขบญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร  ระบปุ ระเภทและจานวนเงินทีจ่ ะนาส่งคลงั หรอื ฝากคลงั  เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบัญชีกลางหรือสานักงานคลังจังหวัด เพื่อรับเงินของ หน่วยงานภาครัฐ  พิมพห์ นา้ จอการทารายการสาเร็จจากระบบ KTB Corporate Online  ทุกสน้ิ วันทาการให้ตรวจสอบการนาเงนิ สง่ คลงั หรือฝากคลังจาก  เอกสารทพี่ มิ พจ์ ากหนา้ จอการทารายการสาเรจ็ และ  รายการสรปุ ความเคล่อื นไหวทางบญั ชี (e-Statement/Account Information) การนาเงินส่งคลังในระบบ GFMIS จดั ทา Pay-in Slip ที่มี Barcode เพือ่ นาฝากเงนิ สด/เชค็ เขา้ กรมบญั ชีกลางหรือสานักงานคลังจังหวัด หมวดที่ 9 การกันเงนิ ไวเ้ บกิ เหล่อื มปี หลกั เกณฑ์ หน่วยงานของรัฐใดได้ก่อหน้ีผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณและมีวงเงินตั้งแต่หนึ่งแสนบาทข้ึนไปหรือ ตามที่กระทรวงการคลังกาหนด กรณีท่ีไม่สามารถเบิกเงินไปชาระหนี้ได้ทันสิ้นปีงบประมาณให้ขอกันเงินไว้เบิก เหล่ือมปีต่อไปไดอ้ ีกไมเ่ กนิ หกเดอื นของปงี บประมาณถัดไป เว้นแต่ มีความจาเป็นต้องขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกล่าว ให้ขอทาความตกลงกับ กระทรวงการคลงั เพ่อื ขอขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินหกเดือน ต้อง ดาเนินการกอ่ นสนิ้ ปงี บประมาณ สรุปผลการเรยี นรู้หลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 32

หมวดท่ี 10 หนว่ ยงานยอ่ ย การเบิกเงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธปี ฏิบตั ทิ ก่ี ระทรวงการคลังกาหนด หมวดท่ี 11 การควบคุมและตรวจสอบของหนว่ ยงานผู้เบิกที่เปน็ สว่ นราชการ - ทุกสิ้นวันทาการ ให้เจ้าหน้าท่ีการเงินของส่วนราชการตรวจสอบจานวนเงินสด และเช็คคงเหลือกับ รายงานเงนิ คงเหลือประจาวันทก่ี รมบัญชกี ลางกาหนด - กรณีการรับจ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ให้ส่วนราชการจัดให้มีการตรวจสอบ การรบั ใหห้ น่วยงานผูเ้ บกิ ทีเ่ ปน็ สว่ นราชการมีหนา้ ทีใ่ ห้คาชแี้ จงและอานวยความสะดวก แก่เจา้ หนา้ ทีข่ องสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดนิ ในการตรวจสอบรายงานการเงินและหลักฐานการจ่าย - เมอื่ ปรากฏว่าส่วนราชการแหง่ ใดปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับการเบกิ เงินจากคลงั การรบั เงนิ การจา่ ยเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการนาเงินส่งคลังไม่ถูกต้องตามระเบียบ ให้หัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรม หรือผู้ว่าราชการจังหวัด แลว้ แตก่ รณี พิจารณาสง่ั การใหป้ ฏบิ ตั ิใหถ้ กู ตอ้ งโดยดว่ น - หากปรากฏว่าเงินในความรับผิดชอบของส่วนราชการแห่งใดขาดบัญชี หรือสูญหาย เสียหายเพราะ การทุจริต หรือมีพฤติการณ์ที่ส่อไปในทางไม่สุจริตหรือเพราะเหตุหน่ึงเหตุใดซ่ึงมิใช่กรณีปกติ ให้หัวหน้าส่วน ราชการระดับกรมหรือผ้วู ่าราชการจังหวดั แลว้ แตก่ รณี รีบรายงานพฤติการณ์ ให้กระทรวงเจา้ สงั กัดทราบโดยด่วน และดาเนนิ การสอบสวนหาตัวผู้รบั ผิดตามหลักเกณฑท์ ่กี าหนดไว้ สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 33

หัวข้อ การบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นการเงินบญั ชแี ละพัสดุ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. วทิ ยากร คุณกฤตยา วลั อาจ รปู แบบการนาเสนอ การบรรยาย สรุปประเด็นสาคญั ประเด็นความเสี่ยง ดา้ นการเงิน 1. ไม่นาเงินเก็บรักษาไวใ้ นตู้นริ ภัยของทางราชการ (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 ขอ้ 84) 2. กรรมการเก็บรักษาเงินไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามคาสั่ง/ระเบียบ (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ เบิกเงนิ จากคลังฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 86) 3. เกบ็ รกั ษาเงนิ ไวเ้ กินวงเงนิ ท่ไี ด้รบั อนญุ าต (กค 0526.9/ ว 107 ลงวันที่ 27 กันยายน 2543) 4. เบิกจ่ายเงินงบประมาณล่าช้า/ขา้ มปีงบประมาณ(ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิกเงินจาก คลังฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 23) 5. เงนิ งบประมาณทเ่ี บิกมาไม่ไดจ้ า่ ยหรือจ่ายไม่หมดไม่นาส่งคนื คลังภายใน 15 วนั ทาการนับแต่วันรับ เงินจากคลัง (ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบิกเงนิ จากคลังฯ พ.