การสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน แนวทางการด�ำเนนิ งานการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษา และการเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งทัว่ ถงึ และมีคณุ ภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑. คา่ จดั การเรยี นการสอน ๓. คา่ อุปกรณก์ ารเรียน เงนิ อุดหนนุ รายหัวโรงเรียนปกติ ก่อนประถม ๑๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๒๐๐ บาท/คน/ปี) ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา ๑๙๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๓๙๐ บาท/คน/ป)ี ๘๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๗๐๐ บาท/คน/ปี) มัธยมศึกษาตอนต้น ๒๑๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๔๒๐ บาท/คน/ป)ี ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๔๖๐ บาท/คน/ปี) ๙๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๑,๙๐๐ บาท/คน/ป)ี ชน้ั ปวช. ๑-๓ ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๖๐ บาท/คน/ป)ี ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (สถานประกอบการ) ๑,๗๕๐บาท/คน/ภาคเรยี น (๓,๕๐๐ บาท/คน/ป)ี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๔. คา่ เครือ่ งแบบนกั เรียน ๑,๙๐๐บาท/คน/ภาคเรียน (๓,๘๐๐ บาท/คน/ป)ี กอ่ นประถม ๓๐๐ บาท/คน/ปี ระดบั ปวช. ๑-๓ (จัดการศกึ ษาโดยสถานประกอบการ) ประถมศกึ ษา ๓๖๐ บาท/คน/ปี ๕,๘๖๘ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑๑,๗๓๖ บาท/คน/ปี) มธั ยมศึกษาตอนต้น ๔๕๐ บาท/คน/ปี มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ปี ๒. ค่าหนงั สือเรียน ช้นั ปวช. ๑-๓ ๙๐๐ บาท/คน/ปี มูลค่าหนังสือต่อชดุ (สถานประกอบการ) กอ่ นประถมศกึ ษา ๒๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๖๒๕.๐๐ บาท/คน/ปี ๕. ค่ากจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๖๑๙.๐๐ บาท/คน/ป ี ประกอบดว้ ย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๖๒๒.๐๐ บาท/คน/ปี ๑. กิจกรรมวชิ าการ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ๖๗๓.๐๐ บาท/คน/ป ี ๒. กิจกรรมคณุ ธรรม/ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๘๐๖.๐๐ บาท/คน/ปี ๓. ทัศนศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๘๑๘.๐๐ บาท/คน/ปี ๔. การบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (ICT) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๗๖๔.๐๐ บาท/คน/ปี ก่อนประถม ๒๑๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๓๐ บาท/คน/ป)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๘๗๗.๐๐ บาท/คน/ปี ประถมศึกษา ๒๔๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๘๐ บาท/คน/ป)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๙๔๙.๐๐ บาท/คน/ปี มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๔๔๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๘๘๐ บาท/คน/ป)ี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ ๑,๓๑๘.๐๐ บาท/คน/ป ี มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรียน (๙๕๐ บาท/คน/ป)ี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ ๑,๒๖๓.๐๐ บาท/คน/ปี ชน้ั ปวช. ๑-๓ ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๙๕๐ บาท/คน/ป)ี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ๑,๑๐๙.๐๐ บาท/คน/ปี (สถานประกอบการ) ชนั้ ปวช. ๑-๓ ๒,๐๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี (สถานประกอบการ) ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๘๕๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๕๕๑๕ http://plan.bopp-obec.info
แนวทางการดำ� เนนิ งาน การสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศกึ ษา และการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถงึ และมคี ณุ ภาพ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ SUCCESS ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
แนวทางการดําเนินงาน การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษา และการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างท่วั ถงึ และมีคุณภาพ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61 สาํ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คํานาํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทําแนวทางการดําเนินงานตามโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการดําเนินงาน ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล เกดิ ความคุ้มค่า ประหยดั โปร่งใส เกิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนและทางราชการสูงสุด การจัดทําแนวทางการดําเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สาํ หรบั ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 มีแนวคิดและหลกั การในการดาํ เนินการ 3 ประการดงั น้ี ๑. ยึดหลักการแนวทางการดําเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 เป็นแนวทางหลักและปรับปรุง แนวทางการดําเนินงานจากการระดมความคิดเห็น ผลการติดตาม ตรวจสอบ และรายงานการวิจัยการดําเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 2. สนองตอบต่อนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี การลดความเหล่ือมล้ําของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสําคัญทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถ เรียนรู้พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดํารงชีวิตได้ โดยมีความใฝร่ ู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ โดยมีการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพ้ืนท่ี ลดความเหลื่อมลํ้า และพัฒนา กําลังคน ให้เป็นที่ต้องการเหมาะสมกับพื้นท่ี ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนท่ัวไป มีโอกาส ร่วมจดั การศกึ ษาท่มี คี ุณภาพและทั่วถึง และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ ําหนดนโยบายเฉพาะสาํ หรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยการแก้ไขปัญหาเด็กประถมอ่านไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ การดูแลเด็กออกกลางคันใหไ้ ดร้ บั การศึกษาภาคบังคับ ทบทวน ปรับปรุง หลักสูตรการศึกษา “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” โดยการลดเวลาเรียนต่อวัน ลดการบ้านนักเรียน ไม่มีกิจกรรมเพ่ิมภาระนักเรียนในเวลาที่เหลือให้ผู้เรียนได้ใช้เวลานอกห้องเรียน เพื่อการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรม ทโี่ รงเรียนจัดข้ึนตามความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียน 3. แนวทางการดําเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 เป็นแนวทางการดําเนินงานท่ีสามารถใช้ร่วมกัน สําหรับสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สาระสําคัญของ แนวทางการดําเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน สําหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ประกอบด้วย ความเป็นมา วัตถุประสงค์ สาระสําคัญของนโยบาย วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด งบประมาณ เกณฑ์การจัดสรรและแนวทางการดําเนินงาน ปฏิทินการดําเนินงาน ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั และเอกสารที่เกี่ยวข้อง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวทางการดําเนินงาน ตามโครงการ สนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61 เล่มน้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อการดําเนินงาน ของผู้ที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในด้านโอกาสทางการศึกษา คุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การมีส่วนร่วม ซ่ึงจะส่งผลให้ นักเรียนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา มีความพร้อมที่จะเรียนและได้รับการศึกษาที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน สถานศึกษา สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาตแิ ละนโยบายของรฐั บาล (นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
สารบญั หนา้ คํานํา ๑ ความเปน็ มา 3 วัตถปุ ระสงค์ 3 เปา้ หมาย 3 3 ดา้ นคุณภาพ 5 ด้านปริมาณ 5 ตวั ชว้ี ัด 5 ด้านปรมิ าณ 6 ดา้ นคณุ ภาพ 6 นยิ ามศพั ท์ 7 การจดั สรรงบประมาณ 8 เกณฑแ์ ละแนวทางการดาํ เนนิ งาน 9 9 ๑. คา่ จัดการเรยี นการสอน 9 ๒. ค่าหนังสือเรียน 10 12 2.1 งบประมาณค่าหนังสือท่ีได้รบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 13 2.2 ลักษณะของหนังสอื ทใี่ ช้ 15 2.3 แนวทางการจดั ซ้ือหนงั สอื เรยี นและแบบฝึกหัด 16 ๓. คา่ อุปกรณก์ ารเรียน 17 ๔. คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรียน 19 20 - แบบหลกั ฐานการจา่ ยเงนิ 21 - แบบหลกั ฐานยืนยันการจัดหา 21 ๕. ค่ากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน 22 แนวทางการดําเนินงานโรงเรียนการศกึ ษาพิเศษ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ 23 แนวทางการจดั สรรงบประมาณ 24 แนวทางการบริหารจัดการ 26 การกํากบั ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานผล 27 แนวทางการบรจิ าคเงินทไ่ี ด้รบั สทิ ธ์คิ า่ เคร่อื งแบบนกั เรยี น/ค่าอุปกรณ์การเรียน 29 - ใบแสดงเจตจาํ นงบรจิ าคค่าเครื่องแบบนกั เรียน/ค่าอปุ กรณก์ ารเรียน แนวทางการดาํ เนนิ การดา้ นการมีสว่ นรว่ ม โครงสร้างของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ปฏทิ นิ การดําเนินงาน ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ
สารบญั (ต่อ) หนา้ ภาคผนวก 30 การบรหิ ารงบประมาณงบเงินอุดหนนุ ประเภทเงนิ อุดหนนุ ทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 31 31 รายการคา่ จัดการเรียนการสอน 33 - คา่ ใช้จ่ายรายหัว 36 - เงินอดุ หนนุ ปัจจยั พืน้ ฐานสําหรับนักเรยี นยากจน - คา่ อาหารนักเรียนประจาํ พักนอน 39 40 การบรหิ ารงบประมาณ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทวั่ ไป สาํ หรบั โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห/์ โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ/ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ 42 ลักษณะการใชง้ บประมาณ 43 สําเนาหนังสือสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 46 ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ ลงวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2555 47 เรือ่ ง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดกจิ กรรมเพ่อื เสรมิ สรา้ งความรู้ให้กบั นกั เรยี น 48 หลักเกณฑ์การเบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมเพือ่ เสรมิ สรา้ งความรู้ให้กับนักเรยี น 50 ด้วยงบเงินอดุ หนนุ สําหรับหน่วยงานในสงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 51 53 - แบบใบสําคญั รบั เงินสาํ หรบั วทิ ยากร 53 - แบบใบสําคญั รบั เงินคา่ ใช้จ่ายในการจัดกจิ กรรมสําหรบั นักเรยี น 57 แนวทางการดําเนินการเลอื กซือ้ หนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ าํ หรบั เด็กปฐมวัย 59 ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 61 ปงี บประมาณพ.ศ. ๒๕61 แนวทางการเลอื กหนังสือเสริมประสบการณ์สาํ หรบั เด็กปฐมวัย 62 ขั้นตอนการจัดซอื้ หนังสอื เรียน ตารางแสดงการลดค่าใชจ้ า่ ยของผ้ปู กครอง/นกั เรยี น 1. โรงเรียนปกติ 2. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ 3.โรงเรยี นศกึ ษาพเิ ศษ 4.ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ หนงั สอื สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๖/พเิ ศษ ๒๒ ลงวันที่ 4 พฤศจกิ ายน 2554 เร่ือง การเก็บเงนิ บาํ รุงการศึกษาและการระดมทรพั ยากร
สารบญั (ต่อ) หนา้ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง การเก็บเงินบํารุงการศึกษาของสถานศกึ ษา 63 สงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เร่อื ง การระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษา 67 สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน เรอื่ ง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการนับอายุเด็กเพอ่ื เขา้ รบั การศกึ ษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ในสงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 69 หนังสอื สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ดว่ นทีส่ ดุ ที่ ศธ 04006/ว.2951 ลงวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2560 เรื่อง การจัดช้นั เรียนระดับช้ันอนุบาลของโงเรยี น ในสงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 71 สาํ เนาคําสั่งหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 28/2559 เร่ือง ใหจ้ ดั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 15 ปี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ ่าย 72 คําสง่ั กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2561 74 คาํ สั่งสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ที่ 1833/๒๕60 เร่ือง แต่งต้งั คณะทํางานประชมุ จัดทําแนวทางการดาํ เนินงานและการบรหิ าร งบประมาณการสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 75 ศูนย์ประสานงาน 79
1 แนวทางการดาํ เนนิ งานการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศึกษา และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งท่ัวถงึ และมีคณุ ภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ความเปน็ มา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติสาระสําคัญในหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ ด้านการศึกษา โดยมาตรา ๕๔ รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และบัญญัติเก่ียวกับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายว่า ในการดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา รัฐต้องดําเนินการให้ ผูข้ าดแคลนทุนทรพั ย์ไดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการศกึ ษาตามความถนดั ของตน ในส่วนของบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมได้บัญญัติ เก่ียวกับสิทธิและหน้าท่ีทางการศึกษาในลักษณะเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมาตรา 10 วรรคหนึ่งได้บัญญัติไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ประกอบกับ มาตรา 14 บัญญัติว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนาสถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควร แก่กรณี ดังต่อไปนี้ (1) การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเล้ียงดูบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล รับผิดชอบ (2) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามที่กฎหมายกําหนด (3) การลดหย่อนหรือ ยกเว้นภาษสี าํ หรบั ค่าใช้จ่ายการศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายกําหนด นอกจากนี้ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เห็นว่านโยบายจัดการศึกษาไม่เก็บค่าใช้จ่ายเป็นเวลา 15 ปี สอดคล้องกับนโยบายด้านการศึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูปการศึกษาของ รัฐบาล ทั้งสามารถลดความเหล่ือมลา้ํ สร้างโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรมในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ละสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จึงได้ออกคําส่ังหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราช 2559 ได้ยืนยันแนวทางการจัดให้บุคคลได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 1๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และพัฒนาต่อไปด้วยการยกระดับจากการเป็นโครงการ ตามนโยบายของแตล่ ะรฐั บาลให้เป็นหน้าทขี่ องรฐั และมาตรการตามกฎหมาย เพื่อเปน็ หลักประกันความยั่งยืนม่ันคง และเพื่อให้สามารถจัดงบประมาณสนับสนุนได้อย่างต่อเนื่อง และได้ให้ความหมายของค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน 15 ปี การศึกษาพเิ ศษ และการศกึ ษาสงเคราะห์ ดังน้ี ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา หมายความว่า งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้แก่หรือผ่านทางสถานศึกษา หรือผู้จัดการศึกษาเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี และ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี หมายความว่า การศึกษาต้งั แตร่ ะดบั ก่อนประถมศกึ ษา (อนบุ าล) (ถา้ มี) ระดบั ประถมศึกษา จนถึงมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 3) หรือเทียบเท่า และให้หมายความรวมถึงการศึกษาพิเศษและการศึกษา สงเคราะหด์ ้วย นอกจากนี้ ได้กาํ หนดความหมายของคําว่า การศึกษาพิเศษ หมายความว่า การจดั การศึกษาให้แก่