ศ. 2562 ขอ้ 99) 6. รายได้แผ่นดินนาส่งคลังล่าช้าตามระเบียบฯ อย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง แต่ถ้าส่วนราชการใดมีเงิน รายได้แผ่นดนิ เก็บรกั ษาในวันใดเกิน 10,000 บาท ให้นาส่งอย่างชา้ ไมเ่ กิน 3 วนั (ระเบียบระทรวง การคลงั วา่ ด้วยการเบิกเงินจากคลังฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 101 (2)) 7. ไม่ได้จัดทารายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน ประจาปีการจัดทารายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินประจาปี เมื่อส้ินปีงบประมาณ อย่างช้าไม่เกินวันที่ 31 ตุลาคม ของปีงบประมาณถัดไป (ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงนิ จากคลังฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 75) 8. เงินนอกงบประมาณไม่ได้นาฝากคลังอย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง ให้นาฝากคลังอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ระเบียบระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิกเงนิ จากคลังฯ พ.ศ. 2562 ขอ้ 100 (5) 9. หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงินบางรายการไม่ประทับตรา ข้อความ “จ่ายเงินแล้ว ” และลง ลายมือช่ือจ่ายเงินด้วยตัวบรรจงกากับไว้ พร้อมทั้ง วัน /เดือน/ปี ท่ีจ่ายกากับไว้ในหลักฐานการ จา่ ยเงินทกุ ฉบบั ระเบียบระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบิกเงนิ จากคลังฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 42 (4) 10. การแต่งตั้งผ้ปู ฏบิ ัตหิ นา้ ท่กี รรมการเกบ็ รักษาเงินแทน จะแตง่ ตัง้ ไว้เป็นการประจากไ็ ด้ สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสูตรผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 34

11. การจา่ ยเงินยืม (ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบกิ เงนิ จากคลงั ฯ พ.ศ. 2562 ขอ้ 65 – 68) - สญั ญาเงินยืมสว่ นใหญ่ไมร่ ะบวุ นั ส่งใช้เงนิ ยมื - สง่ ใช้คืนเงนิ ยมื ลา่ ชา้ - ไมอ่ อกใบรับใบสาคญั เมอ่ื ผู้ยมื สง่ คนื เงนิ ยืม - ยืมเงนิ ในโครงการมีการจัดซอ้ื วัสดุสานักงาน คา่ ถ่ายเอกสาร คา่ จ้างเหมาบริการ 12. การจ่ายเงินค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข ค่าบริการ สื่อสารและโทรคมนาคม ไม่จ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารกับเจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิโดยตรง ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบิกเงนิ จากคลงั ฯ พ.ศ. 2562 ขอ้ 29 (1) 13. การเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง ตรวจรับทุกคร้ังท่ีมีการเติมน้ามัน กค (กวพ) 0421.3/ว 462 ลงวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2555 ยกเว้นไม่ต้องลง e-gp เบิกค่าท่ีพักในการฝึกอบรม ใช้อัตราเหมาจ่าย ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุมระหว่าง ประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 และ กค 0406.4/ ว 5 ลงวนั ท่ี 14 มกราคม 2556 14. การเดนิ ทางไปราชการโดยใช้รถสว่ นกลางไม่ระบุช่ือพนกั งานขับรถ หมายเลขทะเบียนรถ และไม่ได้ ขออนุมัติเดินทางไปราชการหรือไม่ครอบคลุมวันเดินทาง พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดินทางไป ราชการ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2548 มาตรา 8 ไม่มีการลงนาม ผู้รับเงิน ผู้ส่งเงิน และผู้ตรวจสอบ ด้านหลังใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้ายระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง ฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 82 และ 83 15. เอกสารประกอบการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ไมค่ รบถว้ นถกู ต้อง 16. มกี ารเขียนรายงานการเดนิ ทางไปราชการกอ่ นเวลาการอบรมไม่เหมาะสม ด้านบญั ชเี กณฑ์คงค้าง 1. บันทึกบญั ชีไมถ่ กู ต้อง 2. บนั ทึกบญั ชีไมเ่ ปน็ ปัจจบุ นั 3. จดั ทาบญั ชีไมค่ รบถว้ น เช่น ไม่บนั ทกึ จา่ ยเช็ค 4. บนั ทกึ บญั ชีโดยไม่มใี บสาคัญ เอกสารเบกิ จา่ ยทเ่ี ก่ียวข้อง 5. บนั ทึกรายการไม่ตรงกับหลักฐาน 6. จัดทารายงานการเงินสง่ ใหส้ านักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ  ประจาปภี ายใน 60 วัน  ประจาเดือน ภายในวนั ที่ 15 ของเดือนถัดไป (หนงั สือที่ กค. 0423.3/ว. 30 ลงวันที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2552) 7. จัดทารายละเอยี ดประกอบรายงานการเงินไม่ครบถ้วนหรอื ไม่ถูกต้อง สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 35

8. ไม่จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลงั ฯ พ.ศ. 2562 ข้อ 92) 9. การจดั ทางบพิสจู นย์ อดเงินฝากธนาคาร  ไมไ่ ดจ้ ัดทางบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคาร  จดั ทาลา่ ชา้  จัดทาไมถ่ ูกตอ้ ง ดา้ นบญั ชี GFMIS 1. ไมม่ เี อกสารระบตุ วั ตนการเข้าใชง้ านระบบ GFMIS 2. จัดทาคาสั่งมอบหมายการปฏิบัติหน้าท่ีในระบบ GFMIS โดยแยกผู้ที่ปฏิบัติงานออกจากกันแต่ไม่ ชัดเจน 3. ขาดการตรวจสอบรายงานขอเบิกกบั รายงานสรปุ รายงานขอเบิกประจาวัน 4. จากการตรวจสอบเอกสารจา่ ยตรงผู้ขายไม่มใี บเสรจ็ รบั เงนิ แนบเปน็ หลกั ฐานการจ่าย 5. งบทดลองระบบ GFMIS ในภาพรวมของหน่วยงานแสดงข้อมลู ทางบัญชีไม่ถกู ต้องตามดลุ บญั ชีปกติ 6. งบทดลองในระบบบญั ชเี กณฑค์ งค้างและบัญชีในระบบ GFMIS มียอดคงเหลือไม่ตรงกนั 7. ยอดเงินคงเหลอื ของบญั ชีเงินสดในมือตามงบทดลองและรายงานเงนิ คงเหลือประจาวันไม่ตรงกนั 8. ไม่ได้ดาเนินการปรับปรุงข้อมูลเงินงบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณเขา้ ระบบ GFMIS 9. งบทดลองของหน่วยงานมีบญั ชพี กั สนิ ทรพั ย์บางรายการค้างในระบบ GFMIS 10. ไมม่ ีการจัดพมิ พส์ รุปรายงานบนั ทึกบัญชใี นระบบ GFMIS ดา้ นพัสดุ การบรหิ ารพัสดุ 1. การจดั ทาทะเบยี นคุมพสั ด/ุ การบันทกึ รายการรบั - จา่ ย พัสดุ 2. การใหร้ หสั ประจาตัวครภุ ณั ฑ์ 3. การจัดเก็บ ดูแล รกั ษา 4. การใชป้ ระโยชน์ 5. การตรวจสอบพสั ดุประจาปี การรายงาน 6. พัสดุชารุด เสือ่ มสภาพ สญู หาย การควบคมุ ทวั่ ไป 1. ไม่มีการมอบหมายหน้าที่หวั หนา้ หน่วยพัสดเุ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร 2. ทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ ินและบัญชีวสั ดไุ มไ่ ดด้ าเนนิ การตามระเบยี บทกี่ าหนด ไมเ่ ปน็ ปจั จุบนั สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 36

3. ไม่ได้ทาการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP กรณีจัดซื้อ/จัดจ้างวงเงิน 5,000 บาทข้ึนไป ระเบียบ กระทรวงการคลงั ว่าด้วยการจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 205 4. สถานท่เี กบ็ รกั ษาวัสดุไมป่ ลอดภัย /ไม่เป็นสัดสว่ น /การจาหนา่ ยพสั ดไุ ม่ถูกตอ้ ง ตามระเบยี บฯ 5. การจัดทาแผนจัดซื้อยา การเพิ่มลดจานวนยา ไม่เป็นไปตามแผนและไม่มีการขออนุมัติปรับเพิ่มลด ทกุ ครงั้ 6. ไมม่ กี ารจัดทาใบเบิกพัสดุ / ใบเบกิ พสั ดุระบรุ ายละเอยี ดไมค่ รบถ้วน 7. รายงานผลการตรวจสอบพัสดปุ ระจาปลี ่าชา้ กวา่ ท่ีระเบยี บกาหนด 8. ใบเบิกวสั ดุ ผเู้ บกิ ไม่ใชห่ วั หนา้ กลมุ่ งาน/หัวหนา้ ฝ่าย และบางรายการไม่มผี ูล้ งนามอนมุ ัตกิ ารสัง่ จ่าย 9. ทะเบียนวัสดุคงทนถาวร/ทะเบียนครุภัณฑ์ กับรายงานพัสดุคงเหลือประจาปี มีรายการคลาดเคลื่อน กัน ไม่ตรงกนั ขอ้ สังเกตจากการตรวจสอบการจดั ซ้อื จัดจา้ งวธิ เี ฉพาะเจาะจง 1. จดั ทารายงานขอซอ้ื ขอจ้างไมเ่ ป็นตามระเบยี บฯ 2. ไม่จัดทารายงานขอซ้ือขอจ้างระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 22 3. ใบสงั่ ซ้อื สัง่ จา้ งไม่ระบุวันครบกาหนด ส่งผลให้การคิดค่าปรบั กรณผี รู้ ับจ้างส่งมอบพัสดไุ ม่ตรงเวลา 4. กรรมการตรวจรบั พัสด/ุ งาน ไมร่ ายงานการตรวจรบั และไม่เป็นไปตามระยะเวลาทรี่ ะเบียบกาหนด - ผ้รู ับจ้างตอ้ งมีหนงั สอื สง่ มอบงาน - ระยะเวลาในการตรวจรบั พัสดุ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - ดาเนินการตรวจรับในวันที่คู่สัญญานาพัสดุมาส่งมอบและให้ดาเนินการให้เสร็จส้ินไปโดยเร็ว ที่สดุ แตอ่ ยา่ งช้าไมเ่ กิน 5 วนั ทาการ • นร 1305/ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ จัดซือ้ จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. 2560 ขอ้ 175 (4) 5. แตง่ ตงั้ หัวหน้าเจา้ หนา้ ทพ่ี สั ดุ เจ้าหนา้ ท่พี สั ดุ เป็นกรรมการตรวจรบั 6. ดาเนินการจัดซ้ือย้อนหลัง (ซ้ือของมาก่อน แล้วดาเนินการตามระเบียบพัสดุย้อนหลัง) ระเบียบ กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจดั ซอื้ จัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ขอ้ 22 7. ไม่มีการมอบหมายหรือแต่งต้ังให้มีผู้จัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง รวมทั้งกาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอระเบียบกระทรวง การคลังวา่ ดว้ ยการจดั ซือ้ จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ้ 21 8. การแต่งต้ังคณะกรรมการซื้อหรือจ้างแต่ละคณะซึ่งแต่งต้ังจากข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงาน ราชการพนกั งานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ หรือพนกั งานของหน่วยงานของรัฐที่เรยี กชื่ออย่างอ่ืน สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 37

ไ ม่ ค า นึ ง ถึ ง ลั ก ษ ณ ะ ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ผู้ ท่ี ไ ด้ รั บ แ ต่ ง ต้ั ง เ ป็ น ส า คั ญ ร ะ เ บี ย บ กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจัดซ้อื จดั จา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ้ 26 ขอ้ สงั เกตจากการจดั ทาเอกสารเผยแพร่วิธปี ระกาศเชญิ ชวนทว่ั ไป (วิธปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์) 1. การจัดท่า แผนการจดั ซื้อจัดจ้างประจาปีไม่ครอบคลุม รายการท่ีจัดซื้อท้ังปี เผยแพร่แผนฯ เพียง รายการท่ีจะดาเนินการในชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ เท่าน้ัน 2. แผนการจัดซอ้ื จัดจา้ งประจาปี ไม่ระบรุ ะยะเวลาทคี่ าดวา่ จะจดั ซอ้ื จัดจา้ ง 3. คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติไม่ได้ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคาว่าเป็นผู้ เสนอราคาท่มี ีผลประโยชนร์ ว่ มกนั หรือไม่ 4. ไม่ประกาศรายช่ือผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองานท่ีมีสิทธิได้รับคัดเลือกไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สถานที่ทา การของส่วนราชการโดยพลันระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ้ 55 5. คณะกรรมการไมร่ ายงานผลการพิจารณาและความเหน็ ต่อหวั หนา้ ส่วนราชการ 6. สญั ญาจ้างทม่ี วี งเงนิ จดั จา้ งตง้ั แต่ 200,000.-บาทขนึ้ ไป 7. ไม่ใช้สลักหลังตราสารแต่ใช้อากรแสตมป์แทน (พันละหนึ่งบาท) เอกสารสอบราคา/ประกวดราคา ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบหุ ลกั ประกนั ไมค่ รบ หลักประกันสัญญา ประกอบด้วย - เงนิ สด - เช็คทธ่ี นาคารเซ็นสงั่ จ่าย - หนงั สือคา้ ประกันของธนาคารภายในประเทศ - หนงั สือคา้ ประกันของบรรษทั เงนิ ทุนอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย - พนั ธบัตรรฐั บาลไทย 8. หลักประกันซองและหลกั ประกนั สัญญาจานวนเงนิ ไมถ่ ึงอัตราร้อยละ ๕ ของวงเงนิ หรือราคาพัสดุท่ี จัดหาครง้ั น้นั 9. ไม่ส่งสาเนาสัญญาจ้างท่ีมีวงเงินตั้งแต่ 1,000,000.