2 บุคคลซ่ึงมีความผิดปกติอย่างหน่ึงอย่างใด ซึ่งจําเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิค ต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการและความจําเป็นของแต่ละบุคคล และ การศึกษาสงเคราะห์ หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่ตกอยู่ในภาวะยากลําบากหรืออยู่ในสถานภาพที่ด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรอื ท่ีมีลักษณะเปน็ การกศุ ล เพื่อใหม้ ชี วี ติ และความเป็นอยทู่ ่ดี ขี ึ้นมพี ฒั นาการทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสมกับวยั ทั้งนี้ คําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 28/2559 ได้กําหนดแนวทางการดําเนินงาน ให้จัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ข้อ 2 ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด เตรียมการเพื่อจัดให้เด็กเล็ก ก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาโดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดําเนินการ ข้อ 3 ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดําเนินการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี ให้มี มาตรฐานและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสําหรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี เพื่อเสนอตาม กระบวนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี โดยมีค่าใช้จ่าย ได้แก่ (1) ค่าจัดการเรียนการสอน (2) ค่าหนังสือ เรียน (3) ค่าอุปกรณ์การเรียน (4) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน (5) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ(6) ค่าใช้จ่าย อืน่ ตามทีค่ ณะรฐั มนตรเี หน็ ชอบ และขอ้ 6 ให้อตั ราค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานที่มีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันที่คําส่ังน้ีใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการกําหนดอัตรา คา่ ใช้จา่ ยสําหรบั การจดั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 15 ปี ตามข้อ 3 โดยการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานได้มี มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ ขออนุมัติตั้ง งบประมาณเป็นรายปเี พื่อดาํ เนินงานสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษาต้ังแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานเป็นลําดับต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน และมติคณะรฐั มนตรี เม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2549 อนุมัติให้ ปรับอัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียนและ นอกระบบโรงเรียน โดยแบ่งการปรับเพ่ิมเป็น 3 ปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ใช้อัตรา ดังกลา่ วจนถึงปัจจบุ นั งบประมาณและการจดั สรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ ได้เสนอเร่ืองการเพ่ิมเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสําหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เข้าท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี เพ่ือพิจารณาการปรับอัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสําหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทุกระดับการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน โดยใช้ผลการวิจัยของกระทรวงศึกษาธิการ การปรับเพิ่มโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใช้ผลการวิจัยของสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และมติคณะรัฐมนตรี ได้ประชุมหารือ เม่ือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2549 อนุมัติให้ปรับอัตราค่าเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสําหรับ การศึกษาข้ันพื้นฐานทกุ ระดับการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรยี น โดยแบ่งการปรับเพ่ิมเปน็ 3 ปี การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ต้งั แต่ปกี ารศึกษา 2553 ใช้อัตราดังกลา่ วจนถงึ ปจั จุบัน ดังน้ี การศกึ ษาในระบบโรงเรยี น อตั ราเดิม อัตราใหม่ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553-ปจั จุบนั 1. ก่อนประถมศกึ ษา 600 1,700 783 1,149 1,516 1,700 2. ประถมศกึ ษา 1,100 1,900 1,233 1,499 1,766 1,900 3. มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1,800 3,500 2,083 2,649 3,216 3,500 4. มัธยมศึกษาตอนปลาย 4.1 ประเภทสามญั ศึกษา 2,700 3,800 2,883 3,249 3,616 3,800
3 4.2 ประเภทอาชีวศกึ ษา 4.2.1 ชา่ งอุตสาหกรรม 4,640 6,500 4,950 5,570 6,190 6,500 4.2.2 พาณชิ ยกรรม 3,040 4,900 3,350 3,970 4,590 4,900 4.2.3 คหกรรม 3,940 5,500 4,200 4,720 5,240 5,500 4.2.4 ศลิ ปกรรม 4,940 6,200 5,150 5,570 5,990 6,200 4.2.5 เกษตรกรรม - เกษตรกรรมทัว่ ไป 4,140 5,900 4,433 5,019 5,605 5,900 - เกษตรกรรมปฏิรูป 9,140 11,900 9,600 10,520 11,440 11,900 วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ในรายการพื้นฐาน ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ให้นักเรียนทุกคนมีความพร้อมที่จะได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน โดยการบริหาร จัดการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป้าหมาย ด้านคณุ ภาพ นักเรียนมี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะและสมรรถนะตามมาตรฐานหลักสูตร การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนทุกระดับ โดยเน้นการเสรมิ สร้างความคิดสร้างสรรค์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ผา่ นการใช้สื่อ อุปกรณ์การเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนท่ัวไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาและ การเรยี นรู้ ดา้ นปรมิ าณ 1. จาํ นวนนกั เรียนทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จาํ นวนนักเรียนในปีการศึกษา ๒๕61 จาํ นวนท้ังสิ้น 6,945,488 คน 1.1 นักเรยี นแยกตามระดับการศกึ ษา ดังน้ี ๑.1.1 ระดบั กอ่ นประถมศึกษา 898,998 คน 1.1.๒ ระดบั ประถมศึกษา 3,220,408 คน 1.1.๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1,765,130 คน 1.1.๔ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1,039,923 คน 1.1.๕ ระดับ ปวช. (สถานประกอบการ) 1.1.๖ นกั เรียนในศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ 7,973 คน 13,056 คน 1.2 นักเรียนแยกตามประเภทโรงเรยี น ดังน้ี 1.2.๑ โรงเรยี นปกติ (จาํ นวน 30,306 โรง) 6,863,376 คน 1.2.2 โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ (จํานวน 51 โรง) ๔๔,521 คน 1.2.3 โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ (จํานวน 48 โรง) 15,957 คน 1.2.4 ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ (จาํ นวน 77 ศนู ย)์ 13,056 คน 1.2.5 การจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ 8,578 คน (จัดโดยครอบครัว 605 คน จดั โดยสถานประกอบการ 7,973 คน)
4 2. ผู้ปกครองนักเรียนสามารถลดค่าใช้จ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แยกตามประเภท โรงเรียน ดังน้ี ก. โรงเรียนปกติ ชน้ั ภาคเรียนที่ ๒/๒๕60 ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕61 รวมงบประมาณ อ.๑-อ.3 ๑,๑๖๕ บาท ๑,๖๖๕ บาท ๒,๘๓๐ บาท ป.๑-ป.๖ นร.ท่ัวไป ๑,๓๘๕ บาท ๒,๓70 บาท - ๒,๕๖๓ บาท ๓,755 – ๓,๙๔๘ บาท ป.๑-ป.๖ นร.ยากจน ๑,๘๘๕ บาท 3,3๐๖ บาท - ๓,5๖๓ บาท 5,1๙๑ – ๔,๙๔๘ บาท ม.๑-ม.๓ นร.ท่วั ไป ๒,๔๐๐ บาท ๓,๕๕๐ บาท - ๓,806 บาท ๕,๙๕๐ – ๖,206 บาท ม.๑-ม.๓ นร.ยากจน ๓,๙๐๐ บาท ๕,๐๐๐ บาท - ๕,๒๙๙ บาท ๘,๙๐๐ – ๙,๑๙๙ บาท ม.๔-ม.๖ ๒,๖๐๕ บาท ๔,๓๖๒ บาท - ๔,๒๑4 บาท ๖,๙๖๗ – ๖,๘๑๙ บาท ข. โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ชนั้ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕60 ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕61 รวมงบประมาณ อ.๑-อ.3 นกั เรียนประจาํ 15,615 บาท 16,115 บาท 31,730 บาท อ.๑-อ.3 นักเรียนไป-กลับ ๔,77๕ บาท 5,275 บาท 10,050 บาท ป.๑-ป.๖ นกั เรียนประจํา ๑5,835 บาท ๑6,820 บาท - ๑7,0๑๓ บาท 32,655 - 32,848 บาท ป.๑-ป.๖ นกั เรยี นไป-กลับ ๔,99๕ บาท ๕,980 บาท - 5,977 บาท 10,972 - 10,975 บาท ม.๑-ม.๓ นกั เรียนประจาํ ๑6,7๕๐ บาท 17,964 บาท - ๑8,149 บาท 34,714 - 34,899 บาท ม.๑-ม.๓ นักเรียนไป-กลบั ๕,70๐ บาท ๖,914 บาท - 7,099 บาท 12,614 - 12,799 บาท ม.๔-ม.๖ นกั เรียนประจํา ๑6,9๕๕ บาท 18,834 บาท - 18,564 บาท 35,789 - 35,519 บาท ม.๔-ม.๖ นกั เรียนไป-กลับ ๕,905 บาท ๗,723 บาท - 7,514 บาท 13,628 - 13,419 บาท ค. โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ ชัน้ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕60 ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕61 รวมงบประมาณ อ.๑-อ.3 นักเรียนประจํา 15,825 บาท ๑6,325 บาท ๓๒,๑๕๐ บาท อ.๑-อ.3 นกั เรียนไป-กลับ ๔,77๕ บาท 5,2๗๕ บาท ๑๐,๐๕๐ บาท ป.๑-ป.๖ นกั เรยี นประจาํ ๑6,045 บาท ๑7,030 บาท - ๑7,027 บาท ๓๓,๐75 – ๓๓,072 บาท ป.๑-ป.๖ นกั เรียนไป-กลบั ๔,99๕ บาท ๕,980 บาท - 5,977 บาท ๑๐,๙75 – ๑0,972 บาท ม.๑-ม.๓ นักเรียนประจาํ ๑6,9๕๐ บาท 18,164 บาท - ๑8,349 บาท ๓๕,114 – ๓๕,299 บาท ม.๑-ม.๓ นักเรียนไป-กลับ ๕,900 บาท 7,114 บาท - 7,299 บาท ๑3,014 – ๑๓,๑๙๙ บาท ม.๔-ม.๖ นักเรียนประจาํ ๑6,9๕๕ บาท ๑8,773 บาท - ๑8,5๖4 บาท 35,728– 35,519 บาท ม.๔-ม.๖ นกั เรียนไป-กลับ 6,105 บาท ๗,923 บาท - ๗,714 บาท 14,028 – 13,819 บาท
ภาคเรียนที่ ๑/๒๕61 5 ง. ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ 14,815 บาท รวมงบประมาณ ชน้ั ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕60 3,785 บาท 29,130 บาท เด็กท่ีมารับบรกิ ารที่ศนู ยฯ์ 14,315 บาท 7,730 บาท นักเรียนประจํา 3,945 บาท นกั เรียนไป-กลับ จ. การจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ ชั้น ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕60 ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕61 รวมงบประมาณ อ.๑-อ.3 ๓,๙๑๑ บาท ๔,๔๑๑ บาท ๘,๓๒๒ บาท ป.๑-ป.๖ ๔,๑๑๖ บาท ๕,๐๓๗ บาท - ๕,๒๙๔ บาท ๙,๑๕๓ – ๙,๔๑๐ บาท ม.๑-ม.๓ ๕,๗๘๘ บาท ๖,๙๓๘ บาท - ๗,๑๘๗ บาท ๑๒,๗๒๖ – ๑๒,๙๗๕ บาท ม.๔-ม.๖ ๖,๐๐๘ บาท ๗,๗๖๕ บาท - ๗,๖๑7 บาท ๑๓,๗๗๓ – ๑๓,๖๒๕ บาท ปวช.๑-๓ ๖,๕๗๓ บาท ๙,๔๗๓ บาท ๑๖,๐๔๖ บาท (สถานประกอบการ) หมายเหตุ สาํ หรบั รายละเอียดดจู ากภาคผนวก หนา้ 53-61 ตัวชว้ี ดั ดา้ นปรมิ าณ ร้อยละของนักเรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีได้รับ การสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ดา้ นคณุ ภาพ 1. ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะตามมาตรฐาน หลักสตู ร 2. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในข้ันตอนต่าง ๆ ของการดําเนินงาน การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างท่ัวถึงและมคี ุณภาพ 3. ร้อยละของผู้ปกครองมีความพึงพอใจทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
6 นยิ ามศัพท์ 1. การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หมายถึง งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้ สถานศึกษา 5 รายการ ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าใช้จ่ายรายหัว ปัจจัยพื้นฐานสําหรับนักเรียนยากจน ค่าอาหารนักเรียนประจําพักนอน) ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรม พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 2. การศึกษาภาคบังคับ หมายถึง การศึกษาชั้นปีที่หนึ่งถึงช้ันปีท่ีเก้าของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 โดยรับเด็กเข้าศึกษาซ่ึงมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดจนถึง อายุยา่ งเขา้ ปที ีส่ บิ หก เว้นแต่เดก็ ที่สอบไดช้ ้ันปีท่เี ก้าของการศกึ ษาภาคบังคบั แลว้ 3. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ ก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ปี แต่ไม่เกินอายุ 20 ปี ตามข้อมูล ทีร่ ายงานเข้าสรู่ ะบบขอ้ มูลนกั เรยี นรายบุคคล (Data Management Center) 3.1 ระดับก่อนประถมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาระดับช้ันอนุบาล 1-3 ให้แก่เด็กที่มีอายุ ตัง้ แต่ 3-5 ปี 3.2 ระดับประถมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน เร่ิมตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษา ปที ่ี 1 - 6 3.3 ระดับมัธยมศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ มัธยมศึกษาตอนต้น (ระดับช้ัน ม.1 ถึง ม.3) และมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทสามัญ (ระดบั ชน้ั ม.4 ถึง ม. 6) และประเภทอาชวี ศกึ ษาท่จี ดั โดยสถานประกอบการ (ปวช.) 4. การศึกษาพิเศษ หมายถึง การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซ่ึงมีความผิดปกติอย่างใดอย่างหน่ึง ซึ่งจําเป็นต้องจัดการศึกษาให้เป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการ และความจําเป็นของแตล่ ะบคุ คล 5. การศึกษาสงเคราะห์ หมายถึง การจัดการศึกษาให้กับเด็กท่ีตกอยู่ในภาวะยากลําบาก หรืออยู่ใน สถานภาพที่ด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือที่มีลักษณะเป็นการกุศล เพื่อให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน มีพัฒนาการ ท่ีถกู ต้องและเหมาะสมกบั วยั 6. เด็กไม่มีสัญชาติไทย หมายถึง เด็กวัยเรียนท่ีไม่มีสัญชาติไทยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยท่ีเข้ารับ การศกึ ษาระดบั ก่อนประถมศึกษา และการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประกอบด้วย 6.1 เด็กท่ีไม่มีหลักฐานตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร์ หมายถึง เด็กท่ีอาศัยอยู่ใน ประเทศไทย และไมม่ หี ลกั ฐานตามกฎหมายว่าด้วยทะเบยี นราษฎร์ 6.2 เด็กท่ีไม่มี ทร.13 หมายถึง เด็กต่างด้าวท่ีไม่มีสัญชาติไทยไม่อยู่ในทะเบียนกลาง ใช้รหัส นําหน้าด้วย G โดยได้รับรหัสประจําตัวจากกระทรวงมหาดไทยแล้ว 6.3 เด็กท่ีมี ทร.13 หมายถึง เด็กท่ียังไม่ได้รับสัญชาติไทย แต่มีช่ืออยู่ในทะเบียนกลาง ใช้รหัส นําหน้าด้วย 0 7. เดก็ ต่างชาติ หมายถงึ เด็กที่มสี ญั ชาตติ ่างชาติทีอ่ าศัยอย่ใู นประเทศไทย และมหี ลกั ฐานแสดงตัวตน
7 การจดั สรรงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยรัฐจัดสรรงบประมาณ แผนงาน บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทาง การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ กิจกรรมการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน งบเงนิ อุดหนุน จํานวน 36,230,405,900 บาท ดงั น้ี ๑. คา่ จดั การเรียนการสอน 23,653,286,500 บาท ๒. ค่าหนังสือเรียน 2,619,856,300 บาท ๓. คา่ อุปกรณก์ ารเรยี น 2,680,030,100 บาท ๔. ค่าเครือ่ งแบบนักเรยี น 2,754,409,000 บาท 5. ค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 4,522,824,000 บาท รวมทั้งสิ้น 36,230,405,900 บาท เกณฑ์และแนวทางการดําเนนิ งาน 1. ค่าจัดการเรียนการสอน หมายถึง งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่ เงินอุดหนุนรายหัว ปัจจัยพ้ืนฐานสําหรับนักเรียนยากจน ค่าอาหาร นักเรียนประจําพักนอน การจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัวและสถานประกอบการ 1.1 นกั เรียนโรงเรยี นปกติ มีเกณฑก์ ารจัดสรร ดังนี้ 1.1.1 เงินอดุ หนนุ รายหวั ๑) ระดับก่อนประถมศกึ ษา ๘๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๗๐๐ บาท/คน/ป)ี ๒) ระดบั ประถมศึกษา ๙๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๙๐๐ บาท/คน/ป)ี ๓) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๑,๗๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๓,๕๐๐ บาท/คน/ป)ี 4) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑,๙๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๓,๘๐๐ บาท/คน/ปี) มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ เห็นชอบให้เพ่ิมเงินอุดหนุนรายหัว ให้นักเรยี นในโรงเรียนขนาดเล็กต้ังแตภ่ าคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ เป็นตน้ ไป ดังนี้ ๑. โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๑๒๐ คนลงมา ให้เพ่ิมจากรายหัวท่ีได้รับ ปกติ (ก่อนประถมศึกษา ๑,๗๐๐ บาท/ประถมศกึ ษา ๑,๙๐๐ บาท) เพิม่ อกี ๒๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๕๐๐ บาท/คน/ ปี) ๒. โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมา ให้เพิ่มจากรายหัว ท่ีได้รับปกติ (ม.ตน้ ๓,๕๐๐ บาท/ม.ปลาย ๓,๘๐๐ บาท) เพิ่มอีก ๕๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี) มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เห็นชอบให้เพ่ิมเงินอุดหนุนให้โรงเรียน ขยายโอกาสที่มีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมา ให้เพิ่มจากรายหัวที่ได้รับปกติ โดยจัดให้เฉพาะนักเรียน ม.ต้น เพิ่มใหอ้ กี ๕๐๐ บาท/ คน/ภาคเรยี น (๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี)