-บาทขึ้นไป ส่งสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรอื สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดินภมู ภิ าคแล้วแต่กรณี และกรมสรรพากร ภายใน 30 วนั ระเบยี บ กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ขอ้ 164, 168 10. เมื่อมีการจาหน่ายพัสดุแล้ว เจ้าหน้าที่พัสดุไม่ได้จาหน่ายพัสดุนั้นออกจากบัญชีหรือทะเบียนทันที และไมไ่ ด้แจ้งให้สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ หรือสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ ภมู ภิ าคแล้วแต่กรณี ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันลงจ่ายพัสดุ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและ การบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ข้อ 218 สรปุ ผลการเรียนร้หู ลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 38

11. หลกั ประกนั สญั ญาเป็นเงนิ สด และหนังสือค้าประกันสัญญา ครบกาหนดแลว้ แต่ยังไม่ได้ดาเนินการ สง่ คนื คสู่ ญั ญา 12. ทะเบียนคุมหลักประกันสัญญา มีรายละเอียด ไม่ครบถ้วน ทาให้ไม่สามารถทราบกาหนดการคืน หลักประกนั สัญญาที่ถกู ต้อง ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจดั จา้ งและการบริหารพัสดุ ภาครฐั พ.ศ. 2560 ข้อ 170 (2) การตรวจสอบพัสดุประจาปี 1. ตรวจสอบพสั ดุประจาปีลา่ ช้า หรือไมไ่ ด้รายงานผลตอ่ ผู้แต่งตัง้ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ข้อ 155 2. ไม่ได้จัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สิน หรือบัญชีคุมวัสดุการคานวณค่าเส่ือมราคาประจาปีไม่เป็นไปตาม อัตราท่ี สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุขกาหนด กค (กวพ) 0408.4/ว 129 ลงวนั ที่ 20 ตุลาคม 2549 สธ 0201.024.6/ว 68 ลงวันท่ี 17 กมุ ภาพันธ์ 2555 3. ไมส่ ารวจและกาหนดเกณฑ์การใชน้ า้ มันสนิ้ เปลืองเช้อื เพลิงของรถราชการทุกคัน ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 ขอ้ 10 4. การขออนญุ าตเดินทางไปราชการโดยใช้รถราชการไม่บนั ทึกใบขออนญุ าตใชร้ ถ (แบบ 3) 5. พนกั งานขบั รถไม่บนั ทกึ การใชร้ ถ (แบบ 4) ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยรถราชการ พ.ศ. 2523 ขอ้ 13 และ 14 ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยรถราชการ พ.ศ. 2523 ระเบยี บ สป. ว่าดว้ ยการใช้ รถส่วนกลางฯ พ.ศ. 2526 1. การใชร้ ถราชการ/การเก็บรกั ษา - ขออนมุ ัติใชต้ ามระเบยี บ/บันทกึ การใช้รถฯ - ใช้ในงานราชการเท่าน้นั /ไมอ่ อกนอกเสน้ ทาง - เก็บสถานทรี่ าชการ/ท่อี ่นื ช่ัวคราว ขออนุญาต 2. กรณีรถราชการเกิดอุบตั ิเหตุ - ถ่ายภาพรถ/สถานท่ีเกดิ เหตุ - รายงาน ผบ. สรปุ ผลการเรยี นรู้หลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 39

ระบบการควบคุมภายในตามหลักเกณฑป์ ฏิบัติฯ กระทรวงการคลงั พ.ศ. 2561 ความเสี่ยงระบบการควบคุมภายในตามหลัก เกณฑ์ปฏิบัติฯ กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2561 1. การจัดทาระบบการควบคุมภายในไม่ครอบคลุมกระบวนการปฏิบัติงาน/กิจกรรมในความรับผิดชอบ ของหนว่ ยงาน 2. กาหนดกระบวนการปฏิบัติงาน/กิจกรรม/โครงการไม่ชัดเจนผลกระทบกับความเส่ียงที่เหลืออยู่ และ วิธีการปรับปรุงการควบคุมไมส่ อดคล้อง ไม่ชดั เจน และไม่สมั พันธก์ ัน 3. จดั ทารายงานระบบการควบคมุ ภายในไม่ถกู ตอ้ งตามรูปแบบทกี่ าหนด (ปค.4, ปค.5) 4. คณะกรรมการระบบควบคุมภายในที่ได้รับแต่งตั้งไม่พิจารณากลั่นกรองระดับความเส่ียงของส่วนงาน ย่อย ซงึ่ ไม่สามารถแก้ไขปรับปรุงไดภ้ ายในระดบั สว่ นงานย่อยเพ่ือยกระดับเหนือช้ันข้นึ มาหน่ึงระดบั จัดส่ง ในภาพรวมของหน่วยงาน 5. ผู้บริหารไม่ให้ความสาคัญเก่ยี วกบั การจดั วางระบบควบคุมภายในและการบรหิ ารความเส่ยี ง - ผลกระทบหน่วยงานเกิดปัญหาร้องเรียนจากบุคคลภายในและภายนอกหน่วยงาน (ประชาชน) - ขาดการควบคมุ กากับ การปฏบิ ัติงานท่ดี ี สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไข 1. สาเหตุของความบกพรอ่ งต่างๆ 1. ระบบการควบคุมภายในของหนว่ ยงานไม่เหมาะสม 2. เจ้าหน้าที่ขาดความรบั ผดิ ชอบ ประมาทเลินเลอ่ ไมเ่ อาใจใส่ตอ่ การปฏิบัติงานเท่าทีค่ วร 3. เจา้ หน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ข้อบังคบั ต่างๆ ที่เก่ยี วกบั งานที่จะปฏบิ ตั ิ 4. ผบู้ รหิ ารไมไ่ ดก้ ากบั ดูแลการปฏิบัตงิ านตามทีค่ วรจะเปน็ 5. การตง้ั ใจท่ีจะไม่ปฏิบัติตามระเบยี บตา่ งๆ เพือ่ ผลประโยชน์ต่อตนเองและพวกพ้อง 6. ความตอ้ งการอยากไดใ้ นสิ่งท่ไี มใ่ ชข่ องตน (ความโลภ/ความไม่รู้จักพอ) 2. ผลกระทบ 1. ทางราชการเสยี หายจากข้อบกพร่องตา่ งๆ และทุจรติ - สูญเสยี เงินงบประมาณโดยไมจ่ าเปน็ - ใช้ประโยชน์จากพสั ดไุ มไ่ ด้ตามวัตถุประสงค์ 2. ประชาชนได้รบั ความเดอื ดรอ้ นจากการกระทาของเจา้ หน้าท่ี ของรฐั 3. ประเทศชาติไมเ่ จริญ สรุปผลการเรียนรหู้ ลักสตู รผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หนา้ 40

3. แนวทางแก้ไข 1. ให้ความรดู้ า้ นกฎหมายและระเบยี บตา่ งๆ 2. ผู้บรหิ ารให้ความสาคญั กับการควบคมุ /กากบั ดแู ล ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา 3. จัดให้มรี ะบบการควบคมุ ภายในที่ดี - การจัดแบง่ สว่ นงานทชี่ ัดเจน - มกี ารมอบหมายอานาจใหผ้ ู้รบั ผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน - มบี ุคลากรท่ีดเี หมาะสมกับงาน - มีการตรวจสอบภายใน 4. การปลูกจิตสานกึ ตัวอยา่ งการกระทาความผดิ 1. ดา้ นการเงิน - เบิกจ่ายเงินเท็จ เช่น ทาเอกสารอบรม อสม. เท็จ พาเจ้าหน้าท่ีไปเท่ียวต่างประเทศแต่ทา เอกสารเบิกว่าอบรมศึกษาดูงานท่ีภายในประเทศ - ปลอมเอกสารเบกิ จ่าย เชน่ ปลอมลายมอื เบิกเงนิ ค่าตอบแทน อสม./คา่ ทาความสะอาด รพ.สต. - ยกั ยอกเงนิ จากใบถอนเงิน/เชค็ /ใบเสรจ็ และอ่นื ๆ 2. การจัดซอ้ื /จัดจ้าง - ตรวจรบั การจดั ซ้อื เท็จ - ซ้ือยาและเคร่ืองมือแพทย์แพง - ซื้อยาลม 3. เบกิ จ่ายเงนิ โดยผดิ กฎหมาย/ระเบยี บ - เบกิ จา่ ยคา่ ตอบแทนโดยทางานไมค่ รบ - เบกิ OTเป็นเท็จ สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 41

คุณธรรม/จริยธรรม คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 “มาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการหรือเจ้าหนา้ ที่ของรัฐ แต่ละประเภทให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ท่ีกาหนดข้ึน” ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 5 พฤศจิกายน 2552 ต้องยึดมั่นใน ค่านยิ มหลกั ของมาตรฐานจรยิ ธรรม 9 ประการ 1) การยดึ มนั่ ในคุณธรรมและจริยธรรม 2) การมีจติ สานึกท่ีดี ซ่อื สัตย์ สจุ ริต และรับผดิ ชอบ 3) การยดึ ถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนอื กวา่ ประโยชนส์ ่วนตนและไม่มผี ลประโยชนท์ ับซ้อน 4) การยืนหยดั ทาในสง่ิ ท่ีถูกต้อง 5) การใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนดว้ ยความรวดเรว็ มีอธั ยาศัยและไม่เลือกปฏิบัติ 6) การใหข้ อ้ มูลข่าวสารแกป่ ระชาชนอยา่ งครบถ้วน ถูกต้อง และไมบ่ ดิ เบือนขอ้ เทจ็ จรงิ 7) การมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน รกั ษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ 8) การยดึ มนั่ ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 9) การยดึ มั่นในหลกั จรรยาวชิ าชพี ขององคก์ ร สรปุ ผลการเรียนรหู้ ลักสูตรผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 42

หวั ข้อ หลมุ พลางทางการบรหิ าร วนั ท่ี 14 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. วิทยากร ดร.