8 1.1.2 คา่ ปจั จัยพืน้ ฐานสาํ หรบั นกั เรียนยากจน มตคิ ณะรัฐมนตรเี มอ่ื วันที่ 12 มิถนุ ายน 2550 เหน็ ชอบให้ปรบั อตั ราเงนิ อุดหนุนปัจจัยพื้นฐาน นกั เรียนยากจน ดงั นี้ 1) ระดับประถมศกึ ษา ๕๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๑,๐๐๐ บาท/คน/ป)ี 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ๑,๕๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๓,๐๐๐ บาท/คน/ป)ี สําหรับการจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามเกณฑ์ระบบการคัดกรองปัจจัยพ้ืนฐาน นกั เรยี นยากจนทส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐานกาํ หนด 1.1.3 คา่ อาหารนกั เรยี นประจําพักนอน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0406.4/11297 ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2559 อนมุ ตั ใิ ห้เบิกจา่ ยค่าอาหารนกั เรยี นประจําพกั นอนตามท่ีขอทาํ ความตกลงไว้ ดงั นี้ 1) ระดับประถมศึกษา 4,000 บาท/คน/ภาคเรยี น (8,0๐๐ บาท/คน/ปี) 2) ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 4,000 บาท/คน/ภาคเรยี น (8,0๐๐ บาท/คน/ปี) 1.1.4 คา่ จดั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานโดยครอบครวั และสถานประกอบการ ๑) ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ๓,๕๙๖ บาท/คน/ภาคเรยี น (๗,๑๙๒ บาท/คน/ป)ี ๒) ระดบั ประถมศึกษา ๓,๖๘๑ บาท/คน/ภาคเรยี น (๗,๓๖๒ บาท/คน/ปี) ๓) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ๕,๑๓๘ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑๐,๒๗๖ บาท/คน/ปี) 4) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕,๓๐๓ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑๐,๖๐๖ บาท/คน/ป)ี ๕) ระดับ ปวช. ๑-๓ ๕,๘๖๘ บาท/คน/ภาคเรียน (๑๑,๗๓๖ บาท/คน/ป)ี (ทจี่ ดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานโดยสถานประกอบการ) 1.2 นักเรียนโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ มีเกณฑก์ ารจัดสรร ดังนี้ ๑.2.1 ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา - นักเรยี นประจาํ 15,300 บาท/คน/ภาคเรียน (30,6๐๐ บาท/คน/ปี) - นักเรยี นไป-กลับ 4,4๖๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (8,9๒๐ บาท/คน/ปี) 1.2.๒ ระดับประถมศกึ ษา - นักเรียนประจํา 15,400 บาท/คน/ภาคเรียน (30,8๐๐ บาท/คน/ป)ี - นักเรยี นไป-กลบั 4,560 บาท/คน/ภาคเรียน (9,120 บาท/คน/ปี) 1.2.๓ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - นกั เรียนประจํา 16,100 บาท/คน/ภาคเรยี น (32,2๐๐ บาท/คน/ปี) - นักเรียนไป-กลับ 5,0๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (10,1๐๐ บาท/คน/ปี) 1.2.๔ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - นกั เรียนประจาํ 16,2๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (32,5๐๐ บาท/คน/ปี) - นักเรยี นไป-กลบั 5,200 บาท/คน/ภาคเรียน (10,4๐๐ บาท/คน/ปี) 1.3 นกั เรยี นโรงเรยี นการศกึ ษาพิเศษ มีเกณฑ์การจดั สรรดังน้ี 1.3.๑ ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา - นักเรียนประจาํ ๑5,510 บาท/คน/ภาคเรียน (31,020 บาท/คน/ป)ี - นกั เรียนไป-กลบั 4,4๖๐ บาท/คน/ภาคเรียน (8,9๒๐ บาท/คน/ปี)
9 1.3.๒ ระดบั ประถมศึกษา - นักเรยี นประจาํ 15,610 บาท/คน/ภาคเรียน (31,220 บาท/คน/ป)ี - นักเรยี นไป-กลบั 4,5๖๐ บาท/คน/ภาคเรียน (9,๑๒๐ บาท/คน/ป)ี 1.3.๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น - นกั เรียนประจาํ 16,3๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (3๒,6๐๐ บาท/คน/ปี) - นักเรยี นไป-กลับ 5,250 บาท/คน/ภาคเรยี น (10,5๐๐ บาท/คน/ป)ี 1.3.๔ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย - นักเรียนประจํา 16,250 บาท/คน/ภาคเรียน (32,5๐๐ บาท/คน/ป)ี - นักเรียนไป-กลับ 5,400 บาท/คน/ภาคเรยี น (10,8๐๐ บาท/คน/ปี) 1.4 นักเรยี นในศูนย์การศึกษาพิเศษ 1.4.1 คา่ อาหารนกั เรยี นประจํา 13,500 บาท/คน/ภาคเรียน (27,000 บาท/คน/ปี) 1.4.2 ปจั จัยพน้ื ฐานนกั เรยี นประจาํ 500 บาท/คน/ภาคเรียน (1,000 บาท/คน/ป)ี 1.4.3 ค่าอาหารนกั เรยี น ไป-กลบั 3,630 – 2,970 บาท/คน/ภาคเรยี น (6,600 บาท/คน/ป)ี ๒. คา่ หนงั สือเรียน ๒.๑ งบประมาณคา่ หนงั สอื ทีไ่ ด้รบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานได้รับงบประมาณ ปี 2561 เป็นค่าหนงั สอื เรียน ทุกระดับช้ันและแบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐานเฉพาะ ป.๑ - ป.๖ ใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในการศึกษาข้ันพื้นฐาน และเป็นค่าหนังสือเสริมประสบการณ์ในการศึกษาปฐมวัย เพ่ือจัดสรรให้นักเรียนมีหนังสือใช้เรียนครบทุกคน ดังนี้ มลู ค่าหนงั สอื ตอ่ ชดุ กอ่ นประถมศึกษา ๒๐๐.00 บาท/คน/ปี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ 625.00 บาท/คน/ปี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ 619.00 บาท/คน/ปี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๖๒๒.00 บาท/คน/ปี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ 673.00 บาท/คน/ปี ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ 806.00 บาท/คน/ปี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๘๑๘.00 บาท/คน/ปี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ 764.00 บาท/คน/ปี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๘77.00 บาท/คน/ปี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๙๔๙.00 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ 1,318.00 บาท/คน/ปี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ๑,๒๖๓.00 บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑,๑09.00 บาท/คน/ปี ชน้ั ปวช.๑-๓ (สถานประกอบการ) ๒,๐๐๐.00 บาท/คน/ปี 2.2 ลักษณะของหนังสือท่ใี ช้ กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนงบประมาณให้สถานศึกษาจัดซื้อหนังสือตามกิจกรรมการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน โครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ อย่างทวั่ ถึงและมีคณุ ภาพ ได้แก่
10 2.2.๑ ระดับก่อนประถมศึกษาใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ระดับปฐมวัยที่สอดคล้องตาม หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕60 2.2.2 ระดับประถมศึกษา (ป.๑–ป.๖) ใช้หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน/รายวิชาพื้นฐาน ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ คอื ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วทิ ยาศาสตร์ ๔) สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕) สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖) ศลิ ปะ ๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘) ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) และใช้แบบฝึกหัดในรายวิชาพื้นฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการกําหนดให้มี เพื่อเสริมทักษะที่จําเป็นแก่นักเรียน เฉพาะระดบั ประถมศกึ ษาเท่านั้น ไดแ้ ก่ ๑) ภาษาไทย ๒) คณติ ศาสตร์ ๓) ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 2.2.3 ระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-ม.๖) ใช้หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชา พ้ืนฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หมายเหตุ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2561 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตามคาํ ส่ังกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 ๒.๓ แนวทางการจดั ซื้อหนังสือเรยี นและแบบฝึกหัด 2.3.๑ การคัดเลือกหนงั สอื เรียนและแบบฝกึ หดั ครผู ้สู อนเป็นผู้พจิ ารณาคดั เลือกหนงั สือตามเหตุผลเชิงคุณคา่ ทางวชิ าการ เสนอคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและวิชาการผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทน ชุมชน และผู้แทนนักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยหนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชา พ้ืนฐาน พิจารณาคัดเลือกจากหนังสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษา มีเนื้อหาสาระยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน ให้เลือกจากบัญชีกําหนดส่ือการเรียนรู้สําหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕61 จากเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญชีกําหนดสื่อการเรียนรู้สําหรับเลือกใช้ในสถานศึกษาตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 http://academic.obec.go.th/textbook/web/ หรอื เว็บไซต์ ของสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา หรือเว็บไซต์สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน http://academic.obec.go.th หรือ http://www.obec.go.th
11 สําหรับการคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ระดับปฐมวัย ครูผู้สอนปฐมวัย เป็นผู้คัดเลือก หนังสือตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยและผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนนักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยพิจารณา จากความสอดคล้องของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรสถานศึกษาต่อการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมกระบวนการคิดคุณธรรมจริยธรรม รักษ์ส่ิงแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งสามารถดูรายชื่อตัวอย่างหนังสือท่ีผ่าน การประกวด/การคัดเลือก จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนจากเว็บไซต์สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา http://academic.obec.go.th หรือเว็บไซต์ฐานข้อมูลบัญชีกําหนดส่ือการเรียนรู้สําหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 http://academic.obec.go.th/textbook/web/ ๒.3.2 การจดั ซ้ือ/จัดหาหนงั สือเรยี นและแบบฝกึ หัด (1) หนังสือเสริมประสบการณ์ระดับปฐมวยั จดั ซอ้ื เพือ่ ใชส้ ําหรับการจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ควรมีหลากหลายประเภท หลายหลายในด้านของผู้แต่ง ผู้วาดภาพประกอบและเน้ือหาการเรียนรู้ และมีจํานวนเพียงพอเหมาะสมต่อการจัดประสบการณ์ในห้องเรียน ระดบั ปฐมวัย (2) หนังสือเรียนและแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ให้ดําเนนิ การจัดซือ้ ดงั นี้ (2.1) จดั ซอื้ /จดั หาหนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานทัง้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ให้ นักเรียนครบทุกคน โดยหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ให้พิจารณาเลือกซ้ือฉบับท่ีสอคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (2.2) จัดซ้ือแบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐานระดับประถมศึกษาใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพ่ือแจกให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน โดยไม่เรียกเก็บคืน ท้ังน้ี การจัดซ้ือแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ให้พิจารณาเลือกซื้อ ฉบับที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทั้งน้ี ในการจัดซ้ือจัดหาหนังสือเรียนทุกกรณี ให้สถานศึกษาดําเนินการ โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย สําหรับกรณีท่ีได้รับแจ้งจัดสรร งบประมาณยังไม่ครบตามวงเงินงบประมาณค่าหนังสือเรียน ให้สถานศึกษายืมเงินจาก งบเงินอุดหนุน รายการ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาใช้เป็นลําดับแรกก่อน หากยังไม่พอให้ยืมเงินจากรายการค่าจัดการเรียนการสอน เปน็ ลาํ ดบั ถัดไป และเมื่อได้รบั จดั สรรงบประมาณเพิ่มเติมครบจาํ นวนนกั เรยี นจริง ให้สง่ ใช้คืนรายการเดมิ (3) งบประมาณในการจัดซ้ือหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด สามารถถัวจ่ายระหว่าง กลุ่มสาระการเรยี นรู้และระดบั ชั้นได้ (4) ให้สถานศึกษาแจกหนังสือเรียนที่จัดซ้ือ / จัดหาให้แก่นักเรียนทุกคน และสร้างวินัย ใหน้ กั เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบ ตระหนักถงึ การใชห้ นงั สือให้คุม้ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ (5) งบประมาณที่เหลือจากการจัดซื้อหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชาพ้ืนฐาน ให้แก่นักเรียนทุกคนแล้ว สามารถนําไปจัดซื้อหนังสือเสริมประสบการณ์ระดับปฐมวัย หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ เพ่ิมเติม/รายวิชาเพ่ิมเติมท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา หรือจัดทําสําเนาเอกสารประกอบ การเรียนการสอน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น โดยผ่านความเห็นชอบร่วมกันของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
12 (6) วธิ ีดาํ เนนิ การจดั ซ้อื (6.๑) ให้สถานศึกษาดําเนินการจัดซื้อโดยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้คํานึงถึงคุณภาพท่ีเหมาะสมกับราคาและให้ต่อรองราคาจากผู้ขาย เพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด กรณีหนังสือเรียนท่ีคัดเลือกมีความจําเป็นต้องระบุชื่อสํานักพิมพ์และช่ือผู้แต่ง เป็นการเฉพาะ ให้ดําเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยให้จัดทําหนังสือ แจ้งให้ผู้มีอาชีพ ร้านค้า สํานักพิมพ์ เข้าแข่งขันราคาให้มากที่สุดเท่าท่ีจะทําได้ เม่ือมีผู้เสนอราคาตํ่าสุดแล้ว หากเหน็ วา่ ราคายังไม่เหมาะสมให้ทําการต่อรองราคาใหม้ ากที่สดุ เทา่ ที่จะทําได้ (6.๒) ให้สถานศึกษาเตรียมดําเนินการหาผู้ขายไว้ให้พร้อม เพ่ือท่ีจะทําสัญญาได้ทันที เมอื่ ไดร้ บั แจง้ อนมุ ัตกิ ารโอนเงินงบประมาณเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถานศึกษา (6.3) เมื่อได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจํานวนเงินท่ีได้รับแจ้งการโอนเงิน และจํานวนเงินในสมดุ คฝู่ ากของธนาคารว่ามจี ํานวนเงินทีถ่ ูกตอ้ งตรงกนั (6.๔) ออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการ ในนามของสถานศึกษา ตามจาํ นวนเงนิ ที่ได้รับส่งสํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาเพ่อื รวบรวมไวเ้ ป็นหลกั ฐาน (6.๕) เมื่อดําเนินการจัดซื้อหนังสือเรียนเรียบร้อยแล้วให้สถานศึกษาลงบัญชีวัสดุ หนงั สอื เรียน และใหน้ ักเรียนลงชื่อรับหนังสือไว้เป็นหลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ (6.6) การจัดซ้ือหนังสือเรียนจะต้องดําเนินการด้วยความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ ทง้ั น้ไี ดก้ ําหนดปฏทิ นิ การดําเนนิ งานมาใหด้ ้วยแล้ว ๓. ค่าอปุ กรณก์ ารเรียน อุปกรณ์การเรียนท่ีจําเป็นและส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน ได้แก่ สีเทียน สีนํ้า ดินนํ้ามันไร้สารพษิ กรรไกรสําหรบั เดก็ ปฐมวยั กระดาษ สมุด ดนิ สอ ปากกา ยางลบ ไมบ้ รรทดั กระเป๋านกั เรยี น ฯลฯ ในอตั ราดังน้ี - ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๑๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๒๐๐ บาท/คน/ป)ี - ระดบั ประถมศกึ ษา ๑๙๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๓๙๐ บาท/คน/ปี) - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๒๑๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๒๐ บาท/คน/ป)ี - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๖๐ บาท/คน/ป)ี - ระดบั ปวช.๑-๓ (สถานประกอบการ) ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๔๖๐ บาท/คน/ป)ี ทง้ั น้ี ผปู้ กครอง/นกั เรียนสามารถถวั จา่ ยระหวา่ งอุปกรณ์การเรยี นและเครอื่ งแบบนักเรยี นได้ แนวทางการจดั ซ้ือจดั หาอปุ กรณก์ ารเรยี น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จะโอนงบประมาณค่าอุปกรณ์การเรียนให้แก่ หน่วยเบิกจ่าย (สพป. สพม. และโรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิกจ่าย) เพื่อให้ดําเนินการโอนเงินงบประมาณค่าอุปกรณ์ การเรียน ซ่ึงเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถานศึกษาในสังกัด โดยให้สถานศึกษาจ่ายเงินสด ให้กับนักเรียน และ/หรือผู้ปกครอง เพ่ือนําไปเลือกซื้ออุปกรณ์การเรียนที่จําเป็นต้องใช้ในการเรียนการสอนได้ ตามความต้องการให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละระดับช้ัน โดยส่งผลต่อคุณภาพ ได้แก่ สีเทียน สีน้ํา ดินน้ํามันไร้ สารพิษ กรรไกรสําหรับเด็กปฐมวัย กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด เคร่ืองมือเรขาคณิต วัสดุฝึก ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ วัสดุฝึกอาชีพ วัสดุด้านICT กระเป๋านักเรียน ฯลฯ เป็นต้น ในกรณีที่มีการบริจาค ให้ดําเนินการตามแนวทางการบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธิ์ค่าอุปกรณ์การเรียน โดยบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธิ์ดังกล่าว ใหก้ ับสถานศกึ ษาด้วยความสมัครใจ เพอื่ ใหส้ ถานศึกษานําไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวัตถปุ ระสงค์ของผู้บริจาค
13 โดยดําเนินการขั้นตอนการจ่ายเงิน การควบคมุ ติดตามและตรวจสอบ ดงั น้ี ๑. เมื่อสถานศึกษาได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจํานวนเงินที่ได้รับแจ้งการโอนเงินและ จํานวนเงนิ ในบัญชเี งนิ อดุ หนนุ ของสถานศึกษาวา่ มีจํานวนเงินทีถ่ กู ตอ้ งตรงกนั ๒. สถานศึกษาออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการในนามของสถานศึกษาตามจํานวนเงิน ที่ไดร้ บั ส่งสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาเพอื่ รวบรวมไว้เป็นหลกั ฐาน 3. สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย ๒ คน เพ่ือร่วมกันจ่ายเงินให้กับนักเรียนและ/หรือ ผู้ปกครองโดยลงลายมือชื่อรับเงิน กรณีนักเรียนไม่สามารถลงลายมือช่ือรับเงินได้ ให้ผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินแทน เพอ่ื เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐานการจา่ ยเงิน ตามแบบหลักฐานการจา่ ยเงิน ตวั อย่างเอกสารหมายเลข ๑ (ตามแบบฟอรม์ หนา้ 20) ๔. สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียนและ /หรือผู้ปกครองจัดซื้อ จัดหาอุปกรณ์การเรียนได้ ตามความต้องการ ได้แก่ จัดซื้อจากสหกรณ์ ร้านค้า ชุมชน โดยดําเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียน สําหรับโรงเรียน ที่ห่างไกลทุรกันดาร โรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิเศษ ซ่ึงผู้ปกครอง หาซ้ือได้ลําบาก สถานศึกษาสามารถดําเนินการช่วยเหลืออํานวยความสะดวกในการจัดหาได้ โดยความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๕. สถานศึกษาติดตามใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการจัดหาอุปกรณ์การเรียน จากนักเรียน หรือผู้ปกครอง กรณีไม่มีใบเสร็จให้ใช้แบบหลักฐานยืนยันการจัดหา (กรณีไม่มีใบเสร็จรับเงินให้ใช้หลักฐาน การจดั หาแทน) ตามตวั อยา่ งเอกสารหมายเลข 2 (ตามแบบฟอรม์ หน้า 21) ๖. สถานศึกษาดูแลให้นักเรียนมีอุปกรณ์การเรียนจริง หากพบว่านักเรียนไม่มีอุปกรณ์ การเรียน โดยนักเรียนหรอื ผปู้ กครองนาํ เงินไปใช้จ่ายอย่างอ่นื ที่ไมเ่ ปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ ผู้ปกครองจะต้องคนื เงินให้กบั ทางราชการ 7. ผปู้ กครองสามารถใช้จ่ายเงนิ ค่าอุปกรณก์ ารเรียน โดยถัวจา่ ยรว่ มกับคา่ เครอ่ื งแบบนกั เรียนได้ 8. กรณีท่ีผู้ปกครองบริจาคค่าอุปกรณ์การเรียนให้แก่สถานศึกษา ดําเนินการตามแนวทาง การบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์อุปกรณ์การเรียน โดยบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์ดังกล่าวให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ เพอื่ ใหโ้ รงเรียนนาํ ไปพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ของผูบ้ ริจาค ๔. ค่าเคร่ืองแบบนกั เรยี น เครื่องแบบนกั เรยี น ประกอบดว้ ย เสอื้ /กางเกง/กระโปรง ในอัตรา ดงั น้ี - ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๓๐๐ บาท/คน/ปี - ระดบั ประถมศกึ ษา ๓๖๐ บาท/คน/ปี - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๔๕๐ บาท/คน/ปี - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ปี - ระดบั ปวช. ๑-๓ (สถานประกอบการ) ๙๐๐ บาท/คน/ปี กรณีนักเรียนมีชุดนักเรียนเพียงพอแล้ว สามารถซื้อเข็มขัด รองเท้า ถุงเท้า ชุดลูกเสือ/เนตรนารี/ ยุวกาชาด/ชดุ กีฬาได้ ทัง้ น้ี ผู้ปกครอง/นกั เรียนสามารถถัวจ่ายระหว่างเครอ่ื งแบบนกั เรยี นและอุปกรณ์การเรยี นได้
14 แนวทางการจดั ซื้อจดั หาเครอื่ งแบบนกั เรยี น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะโอนงบประมาณค่าเคร่ืองแบบนักเรียนให้แก่ หน่วยเบิกจ่าย (สพป. สพม. โรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิกจ่าย) เพื่อให้ดําเนินการโอนเงินงบประมาณค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น ซ่ึงเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปเข้าบัญชีเงินอุดหนุนของสถานศกึ ษาในสังกัด โดยให้สถานศึกษาจ่ายเงินสดให้กับนักเรยี น และ/หรือผู้ปกครอง และหากมีเครื่องแบบนักเรียนเพียงพอแล้วอาจนําเงินท่ีได้รับไปจัดซ้ือเข็มขัด รองเท้า ถงุ เท้า ชุดลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ชดุ กีฬา/อปุ กรณก์ ารเรยี นทีจ่ ําเป็นได้ ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียนและ/หรือผู้ปกครองจัดซื้อ จัดหาเครื่องแบบนักเรียนได้ ตามความต้องการ ได้แก่ จัดซ้ือจากสหกรณ์ ร้านค้า ชุมชน กลุ่มแม่บ้านหรือตัดเย็บเอง โดยดําเนินการให้ทัน ก่อนเปิดภาคเรียน สําหรับโรงเรียนที่ห่างไกล ทุรกันดาร โรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิเศษ ท่ีผู้ปกครองหาซ้ือได้ลําบาก โรงเรียนสามารถดําเนินการช่วยเหลืออํานวยความสะดวก ในการจัดหาเครื่องแบบนักเรียนท่ีมีคุณภาพให้แก่นักเรียนได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินการควบคุม ติดตาม และตรวจสอบให้ปฏิบัติเหมือนกับการจ่าย เงินค่าอุปกรณ์การเรยี น อนึ่ง กรณีสถานศึกษาหรือผู้ปกครอง หากมีข้อสงสัยเก่ียวกับการเสียภาษีของผู้ประกอบการ ท่ีขายสินค้าไม่ปฏิบัติตามประมวลรัษฎากรให้แจ้งกรมสรรพากรผ่านทาง www.rd.gp.th หัวข้อ “แจ้งเบาะแสขอ้ มูลแหลง่ ภาษ”ี
15 เอกสารหมายเลข ๑ แบบหลกั ฐานการจา่ ยเงนิ ❏ ค่าเครือ่ งแบบนักเรียน ❏ ค่าอุปกรณก์ ารเรียน ภาคเรยี นท…ี่ ............ ปีการศกึ ษา…............ ระดบั ชน้ั ❏อนุบาลปที ี่….............. ❏ประถมศกึ ษาปีท…ี่ …...................... ❏มธั ยมศึกษาปีที…่ .......... ❏ปวช. (สถานประกอบการ)…........................ นักเรยี นจาํ นวนทง้ั สิ้น…………….........คน ไดร้ ับเงนิ จากโรงเรยี น…........................................................................ สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา…....................................................................ขา้ พเจ้าขอรบั รองวา่ จะนําเงนิ ทไ่ี ด้รบั ไปดาํ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข์ องทางราชการ หากไมด่ ําเนนิ การดังกล่าวขา้ พเจา้ ยนิ ยอมชดใชเ้ งินคืน ให้กบั โรงเรียนต่อไป หมายเลข ท่ี ชือ่ -สกุลนักเรยี น ประจําตวั จาํ นวนเงนิ วันท่ี ลายมอื ชอ่ื ผ้รู ับเงนิ หมายเหตุ นกั เรียน ๑๓ หลัก รับเงนิ รวมทั้งสน้ิ ลงชอ่ื ...................................................ผู้จ่ายเงิน ลงชือ่ ..................................................ครปู ระจําชนั้ (..................................................) (..................................................) ตรวจสอบแล้วถกู ตอ้ ง ลงชอื่ ...................................................ผอู้ ํานวยการโรงเรียน (.................................................)
16 เอกสารหมายเลข ๒ แบบหลกั ฐานยนื ยนั การจดั หา (กรณีไม่มใี บเสร็จรบั เงนิ ใหใ้ ชห้ ลกั ฐานการจดั หาแทน) ❏ ค่าเครือ่ งแบบนกั เรยี น ❏ ค่าอปุ กรณก์ ารเรียน ภาคเรยี นที่ …........................ ปีการศึกษา…………………….... ระดับชั้น ❏ อนุบาลปีท…่ี ................ ❏ ประถมศกึ ษาปีท่…ี ................. ❏ มธั ยมศึกษาปที ่…ี ........... ❏ ปวช. (สถานประกอบการ)…................... นักเรียนจาํ นวนท้งั สิ้น…..................คน ได้รับเงนิ จากโรงเรียน…........................................................................ สังกัดสํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา…..................................................และขอรบั รองว่านกั เรยี นทุกคน/ผู้ปกครอง ได้นาํ เงินไปดาํ เนินการตามวัตถปุ ระสงคข์ องการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน หมายเลข จํานวนเงิน ลายมือชื่อ ท่ี ชอื่ -สกุลนกั เรียน ประจําตวั เคร่อื งแบบ อุปกรณ์ รวม วนั ที่ ผปู้ กครอง/ หมายเหตุ นักเรยี น ๑๓ หลัก จดั หา นักเรียน รวมทงั้ ส้ิน ลงช่ือ........................................................ครูประจําช้นั (....................................................) ตรวจสอบแลว้ ถกู ตอ้ ง ลงช่อื .......................................................ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียน (....................................................)
17 ๕. คา่ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน งบประมาณกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนต่อนกั เรียน ๑ คน ดังน้ี - ก่อนประถมศกึ ษา ๒๑๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๓๐ บาท/คน/ป)ี - ประถมศกึ ษา ๒๔๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๘๐ บาท/คน/ป)ี - มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๔๔๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๘๘๐ บาท/คน/ป)ี - มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๙๕๐ บาท/คน/ปี) - ปวช.๑-๓ (สถานประกอบการ) ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๙๕๐ บาท/คน/ป)ี กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน ประกอบด้วย ๑. กิจกรรมวชิ าการ ๒. กจิ กรรมคณุ ธรรม จริยธรรม /ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ผู้บาํ เพ็ญประโยชน์ ๓. กิจกรรมทศั นศึกษา ๔. กิจกรรมการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ทั้งน้ี ในการวางแผนกําหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต้องให้คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนกรรมการนักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีส่วนร่วมและพิจารณาโดยท่ีผลการพิจารณาต้องไม่เป็นการรอนสิทธิ์ของเด็กยากจน เด็กที่มีความต้องการพิเศษและ เด็กด้อยโอกาสทพี่ งึ จะได้รับ โดยการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ตามคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” โดยวางแผนดําเนินการ ในแผนปฏิบัติการประจําปีของสถานศึกษา และสามารถใช้งบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผ้เู รยี นในการดําเนินการตามกิจกรรมดังกลา่ วได้ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน มีสาระสําคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. กิจกรรมวิชาการ เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมนอกจากการเรียนปกติในช้ันเรียน เพ่ือให้ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมเด็กเก่งให้มีความเป็นเลิศ และแก้ไขข้อบกพร่องของ นักเรียนที่เรียนอ่อนให้มีศักยภาพสูงขึ้น เน้นกิจกรรมท่ีเสริมสร้างจินตนาการให้โอกาสนักเรียนได้เรียนรู้ ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านประชาธิปไตย ท้ังน้ี กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” เป็นการดําเนินการ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้ โดยพัฒนาความสามารถด้านการสื่อสารด้านการคิดและการพัฒนา กรอบความคิดแบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) ด้านการแก้ปัญหา ด้านการใช้เทคโนโลยีและทักษะ การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการทํางาน การดํารงชีพ และ ทักษะชวี ติ โดยตอบสนองความสนใจ ความถนดั และความตอ้ งการของผ้เู รยี นตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ฝึกการทํางาน ทักษะทางอาชีพ ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่อย่างพอเพียงและมีวินัยทางการเงิน พัฒนาความสามารถ ด้านการใช้ทักษะชีวิตและสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย รวมท้ังการส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา โดยกาํ หนดใหด้ ําเนนิ การกิจกรรม ดงั กลา่ วอยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ ครัง้ ๒. กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม /ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บําเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทั้งน้ี กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” เป็นการดําเนินการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม โดยปลูกฝัง ค่านิยมและจิตสํานึกการทําประโยชน์ต่อสังคมมีจิตสาธารณะและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเองและต่อส่วนรวม ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งม่ันในการทํางาน ความกตัญญู) และปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทยและหวงแหนสมบตั ขิ องชาติ
18 โดยมสี าระสําคญั ดงั ต่อไปน้ี - กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา ได้แก่ ค่ายเด็กดีของชุมชน ค่ายรักษ์โลก ค่ายรักษ์สัตว์ ค่ายยุวชนคนดี ค่ายสันติวิธี กิจกรรมอาสาพัฒนา กิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมเสริมสร้าง คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และคา่ นยิ มหลัก 12 ประการ เป็นตน้ - ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บําเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติในการเรียนลูกเสือ/ เนตรนารี/ยุวกาชาด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกทักษะการจัดการเผชิญสถานการณ์การใช้ชีวิต ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ได้แก่ การเดินทางไกล การอยู่ค่ายพักแรม การผจญภัย (ไต่เขาปืนต้นไม้ ฯลฯ) โดยกําหนด ให้มีการดําเนินการกจิ กรรมดังกลา่ วอยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ ครง้ั ๓. กิจกรรมทัศนศึกษาโดยเน้นภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น และ/หรือ ทัศนศึกษา ตามแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ตรงให้กับนักเรียนท่ีเพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน เพอ่ื ให้นกั เรียนมคี วามรแู้ ละประสบการณอ์ ยา่ งกว้างขวาง โดยกาํ หนดใหด้ าํ เนินการกิจกรรมดังกล่าวอยา่ งน้อยปลี ะ ๑ คร้งั ๔. กิจกรรมการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เป็นกิจกรรมการให้บริการ ICT/ บริการคอมพิวเตอร์แก่นักเรียนเพิ่มเติมจากการเรียนคอมพิวเตอร์พื้นฐานตามหลักสูตรปกติ เช่น การให้บริการสืบค้น ความรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและการให้บริการคอมพิวเตอร์ในการจัดทําส่ือรายงาน การนําเสนอข้อมูล การออกแบบ สรา้ งสรรคด์ ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยกาํ หนดให้ดาํ เนนิ การกจิ กรรมดังกลา่ วอย่างน้อย ๔๐ ช่วั โมง/คน/ปี
19 แนวทางการดําเนนิ งานโรงเรียนการศึกษาพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษและโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ สําหรับโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ซ่ึงเป็นสถานศึกษา ท่ีมีลักษณะพิเศษจากสถานศกึ ษาทั่วไป ได้รบั การอนโุ ลมนอกจากแนวทางการดาํ เนินการขา้ งต้น ดงั นี้ คา่ เคร่ืองแบบนักเรียน ๑. โรงเรียนการศึกษาพิเศษและโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ รับนักเรียนในลักษณะประจํา ได้รับ การสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนเป็นปัจจัยพ้ืนฐานด้านค่าเคร่ืองแบบนักเรียน ชุดลูกเสือ ชุดเนตรนารี ชุดลําลอง ถุงเท้านักเรียน รองเท้า นักเรียน เข็มขัด ชุดนักศึกษาวิชาทหาร ตามหนังสือสํานักงบประมาณ ที่ นร ๐๔๑๐/ ๑๙๓๔ ลงวันท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๕ และจากแนวทางการดําเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้รับงบประมาณ ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน ให้นําไปจัดทํากิจกรรมท่ีพัฒนา คุณภาพนักเรียน หรือซื้อเข็มขัดรองเท้า ชุดกีฬา ท่ีไม่เพียงพอ เป็นต้น โดยให้โรงเรียนเป็นผู้ดําเนินการแทนผู้ปกครอง ทม่ี อบฉันทะไว้กับผูอ้ าํ นวยการโรงเรยี นดว้ ยเหตุผลผู้ปกครองมภี มู ลิ ําเนาอยู่หา่ งไกลและการคมนาคมลําบาก ๒. โรงเรียนการศึกษาพิเศษและโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ที่รับนักเรียนประเภทไป–กลับ สามารถ ดาํ เนนิ การตามแนวนโยบายได้ ๓. ศูนย์การศึกษาพิเศษ ให้บริการเด็กพิการตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการในการฟื้นฟูและ พฒั นาสมรรถภาพ โดยจดั ซื้อเส้ือผ้าหรือเครอื่ งแตง่ กาย ( ชุดตา่ ง ๆ ) ตามความเหมาะสม คา่ หนงั สือเรยี น ๑. โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ๔ ประเภท (โรงเรียนโสตศึกษา โรงเรียนบกพร่องทางร่างกายหรือ สขุ ภาพ โรงเรียนสอนคนตาบอด และโรงเรียนบกพร่องทางสตปิ ญั ญา) ดาํ เนินการดังน้ี 1.๑ โรงเรยี นโสตศึกษาและโรงเรียนบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรือสุขภาพ ผลิตหนงั สือเรยี นเองในบางส่วน 1.๒ โรงเรียนสอนคนตาบอด ไมส่ ามารถใช้หนังสือเรียนตามปกติใหจ้ ดั ทาํ หนังสืออกั ษรเบรลล์ได้ 1.3 โรงเรียนบกพร่องทางสติปัญญา ให้จัดทําแบบเรียนในด้านพัฒนาศักยภาพ และแบบ เสรมิ ประสบการณข์ องเด็กแตล่ ะบคุ คล ๒. ศูนย์การศึกษาพิเศษ เป็นสถานศึกษาท่ีให้บริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพเด็กพิการตั้งแต่แรกเกิด หรือแรก พบความพิการ และบริการเด็กพิการประเภทต่าง ๆ ให้จัดทําเอกสารตาม IEP (Individualized Education Program) ของเด็กพิการแต่ละบุคคลและแบบเสริมประสบการณ์ รวมทั้งผลติ หนังสอื อกั ษรเบรลล์
20 + แนวทางการจัดสรรงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ แผนงานบูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน รวม ๕ รายการย่อย ได้แก่ (๑) ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว/ปัจจัยพ้ืนฐานสําหรับนักเรียนยากจน/ ค่าอาหารนักเรียนประจําพักนอน) (๒) ค่าหนังสือเรียน (๓) ค่าอุปกรณ์การเรียน (๔) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และ (๕) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีข้ันตอนการจัดสรรงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 (ภาคเรียนที่ ๒/๒๕60 และภาคเรียนที่ ๑/๒๕61) สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานจดั สรรงบประมาณ ดงั นี้ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕60 จัดสรรงบประมาณภาคเรียนละ ๒ คร้งั ครง้ั ที่ ๑ จัดสรร ๗๐% ของจาํ นวนนกั เรยี นรายบุคคล โดยใชข้ อ้ มูลนกั เรยี นรายบุคคลของภาคเรียนที่ ๑/๒๕60 (ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕60) คร้ังที่ ๒ เม่อื สถานศกึ ษารายงานและยืนยันข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล ของภาคเรียนที่ ๒/๒๕60 (ณ วนั ท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕60) แลว้ จึงจัดสรรเพิ่มเตมิ ให้ครบ ๑๐๐% ของจาํ นวนนักเรยี นปัจจบุ นั ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕61 จดั สรรงบประมาณภาคเรยี นละ ๒ คร้ัง ครงั้ ท่ี ๑ จัดสรร ๗๐% ของจาํ นวนนักเรียนเดิมของภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕60 (ณ วนั ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕60) ท่ีเลอื่ นชนั้ ไปอีกระดับหนึ่ง เป็น อ.๒ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๒ ม.๓ ม.๕ และ ม.๖ สําหรบั นกั เรยี นเข้าใหม่ ชน้ั อ.๑ ป.๑ ม.๑ และ ม.๔ จดั สรร ๗๐% ของจาํ นวนนกั เรียนช้ัน อ.๑ ป.๑ ม.๑ และ ม.๔ เดิม ปีการศึกษา ๒๕60 ครั้งที่ ๒ เมือ่ สถานศกึ ษารายงานและยนื ยนั ข้อมลู นักเรียนรายบุคคล ของภาคเรียนท่ี ๑/๒๕61 (ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕61) แลว้ จงึ จดั สรรเพ่ิมเตมิ ใหค้ รบ ๑๐๐% ของจาํ นวนนกั เรียนปจั จบุ ัน กรณีโรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณเกินจํานวนนักเรียนจริง ข้อมูล ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน และวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน (นักเรียนลดลง) ให้โรงเรียนเก็บเงินงบประมาณไว้สมทบในการจัดสรรครั้งต่อไป ซ่ึงจะหักลบงบประมาณที่เกินในภาคเรียนถัดไป สําหรับกรณีนักเรียนย้าย ให้โรงเรียนต้นทางแจ้งรายละเอียด รายการพร้อมหลกั ฐานทน่ี ักเรยี นไดร้ ับจดั สรรให้โรงเรียนปลายทางทราบ
21 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน แจ้งจัดสรรงบประมาณกิจกรรมการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ เป็นรายสถานศึกษาจําแนกตามระดับการศึกษาให้สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ทราบและแจ้งให้สถานศึกษาทราบเพ่ือเตรียมการจัดซื้อ จัดหา จัดกิจกรรมต่อไป โรงเรียนสามารถเปิดดูรายละเอียด การจัดสรรได้จากเว็บไซต์สํานักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน http://plan.bopp-obec.info ท้ังนี้ จะโอนงบประมาณดังกล่าวให้แก่หน่วยเบิกจ่ายเพ่ือดําเนินการโอนงบประมาณเข้าบัญชีเงินอุดหนุนของสถานศึกษา ทุกแหง่ เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาดาํ เนนิ การใหน้ ักเรยี นไดร้ ับหนงั สือเรียน เครื่องแบบนักเรยี น และอปุ กรณก์ ารเรยี น สําหรับโรงเรียนท่ีเป็นหน่วยเบิก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้โอนเงินประจํางวด ใหเ้ พื่อเบิกจากคลังจงั หวัด แนวทางการบรหิ ารจดั การ เม่ือสถานศึกษาได้รับจัดสรรงบประมาณแล้ว ให้สถานศึกษาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี ท้ังนี้ แผนปฏิบัติการประจําปีต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และให้สํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษากํากับ ติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแนวทางการดําเนินงานตามโครงการฯ และ นโยบาย การกํากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล ระดบั สถานศกึ ษา 1. สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการกํากับ ติดตามและประเมินผล ซ่ึงประกอบด้วย ผู้แทน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน เป็นกรรมการกํากับ ติดตามและประเมินผลการใช้ จ่ายงบประมาณค่าจัดการเรียนการสอน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เคร่ืองแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผู้เรยี น รวมทงั้ กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” 2. สถานศึกษารายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและรายงานผ่านระบบ บญั ชกี ารศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ( National Education Account : NEA ) ระดบั สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 1. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการกํากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การดําเนินงานภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และกํากับ ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไป ตามแนวทางการดําเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการขยายโอกาส การเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างท่ัวถงึ และมีคณุ ภาพ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 2. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารายงานผลการดําเนินงานในระบบติดตามและประเมินผล การดําเนินงานโครงการและกจิ กรรมสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (ระบบ e-MES) ระดับสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานแต่งต้ังคณะกรรมการ กํากับ ติดตามและประเมินผล การดาํ เนนิ งานการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการ ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา และรายงานผลการดาํ เนนิ งาน
22 แนวทางการบริจาคเงินทไ่ี ดร้ บั สทิ ธิ์คา่ เคร่อื งแบบนกั เรียน/คา่ อุปกรณ์การเรยี น กรณีท่ีผู้ปกครองและนักเรียนได้รับสิทธ์ิค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่าอุปกรณ์การเรียนแล้ว มีความประสงค์ท่ีจะบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธิ์ดังกล่าวให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ เพื่อให้โรงเรียนนําไป พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียน ท้ังนี้ สามารถทําได้โดยทําใบสําคัญรับเงินจากโรงเรียน และ นําเงินบริจาคให้กับโรงเรียนในเอกสารฉบับเดียวกัน ตามแบบใบแสดงเจตจํานงบริจาคค่าเครื่องแบบนักเรียน/ คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน (ตามตวั อยา่ ง หนา้ 23)
23 แนวทางการบริจาคเงินทไี่ ดร้ บั สทิ ธคิ์ า่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น / คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน ........................................ ใบแสดงเจตจาํ นงบรจิ าคคา่ เครื่องแบบนกั เรยี น/คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน โรงเรียน........................................................... สพป./สพม...................................................... วนั ที่.................เดอื น......................................พ.ศ. ............... ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)..................................................................................................................... อย่บู า้ นเลขท่ี.............................ถนน.......................................................แขวง/ตําบล....................................................... อาํ เภอ/เขต.......................................................จงั หวดั ..................................................รหสั ไปรษณยี ์.............................. ผู้ปกครองนักเรียนช่ือ (ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว)................................................................................................ หมายเลขประจําตัวนักเรียน (๑๓ หลกั ).................................................... ระดับชัน้ ..........................ปกี ารศึกษา 2561 มีความประสงค์ท่ีจะบริจาคเงินท่ีได้รับสิทธ์ิการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่วั ถึงและมีคุณภาพท่ีเปน็ สทิ ธ์ิ ของขา้ พเจา้ ดว้ ยความสมัครใจให้แก่โรงเรยี น ในรายการ ดงั น้ี ค่าเครือ่ งแบบนักเรยี น จํานวน.................................................บาท ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น จาํ นวน.................................................บาท รวมจํานวนเงินท้งั ส้ิน..................................บาท (.....................................................................) เพือ่ ใหโ้ รงเรียนนาํ ไปดาํ เนนิ การ ดังนี้ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา จดั หาวัสดุ อุปกรณก์ ารศึกษา ปรับปรงุ ซอ่ มแซม จดั หาหรอื จดั สร้างอาคารเพอ่ื ประโยชน์ทางการศึกษา ลงชื่อ.......................................................ผูบ้ รจิ าค ลงชือ่ .................................................ผู้รับเงินบรจิ าค (..................................................) (................................................) หมายเหตุ โรงเรยี นออกใบเสร็จรับเงนิ ของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เลม่ ท.ี่ ............เลขท.ี่ ............ลงวันท…ี่ ………………………….. ใหก้ ับผ้บู รจิ าคแล้ว
24 แนวทางการดําเนนิ งานดา้ นการมสี ว่ นร่วม การดําเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึง บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เน้นการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมติดตามประเมินผลและร่วมรับผิดชอบโดยกลุ่มเป้าหมาย ในการมีส่วนร่วม ประกอบดว้ ย นักเรียน ผปู้ กครอง คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน โดยมีบทบาท ดงั น้ี นักเรยี น นักเรียนทุกคนมีบทบาทในการร่วมพิจารณาจัดซ้ือจัดหาเคร่ืองแบบนักเรียนและอุปกรณ์การเรียน ของตนตามความเหมาะสม โดยเงินท่ีได้รับสามารถถวั จ่ายได้ระหว่าง ๒ รายการ ซึ่งรับผิดชอบการใช้ การรักษา หนังสือเรียนและอุปกรณ์การเรียนให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียน และรับผิดชอบในการเข้าร่วม กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน รวมถงึ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาร”ู้ ผปู้ กครอง ผู้ปกครองทุกคนรับผิดชอบจัดหาเคร่ืองแบบนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนให้กับนักเรียนในปกครอง ของตนให้เพียงพอ โดยเงินที่ได้รับสามารถถัวจ่ายได้ระหว่าง ๒ รายการ สร้างความตระหนักและปลูกฝังนิสัย ให้นักเรียนใช้หนังสือเรียนและอุปกรณ์การเรียนให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน เขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น รวมถงึ กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลาร้”ู คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย (ผแู้ ทนครู ผ้แู ทนผปู้ กครอง ผู้แทนชมุ ชน และผู้แทนนักเรียน) มบี ทบาท 1. ร่วมพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการคดั เลอื กหนังสอื เรยี น 2. ร่วมกาํ หนดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียนใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการนักเรียนและสถานศกึ ษา 3. ให้ความเห็นชอบในการใช้เงินท่ีเหลือจากการดําเนินการจัดซื้อหนังสือเรียนและ เงินกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นของสถานศึกษา 4. ร่วมให้ความคิดเห็นในการประเมินผลเพื่อพัฒนาแนวทางการดําเนินงานในเร่ืองจัดซื้อ หนังสอื เรยี นและเงนิ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มบี ทบาท 1. ใหค้ วามเห็นชอบในการคัดเลือกหนงั สือเรยี น 2. ให้ความเห็นชอบในการกําหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของ นักเรียนและสถานศกึ ษา 3. ให้ความเห็นชอบในการใช้เงินที่เหลือจากการดําเนินการจัดซ้ือหนังสือเรียนของสถานศึกษา งบประมาณที่เหลือจากการจัดซื้อหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชาพ้ืนฐานให้แก่นักเรียนทุกคนแล้ว สามารถ นําไปจัดซ้ือหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม/รายวิชาเพิ่มเติมท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา หรือจัดทําสําเนา เอกสารประกอบการเรียนการสอน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น และเงินท่ีเหลือจากกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรยี น โดยผา่ นความเหน็ ชอบร่วมกันของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 4. สังเกตการณ์ในการจัดซื้อและตรวจรับหนังสือเรียนให้เป็นไปด้วยความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบไดใ้ นทุกข้ันตอน 5. ร่วมให้ความคิดเห็นในการประเมินผลการดําเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ข้ันพื้นฐานอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และนําไปใช้เพ่ือพัฒนาแนวทาง การดําเนินงานต่อไป
25 ตารางแสดงการมสี ว่ นร่วม ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ร่วมคดิ รว่ มทาํ รว่ มตดิ ตาม รว่ มรบั ผดิ ชอบ ประเมนิ ผล ภาค ๑. นักเรยี น ประชาชน ๒. ผ้ปู กครอง - ภาคราชการ ๓. คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย ๔. คณะกรรมการ - สถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน - ๑. สถานศกึ ษา ๒. สพป./สพม. 3. สพฐ.
26 โครงสรา้ งของคณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย กรณีสถานศกึ ษาทมี่ นี กั เรยี น กรณสี ถานศกึ ษาทมี่ นี กั เรยี น ไมเ่ กนิ ๓๐๐ คน ตัง้ แต่ ๓๐๑ คนข้ึนไป ประกอบด้วย ประกอบดว้ ย ๑. ผู้แทนครู ไม่น้อยกว่า ๑ คน ๑. ผูแ้ ทนครู ไม่น้อยกว่า ๒ คน ๒. ผแู้ ทนผปู้ กครอง ไม่น้อยกวา่ ๒ คน ๒. ผู้แทนผปู้ กครอง ไมน่ อ้ ยกว่า ๑ คน ๓. ผู้แทนชุมชน ไม่น้อยกว่า ๒ คน ๔. ผแู้ ทนนกั เรยี น ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ คน ๓. ผู้แทนชุมชน ไม่น้อยกวา่ ๑ คน รวม ไมน่ อ้ ยกว่า ๘ คน ๔. ผู้แทนนกั เรียน ไม่น้อยกว่า ๑ คน รวม ไม่น้อยกว่า ๔ คน สถานศึกษาจัดทําประกาศรายชื่อคณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย เป็นรายปีแจ้งใหผ้ ู้ปกครองทราบทัว่ กันพร้อมระบอุ ํานาจหน้าที่ บทบาทหน้าทีค่ ณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย 1. ร่วมพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบในการคดั เลือกหนงั สือเรยี น 2. ร่วมกาํ หนดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการนักเรยี นและสถานศึกษา 3. ให้ความเห็นชอบในการใช้เงนิ ท่ีเหลือจากการดําเนนิ การจดั ซือ้ หนังสอื เรียนและ เงนิ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนของสถานศึกษา 4. ร่วมให้ความคดิ เห็นในการประเมินผลเพื่อพฒั นาแนวทางการดาํ เนินงานในเร่อื งจัดซอ้ื หนังสอื เรยี นและเงินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น
27 ปฏิทินการดาํ เนนิ งาน เพื่อให้การดําเนินงานสําเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พน้ื ฐานจึงกาํ หนดปฏิทินการดําเนนิ งาน ดงั น้ี ปฏทิ นิ การดาํ เนนิ งานการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ อย่างทัว่ ถึงและมีคณุ ภาพ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ท่ี รายการ วนั /เดอื น/ปี เดอื นธนั วาคม 2560 ๑ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกาํ หนดหลักการ และแนวทางการดาํ เนินงานตามโครงการฯ และนโยบาย รอบที่ 1 วนั ท่ี ๑5 กุมภาพนั ธ์ 2561 รอบที่ 2 วนั ที่ ๑5 มนี าคม 2561 ๒ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานประกาศบัญชี รายชอ่ื หนงั สอื ลงในบญั ชกี ําหนดสอ่ื การเรียนรสู้ าํ หรับใช้ใน สถานศกึ ษา ๒.๑ หนงั สอื เรยี นท่ีมอี ยู่ (ป.๑ – ม.๖) ๒.๒ หนงั สอื เรยี นท่ีไดร้ ับอนุญาตเพม่ิ เติม (ป.๑ – ม.๖) ๓ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานจัดสรรงบประมาณ ภาคเรียนท่ี 2/2560 ภายในเดอื นมกราคม 2561 ให้แกส่ พป. สพม. และโรงเรยี นทเ่ี ป็นหน่วยเบิกจ่าย เพื่อโอน ภาคเรยี นที่ 1/2561 ภายในเดือนมนี าคม 2561 งบประมาณดังกลา่ ว ให้แกส่ ถานศกึ ษาในสงั กดั เดอื นธันวาคม 2560 – กมุ ภาพันธ์ 2561 ๔ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน/สํานกั งาน เดือนกุมภาพนั ธ–์ พฤษภาคม 2561 เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา/สถานศกึ ษาช้ีแจงและประชาสัมพนั ธ์ การดําเนินงานโครงการ ๕ สถานศึกษารณรงค์การบรจิ าคเงินทไี่ ด้รบั สิทธ์ิค่าเคร่ืองแบบ นกั เรยี น / ค่าอุปกรณก์ ารเรียน ๖ สถานศกึ ษาจัดซ้อื หนังสอื เรียน/สง่ ของ/ตรวจรับ ตามโครงการฯ และนโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 6.1 ใหส้ ถานศกึ ษาดาํ เนินการจดั ซื้อ ภายในวนั ที่ 20 เมษายน 2561 6.2 ใหร้ ้านค้ารับใบสั่งซอ้ื และสํานักพมิ พเ์ ตรยี มจดั ส่งหนงั สอื เรยี น ภายในวันท่ี 30 เมษายน 2561 6.3 ใหร้ า้ นคา้ สง่ หนงั สือเรยี นถงึ สถานศึกษาเพอ่ื ใหน้ ักเรียน ภายในวนั ที่ 9 พฤษภาคม 2561 มีหนังสอื ใชโ้ ดยพร้อมเพรยี งกันกอ่ นเปิดภาคเรียน 7 สถานศกึ ษาจัดหนังสือให้นกั เรียนทกุ คนทันก่อนเปิดภาคเรยี นท่ี 1 ภายในวันที่ 16 พฤษภาคม 2561 ของปกี ารศกึ ษา 2561
28 ที่ รายการ วนั /เดอื น/ปี ๘ สถานศึกษาจ่ายเงนิ ค่าเครอ่ื งแบบนกั เรยี น/อปุ กรณ์การเรยี น - ภาคเรยี นที่ 2/2560 ภายในเดือนพฤศจิกายน 2560 ให้กับนักเรยี นหรอื ผปู้ กครองให้ทันภายในวนั เปิดภาคเรยี น - ภาคเรียนท่ี 1/2561 ภายในเดือนพฤษภาคม 2561 ๙ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สํานกั งานเขต ตัง้ แตเ่ ดอื นมกราคม 2561 เป็นต้นไป พื้นทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษาดาํ เนินการกํากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลใหเ้ ป็นไปตามโครงการฯ และ ครัง้ ท่ี ๑ ภายในวันท่ี ๑๕ ธนั วาคม 2560 นโยบาย ครง้ั ท่ี ๒ ภายในวันท่ี ๑๕ มิถนุ ายน 2561 ๑๐ สถานศกึ ษารายงานยอดการบริจาคเงนิ ที่ได้รับสทิ ธ์คิ ่าเครอื่ งแบบ ครั้งท่ี ๑ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน 2560 นกั เรียน / ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น ใหส้ ํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ภายในวันที่ 10 พฤศจกิ ายน 2560 เวลา 24.00 น. เพ่อื รายงานสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ครงั้ ท่ี ๒ ขอ้ มลู ณ วันที่ ๑๐ มถิ นุ ายน 2561 โดยใช้แบบฟอร์มการบริจาค หนา้ 28 ภายในวันที่ 10 มิถนุ ายน 2561 เวลา 24.00 น. จาก http://www.bopp-obec.info 11 สถานศกึ ษารายงานขอ้ มลู จาํ นวนนกั เรียน พร้อมทงั้ ยืนยันจาํ นวน นกั เรยี นในระบบขอ้ มลู นักเรียนรายบคุ คล : Data Management Center (ระบบ DMC) 1๒ สถานศึกษารายงานผลการดาํ เนินงานโครงการขยายโอกาส ครง้ั ที่ ๑ ภายในเดือนเมษายน 2561 การเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ คร้งั ท่ี ๒ ภายในเดอื นตุลาคม 2561 อยา่ งทัว่ ถึงและมคี ุณภาพตอ่ สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา เพอ่ื รายงานผา่ นระบบ Emes ของสาํ นักตดิ ตามและ ประเมินผลการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
29 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. นักเรียนได้รับโอกาสทางการศึกษา โดยการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึงและ มีคุณภาพ เพ่อื ลดความเหลอื่ มลา้ํ 2. นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและคณุ ลักษณะและสมรรถนะตามมาตรฐานหลกั สตู ร รับผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว สงั คม ประเทศชาติ และเปน็ พลเมืองดีของโลก 3. นักเรียน ผ้ปู กครอง ครู คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มีส่วนร่วมในการดําเนนิ งานตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต อย่างท่วั ถึงและมีคุณภาพของสถานศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ 4. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่ได้รับบริการตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างทวั่ ถงึ และมีคุณภาพ
30 ภาคผนวก
31 การบรหิ ารงบประมาณงบเงนิ อุดหนนุ ประเภทเงินอดุ หนนุ ทว่ั ไป เงนิ อุดหนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน รายการคา่ จดั การเรยี นการสอน (เงินอุดหนนุ รายหัว) หลกั การ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๕ มาตรา ๕๔ ได้บัญญัติไว้ว่า “รัฐต้อง ดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และคําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เร่ือง ให้จัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ข้อ 2 ให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด เตรียมการเพื่อจัดให้เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาโดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดําเนินการ ข้อ 3 ให้ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานดําเนินการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และรัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะท่ีมี ความสําคัญสูงสุดตอ่ การพัฒนาท่ียงั่ ยืนของประเทศ จึงเป็นหนา้ ทขี่ องสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีจะตอ้ งดําเนนิ การจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานตามข้อบญั ญตั ดิ ังกล่าว วตั ถุประสงค์ งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว) จัดสรรให้สถานศึกษาเพ่ือใช้ในการจัด การเรียน การสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕6๐ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาตพิ ุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และทแ่ี ก้ไข เพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี ๓) พุทธศักราช ๒๕๕๓ แนวทางการใชง้ บประมาณ เพือ่ ใหก้ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณงบเงินอดุ หนุน ประเภทเงนิ อดุ หนุนทวั่ ไป เงนิ อดุ หนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว) เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ได้มากทส่ี ุด จึงกาํ หนดแนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ๑. ให้สถานศึกษาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจของ สถานศกึ ษา นโยบายและจุดเนน้ ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๒. นําเสนอแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปีของสถานศกึ ษา เพ่อื ให้คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานเหน็ ชอบ ๓. รายงานผลการดําเนินงานของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้รบั ทราบ ๔. การใช้จา่ ยงบประมาณตอ้ งสอดคลอ้ งกบั แผนปฏิบตั ิการประจําปีของสถานศึกษา
32 ลักษณะการใชง้ บประมาณ การใช้งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว) ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ที่เก่ียวข้อง โดยใช้ในลักษณะ ๓ ประเภทงบรายจา่ ย ดงั นี้ ๑. งบบคุ ลากร ค่าจา้ งชั่วคราว เช่น จ้างครอู ตั ราจา้ งรายเดอื น พนกั งานขับรถ นกั การภารโรง เป็นตน้ ๒. งบดําเนนิ งาน ๒.๑ คา่ ตอบแทน เช่น คา่ ตอบแทนวิทยากร ค่าตอบแทนวทิ ยากรวชิ าชพี ทอ้ งถิน่ เปน็ ต้น ๒.๒ ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ คา่ พาหนะพานกั เรยี นไปทัศนศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ เปน็ ต้น ๒.๓ ค่าวสั ดุ เช่น ค่าวสั ดกุ ารศกึ ษา ค่าเครือ่ งเขยี น คา่ วสั ดุ เวชภัณฑ์ คา่ ซอ่ มแซมบาํ รุงรกั ษา ทรัพยส์ นิ เป็นตน้ ๒.4 ค่าสาธารณูปโภค เชน่ คา่ น้าํ คา่ ไฟฟา้ คา่ โทรศพั ท์ เปน็ ตน้ ๓. งบลงทนุ ๓.๑ ค่าครุภัณฑ์ เชน่ จัดซ้ืออปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ เครอ่ื งถ่ายเอกสาร 3.2 ค่าท่ดี ินและสง่ิ กอ่ สรา้ ง รายจา่ ยเพือ่ ประกอบดดั แปลง ต่อเตมิ หรือปรบั ปรงุ ทด่ี ิน และ/ หรือสง่ิ ก่อสร้าง เช่น ค่าจดั สวนคา่ ถมดิน ถนน สะพาน บอ่ นํา้ ฯลฯ ทั้งนี้ กรณีงบลงทุนและงบดําเนินงาน สามารถดําเนินการได้เพ่ิมเติมตามหนังสือของสํานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘ เร่ือง หลักการจําแนกประเภทรายจ่าย ตามงบประมาณ ตามหนังสือสํานักงบประมาณที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓ เร่ือง การปรับปรุงหลักการ จําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ และด่วนท่ีสุด ท่ี นร ๐๗๐4/ว 68 ลงวันที่ ๒9 เมษายน ๒๕5๘ เรือ่ ง การปรับปรงุ หลักการจาํ แนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
33 การบรหิ ารงบประมาณ งบเงินอดุ หนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทัว่ ไป เงนิ อดุ หนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน นิยาม รายการค่าจดั การเรยี นการสอน (เงนิ อดุ หนนุ ปจั จยั พ้ืนฐานสาํ หรบั นกั เรียนยากจน) งบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสําหรับนักเรียนยากจน) คือ เงินงบประมาณ ท่ีจัดสรรให้แก่สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนยากจน เพื่อจัดหาปัจจัยพื้นฐานที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตและเพิ่มโอกาสทาง การศึกษา เป็นการชว่ ยเหลือนกั เรยี นทย่ี ากจนในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ใหม้ โี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาในระดับทสี่ งู ขึ้น นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรียนยากจนที่มีรายได้เฉล่ียต่อครัวเรือนไม่เกิน 3,000 บาท/เดือน และผา่ นเกณฑร์ ะบบการคดั กรองปัจจัยพืน้ ฐานนกั เรียนยากจนทสี่ ํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาํ หนด เกณฑก์ ารพิจารณาจัดสรร จัดสรรให้นักเรียนท่ียากจนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ของสถานศึกษาสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยกเว้นสถานศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ พิจารณา ตามเกณฑ์ ดังน้ี 1. นักเรียนพิจารณาจากเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนยากจนท่ีมีรายได้เฉล่ียต่อครัวเรือนไม่เกิน 3,000 บาท/เดอื น 2. เกณฑ์สถานะครวั เรือน ประกอบดว้ ย 2.1 ครอบครัวมภี าระพง่ึ พงิ ได้แก่ ในครอบครวั มีคนพกิ ารหรอื ผสู้ งู อายเุ กิน 60 ปี หรือมคี นอายุ 15 - 65 ปี ว่างงาน (ท่ไี ม่ใชน่ ักเรยี น/นกั ศกึ ษา) หรอื เปน็ พ่อแมเ่ ลี้ยงเดยี่ ว 2.2 สภาพท่ีอยู่อาศัย สภาพบ้านชํารุดทรุดโทรม หรือบ้านทําจากวัสดุพื้นบ้าน เช่น ไม้ไผ่ ใบจาก หรือวัสดเุ หลือใช้หรอื อยบู่ า้ นเชา่ หรือไมม่ หี อ้ งส้วมในทอ่ี ยู่อาศยั และบริเวณ 2.3 ไมม่ ีรถยนต์ส่วนบุคคลหรือรถปิกอัพหรือรถบรรทุกเล็ก หรือรถตู้ หรอื รถไถ/รถเกยี่ วข้าว/ รถอแี ต๋น/รถอืน่ ๆ ประเภทเดยี วกนั 2.4 เปน็ เกษตรกรทีไ่ มม่ ที ่ีดนิ ทาํ กิน (รวมเช่า) ไมเ่ กิน 1 ไร่ หรอื ไม่มที ีด่ นิ เปน็ ของตนเอง การจัดสรรงบประมาณแบ่งตามระดับความยากจน โดยพิจารณาจากการประมาณการรายได้โดยอ้อม เพื่อใช้ การกําหนดครัวเรือนยากจนที่เรียกว่า Proxy Means Test (PMT) ซ่ึงเป็นประมาณการรายได้ตามสถานะของ ครัวเรือนนักเรียนและทําการสร้างตัวชี้วัดความยากจนในรูปคะแนนความยากจน วิธีการคํานวณเพ่ือจัดกลุ่มนักเรียน ยากจน กําหนดนํ้าหนักให้กับสถานะครัวเรือนแต่ละด้านของแต่ละจงั หวัด (ด้วยวิธีการทางสถิติแบบวัดรายได้ทางอ้อม) แยกเป็น 3 ระดบั คอื กลุ่มที่ 1 ยากจนน้อย คะแนนความยากจน อย่รู ะหว่าง 0.50-0.70 กล่มุ ที่ 2 ยากจนมาก คะแนนความยากจน อยรู่ ะหวา่ ง 0.71-0.90 กลุ่มที่ 3 ยากจนมากทส่ี ดุ คะแนนความยากจน มากกว่า 0.90 ขนึ้ ไป โดยจัดสรรงบประมาณตามอตั ราเดมิ คือ ระดับประถมศึกษา คนละ 500 บาท/ภาคเรยี น (1,000 บาท/ปี) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น คนละ 1,500 บาท/ภาคเรยี น (3,000 บาท/ปี)
34 ลกั ษณะการใชง้ บประมาณ สถานศึกษาจ่ายให้กับนักเรียนยากจนโดยตรงตามรายชื่อที่ผ่านเกณฑ์การคัดกรอง โดยจ่ายเป็น เงินสดหรือจัดหาหนังสือและอุปกรณ์การเรียน เส้ือผ้า และเคร่ืองแต่งกายนักเรียน อาหารกลางวัน ค่าพาหนะ ในการเดินทาง และค่าใช้จ่ายท่ีนักเรียนยากจนมีความต้องการจําเป็นในการดํารงชีวิตประจําวัน นอกเหนือจาก 4 รายการขา้ งต้นในลักษณะแบบถวั จา่ ย การใชจ้ ่ายงบประมาณ วิธีการใช้จ่ายงบประมาณเงินอุดหนุนปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจนให้สถานศึกษาสามารถเลือกดําเนินการ จ่ายเป็นเงินสดหรือจัดหาปัจจัยพ้ืนฐานที่จําเป็นให้แก่นักเรียนยากจนโดยตรง ตามรายชื่อท่ีได้รับการจัดสรร งบประมาณจากสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั นี้ 1. คา่ หนงั สอื เรยี นและอปุ กรณ์การเรยี น 2. ค่าเสอ้ื ผา้ และวัสดเุ คร่อื งแตง่ กายนกั เรียน 3. คา่ อาหารหรอื คูปองค่าอาหาร 4. ค่าพาหนะในการเดนิ ทางหรอื จ้างเหมารถรับ – สง่ นักเรยี น 5. ค่าใช้จ่ายท่ีนักเรียนยากจนต้องการจําเป็นในการดํารงชีวิตประจําวัน นอกเหนือจาก 4 รายการ ข้างต้น กรณีการดําเนินการจัดซ้ือจัดจ้างต้องดําเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงท่เี ก่ยี วขอ้ ง กรณีจ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียนโดยตรงให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน จา่ ยเงนิ โดยใชใ้ บสําคัญรบั เงินเป็นหลกั ฐาน สําหรับนักเรียนยากจนท่ีได้รับจัดสรรตามรายชื่อในบัญชีจัดสรรนักเรียนยากจนจากเว็บไซต์ https://cct.thaieduforall.org/ มีการย้าย ลาออกและไม่สามารถรับเงินรายการปัจจัยพื้นฐานสําหรับ นักเรียนยากจนได้ ใหส้ ถานศกึ ษาส่งคืนเงนิ อดุ หนนุ ของนักเรยี นท่ไี ด้รบั จดั สรร ดงั นี้ 1. โรงเรียนปกติใหส้ ง่ คนื เงนิ อุดหนุนรายการดงั กลา่ วให้กับสํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาต้นสังกดั เพอ่ื สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาจะดาํ เนินการรวบรวมส่งงบประมาณกลับคืนสว่ นกลางผา่ นระบบ GFMIS 2. โรงเรียนทเี่ ปน็ หน่วยเบิกจา่ ย ใหส้ ่งคนื เงินอุดหนุนรายการดังกลา่ วสง่ งบประมาณกลับคนื ส่วนกลางผา่ นระบบ GFMIS ท้ังนี้ ขอให้ส่งหลักฐานการส่งคืนเงิน (ระบปุ ระเภทรายการและจาํ นวนเงนิ แตล่ ะรายการทสี่ ง่ คืน) พร้อมหนงั สอื นาํ ส่งแจ้งให้สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานทราบ
35 แนวทางการดาํ เนนิ งาน 1. ระดบั สถานศกึ ษา 1.1 สํารวจข้อมูลนักเรียนยากจน และรายงานข้อมูลในระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management Center : DMC) ประเภทเดก็ ด้อยโอกาส (เด็กยากจน) 1.2 รายงานข้อมูลตามแบบขอรับทุนการศึกษานักเรียนยากจน (แบบ นร.01 และ นร.02) ในระบบ ปัจจยั พ้นื ฐานนักเรียนยากจนตามระยะทีก่ าํ หนด เพอื่ เสนอขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณ 1.3 จัดสรรงบประมาณให้นักเรียนตามรายชื่อท่ีได้รับจัดสรรและติดตาม ควบคุม กํากับ ใหน้ กั เรยี นใช้จ่ายงบประมาณให้เปน็ ไปตามความต้องการจาํ เป็น 1.4 สง่ งบประมาณกลบั คืนสํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา กรณนี ักเรียนไม่สามารถมารับเงินได้ 1.5 รายงานผลการดาํ เนนิ งาน 2. ระดบั สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 2.1 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ กํากบั ติดตาม ตรวจสอบและรายงานผลการดาํ เนินงาน 2.2 รวบรวมส่งงบประมาณส่งกลับคืนส่วนกลางผ่านระบบ GFMIS กรณีนักเรียนไม่สามารถ มารบั เงนิ ได้
36 การบรหิ ารงบประมาณงบเงนิ อุดหนนุ ประเภทเงนิ อุดหนุนท่วั ไป เงินอุดหนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน รายการค่าจดั การเรยี นการสอน (เงินอดุ หนนุ ค่าอาหารนักเรยี นประจาํ พกั นอน) นิยาม งบประมาณงบเงินอุดหนุน หมายถึง รายการเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าอาหารนักเรียนประจําพักนอน) ที่จัดสรรให้โรงเรียน เพ่ือใช้จ่ายเป็นค่าอาหารนักเรียน ประจําพักนอน สําหรับโรงเรียนที่ดําเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียนที่อยู่ในถ่ินทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไมส่ ามารถเดินทางไป–กลบั ได้ โดยโรงเรียนไดด้ าํ เนินการกํากับ ดแู ล และจดั ระบบแบบเต็มเวลา โรงเรียนท่ีจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนประจําพักนอน หมายถึง โรงเรียนปกติที่จัดการศึกษา ให้แก่นักเรียนท่ีมีท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถเดินทางไป–กลับได้ และเป็น โรงเรยี นทีส่ าํ นกั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาอนุญาตและประกาศใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี ีนกั เรียนประจําพกั นอน ที่พกั นอนในโรงเรยี น หมายถึง ท่ีพกั สําหรับนกั เรยี นประจําพกั นอนทโี่ รงเรยี นจดั ให้ ประกอบด้วย บ้านพักครู ท่ีพักนักเรียน และสิ่งปลูกสร้างอื่นที่โรงเรียนสร้างขึ้น โดยเงินงบประมาณ หรือเงินบริจาค สําหรับให้ นักเรียนพกั นอนในพน้ื ท่ีโรงเรียน ถิ่นทรุ กนั ดาร หา่ งไกล หมายถึง พ้ืนทซี่ ง่ึ อยู่หา่ งไกลชมุ ชน มีสภาพภูมปิ ระเทศกันดาร เปน็ ภูเขา ทะเล เกาะ หรอื แม่น้าํ ก้นั การคมนาคมไม่สะดวก หรอื ระยะทางหา่ งไกลจากโรงเรียน เขตพื้นที่บริการ หมายถึง เขตพื้นท่ีบริการของโรงเรียนตามประกาศการรับนักเรียน ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พื้นทโี่ รงเรียน หมายถึง ขนาดของท่ีดินที่เปน็ ทีต่ ้ังของโรงเรยี น ทีด่ นิ ท่ีโรงเรียนมสี ทิ ธ์คิ รอบครอง หรอื ใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั การศกึ ษาจากที่ดินนนั้ นักเรียนประจําพักนอน หมายถึง นักเรียนในเขตบริการตามประกาศเขตพื้นที่บริการของ โรงเรียน ที่มีที่อยู่ห่างไกลท่ีไม่สามารถเดินทางไป-กลับได้ มาเรียนและพักนอนในท่ีพักนอนท่ีโรงเรียนจัดให้เป็น ประจํา โดยโรงเรียนจัดให้แบบเต็มระบบเวลา เกณฑก์ ารจดั สรร สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีหลักเกณฑ์การพิจารณาจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียน การสอน (ค่าอาหารนักเรียนประจําพักนอน) ให้กับนักเรียนในโรงเรียนประจําพักนอน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0406.4/11297 ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2559 อนุมัติให้เบิกจ่ายค่าอาหารนักเรียนประจําพักนอน ตามที่ขอทําความตกลงไว้ในอัตราท่ีเพิ่มข้ึนจากมื้อละ 13 บาท/คน เป็นม้ือละ 20 บาท/คน วันละ 2 ม้ือ จํานวน 200 วัน/ปีการศึกษา
37 โดยจัดสรรให้ ดงั น้ี 1. จัดสรรให้นักเรียนระดับประถมศึกษา (ระดับช้ัน ป.1–6) คนละ 4,000 บาท/ภาคเรียน (8,000 บาท/ปีการศกึ ษา) 2. จัดสรรให้นักเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ระดับชนั้ ม.1-3 ) คนละ 4,000 บาท/ภาคเรียน (8,000 บาท/ปีการศกึ ษา) ยกเวน้ 1. นกั เรยี นในโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย โรงเรียนประชามงคล จงั หวดั กาญจนบุรี โรงเรียนพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั น่าน และอิสลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 2. นักเรียนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ และศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ในสงั กดั สาํ นักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ 3. นักเรียนในโรงเรียนที่ได้ดําเนินการจัดที่พักนอนในโรงเรียนและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นักเรียนประจําพักนอนทุกคนแล้ว กรณีท่ีได้เรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน สามารถจัดสรรให้ได้เฉพาะจํานวน นักเรียนสว่ นทเ่ี หลอื และตอ้ งเปน็ นกั เรียนทีเ่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ก่ี ําหนด 4. นักเรียนในโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการห้องเรียนกีฬา โครงการสานฝันชายแดนใต้ โครงการ โรงเรียนพักนอนในพืน้ ที่ 3 จงั หวัดชายแดนใต้ 73 โรง ใน 37 อาํ เภอ การใช้จ่ายงบประมาณ โรงเรยี นมแี นวทางในการใช้จ่ายงบประมาณ ในการจัดหาอาหารใหแ้ ก่นักเรยี นประจาํ พักนอน ดังน้ี 1. จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด เคร่ืองปรุงสําหรับ ประกอบอาหารเอง เป็นตน้ 2. จ้างเหมาทําอาหาร 3. จ่ายเป็นเงินสดใหแ้ กน่ ักเรยี น โดยโรงเรียนแตง่ ตงั้ คณะกรรมการอยา่ งนอ้ ย 3 คน จ่าย เงินสดให้นกั เรียน ทง้ั นี้ ตอ้ งมีใบสําคญั รับเงินเปน็ หลกั ฐาน ทั้งน้ี การดําเนินการตามข้อ 1-2 ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการจดั ซ้ือจัดจา้ ง และการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
38 แผนภมู แิ สดงขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน โรงเรยี น 1. แต่งตงั้ ผู้รับผดิ ชอบ และคณะกรรมการดาํ เนินการ สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี 2. สาํ รวจ และจัดทําขอ้ มูล นร.ประจาํ พกั นอน ตามหลกั เกณฑข์ อง สพฐ. การศกึ ษา - ขอ้ มลู รายช่อื นร.ประจาํ พักนอน - ขอ้ มูลสถานท่พี ักนอน สํานกั งาน - การบรหิ ารจดั การ นร.ประจาํ พักนอน คณะกรรมการ 3. เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 4. รายงาน สพท. เพื่อขออนญุ าตเปน็ ร.ร.ประจาํ พกั นอนทุกปกี ารศกึ ษา 5. เมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าต และประกาศจาก สพท.แลว้ ให้ ร.ร.ตรวจสอบ คดั กรอง และบนั ทึกขอ้ มลู นร.ประจาํ พกั นอนรายบคุ คล 6. ตรวจสอบและบริหารงบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคใ์ นการใชจ้ า่ ยเงนิ 7. รายงานรายชอื่ นร.ประจาํ พักนอนท่ีไดร้ ับจดั สรรลงเว็บไซต์ เมื่อ ร.ร.ได้รบั แจ้งโอนเงนิ ประจํา 8. กรณี นร.ประจาํ พักนอนเพมิ่ จากทร่ี ายงาน ใหร้ ายงานรายช่อื เพ่มิ ในภาคเรยี นถดั ไป 9. กาํ กบั ติดตาม ดแู ลการดาํ เนนิ งาน นร.ประจาํ พกั นอน ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทาง 1. รวบรวม ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู การขออนญุ าตเปน็ ร.ร.ประจาํ พกั นอน 2. แต่งตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณา 3. อนญุ าต และจดั ทําประกาศเปน็ ร.ร.ประจาํ พกั นอนของ สพท. 4. แจ้งประกาศให้ ร.ร.ทราบ และบนั ทกึ ข้อมลู รายชอ่ื นร.ประจาํ พกั นอน เพอ่ื ขอรบั การจดั สรร 6. แจง้ จดั สรร และใหโ้ รงเรียนยืนยันข้อมลู นร.ท่ไี ดร้ บั จดั สรรในเวบ็ ไซต์ 7. ตรวจสอบรายชอ่ื นร.ที่ไดร้ ับจดั สรร หากไมเ่ ป็นไปตามทจี่ ัดสรร สพฐ .จะดําเนนิ การ 8. กํากบั ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาํ เนนิ งาน 1. รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล และตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู นร.ประจําพกั นอน ของเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา 2. พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหาร นร.ประจําพกั นอน ใหแ้ กเ่ ขตพื้นท่ี การศึกษาท่มี โี รงเรยี นท่ีดาํ เนนิ การจดั ทพ่ี กั ให้แก่นกั เรียน 3. กาํ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบผลการดําเนนิ งาน 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้มงี านวจิ ยั เพอื่ นําผลงานวจิ ัยมาใชป้ ระโยชน์
39 การบรหิ ารงบประมาณ งบเงนิ อดุ หนนุ เงนิ อุดหนนุ ทั่วไป สาํ หรบั โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห/์ โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ/ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ แนวทางการใชง้ บประมาณงบเงนิ อดุ หนุน เงนิ อดุ หนุนทวั่ ไป 1. การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2561 ได้แก่ รายการค่าจัดการเรียนการสอน/ ค่าหนังสือ/ค่าอุปกรณ์การเรียน/ค่าเครื่องแบบนักเรียน/ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยโรงเรียนศึกษาพิเศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ได้รับทั้ง 5 รายการ ส่วนศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้รับใน 4 รายการ ยกเว้นค่าจัดการเรียน การสอน (สถานศึกษาต้องถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0409.6/ว126 ลงวันท่ี 7 กนั ยายน 2548 เรอ่ื ง การเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณงบเงินอดุ หนุน) 2. ผลผลิตเด็กพิการได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ กิจกรรม การพัฒนาสมรรถภาพ เด็กพิการโดยศูนย์การศึกษาพิเศษ จัดสรรเงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจํา/ไป-กลับ และ ปัจจัยพื้นฐานสําหรับ นักเรียนประจํา (สถานศึกษาต้องถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว126 ลงวันท่ี 7 กันยายน 2548 เร่ือง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน และ หนังสือหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0402.5/033273 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่องขอหารือเก่ียวกับการใช้เงินเหลือจ่ายงบเงินอุดหนุน ประเภทเงนิ อุดหนุนทั่วไป) สถานศึกษาดาํ เนนิ การตามขัน้ ตอนดังน้ี 1. เม่ือสถานศึกษาได้รับบัญชีจัดสรรงบประมาณ จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ให้สถานศึกษาตรวจสอบบัญชีจัดสรร และจัดทําแผนการใช้ จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังงบประมาณ ตามที่ระบุไว้ในบัญชีจัดสรรกับเกณฑ์ การจัดสรรงบประมาณที่ส่งมาพร้อมบัญชีจัดสรร และระบุงบประมาณไว้ในแผนปฏิบัติงานประจําปีของ สถานศกึ ษาดว้ ย 2. เม่ือสถานศึกษาได้รับแจ้งการตัดโอนเงินงบประมาณ จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน โดยสํานักการคลังและสินทรัพย์ ให้สถานศึกษานําเงินอุดหนุนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ สถานศึกษา แล้วสถานศึกษาต้องใช้จ่ายเงินภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่และยังไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบ ดําเนินการให้เสร็จส้นิ อย่างช้าภายในปีงบประมาณถัดไป ตัวอย่างเช่น ได้รับงบประมาณ ปี 2560 สถานศึกษาสามารถ ใช้จ่ายได้ 2 ปีงบประมาณ คือ ภายในปีงบประมาณ 2560 และปีงบประมาณ 2561 (ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0409.6/ว126 ลงวันท่ี 7 กันยายน 2548 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน และ หรือหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0402.5/033273 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ืองขอหารือเก่ียวกับการใช้เงิน เหลอื จา่ ยงบเงินอุดหนุน ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป) 3. สถานศกึ ษาใชจ้ ่ายเงนิ ไมห่ มดตามระยะเวลาข้อ 2 เงนิ ทเ่ี หลอื ตอ้ งสง่ คืนคลงั เป็นรายได้แผ่นดนิ 4. ดอกเบ้ยี ทเี่ กดิ จากเงินฝากธนาคารสถานศึกษาตอ้ งนาํ ส่งคนื คลังเปน็ รายไดแ้ ผน่ ดนิ 5. การจัดซื้อ จัดจ้าง ตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจัดซอ้ื จัดจ้าง และการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงทเี่ กี่ยวขอ้ ง
40 6. บนั ทกึ การรบั –จา่ ยเงนิ ตามระบบบญั ชีของหนว่ ยงานย่อย หรอื การควบคมุ การเงินของหน่วยงานยอ่ ย 7. การใช้จ่ายเงินต้องเกิดประโยชน์ต่อนักเรียนเป็นลําดับแรก และใช้จ่ายให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานกําหนด 8. หลักฐานการใช้จา่ ยเงนิ สถานศึกษาเกบ็ ไว้เพือ่ ใหต้ รวจสอบได้ ลักษณะการใช้งบประมาณ 1. งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามโครงการ ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างท่ัวถงึ และมคี ณุ ภาพ 1.1 ค่าจัดการเรียนการสอน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เก่ียวข้อง โดยให้ใช้ในลักษณะ 3 ประเภทงบรายจา่ ย ดงั นี้ 1.1.1 งบบคุ ลากร - ค่าจ้างชวั่ คราว เช่น ค่าจา้ งครอู ัตราจา้ งรายเดือน พนกั งานขบั รถ ฯลฯ 1.1.2 งบดําเนินงาน - คา่ ตอบแทน เช่น คา่ ตอบแทนวิทยากร ค่าตอบแทนวิทยากรวชิ าชีพ-ท้องถิน่ ฯลฯ - ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเล้ียง ค่าเช่าท่ีพัก ค่าพาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมา บริการ คา่ พาหนะพานกั เรยี นไปทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ ฯลฯ - คา่ วัสดุ เชน่ ค่าวสั ดุการศึกษา ค่าเคร่ืองเขียน แปรงลบกระดาน กระทะ คา่ วัสดุ เวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบํารงุ รักษาทรัพย์สนิ ฯลฯ - ค่าสาธารณปู โภค เชน่ คา่ นาํ้ คา่ ไฟฟ้า คา่ โทรศพั ท์ ฯลฯ 1.1.3 งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลกั ษณะคา่ ครุภัณฑ์ ค่าที่ดนิ และสิ่งก่อสร้าง - ค่าครภุ ณั ฑ์ เช่น เครอ่ื งถ่ายเอกสาร เคร่อื งคาํ นวณ เครือ่ งดดู ฝุ่น ฯลฯ - ค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้าง รายจ่ายเพ่ือดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงส่ิงก่อสร้าง ซึ่ง ทาํ ใหท้ ีด่ ิน สิง่ ก่อสรา้ ง มมี ลู ค่าเพ่มิ ขึ้น ฯลฯ ทั้งนี้ กรณีงบลงทุนและงบดําเนินงาน สามารถดําเนินการได้เพิ่มเติมตามหนังสือ สํานกั งบประมาณ ดงั น้ี 1. หนังสือ ด่วนท่ีสุดท่ี นร 0702/ว 51 ลงวันท่ี 20 มกราคม 2548 เรื่องหลักการ จาํ แนกประเภทรายจา่ ย ตามงบประมาณ 2. หนงั สอื ท่ี นร 0704/ว 33 ลงวนั ที่ 18 มกราคม 2553 เรอ่ื ง การปรับปรุงการจําแนก ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ 3. หนังสือ ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 0704/ว 68 ลงวันท่ี 29 เมษายน 2558 เร่ืองการปรับปรุง หลกั การจําแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ 4. หนังสือ ท่ี นร 2704/ว 37 ลงวันท่ี 6 มกราคม 2559 เรื่อง แนวทางการพิจารณา ส่งิ ของทีจ่ ดั เป็นวัสดแุ ละครุภัณฑ์ตามหลักการจําแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ 5. หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ แก้ไขปรับปรุงตามหนังสือ สํานักงบประมาณ ท่ี นร 0704/ว33 และหนังสือสํานักงบประมาณ ด่วนที่สุดที่ นร 0704/ว68 ท่ีมา : http://www.bb.go.th/bbweb/?page_id=6625
41 1.2 ค่าหนังสือ ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติตามแนวทางการดําเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพ ปงี บประมาณ 2561 เลม่ น้ี 2. งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทว่ั ไป ผลผลิต เด็กพิการไดร้ ับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ กจิ กรรม การพฒั นาสมรรถภาพเด็กพกิ ารโดยศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ 2.1 เงนิ อุดหนนุ คา่ อาหารนักเรียนประจาํ 2.2 เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารนกั เรียนไป-กลับ 2.3 เงนิ อดุ หนุนให้เป็นปจั จยั พ้ืนฐานสาํ หรบั นักเรียนประจาํ ท้ัง 2.1 2.2 และ 2.3 ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการท่ีเก่ียวข้อง และใช้ตามวัตถุประสงค์ ของรายการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว126 ลงวันท่ี 7 กนั ยายน 2548 เรอ่ื ง การเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณงบเงินอดุ หนุน และ หนังสอื หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง ที่ กค 0402.5/033273 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ืองขอหารือเกยี่ วกับการใช้เงินเหลอื จา่ ยงบเงินอุดหนุน ประเภท เงนิ อุดหนุนทั่วไป)
42 สําเนา ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐ ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ เร่ือง หลกั เกณฑก์ ารเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมเพอื่ เสริมสรา้ งความรใู้ ห้กบั นกั เรียน เรียน ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา ผอู้ าํ นวยการสํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ผ้อู ํานวยการศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษที่เป็นหนว่ ยเบกิ และผู้อํานวยการโรงเรยี นทเ่ี ป็นหน่วยเบกิ อ้างถึง ๑. หนังสือกระทรวงการคลัง ดว่ นทสี่ ุด ท่ี กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวนั ที่ ๗ กนั ยายน ๒๕๔๘ ๒. หนงั สือสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานท่ี ศธ๐๔๐๐๖/๒๒๗๙ลงวันท่ี ๑๖ธนั วาคม ๒๕๔๘ ส่งิ ที่ส่งมาดว้ ย หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ด้วยงบเงินอุดหนุน สําหรับหนว่ ยงานในสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ตามหนังสือที่อ้างถึง ๑ ข้อ ๒.๑ กระทรวงการคลังกําหนดให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ กําหนด ระเบียบ ภายในควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุนเพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีขอตั้งงบประมาณ และ ตามหนังสือที่อ้างถึง ๒ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้แจ้งหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติการใช้จ่าย งบประมาณ งบเงนิ อดุ หนนุ เพ่อื ใหห้ น่วยงานในสังกดั ถือปฏิบตั ิให้เปน็ แนวทางเดียวกัน ความละเอียดแจง้ แล้วน้ัน สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพิจารณาแลว้ เนือ่ งจากปจั จุบนั โรงเรียนได้กาํ หนดแผนในการจดั กิจกรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งความรู้เพ่ิมเตมิ ใหก้ ับนักเรียน เชน่ การจัดกิจกรรมเข้าค่ายทางวิชาการ กิจกรรมเขา้ คา่ ยคุณธรรม/ ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด การพานักเรียนไปทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ ท้ังในและนอกโรงเรียน รวมทั้ง การพานักเรียน ไปร่วมกิจกรรมหรือร่วมแข่งขันทางการศึกษา กับโรงเรียนอ่ืน/หน่วยงานอื่น โดยใช้จ่ายจาก งบเงินอุดหนุนท่ีโรงเรียนได้รับ ซ่ึงในการเบิกค่าใช้จ่ายต่างๆ โรงเรียนบางแห่ง ยังไม่ชัดเจนว่ารายการใด สามารถเบิกจ่ายได้และรายการใดไม่สมควรเบิกจ่าย ดังน้ันเพื่อให้การใช้จ่ายงบเงินอุดหนุนตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๒ และแนวทางการดําเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียนสําหรับเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กับนกั เรียนเป็นไปในแนวทางเดยี วกนั จึงกําหนดหลกั เกณฑ์การเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั กิจกรรม เพ่ือเสริมสรา้ งความรู้ ให้กับนักเรียน ด้วยงบเงินอุดหนุน รายละเอียดตามส่ิงที่ส่งมาด้วย ทั้งน้ี การพิจารณาเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายให้คํานึงถึง ความจําเป็น เหมาะสม ประหยัด ภายในวงเงินที่อยู่ในความรับผิดชอบ และต้องไม่เป็นเหตุในการเรียกเก็บเงินจากผู้ปกครอง เพม่ิ เตมิ ดว้ ย จึงเรียนมาเพ่อื ทราบและพจิ ารณาแจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ทีท่ ีเ่ กย่ี วขอ้ งรวมท้ังโรงเรียนในสังกดั ทราบ เพ่อื ถอื ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป ขอแสดงความนบั ถอื (นายชินภทั ร ภมู ริ ัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สํานกั การคลังและสนิ ทรัพย์ โทร. ๐ ๒๒๘๐๒๘๖๐, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๒, ๐ ๒๒๘๘ ๕๖๓๓ โทรสาร ๐ ๒ 2๖๒๘๕๑๑๒, ๐ ๒๖๒๘ ๘๙๘๘
43 หลักเกณฑ์การเบิกจา่ ยคา่ ใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพอื่ เสรมิ สรา้ งความรู้ให้กบั นักเรยี น ดว้ ยงบเงินอุดหนนุ สําหรบั หนว่ ยงานในสังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ******************* เพื่อให้การเบกิ จ่ายค่าใชจ้ ่ายในการจดั กิจกรรมเพอ่ื เสริมสร้างความรใู้ หก้ บั นกั เรยี น ไดแ้ ก่ การพานกั เรยี น ไปร่วมกิจกรรมวิชา การกิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด หรือทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ทั้งในและ นอกโรงเรียน ตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยใช้จ่ายจากงบเงินอุดหนุนที่โรงเรียนได้รับให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน จึงกาํ หนดหลกั เกณฑ์การเบกิ จา่ ยคา่ ใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสรา้ งความรใู้ หก้ บั นักเรยี น ดงั นี้ ๑. การวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ ต้องให้ภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชนและผู้แทน นักเรยี น) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีสว่ นรว่ มและพจิ ารณา ๒. การพิจารณาสถานท่สี าํ หรบั การจัดกจิ กรรมรวมทง้ั การพักแรมให้เลือกใชบ้ ริการสถานทข่ี องสว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานอ่ืนของรฐั เป็นลาํ ดับแรก กรณจี ําเปน็ ตอ้ งจัดกจิ กรรมในสถานที่ของเอกชนให้อยใู่ น ดุลพินจิ ของผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น โดยคาํ นึงถึงความจําเปน็ เหมาะสม ประหยดั และวงเงินที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ สาํ หรบั คา่ ใช้จา่ ยในการจดั กิจกรรม/การแขง่ ขัน แบ่งเป็น ๒ กรณี กรณที ่ี ๑ โรงเรยี นเป็นหน่วยงานผูจ้ ัดกจิ กรรม/การแข่งขันใหเ้ บกิ จ่ายค่าใช้จ่ายไดเ้ ทา่ ท่ีจ่ายจรงิ ดังน้ี ๑. คา่ ใชจ้ า่ ยเก่ยี วกับการใช้และแตกตา่ งสถานที่จดั กจิ กรรม ๒. คา่ วสั ดตุ า่ งๆ สําหรับการจัดกจิ กรรม ๓. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและส่ิงพมิ พ์ ๔. ค่าหนังสอื สําหรบั การจดั กิจกรรม ๕. ค่าเชา่ อุปกรณ์สําหรับการจดั กจิ กรรม ๖. ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดืม่ ไมเ่ กนิ ม้อื ละ ๕๐ บาทต่อคน ๗. ค่าเข้าชมสถานทแ่ี หลง่ เรยี นรู้ ๘. คา่ สาธารณปู โภค ๙. ค่าสมนาคณุ วทิ ยากร ๙.๑ หลักเกณฑ์การจา่ ยคา่ สมนาคณุ วิทยากร 9.1.1 กรณเี ป็นการบรรยายให้ความรู้กับนักเรยี น ให้จา่ ยค่าสมนาคณุ วิทยากรไดไ้ ม่เกนิ ๑ คน 9.1.2 กรณีเป็นการแบ่งกลุ่มทํากิจกรรม ซ่ึงได้กําหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรการจัด กิจกรรมและจาํ เปน็ ต้องมีวิทยากรประจํากล่มุ ใหจ้ า่ ยค่าสมนาคุณวิทยากรไดไ้ ม่เกนิ กลมุ่ ละ ๒ คน 9.1.3 การนับชั่วโมงการบรรยายหรือทํากิจกรรมให้นับตามเวลาท่ีกําหนดในตารางการจัด กิจกรรมโดยแต่ละช่ัวโมงต้องกําหนดเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้านาที กรณีกําหนดเวลาไม่เกิน ๕๐ นาที แต่ไม่น้อยกว่า ๒๕ นาที ใหจ้ ่ายคา่ สมนาคณุ วทิ ยากรได้กงึ่ หน่ึง ๙.๒ อตั ราคา่ สมนาคณุ วิทยากร 9.2.1 วทิ ยากรเป็นบุคลากรของรัฐให้ไดร้ บั ค่าสมนาคณุ วิทยากรไดไ้ ม่เกนิ ชว่ั โมงละ ๖๐๐ บาท 9.2.2 วทิ ยากรทีม่ ใิ ชบ่ คุ ลากรของรัฐให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกินช่ัวโมงละ ๑,๒๐๐ บาท ทง้ั นี้ ใหใ้ ช้แบบใบสําคัญรบั เงนิ สาํ หรับวทิ ยากร เอกสารแนบ ๑ (หนา้ 46)
Search