สชุ าติ คา้ ทางชล รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย สรุปประเดน็ สาคัญ หลุมพรางทางการบริหาร เป็นพฤติกรรมของการทางานของผู้บรหิ ารที่ไม่สมควรและไม่ถูกต้อง ที่ปฏิบัติ ตัวจนเคยชิน เกิดจากความคิด ความรู้สึก ความเช่ือ กิเลสตัณหา การควบคุมอารมณ์ในด้านต่างๆ โดยไม่รู้ว่าส่ิงที่ ทานั้นไม่ถกู ตอ้ ง หรือรแู้ ต่ยังมีพฤติกรรมดังกลา่ ว หลุมพรางที่เกดิ ข้นึ ได้แก่ 1. หลุมหลงตัวเอง เป็นผู้บริหารท่ชี ่ืนชมตัวเอง โดยคิดว่าตัวเองเก่งและมีความสามารถกวา่ ใคร ยึดติด วา่ ตวั เองอาวุโส ไมม่ ีความมัน่ ใจและไม่ไวใ้ จคนอนื่ หลีกเลยี่ งงานโดยอาศัยระบบ ชอบคนประจบสอพลอ 2. หลุมชัยชนะ เป็นผู้บริหารท่ีสร้างผลงานมากเกินไป ต้องเป็นผู้ชนะตลอดทุกเรื่อง เป็นคนที่มี ความเครียดและอยู่ในภาวะกดดันรอบด้าน แพไ้ ม่เปน็ โหมงานโดยไมร่ ้จู กั เวลา 3. หลุมความคิด เป็นผู้บริหารท่ีมองข้ามความบกพร่องของคนและงาน คิดบวกมากเกินไป ไม่มอง ข้อผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดขึ้นตามมา ผิดพลาดในเร่ืองการบริหารความเส่ียง หรือคิดลบจนเกินไปไม่ศรัทธาใน ความคิด ไมส่ ู้งานท้อถอยเม่ือเจอปญั หา เฉือ่ ยชา หมดไฟ 4. หลุมความกลวั กลัวเกือบทกุ เรอื่ งในการกระทา กลัวการขดั แย้งกับลกู นอ้ ง กลัวถกู ตาหนิ ขาดความ ม่ันใจ ไม่กล้าเสนองาน คิดว่าเขามีอานาจมากกว่า หลงใหลนักการเมือง ทาตามเพราะความกลัวผิดๆ ถือแม้ว่ามัน ไม่ถกู ตอ้ ง ไมก่ ลา้ โต้แยง้ ทงั้ ท่ตี ัวเองกาลงั \"เสียเปรียบ” ส่วนใหญม่ ักจะปลอ่ ย ให้อกี ฝ่ายเป็น\"คนคุมเกม\" 5. หลมุ ความเชอ่ื  ยดึ ติดรูปแบบ ท่เี คยทา ไมเ่ ข้าใจการนาไปใช้จรงิ  เป้าหมายไมช่ ดั เจน ไมร่ สู้ ่งิ ที่ตอ้ งการไปสู่ เช่นวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย  หลงเชือ่ ขอ้ มูลมากมาย แตข่ าดการประเมิน  หลงเชือ่ เทคโนโลยมี ากเกินไป หลงใหล Social  หลงเชื่อกจิ กรรมมากมาย แต่ไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบงานได้ จอ้ งจะทาเพ่อื การแขง่ ขันเหอ่  กจิ กรรมช่วงออกตัว ไม่จดั การปญั หาต่อเนอ่ื ง หลงการส่ือสารทข่ี าดประสิทธิภาพ  ไมเ่ ข้าใจการบริหาร คน เงนิ เคร่อื งมือ เวลา สรุปผลการเรยี นรู้หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปีงบประมาณ 2564 หน้า 43

6. หลุมกิเลสและค่านิยม ทุจริตเชิงนโยบาย ต้ังบริษัทตนเอง พรรคพวก ฮ้ัวประมูล แพง ไม่มีคุณภาพ ชาระเงินชา้ มกั จะนา \"เพอื่ นฝูง\" มา \"เกยี่ วขอ้ ง\" กบั ธุรกิจเสมอโดยไมค่ านึงถงึ ผลประโยชน์ท่ีองค์กร ควรจะได้รับเช่นการ \"จัดซ้ือ\"ข้าวของภายในสานักงาน หลุมอารมณ์ อีคิว อคติ วาจาท่ีไม่ระวัง พฤติกรรมลบ โวยวาย โมโหง่าย ควบคุมอารมณ์ได้ไม่ดีตื่น ตระหนก ทาให้ใช้อารมณ์ มากกว่า เหตุผลอาจส่งผลทาให้ ขาดความ รอบคอบ และขาดประสิทธิภาพในการทางาน EQ ดีไม่ดี มี สาเหตุเกิดจาก พันธุกรรมและพื้นฐานทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมและการเล้ียงดู ไอคิว คนมีไอคิว ดีอาจมปี ัญหาชวี ิตมากมายได้ ไมส่ มารถประกันไดว้ ่าจะประสบความสาเรจ็ เสมอไป 8. หลุมการพัฒนาคน ประเมินผลจากกิจกรรมไม่ดูผลลัพธ์ กาหนดวัน กาหนดเงิน กาหนดจานวนคน เป็นตัวตั้ง พัฒนาแต่งาน แต่ไม่พัฒนาการบริหาร หลักสูตรไม่ตรงกับความต้องการ (Training need) เรียนแล้วผ่านเลยไปไม่ติดตาม การประเมิน ออนไลน์ การสรุปผลการประเมินด้วยอารมณ์ ส่วนตนของลูกนอ้ ง การตะเกยี กตะกายข้นึ จากหลุม เพอื่ ใหพ้ น้ จากหลมุ พรางทางการบริหาร 1. ถ่ายโอนความกดดันความเครยี ดให้ผูอ้ น่ื แทน อยา่ รับไวท้ ง้ั หมด 2. จัดเวทีใหล้ ูกนอ้ งบ้าง เพอื่ แสดงความเก่ง กระตุน้ ให้คดิ วเิ คราะห์ หาคาตอบ 3. ยอมรบั ส่งิ ทไี่ มร่ ู้ เขา้ ใจใหมว่ ่าการที่ตอ้ งเกง่ กวา่ ลกู น้องไม่จริงเสมอไป 4. ไม่เก่งเกนิ หรือออ่ นดอ้ ยในเชงิ รู้จรงิ ในส่งิ ที่ตอ้ งรู้ บางเรื่องต้องยอมรบั ว่าไม่รู้ 5. อยา่ แคร์สายตาของคนอนื่ มาก ใชเ้ วลาแต่ละวันให้คมุ้ ค่า มองประโยชน์ขององค์กร 6. ประเมินตวั เอง วา่ อะไรควรหยดุ อะไรควรไป 7. ให้ความสาคัญกับสถานภาพตนเอง ภาพภูมิใจในส่ิงท่ที า เม่ือเอาชนะไดจ้ ะเห็นคุณคา่ 8. ทาให้นายเห็นผลงาน ยอมรบั เรา ทาให้ลกู น้องเตม็ ใจทา 9. ต้งั คาถามว่า งานนใ้ี ห้ประโยชนอ์ ะไรกบั เรา มคี ณุ คา่ กับเราแคไ่ หน ถา้ ทาไปแล้ว จะได้ผลดอี ะไร 10. สนใจทางออกของปญั หา มากกวา่ ตัวของปัญหา คิดเอาชนะปัญหา เพ่มิ จดุ แข็งเพ่อื ทาลายจุดอ่อน - สอ่ื สารดี เคร่ืองมืออันทรงพลังในการทางานร่วมกนั โดย อ่าน ฟัง พดู เขยี น ตอ้ งเรียนกันไมร่ ้จู บ - มีหลักการ การมีหลักการเพ่ือทางานเป็นวิธีการของผู้ที่เจริญแล้วโดย“หลักยึดท่ีเป็นเหตุเป็นผลยอม เสียคนไมย่ อมเสยี หลักการ” - ทางานไม่พลาด การคิดวางแผนอย่างชาญ ฉลาดป้องกันความผิดพลาดโดย “คร้ังแรกและทุกครั้งไม่ พลาด ถ้าทาอย่างฉลาดจะไมพ่ ลาดเลย” สรุปผลการเรยี นรหู้ ลักสูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 44

ขอ้ คดิ ของการเปน็ ผบู้ รหิ าร - ไม่ติดหล่มความเก่ง ไมต่ ดิ หลม่ ความดี ไมต่ ดิ หลม่ ความสาเรจ็ ในอดีต - เรียนรู้จากอุบัตกิ ารณ์ท่ีเกิดข้ึนแล้วหาคาตอบท่ีดีให้กับตัวเองใหไ้ ด้ เพราะในโลกแห่งความเป็นจรงิ ไม่ มีทางทีเ่ ราจะสามารถทาทกุ สิง่ ทุกอยา่ งใหส้ าเร็จราบรน่ื ไปไดท้ กุ ครง้ั - ทางานอยา่ งมีหลักการ - เปลี่ยนจากส่ังการ เป็น Inspire, Empower, Facilitate, Appreciate เปิดโอกาสให้สมาชิกองค์กร ไดเ้ รียนรู้ สรปุ ผลการเรยี นรหู้ ลักสตู รผู้บริหารการสาธารณสขุ ระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หนา้ 45

หัวข้อ การสร้างเครือข่ายและการมีสว่ นร่วม วันท่ี 15 มิถุนายน 2564 เวลา 09.00-12.00 น. วทิ ยากร นายแพทย์สมหมาย บุญเกล้ียง รูปแบบการนาเสนอ การบรรยาย สรปุ ประเดน็ สาคัญ เล่าประสบการณ์การทางานตั้งแต่ปี 2543 ถึงปัจจุบัน 6 ชั่วโมงผ่านระบบออนไลน์ โดยมีการเล่า กระบวนการทางานแบบง่ายๆ ที่ทุกคนอาจไม่เคยมอง มีการเสนอมุมมองแบบเอาหน้างานมาทาเป็นนโยบาย และ ต้องคิดและต้องทาเองให้เข้าดู มีความท้าทายที่ทุกคนคิดว่าเป็นอุปสรรคแต่เรามองเป็นโอกาส ต้องทาตัวน่ารัก ทุกคนคือคนสาคัญขององค์กร ต้องบริหารทุกคนเหมือนลูก ต้องมีความจริงใจกับทุกคน และต้องมีทักษะการ ถ่ายทอดให้กับคนอ่ืน ต้องให้เกียรติทุกวิชาชีพ อีกหลากหลายเรื่องราว สนุก สุข เศร้า หัวเราะ ที่มุ่งให้ทุกคนคิดดี ต่อเพอ่ื นมนษุ ย์ โดยแบง่ การบรรยายเปน็ ช่วงเชา้ และบา่ ย ดังนี้ การสรา้ งเครือข่ายและการมีสว่ นร่วมท่ีดี จาเป็นต้องเร่ิมจากการสร้าง Mind set ร้จู กั ตวั เอง ตอบตวั เอง ได้วา่ เราเปน็ อย่างไร เปลยี่ นทัศนคติที่มีต่อตัวเองให้ได้ อย่าคดิ ว่าเราเปน็ คนทดี่ ีทีส่ ุด การมกี ารศึกาทสี่ ูง การมฐี านะ ทางสังคมที่ดี ไม่ใช่การบอกว่าเราคือคนที่เก่งท่ีสุด เราต้องมีมุมมองที่กว้างขึ้น โลกนี้มีคนท่ีเก่งกว่าเราได้ในหลาย ด้าน จึงจาเป็นต้องเปล่ียนความคิดในการมองตนเองก่อนสง่ิ ใด ควรมีการสร้างงานแบบบูรณาการ ให้หน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการทางานให้ได้ ส่ิงสาคัญ คือ การ Approach ให้ถูกวิธี ต้องรู้จริง เข้าใจ เข้าถึงกลุ่มท่ีเราต้องการเข้าถึง ปรับมุมมองให้เข้ามาอยู่ในระดับ เดียว เร่ืองเดียวกันให้ได้ เช่น กรณีการจัดบริการแบบเน้นให้มีการเข้าถึงได้สะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งต้องออกแบบให้ สอดคล้องกับบุคคลและสถานการณ์ ตวั อยา่ งเช่น การบรกิ ารเจาะเลือดตรวจสุขภาพให้ผูว้ ่าราชการจังหวัด ซง่ึ เป็น บุคคลท่ีมีภารกิจในงานเยอะ การเข้ารับการตรวจสุขภาพท่ีโรงพยาบาล จะมีความยุ่งยาก หลายขั้นตอนมากกว่า การออกบรกิ ารนอกโรงพยาบาล สง่ิ ท่ีไดร้ บั จะเกิดผลท่ดี ตี อ่ องค์กร ต่อบุคลากรอกี มากมาย ควรคิดถึงความแตกต่างของบุคคล เช่น ในเรื่องของความฉุกเฉินของการเจ็บป่วย มุมมองของผู้ป่วยกับ บุคลากรทางการแพทย์ย่อมแตกต่างกัน ท้ังนี้เพราะลักษณะพื้นฐานท่ีแตกต่างกัน Threshold ของบุคคลท่ีมีความ แตกตา่ งกัน เปล่ียนทัศนคติและมุมมองในการทางาน สร้างความคิดให้เกิดคุณค่าในการทางาน เช่น การทางาน ประจาวัน อย่าคิดถึงจานวนผู้รับบริการที่มารับบริการ หรือ ภาระงาน แต่ให้คิดว่าจะทาอย่างไรท่ีจะให้บริการที่ดี ท่สี ุดในผ้รู ับบรกิ ารแต่ละคนมากกวา่ อย่าคิดว่าทุกอยา่ งเป็นภาระ แตใ่ ห้ร้สู กึ มคี วามสุขกบั การทางานหรือภาระงาน ท่มี ี ไม่ทงิ้ งาน สรปุ ผลการเรียนรู้หลักสตู รผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดบั กลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นท่ี 34 ประจาปงี บประมาณ 2564 หน้า 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook