Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 จังหวัดลพบุรี

โครงการพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 จังหวัดลพบุรี

Published by librarytru57, 2020-12-17 08:50:48

Description: โครงการพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 จังหวัดลพบุรี

Search

Read the Text Version

โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จังหวัดลพบรุ ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โครงการพฒั นาด้านการเกษตร หนา้ ๑ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดารเิ กษตรทฤษฎีใหมใ่ นพน้ื ทโี่ ครงการชลประทาน ๓ ห้วยใหญ่วงั แขม โครงการพฒั นาด้านสิ่งแวดลอ้ ม ๗ ๑๒ โครงการอนุรักษ์และฟนื้ ฟปู ่าเขาซับแกงไก่ อาเภอลาสนธิ จังหวดั ลพบรุ ี ๑๗ ๒๐ โครงการพฒั นาดา้ นแหลง่ น้า ๒๒ ๒๔ โครงการอ่างเก็บนา้ ซับตะเคยี น บ้านเขากาพร้า ตาบลหว้ ยหิน อาเภอชัยบาดาล ๒๗ โครงการฝายห้วยบง บ้านห้วยบง ตาบลโคกตูม อาเภอเมอื ง ๓๐ โครงการอา่ งเก็บน้าบา้ นหนองเสา ตาบลโคกตมู อาเภอเมอื ง ๓๒ โครงการอา่ งเก็บนา้ ซับเสือแมบ ตาบลนิคมสร้างตนเอง อาเภอเมอื ง ๓๔ โครงการอ่างเกบ็ นา้ ห้วยยางสาม ตาบลดลี ัง อาเภอพัฒนานคิ ม ๓๖ โครงการอ่างเก็บน้าหว้ ยยางหนง่ึ ตาบลพัฒนานคิ ม อาเภอพัฒนานิคม ๓๘ โครงการฝายห้วยยางบ้านหนองนา ตาบลพฒั นานคิ ม อาเภอพฒั นานิคม ๔๐ โครงการอ่างเกบ็ นา้ บ้านหนองโพธิ์ ตาบลชอ่ งสาลกิ า อาเภอพฒั นานคิ ม ๔๒ โครงการอา่ งเก็บน้าหว้ ยแฟน บรเิ วณกองบนิ 2 บ้านเสาธง ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมือง โครงการอ่างเกบ็ นา้ ห้วยใหญ่ ศูนยก์ ารทหารปนื ใหญ่ ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมือง โครงการปรับปรุงค่ายวชริ าลงกรณ์ บา้ นปา่ หวาย ตาบลป่าตาล อาเภอเมอื ง

โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จังหวดั ลพบรุ ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช หน้า โครงการพัฒนาดา้ นแหลง่ นา้ โครงการเข่ือนป่าสกั ชลสิทธิ์ บา้ นหนองบวั ตาบลหนองบัว อาเภอพฒั นานคิ ม ๔๔ โครงการฝายลาสนธิ ตาบลนาโสม อาเภอชยั บาดาล จงั หวดั ลพบรุ ี ๕๑ โครงการอ่างเก็บน้าห้วยซับใต้ (ปรับปรุงหนองน้าทุ่งซับจาปา) บ้านซับจาปา ตาบลซับจาปา ๕๕ อาเภอท่าหลวง จงั หวัดลพบุรี โครงการอา่ งเก็บน้าหว้ ยหิน ตาบลเขาแหลม อาเภอชัยบาดาล จงั หวัดลพบรุ ี ๕๗ โครงการอ่างเก็บน้าห้วยใหญ่ (วังแขม) ตาบลมหาโพธิ อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ๖๐ ๖๔ โครงการขดุ สระเก็บนา้ วดั เนกขัมมวิสมุ ธ์ิ ตาบลศิลาทพิ ย์ อาเภอชยั บาดาล จงั หวดั ลพบรุ ี ๖๗ โครงการจดั หาแหลง่ นา้ สนบั สนุนพนื้ ท่ตี าบลดอนดึง (ฝายห้วยตาเหลือง) ตาบลดอนดงึ อาเภอบา้ นหมี่ จงั หวัดลพบรุ ี โครงการจัดหาแหลง่ นา้ สนบั สนุนพ้นื ทีต่ าบลดอนดึง (ฝายหนองกระสังข์) ๗๑ ตาบลดอนดงึ อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี โครงการจัดหาน้าสนับสนุนพื้นท่ีตาบลดอนดงึ (แกม้ ลงิ สระหลวงและฝายบ้านเตาถา่ น) ๗๕ หมทู่ ่ี 5 และหมทู่ ่ี 7 ตาบลดอนดึง อาเภอบา้ นหมี่ จงั หวัดลพบรุ ี โครงการแกม้ ลิงโคกสาโรง ตาบลโคกสาโรง อาเภอโคกสาโรง จงั หวัดลพบรุ ี ๗๙ บรรณานกุ รม ๘๒



โครงการพฒั นาด้านการเกษตร แนวพระราชดาริเก่ียวกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรท่ีสาคัญ คือ การท่ีทรงเน้น ในเรือ่ งของ การคน้ ควา้ ทดลอง และวจิ ัยหาพันธพุ์ ืชตา่ ง ๆ ใหม่ ๆ ท้ังพืชเศรษฐกจิ เช่น หมอ่ นไหม ยางพารา ฯลฯ ทัง้ พืชเพ่ือการปรบั ปรุงบารุงดนิ และพชื สมุนไพร ตลอดจนการศกึ ษาเกยี่ ว กับแมลงศัตรูพชื ทง้ั น้รี วมท้งั พันธ์ุสัตว์ต่างๆ ที่เหมาะสมเช่น โค กระบือ แพะ แกะ พันธ์ุปลา ฯลฯ และสัตว์ปีกท้ังหลายด้วย เพื่อแนะนา ให้เกษตรกรนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ ราคาถูก และใช้เทคโนโลยีทงี่ า่ ย และไมส่ ลับซับซ้อนซงึ่ เกษตรกรจะสามารถรบั ไป ดาเนินการเองได้ และที่สาคญั คือพันธุ์พชื พันธ์ุสัตว์ หรือเทคนิควิธีการดูแลต่าง ๆ นั้น จะต้อง เหมาะสมกับ สภาพสงั คมและสภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถน่ิ น้นั ๆ ด้วย อย่างไรก็ตามมีพระราชประสงค์เป็นประการแรก คือ การทาให้เกษตรกร สามารถพึ่งตนเองได้ โดยเฉพาะในด้านอาหาร ก่อน เป็นอันดับแรก เช่น ข้าว พืชผัก ผลไม้ ฯลฯ แนวทางที่สาคญั อีกประการหนง่ึ คือ การที่ทรงพยายาม เน้นมิให้ เกษตรกรพ่ึงพาอยู่กับพืชเกษตรแต่เพียงอย่างเดียว เพราะจะเกิดความ เสียหายง่าย เนื่องจากความ แปรปรวนของตลาด และความไมแ่ น่ นอนของธรรมชาติทางออกก็คอื เกษตรกร โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~๑~

ควรจะต้องมีรายได้เพิ่มข้ึน นอกเหนือไปจากภาคเกษตร เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรม ในครัวเรือนของ มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษ ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ซ่ึงดาเนินงานสนับสนุนงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปัจจุบันสภาพของทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ ท่ีดิน แหล่งน้า ฯลฯ ใหอ้ ยใู่ นสภาพทจ่ี ะมีผลตอ่ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิตอย่างมากท่สี ุด จากแนวทางและเปา้ หมายต่าง ๆ ดังกลา่ ว มแี นวพระราชดาริ ที่ ถอื เปน็ หลักเกณฑ์ หรอื เทคนคิ วธิ กี าร ที่จะบรรลุถึง เป้าหมายน้ัน หลายประการ ประการแรก ทรงเห็นว่าการพัฒนาการเกษตรที่ จะได้ผลจริงน้ัน จะต้อง ลงมือทดลองค้นคว้า ต้องปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป ดังพระราชดารัส ว่า \"... เกษตรกรรมน้ี หรือ ความเป็นอยู่ของเกษตรนัน้ ขอใหป้ ฏบิ ัติ ไม่ ใช่ ถอื ตาราเปน็ สาคัญอย่างเดียว..\" โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นดา้ นการพฒั นาการเกษตรทกี่ ระจายอยทู่ ว่ั ประเทศนนั้ ได้ส่งผล โดยตรงต่อความกินดีอยู่ดีของเกษตรกรเป็นอย่างมาก เน่ืองจาก เป็นโครงการท่ีมุ่งแก้ปัญหาหลักด้านการ พัฒนาการเกษตร โดยเฉพาะอย่างย่ิงทาให้ เกษตรกรได้มีโอกาสมากขึ้น ในการเข้าถึงแหล่งความรู้ในด้าน เทคนิค และวิชาการ เกษตรสมัยใหม่ ซึ่งแต่เดิมเกษตรกรไม่เคยมีโอกาสเช่นน้ีมาก่อน รวมทั้งยังได้มีโอกาส เรียนรู้ และเห็นตัวอย่างของความสาเร็จของการผลิตในพื้นท่ีต่าง ๆ และสามารถนาไปปรับใช้ในการ เพาะปลูกของตนเองอย่างได้ผล ความเจริญของเกษตรกร และภาคเกษตรกรรมน้ี มิใช่มีจุดหมายในตัวเอง เท่าน้ัน หากแต่ยังมีความหมาย ต่อความเจริญของภาคเศรษฐกิจแขนงอ่นื และของประเทศชาตโิ ดยส่วนรวม ดว้ ย โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~๒~

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารเิ กษตรทฤษฎีใหม่ ในพ้ืนท่โี ครงการชลประทาน ห้วยใหญว่ ังแขม ความเปน็ มา โครงการห้วยใหญ่วังแขม (เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ) เกิดข้ึนจากราษฎรในเขตพ้ืนที่ ตาบลมหาโพธิ์ ตาบลสระโบสถ์และตาบลใกล้เคียง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ได้รับความเดือดร้อน เพราะขาดแคลนน้าทานา เนื่องจากฝายท่ีสร้างไว้เดิมชารุด และอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถซ่อมแซมให้ดีได้ กรมชลประทานจึงได้ดาเนินการก่อสร้างใหม่เป็นฝายถาวร (ฝายวังแขม) โดยเร่ิมก่อสร้างในปี ๒๕๑๙ แล้ว เสร็จปี ๒๕๒๐ ฝายวังแขมรับน้าได้ดีในช่วงฤดูฝน แต่ในฤดูแล้ง น้าจะน้อยมากไม่เพียงพอต่อความต้องการ นายนยิ ม วรปัญญา สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรจงั หวัดลพบรุ ี ไดม้ หี นงั สือกราบบังคมทลู ขอพระราชทานพระ มหากรุณา เพ่ือช่วยเหลือการพัฒนาแหล่งน้า โดยนาโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าห้วยใหญ่วังแขม ตาบล มหาโพธ์ิ อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี เข้าเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ซ่ึงสานักงาน กปร. ได้สรุปข้อเท็จจริงว่า พ้ืนที่ก่อสร้างอยู่ในเขตท่ีสาธารณประโยชน์และกรมชลประทานมีแผนงานก่อสร้างใน โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~๓~

ปีงบประมาณ ๒๕๔๐-๒๕๔๒ ไว้แล้ว หากโครงการฯ ดังกล่าวแล้วเสร็จจะทาให้เกษตรกรสามารถประกอบ อาชีพได้ท้ังในฤดูฝนและฤดูแล้ง ท้ังน้ี สานักราชเลขาธิการ ได้มีหนังสือท่ี รล ๐๐๐๕/๕๑๐๒ ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ถึงสานักงาน กปร. สรปุ ได้ว่า ได้นาความกราบบงั คมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลพี ระ บาทแล้ว มพี ระราชดารวิ ่าเปน็ โครงการที่น่าสนบั สนนุ โดยมีข้อพิจารณาว่า ๑. ผู้ท่ีบุกรุกในเขตโครงการจะไม่ได้รบั การชดเชย หรือเอกชนจะใหม้ ีการชดเชยไมใ่ ช้เงินงบประมาณ แผ่นดิน ๒. ระบบต้องใช้ระบบของฝายกอ่ น ๓. ในพ้ืนที่ทาประโยชนจ์ ะต้องส่งเสริมระบบทฤษฎีใหม่ ๔. ในอนาคตตอ้ งขยายพ้ืนท่รี บั ประโยชน์ สานักงาน กปร. ได้ประสานงานกับจังหวัดลพบุรี และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือดาเนินการสนอง พระราชดาริ ทั้ง ๔ ประการ โดยได้ดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงผลการดาเนินงานได้ประสบ ความสาเร็จแล้วในระดับหนึ่งนับจากน้ันเป็นต้นมา ในเกือบทุกคร้ังที่โดยเสด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเยี่ยมราษฎรในพ้ืนที่ต่าง ๆ ขณะท่ีสมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงงานด้านศิลปาชีพมักทรงแยก ไป ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของราษฎรและพระราชทานแนวพระราชดาริในการพัฒนาแหล่งน้า เพ่ือ ช่วยเหลือปดั เป่าความเดือดร้อนให้กบั ราษฎรในพนื้ ทน่ี ั้น การดาเนินงานโครงการ โครงการห้วยใหญ่วังแขมฯได้มีการประสาน การแต่งต้ังหน่วยงานและดาเนินกิจกรรมสนอง พระราชดาริ มคี วามครบถว้ นสอดคล้องตามแนวพระราชดาริและสามารถดาเนินงานโครงการฯ ไดส้ าเรจ็ แลว้ ในระดับหน่ึง โดยแต่งต้ังคณะกรรมการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริเกษตรทฤษฎีใหม่ ในพื้นที่ โครงการชลประทานห้วยใหญ่วังแขม ระดับจังหวัด จานวน ๑๗ คน เช่น เกษตรและสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เกษตรจังหวัดลพบุรี ปศุสัตว์จังหวัดลพบุรี ประมงจังหวัดลพบุรี หัวหน้าโครงการชลประทานจังหวัดลพบุรี ฯลฯ โดยเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั เป็นประธานกรรมการ หัวหน้าฝ่ายแผนงานพัฒนาการเกษตร สานกั งาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นกรรมการและเลขานุการ และคณะทางานโครงการฯระดับอาเภอ จาก ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องเป็นผู้ปฏิบัติงาน จานวน ๑๑ คน เช่น ผู้แทนสานักงานปศุสัตว์จังหวัดลพบุรี ผู้แทน สานักงานประมงจังหวัดลพบุรี ผู้แทนโครงการชลประทานจังหวัดลพบุรี ฯลฯ โดยนายอาเภอ เป็นประธาน คณะทางานเกษตรอาเภอสระโบสถ์ เปน็ คณะทางานและเลขานกุ าร โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~๔~

๑) ในระยะแรกเป็นภารกจิ ในการซอ่ มแซมฝายวังแขม ได้ดาเนนิ การแล้วเสรจ็ และสามารถรับนา้ ไดด้ ี ๒) ก่อสร้างอ่างเก็บน้าห้วยใหญ่วังแขม มีความจุของอ่างฯ ท่ีระดับเก็บกัก ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งในปี ๒๕๔๘ ได้เร่ิมส่งน้าให้พื้นท่ีของเกษตรกรผ่านทางคลองธรรมชาติ (ห้วยใหญ่) และ ปลอ่ ยน้าลงมาตามลาหว้ ยใหญม่ ายังฝายวังแขมเพ่ือใหร้ าษฎรในเขตพนื้ ทตี่ าบลสระโบสถ์ ตาบลมหาโพธ์ิ และ ตาบลนิยมชัย ประมาณ ๗,๐๐๐ ไร่ ได้มีแหล่งน้าไว้ใช้สาหรับการอุปโภค – บริโภค และทาเกษตรกรรมโดย การใช้นา้ จากระบบของฝายก่อนและกอ่ สรา้ งระบบส่งน้าเปน็ คลองดาดคอนกรตี ฝง่ั ซา้ ย-ขวา จานวนท้ังสิน้ ๗ สาย รวมความยาว ๒๗.๑ กิโลเมตร ซึ่งจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปี ๒๕๕๓ ซึ่งจะสามารถขยายพื้นที่รับ ประโยชนไ์ ดม้ ากขน้ึ ประมาณ ๒๓,๗๐๐ ไร่ ๓) กิจกรรมส่งเสริมการทาเกษตรกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยการการขุดสระน้าและการ สนบั สนนุ ปัจจัยการผลิตใหแ้ กเ่ กษตรกรในชว่ งปี ๒๕๔๕-๒๕๔๗ จานวน ๖๑ ราย ๔) ความก้าวหน้าในการดาเนินงานในช่วงปี ๒๕๔๘ - ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นงานด้านการ พัฒนาอาชีพเกษตร เป็นกิจกรรมท่ีใช้แนว ทางในการดาเนินงานตามนโยบายและแผนงานของหน่วยงานตน้ สังกัด และใช้งบประมาณปกติ ซ่ึงได้ดาเนินการไปแล้วในลักษณะของการดาเนินกิจกรรมทั่ว ๆ ไปของ อาเภอสระโบสถ์ ผลจากการพัฒนาแหล่งน้าจากโครงการฯ ได้ส่งประโยชน์ให้เกษตรกรมีน้าใช้เพื่อการเกษตรกรรม โดยมีการทานาและทาไร่เป็นอาชีพหลักและอาชีพรอง ซ่ึงมีรายได้สุทธิจากการเพาะปลูก เฉล่ีย ๙๑,๘๕๐ บาท/ครัวเรือน อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะมีแหล่งน้าเพิ่มเติมก็ตามแต่เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงด้านการ เพาะปลูกไม่มากนักมีเพียงร้อยละ ๒๙.๖ (๓๔ ครัวเรือน) เท่านั้น จาแนกเป็นเกษตรกรจานวน ๑๖ ครัวเรือน จากเดิมที่ทานาปีอย่างเดียว ได้เปลี่ยนมาทาทั้งนาปีและนาปรัง ส่วนอีกจานวน ๑๖ ครัวเรือน ไดเ้ ปลย่ี นจากการปลกู ขา้ วมาปลูกออ้ ย มนั สาปะหลงั และจานวน ๒ ครัวเรอื นไดเ้ ปลยี่ นจากออ้ ยมาปลกู ขา้ ว สาหรับการเปลี่ยนแปลงด้านผลผลิตนั้น เกษตรกรร้อยละ ๕๐.๙ มีความเห็นว่า ผลผลิตของพืชท่ี ปลูกเพ่ิมข้ึนอย่างชัดเจน ได้แก่ ผลผลิตข้าวนาปี ก่อนปี ๒๕๔๘ จากเดิมเฉล่ีย ๔๔.๕ ถัง/ไร่ ภายหลังปี ๒๕๔๘ มีผลผลติ เฉล่ยี ๖๐.๗ ถัง/ไร่ พืชไร่ไดแ้ ก่ อ้อย ผลผลติ จากเดิมเฉลยี่ ๑๔.๒ ตัน/ไร่ ภายหลังปี ๒๕๔๘ มผี ลผลิตเฉลีย่ ๑๗.๑ ตนั /ไร่ สว่ นการได้รับการสง่ เสรมิ ในการพัฒนาอาชีพทางการเกษตร ผู้ท่ีไดร้ ับประโยชน์ ที่เป็นรูปธรรมชัดเจน คือ ครัวเรือนทไี่ ด้รับการสง่ เสริมให้ทาเกษตรทฤษฎใี หม่ โดยมีเกษตรกรทป่ี รับเปลย่ี น มาทาเกษตรกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่ ร้อยละ ๖.๐ สว่ นประชาชนรายอ่ืน ๆ ยงั คงปลูกพชื เชงิ เดี่ยวเป็นหลกั ได้แก่ ข้าวมีร้อยละ ๗๓.๓ และพืชไร่ ร้อยละ ๓๗.๙ เนื่องจากผลผลิตมีราคาดี โดยข้าวมีราคาเกวียนละ ๑๒,๐๐๐ – ๑๒,๕๐๐ บาท ออ้ ยตนั ละ ๖๕๐ – ๘๕๐ บาท รวมทัง้ มีตลาดมารับซ้ือในหมบู่ ้าน โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~๕~

การใชน้ า้ จากสระ ประชาชนในเขตพ้ืนที่โครงการฯ เห็นความสาคัญและเข้าใจถึงประโยชน์ของการมสี ระน้าไว้ประจาไร่ นา ส่วนใหญ่ใช้น้าจากสระในการทากิจกรรมการเกษตรที่มีอยู่ในแปลง ได้แก่ ทานา เล้ียงสัตว์ และปลูกผัก นอกนน้ั เปน็ การใชน้ ้าจากสระในลกั ษณะของการทาเกษตรสมผสาน เปน็ ส่วนใหญ่ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~๖~

โครงการพฒั นาด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ปัญหา เรื่องสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาท่ีมีความสาคัญควบคู่กับการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าซึ่งเป็น ปัญหาร่วมกัน ของทุกประเทศ กล่าวคือ การพัฒนายง่ิ รุดหน้าปัญหาคณุ ภาพ สิ่งแวดล้อม และภาวะมลพิษก็ ย่ิงก่อตัว และทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน ประเทศไทยก็เป็นประเทศหน่ึงท่ีกาลังประสบกับปัญหาดังกล่าวอยู่ ในขณะนี้ ท้ังน้ีเพราะการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงท่ีผ่านมาให้ความสาคัญกับอัตราความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ โดยการนาเอาทรัพยากรมาใช้ประโยชน์แต่ไม่ได้มีการวางแผนการจัดการท่ีเหมาะสมเพ่ือรองรับ ปัญหาท่ีจะเกิดข้ึน ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเหลืออยู่มีสภาพเส่ือมโทรมลง โครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริส่วนใหญ่จะเป็นวิธีการที่จะทานุบารุง และปรับปรุงสภาพทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นใน ด้านต่างๆ อาทิเช่น การอนุรักษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ ดิน นา้ และป่าไม้ ซึ่งมีสาระโดยสรปุ ดังนค้ี อื ๑. ด้านการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรดิน ในช่วงระยะเวลา ๒๐ ปีที่ผ่านมา การเพ่ิมผลผลิต และ รายได้ของ ประเทศมาจากการขยายพ้นื ที่การเพาะปลกู มากกว่า การเพิ่มผลผลติ ต่อหน่วยพ้นื ที่ จนถึงขณะน้ี ประมาณได้ว่าพื้นที่ ที่เหมาะสมต่อการเกษตรกรรมได้ใช้ไปจนเกือบหมด และเกษตรกรพยายามหาพื้นท่ี ชดเชยด้วย การอพยพโยกย้ายเข้าไปอยู่กระจัดกระจายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ป่าไม้ ถูกทาลายเพ่ิม จานวนมากข้ึน เพราะการใช้ที่ดิน กันอย่างขาดความระมัดระวัง และไม่มีการบารุงรักษาซ่ึงทาให้เกิดความ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~๗~

เส่ือมโทรมทั้งด้านเคมี และกายภาพ ปัญหาเหล่าน้ีหากไม่ได้รับการแก้ไขย่อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนา ประเทศเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวทรงีมีแนวพระราชดารเิ พื่อแก้ปัญหาในเรื่องของดิน ท้ัง ในแงข่ องการปัญหาดนิ ท่เี สอื่ มโทรม ขาดคณุ ภาพ และการขาดแคลน ที่ดนิ ทากินสาหรับเกษตรกร ดังน้ี ๑.๑ สนับสนุนให้เกษตรกรเรียนรู้เข้าใจวิธีการอนุรักษ์ดินและน้า การปรับปรุงบารุงดิน และ สามารถนาไปปฏิบัติไดเ้ อง มีพระราชดาริวา่ “..การปรบั ปรุงที่ดนิ นั้นต้อง อนรุ ักษ์ผวิ ดิน ซึ่งมคี วามสมบรู ณ์ ไว้ ไม่ให้ไถ หรือลอกหน้าดินทิ้งไป สงวนไม้ยืนต้นท่ียังเหลืออยู่ เพื่อที่จะรักษาความชุ่มชื่นของผืนดิน…” ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชดาริให้จัดตั้งศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนอัน เนอ่ื งมาจาก พระราชดาริ เพือ่ ทาการศกึ ษาค้นคว้าเกย่ี วกบั การสรา้ งระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า เปน็ ตวั อยา่ งใน การปอ้ งกนั การชะลา้ ง พังทลายของดิน การขยายพันธุพ์ ืช เพ่อื อนุรกั ษด์ นิ และบารุงดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนา พิกุลทองฯ ก็มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษา และพัฒนาพ้ืนท่ีพรุ ซึ่งเป็นดินเปรี้ยวให้เป็นดินท่ีมีคุณภาพ สามารถทาการเพาะปลูกได้ ตลอดจนการ ทาแปลงสาธิตการพัฒนาท่ดี ินแก่เกษตรกรรม ในบางพ้ืนที่มีปัญหา ในการพัฒนาปรับปรุงดินเสื่อมโทรมด้วยสาเหตุต่าง ๆ เช่น ดินเปร้ียว ดินเค็ม ดินทราย ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อให้ พื้นทีท่ ม่ี ีปัญหาเร่อื งดนิ ทงั้ หลายสามารถใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตรได้อีก โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~๘~

๑.๒ การจัดสรรและปฏิรูปที่ดิน พัฒนาท่ีดินว่างเปล่าแล้วจัดสรร ให้เกษตรกรที่ไร้ท่ีทากินได้ ประกอบอาชีพในรูปของหมู่บ้านสหกรณ์ ท้ังนี้โดยให้สิทธิทากินแต่ไม่ให้กรรมสิทธ์ิในการถือครอง พร้อมกับ จัดบริการพื้นฐานให้ความเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการจัดพื้นท่ีทากินให้ราษฎรชาวไทยภูเขา ให้สามารถ ดารงชีพอยู่ได้เป็นหลักแหล่งโดยไม่ต้องทาลายป่าอีกต่อไป ในการจัดพ้ืนท่ีต่างๆ ดังกล่าวน้ี พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยูห่ วั มหี ลักการวา่ ต้องการ วางแผนการจัดใหด้ ีเสียต้งั แตต่ ้น โดยใชแ้ ผนท่ี และภาพถ่าย ทางอากาศ ช่วย การจัดสรรพ้ืนที่ทากิน ควรจัดสรร ตามแนวพื้นที่รับน้าจากโครงการชลประทานเป็นหลัก ปัญหากา ร ขาดแคลนที่ดินทากินของเกษตรกร เป็นปัญหา สาคัญยิ่งในปัจจุบัน ด้วยพระอัจฉริยะในการแก้ปัญหาจึงได้ พระราชทาน “ทฤษฎีใหม่” ให้ดาเนินการในพ้ืนที่ทากินที่มีขนาดเล็ก ประมาณ ๑๕ ไร่ ด้วยวิธีการจัดสรร ที่ดินให้เหมาะสม มีแหล่งน้าในท่ีดินสาหรับการทาการเกษตร แบบผสมผสานอย่างได้ผล เพื่อให้เกษตรกรมี รายได้ใช้จ่ายตลอดปี ซึ่งได้ดาเนินการอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เม่ือวันท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๔ ได้ พระราชทานพระราชดาริ เกี่ยวกับหญ้าแฝกเป็นครั้งแรกกับ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ในขณะ นั้นว่าให้ทาการศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝก เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และอนุรักษ์ความชุ่มชื้น ไว้ในดินเพราะขั้นตอนการดาเนินงานเป็นวิธีการแบบง่ายๆ ประหยัด และที่สาคัญ คือ เกษตรกรสามารถ ดาเนินการเองได้โดยไม่ต้องให้การดูแล ภายหลังการปลูกมากนัก และได้พระราชทานพระราชดาริอีกหลาย ครั้ง เกี่ยวกับการนาหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ การดาเนินโครงการต่างๆ ดังกล่าวนี้ ทรงเน้น อยเู่ สมอวา่ กระบวนการพฒั นาท่ีดินท้งั หมดนจี้ ะต้องชี้แจงให้ราษฎรซ่งึ เปน็ ผู้ไดร้ ับประโยชน์ มสี ่วนร่วมและลง มอื ลงแรงด้วย โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~๙~

๒. ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบดีว่าประชาชนส่วน ใหญข่ องพระองคท์ ่านมีอาชพี ทางการเกษตรและอาศัยน้าฝน จงึ ทรงเน้นการอนรุ ักษ์ และพัฒนาแหล่งน้าเปน็ พิเศษ และทรงโปรดให้จัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ต้ังอยู่ท่ีอาเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพ้ืนที่ต้นน้าลาธาร เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจรวมทั้งรูปแบบการพัฒนาต่างๆ ท่ีทาให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้โดยไม่ต้องทาลาย สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งน้ีเพ่ือให้ประชาชนท่ีสนใจเข้าไปศึกษาและนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ โดยทม่ี ีการอนรุ กั ษ์ต้นน้า และพฒั นาปา่ ไป พรอ้ มๆ กนั สดุ ท้ายความชมุ่ ช้นื กจ็ ะเกดิ ข้ึน และจะบรรเทาปญั หา การขาดแคลนน้าเพอื่ อปุ โภคบริโภคในทส่ี ุด นอกจากน้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงตระหนักและห่วงใย ในปญั หามลพิษจากน้าเนา่ เสยี ของประเทศที่มปี ริมาณสูงขนึ้ จนยากแกก่ ารแกไ้ ขใหบ้ รรเทาเบาบางลงได้ จาก การท่ีพระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรสภาพน้าเน่าเสียในพื้นที่หลายๆ แห่ง ท้ังใน กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และ ต่างจังหวัด จึงได้พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขน้าเสียด้วยการ ประดิษฐ์เคร่ืองกลเติมอากาศ ท่ีเรียกกันว่า “กังหันน้าชัยพัฒนา” เพื่อใช้ในการบาบัดน้าเสียที่เกิดจากแหล่ง ชมุ ชนและแหลง่ อตุ สาหกรรม โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๐ ~

๓. ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีอานวยประโยชน์ทั้งทางตรง และ ทางอ้อมให้แก่มนุษยชาติ ควบคุมสภาพดินฟ้าอากาศให้อยู่ในสภาพปกติ รักษาต้นน้าลาธาร พันธุ์พฤกษชาติ และสัตว์ป่า อีกท้ังยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ป่าไม้เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษย์ได้บริโภคใช้สอย ประกอบอาชีพด้านการทาป่าไม้ เก็บของป่า การขนส่ง การอุตสาหกรรม การผลิตไม้ แปรรูป และผลติ ภณั ฑ์ สาเรจ็ รูปท่ใี ช้วตั ถดุ ิบจากไม้ และของป่า แต่สภาพปัจจุบันประชากรไทยมจี านวนเพม่ิ ขึน้ อยา่ งรวดเรว็ จึงเป็น แรงผลักดันใหเ้ กิดการบุกรุกทาลายป่าไม้เพือ่ บุกเบิกพ้ืนทที่ ากิน ลักลอบตัดไมป้ ้อนโรงงานอตุ สาหกรรม และ เผ่าถ่าน นอกจากนี้ การเร่งการดาเนินงาน บางโครงการ เช่น การก่อสร้างถนน สร้างเข่ือน ฯลฯ ทาให้มีการ ตัดไม้ โดยไม่คานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้จึงมีเน้ือที่ลดลงตามลาดับ และบางแห่งอยู่ในสภาพ เส่ือมโทรมเป็นอยา่ งมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นความสาคญั ของป่าไม้โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเกิดปัญหาฝนแล้ง น้าท่วม ดังท่ีประเทศไทย ประสบอยู่ในขณะนี้ มีสาเหตุสาคัญมาจากการทาลายป่า พระองค์จึงทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งม่ันท่ีจะแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาป่าให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ดังเดิม จาก แนวพระราชดาริของพระองค์ ก่อให้เกิดโครงการพัฒนาและบารุงป่าไม้จานวนมากมายท่ัวประเทศ โดยเฉพาะป่าไมท้ เ่ี ป็นต้นน้าลาธารให้คงสภาพอยเู่ ดมิ เพ่ือป้องกันอุทกภยั ต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึน ในขณะเดียวกัน ก็ถนอมน้าไว้ใช้สาหรับหล่อเล้ียงแม่น้าลาธารด้วย เช่น โครงการพัฒนาพ้ืนที่ห้วยลานอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ อาเภอสนั กาแพง จงั หวดั เชยี งใหม่ เป็นต้น โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๑ ~

โครงการอนรุ ักษ์และฟ้ืนฟปู า่ เขาซบั แกงไก่ อาเภอลาสนธิ จงั หวัดลพบรุ ี ความเปน็ มา เขาซับแกงไก่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าชัยบาดาลท้องท่ี หมู่ที่ ๕ ตาบลเขาน้อย อาเภอลาสนธิ จงั หวัดลพบรุ ี สภาพพน้ื ทีเ่ ป็นภเู ขาหนิ ปูนยอดสงู สุดสูงกว่าระดับนา้ ทะเลปานกลาง ๖๙๓ เมตรพ้นื ทบี่ างส่วน ลาดชนั มากมีท่รี าบบริเวณชายเขามพี ้นื ทโ่ี ครงการ จานวน ๓,๐๒๗ ไร่ (รวมเน้ือท่ี วดั ป่าชมุ ชนดว้ ย) สภาพป่า ไม้เป็นป่าเบญจพรรณพรรณไม้เด่น เช่น มะค่าโมง ประดู่ ป่าง้ิว ป่ามะกอก ป่าไผ่รวก ไทร จันทน์ผา จันทร์ หนู และปรงชนิดต่างๆ พืชสมุนไพร และเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายาก เช่น เลียงผา หมีควาย สุนัข จิ้งจอก ลิงกัง เม่น อีเห็น หมูป่า และนกชนิดต่างๆ กว่า ๑๕๐ ชนิดตลอดจนเป็นป่าต้นน้าลาธารท่ีไหลลงสู่ อ่างเก็บน้าเข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ ราษฎรในพื้นที่ใช้ประโยชน์ เป็นแหล่งอาหารเก็บหาของป่า ไม้ฟืน ไม้ใช้สอย โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๒ ~

ในครวั เรือน ตลอดจนเปน็ แหล่งน้าซับเพือ่ การเกษตรและอปุ โภคบรโิ ภค จงึ ไดเ้ ห็นความสาคญั ของทรพั ยากร ป่าไม้ท่ีให้ประโยชน์ในด้านต่างๆ และร่วมมือกันในการอนุรกั ษท์ รัพยากรป่าไมแ้ ละสัตว์ปา่ บริเวณพ้ืนทีป่ ่าเขา ซับแกงไก่ และพร้อมใจกันขอพระราชทานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพื่อจะได้มีหน่วยงานของ ทางราชการเขา้ ไปดแู ลและบรหิ ารจดั การพ้นื ทอี่ ยา่ งใกล้ชดิ รว่ มกับราษฎรในหมบู่ า้ น เพื่อทาให้มีสภาพป่าไมท้ ่ี อดุ มสมบรู ณ์และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตที่ดีขึน้ โดยดาเนนิ ชวี ิตตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง กรณีฎีกาสานักราชเลขาธิการ แจ้งว่า ทรงรับไว้เป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ตาม หนังสือ ท่ี รล ๐๐๐๘.๒/๑๗๘๐๙ ลงวันที่ ๑๘ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ความว่า ตามท่ีได้แจ้งผลการ พจิ ารณากรณีองค์การบริหารสว่ นตาบลเขาน้อย อาเภอลาสนธิ จงั หวดั ลพบรุ ี ขอให้ทรงรับพ้ืนที่ป่าชมุ ชนเขา ซบั แกงไก่บ้านลาน้าเขียว หมูท่ ่ี ๕ ตาบลเขานอ้ ย ไว้เปน็ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริวา่ ป่าชุมชนเขา ซับแกงไก่มีความอุดมสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ อีกท้ังมีการประสานความร่วมมือกับทุก ภาคส่วน ตลอดจนกรมป่าไม้พร้อมให้การสนับสนุนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชนเขาซับแกงไก่ให้เกิด ความย่ังยืน จึงเห็นควรรับพื้นที่ป่าชุมชน เขาซับแกงไก่ไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพื่อเป็น ต้นแบบในการดูแลรักษาป่า โดยชุมชน และเป็นเครือข่ายในการดาเนินการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูสภาพป่าไม้แก่ พืน้ ที่ปา่ ชมุ ชนโดยรอบ ความละเอียดแจง้ อยู่แลว้ นน้ั ได้นาความกราบบงั คมทูลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทราบฝ่าละอองพระบาทแล้ว มีพระราชกระแสว่า สานักงาน กปร. หน่วยราชการที่ เกี่ยวข้อง และราษฎรในพ้ืนท่ี เตรียมแนวทางปฏิบัติในการดูแลพ้ืนท่ีป่าชุมชนเขาซับแกงไก่ไว้แล้วอย่างไร หรือไม่ ถึงแม้กรมป่าไม้จะยินดีสนับสนุนในการอนุรักษ์ฟ้ืนฟู แต่ควรมีหน่วยงานอ่ืน เช่นสานักงาน กปร. ไป ร่วมดูแลด้วย โดยอาจจะไปเป็นประจาทุกเดือนโดยสม่าเสมอ เพ่ือจะได้เป็นต้นแบบในการดูแลรักษาป่าไม้ อย่างแทจ้ รงิ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๓ ~

ผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ลาดบั รายละเอียด เป้าหมาย งบประมาณ แผนงาน/กิจกรรม * ปริมาณงาน หน่วยนับ (บาท) ๑ เพาะชากล้าไม้มคี ่า ๑๕,๐๐๐ กลา้ ๑๑๑,๐๐๐ ๒ งานปรบั ปรุงระบบนิเวศตน้ น้า ๒๕ ไร่ ๒๔,๒๕๐ ๓ จดั สร้างฝายแบบก่งึ ถาวร ๘ แห่ง ๒๘๐,๐๐๐ ๔ ฝึกอบรมราษฎร (อาชพี ด้านป่าไม้) ๑ รุ่น ๕๐,๐๐๐ ๕ ฝกึ อบรมเยาวชน ๑ รุ่น ๕๕,๐๐๐ ๖ งานกจิ กรรมปลูกป่าเทดิ พระเกียรติฯ ๑ งาน ๓๐,๐๐๐ ๗ งานสร้างเครือข่ายอาสาสมัครพิทกั ษ์ปา่ ๑ งาน ๕๒,๐๐๐ ๘ งานพฒั นาเสน้ ทางเดนิ ศึกษาธรรมชาตเิ ขาซบั แกงไก่ ๑ งาน ๓๐,๐๐๐ ๙ งานสาธิตการผลติ เตา่ ถา่ นคุณภาพสูง ๑ งาน ๖๕,๐๐๐ ๑๐ งานส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์สมนุ ไพร ๑ งาน ๒๕,๐๐๐ ๑๑ งานขยายผลการปลูกปา่ ตามแนวพระราชดาริ ๑ งาน ๑๐๐,๐๐๐ ๑๒ กจิ กรรมอานวยการ ๑ งาน ๕๘,๒๐๐ รวมงบประมาณทง้ั สนิ้ - - ๘๘๐,๔๕๐ แนวทางการดาเนินงานในระยะตอ่ ไป ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ กจิ กรรมฟนื้ ฟูป่าตามแนวพระราชดาริ ๑) เพาะชากล้าไมม้ ีคา่ ๒) งานปรบั ปรุงระบบนเิ วศตน้ น้า กิจกรรมป้องกนั รักษาปา่ ๑) งานประชาสัมพนั ธ์การป้องกันพืน้ ท่โี ครงการ สร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษแ์ ละ ฟ้ืนฟูทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพนื้ ท่ี และสรา้ งเครือข่ายในการอนุรกั ษ์ป่า เพื่อเปน็ แหล่งอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพืชทอ้ งถน่ิ และสตั วป์ ่าที่หายากและใกล้สูญพันธ์ุ โดยมคี วามจาเปน็ ทตี่ ้องมกี ารร่วมตรวจตราพื้นท่ี โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๔ ~

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตและสร้างจติ สานึก ๑) ฝกึ อบรมราษฎร ๒) ฝึกอบรมเยาวชน ๓) งานสาธติ การทาปุ๋ยชีวภาพ ๔) งานพฒั นาเส้นทางเดนิ ศึกษาธรรมชาติเขาซบั แกงไก่ ๕) กิจกรรมปลูกป่าเทิดพระเกยี รติ ๖) งานส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์พืชสมุนไพร ๗) งานขยายผลการปลูกป่าตามแนวพระราชดาริในพื้นท่รี าษฎร (ส่งเสรมิ ปลูกไม้ไผ่และไมย้ นื ตน้ ) กิจกรรมเพาะชากล้าไม้มคี ่า ดาเนินการเพาะชากล้าไม้มีค่าในท้องถ่ิน ประกอบด้วย จันทน์ จันทน์หนู มะค่าโมง สัก แคนาโดยสว่ นใหญเ่ ปน็ ไมป้ ระจาถิน่ เขาหินปนู ของโครงการอนุรกั ษแ์ ละฟ้ืนฟูป่าเขาซับแกงไก่เพอ่ื การอนุรักษ์ พนั ธุกรรม โดยแจกจา่ ยใหป้ ระชาชนหรอื หน่วยงานราชการในพืน้ ทใ่ี กล้เคยี งนาไปปลูก โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๕ ~

งานปรับปรุงระบบนิเวศต้นนา้ จานวน ๒๕ ไร่ ดาเนินการปลกู ป่าบนพืน้ ท่ีต้นนา้ ทีเ่ สียหายปานกลางหรอื ค่อนขา้ งเสื่อมโทรมตามเกณฑ์ ทก่ี าหนดไว้ พื้นทต่ี ้นน้าเสียหายน้อยหรือมคี วามอดุ มสมบูรณต์ ่า เพอ่ื คนื ความอดุ มสมบรู ณ์และ ความหลากหลายของระบบนิเวศต้นน้า โดยการปลกู ตน้ ไม้ จานวน ๒๕ ต้นต่อไร่ สาหรบั การคดั เลือกชนิดพนั ธไุ์ ม้ท่ีจะปลกู การเตรยี มพ้ืนที่ การเตรียมกลา้ ไม้สาหรับการ ปลูก ๒๕ ต้นต่อไร่ และเพ่ือปลูกซ่อมร้อยละ ๒๐ การถางวัชพืชถางหญ้ารอบโคนต้น และปลูกซ่อมทดแทน ต้นที่ตายและทาแนวป้องกนั ไฟปา่ งบประมาณ : ๘๘๐,๔๕๐ บาท ลกั ษณะโครงการ ฝายคอนกรตี ขนาด สนั ฝาย ๑๕ เมตร สงู ๓.๕๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร, ท่อรับน้า กม .๐+๐๔๘ ของคันกัน้ น้าฝั่งขวา, ขดุ ลอกคลองฝั่งซา้ ย – ขวา โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๖ ~

โครงการพัฒนาด้านแหลง่ นา้ การพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเพาะปลูกหรือการชลประทาน นับว่าเป็นงานท่ีมีความสาคัญและมี ประโยชน์อย่างย่ิงสาหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ในการช่วยให้เกษตรกรทาการเพาะปลูกได้อย่าง สมบูรณ์ตลอดปี ในปัจจุบันพ้ืนท่ีการเพาะปลูกส่วนใหญ่ทุกภาคของประเทศ เป็นพื้นท่ีเพาะปลูกนอกเขต ชลประทาน ซ่ึงต้องอาศัยเพียงน้าฝนและน้าจากแหล่งน้าธรรมชาติเป็นหลัก ทาให้พืชได้รับน้าไม่สม่าเสมอ ตามท่ีพืชต้องการ เป็นผลให้ผลผลิตที่ได้รับไม่ดีเท่าที่ควร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนพระ ราชหฤทัยเก่ียวกับการพัฒนาแหล่งน้ามากกว่าโครงการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริประเภทอื่น ทรง ให้ความสาคัญในลักษณะ “น้าคือชีวิต” ดังพระราชดารัส ณ สวนจิตรลดา เมื่อวันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙ ความวา่ ตอนหน่ึง “…หลักสาคัญว่า ต้องมีน้าบริโภค น้าใช้ น้าเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ท่นี ่ัน ถ้ามีน้าคนอยไู่ ด้ ถา้ ไมม่ นี า้ คนอยู่ไมไ่ ด้ ไมม่ ีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถา้ มีไฟฟา้ ไม่มีน้าคนอยไู่ มไ่ ด้…” โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๗ ~

การพฒั นาแหล่งนา้ อันเนือ่ งมาจากพระราชดารินนั้ มีหลักและวิธกี ารท่สี าคัญๆ คอื ๑. การพฒั นาแหล่งนา้ จะเป็นรูปแบบใด ต้องเหมาะสมกับรายละเอียดสภาพภมู ปิ ระเทศเสมอ ๒. การพิจารณาวางโครงการพัฒนาแหล่งน้า ต้องเหมาะสมกับสภาพแหล่งน้าธรรมชาติที่มีใน แตล่ ะท้องถน่ิ เสมอ ๓. พิจารณาถึงความเหมาะสมในด้านเศรษฐกิจ และสังคมของท้องถิ่น หลีกเลี่ยงการเข้าไป สร้างปัญหาความเดือดร้อนให้กับคนกลุ่มหนึ่งโดยสร้างประโยชน์ให้กับคนอีกกลุ่มหนึ่ง ไม่ว่าประโยชน์ ทางดา้ นเศรษฐกิจเกย่ี วกบั การลงทนุ นนั้ จะมคี วามเหมาะสมเพยี งใดก็ตาม ด้วยเหตุน้ีการทางานโครงการพัฒนาแหล่งน้าทุกแห่ง จึงพระราชทานพระราชดาริไว้ว่า ราษฎรใน หมูบ่ า้ นซึง่ ไดร้ บั ประโยชน์จะต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาเร่อื งที่ดิน โดยจดั การชว่ ยเหลอื ผทู้ ่ีเสียประโยชน์ตาม ความเหมาะสมทจ่ี ะตกลงกันเอง เพ่ือให้ทางราชการสามารถเข้าไปใช้ที่ดนิ ทาการก่อสร้างได้โดยไม่ตอ้ งจดั ซอ้ื ที่ดิน ซึ่งเป็นพระบรมราโชบายท่ีมุ่งหวังให้ราษฎรมีส่วนร่วมกับรัฐบาล และช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในสังคม ของตนเองและมคี วามหวงแหนที่จะต้องดูแลบารุงรักษาส่ิงกอ่ สร้างนั้นต่อไปด้วย โครงการพฒั นาแหลง่ น้าอัน เนือ่ งมาจากพระราชดาริ อาจแบ่งออกได้เปน็ ๕ ประเภท ดงั ต่อไปน้ี ๑) โครงการพัฒนาแหลง่ นา้ เพ่ือการเพาะปลูก และอุปโภคบริโภค ไดแ้ ก่ อ่างเกบ็ นา้ และฝายทดนา้ ๒) โครงการพฒั นาแหลง่ น้า เพอ่ื การรักษาตน้ น้าลาธาร ๓) โครงการพัฒนาแหล่งนา้ เพอ่ื การผลติ ไฟฟ้าพลังน้า ๔) โครงการระบายนา้ ออกจากพื้นทล่ี ุ่ม ๕) โครงการบรรเทาอุทกภยั อย่างไรก็ตามโครงการพัฒนาแหล่งน้าอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ส่วนใหญ่จะมีวัตถุประสงค์เพื่อ การเกษตรเป็นสาคัญ แต่ก็มีการพัฒนาแหล่งน้าหลายๆ โครงการที่มีวัตถุประสงค์หลายๆ อย่างพร้อมกันไป โครงการพัฒนาแหล่งน้าอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สามารถก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนและ ประเทศชาติเป็นส่วนรวม ทัง้ ในระยะส้ันและระยะยาว พอสรุปได้ดงั น้ี ๑. ช่วยให้พ้ืนที่เพาะปลูกมนี ้าอยา่ งอุดมสมบูรณ์ สามารถทาการเพาะปลูกได้ท้ังฤดูฝนและฤดูแลง้ ชว่ ยใหไ้ ดผ้ ลิตผลมากขึน้ และสามารถทาการเพาะปลูกครั้งท่ีสองได้ เป็นการช่วยใหร้ าษฎรมรี ายได้มากขึ้น ๒. ในบางท้องที่เคยมีน้าท่วมขังจนไม่สามารถใช้ทาการเพาะปลูกได้ หรือไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร โครงการระบายน้าออกจากพื้นที่ลุ่มอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เช่น บริเวณขอบพรุ ทาให้พื้นท่ีแห้งลงจน โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๘ ~

สามารถจัดสรรให้ราษฎรท่ีไม่มีท่ีดินเป็นของตนเองเข้าทากินได้ ช่วยให้ไม่ไปบุกรุกทาลายป่าหาท่ีทากินแห่ง อ่ืนๆ ตอ่ ไป ซง่ึ เป็นการช่วยรกั ษาป่าไมอ้ นั เปน็ ทรพั ยากรของชาตไิ ว้ได้ ๓. เมอ่ื มกี ารกอ่ สร้างอ่างเก็บนา้ ขนาดต่างๆ ไว้ ก็มีการปล่อยพันธป์ุ ลาทาให้ราษฎรตามหมู่บ้าน ทอ่ี ยใู่ กล้เคียง สามารถมปี ลาบรโิ ภคภายในครอบครวั หรือเสรมิ รายไดข้ ้นึ ๔. ช่วยให้ราษฎรมีน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคที่สะอาดอย่างพอเพียงตลอดปี ทาให้ราษฎรมี สุขภาพพลานามยั ดีข้ึน และยงั ช่วยใหม้ ีแหล่งน้าสาหรบั การเล้ยี งสตั วด์ ้วย ๕. บางโครงการจะเป็นประเภทเพ่ือบรรเทาอุทกภัยในเขตชุมชนเมืองใหญ่ เช่น กทม. และ ปรมิ ณฑล ชว่ ยลดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกจิ ทง้ั ภาคเอกชน และภาครฐั บาลเป็นอนั มาก ๖. โครงการพฒั นาแหลง่ นา้ เพือ่ การผลติ ไฟฟ้าพลงั น้า จะชว่ ยให้ราษฎรทอ่ี ยู่ในป่าเขาในท้องท่ี ทรุ กันดารไดม้ ไี ฟฟ้าใช้ สาหรบั แสงสวา่ งในครัวเรอื นได้บ้าง ๗. โครงการพัฒนาแหล่งน้า เพื่อการรักษาต้นน้าลาธารอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยการสร้าง ฝายเก็บกกั น้าบริเวณต้นน้าลาธารเป็นชั้นๆ พรอ้ มระบบกระจายนา้ จากฝายตา่ งๆ ไปสูพ่ น้ื ท่สี องฝง่ั ของลาธาร ทา ใหพ้ น้ื ดนิ ช่มุ ช้นื และปา่ ไมต้ ามแนวสองฝั่งลาธารเขยี วชอ่มุ ตลอดปี ลักษณะเปน็ ป่าเปียกสาหรับป้องกนั ไฟป่าเป็น แนว กระจายไปทว่ั บริเวณต้นน้าลาธาร ทาใหท้ รพั ยากรธรรมชาติมคี วามอดุ มสมบูรณไ์ ว้ตอ่ ไป กล่าวได้ว่างานพัฒนาแหล่งน้าน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงทาทุกอยา่ งทุกข้ันตอน ดังท่ีนาย ปราโมทย์ ไม้กลัด เล่าให้ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันท่ี ๕-๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๘ ดังน้ี “…งานของพระองคท์ า่ นมี ต้ังแต่ ถ้าน้าขาดแคลนก็จัดหานา้ และเม่อื น้าทว่ ม น้ามาก ก็จัดการบรรเทาให้น้อยลง เม่ือมีนา้ เน่าเสีย ก็ต้อง มกี ารจัดการทางานด้านนา้ ท้งั หมด ทา่ นจะทราบปญั หาอยา่ งละเอยี ด….” โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๑๙ ~

โครงการอา่ งเกบ็ น้าซบั ตะเคียน บา้ นเขากาพร้า ตาบลห้วยหนิ อาเภอชยั บาดาล จงั หวดั ลพบรุ ี ๑. ความเป็นมา นายนิยม วรปัญญา ส.ส.จังหวัดลพบุรี ได้มีหนังสือร้องเรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีขอให้กรม ชลประทานสร้างอ่างเก็บน้าซับตะเคียน ต.ม่วงค่อม อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรและเล้ียง สัตว์น้ัน กรมฯ ได้มีหนังสือท่ี กส.๐๔๓๐/๒๘๕๔ ลว.๒๖ พ.ย.๒๘ ถึงเลขาธิการรัฐมนตรีชี้แจงว่า ได้ส่ง เจา้ หนา้ ที่ออกไปสารวจรายละเอียดโดยท่ัวไปแล้ว ปรากฏว่ามีลทู่ างจะสรา้ งเป็นอ่างเก็บนา้ ได้ แตก่ รมจะต้อง ทาการสารวจรายละเอียดหาข้อมูลเพื่อนาไปพิจารณาความเหมาะสมเสียก่อน ผลเป็นประการใดจะแจ้งให้ ทราบต่อไป โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๐ ~

๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือใช้เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับการอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม และการป้องกันบรรเทา อทุ กภัย ๓. สถานท่ีตง้ั ๓.๑ ทตี่ ง้ั โครงการ : หมทู่ ี่ ๔ หมบู่ า้ นเขากาพร้า ตาบลเขาแหลม อาเภอชัยบาดาล ๓.๒ พิกดั ที่ตง้ั โครงการ : Latitude ๑๕.๑๑๒๔๐๖ : Longitude ๑๐๐.๙๙๕๖๓๙ 3.3 ขนาดพน้ื ที่โครงการ : ๑ แปลง ๑๑,๘๐๐ ไร่ ๔. ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั ๔.๑ เพือ่ ใช้เปน็ แหล่งนา้ ตน้ ทุน พ้ืนทช่ี ลประทาน ๗,๘๓๐ ไร่ ๔.๒ เป็นแหลง่ เก็บกักน้าสาหรบั การอปุ โภค-บรโิ ภค ของราษฎร ๔.๓ เพ่ือเป็นแหล่งแพร่และเพาะพันธ์ุปลาน้าจืดให้ราษฎรได้บริโภค เป็นรายได้เสริม และเป็นแหล่ง ท่องเทยี่ วของจงั หวดั ลพบุรี ๔.๔ เพ่อื ยกฐานะความเป็นอย่แู ละคณุ ภาพชีวิตของราษฎรท่อี ยใู่ นพ้นื ทีโ่ ครงการ และบรเิ วณใกล้เคียง ให้สงู ขนึ้ จากผลผลติ การเพาะปลกู ทีไ่ ดผ้ ลดีข้นึ เป็นการลดความเส่ยี งของการขาดแคลนนา้ ในการเกษตรกรรม ๕. สภาพของโครงการในปัจจุบนั ใช้งานได้ ๖. การวางแผนพัฒนาโครงการในระยะตอ่ ไป เพิ่มประสิทธภิ าพระบบส่งน้า โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๑ ~

โครงการฝายหว้ ยบง บา้ นห้วยบง ตาบลโคกตูม อาเภอเมอื ง จงั หวัดลพบุรี ๑. ความเป็นมา ฝายห้วยบงเป็นโครงการชลประทานขนาดเล็ก พระบาทสมเด็จพระเจ้าพระอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ ทรง พระราชดาริเม่ือวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๒ ก่อสร้างแล้วเสร็จปี พ.ศ.๒๕๒๓ จุดประสงค์เพื่อ ทานา อุปโภค-บริโภค เลย้ี งสตั ว์ ผักสวนครวั เลี้ยงปลา โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๒ ~

๒. สถานท่ตี งั้ ๒.๑ ทต่ี ง้ั โครงการ : หมทู่ ่ี ๘ หมู่บา้ นหว้ ยบง ตาบลโคกตมู อาเภอเมือง ๒.๒ พิกัดท่ตี ง้ั โครงการ : Latitude ๑๔.๘๗๔๙๔๙ : Longitude ๑๐๐.๘๒๗๓๘๑ ๓. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ ๔.๑ พน้ื ท่ีรบั ประโยชน์ ๑,๐๐๐ ไร่ ๔. สภาพของโครงการในปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งไร ใชง้ านได้ปกติ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๓ ~

โครงการอ่างเกบ็ นา้ บา้ นหนองเสา ตาบลโคกตูม อาเภอเมอื ง จังหวัดลพบุรี ๑. ความเป็นมา เม่ือวันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า - พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนสุดาสยามบรมพระราชกุมารีและสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ วลัยลักษ์ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงประกอบพิธียกช่อฟ้าอุโบสถฯ ณ วัดสามัคคีพัฒนาราม อ.เมือง จ.ลพบุรี ได้ทรงปรารภกับผ้วู ่าราชการจังหวัดลพบุรี ว่าจากการทอดพระเนตรทางเฮลิคอปเตอร์ ปรากฏว่ามี บรเิ วณพื้นท่บี างแหง่ เหมาะสมแก่การสรา้ งอ่างเก็บนา้ เชน่ บริเวณเขาเตย้ี อ.เมอื ง บรเิ วณบ้านดีลงั อ.พฒั นา นิคม และพน้ื ที่บางแห่งอกี ทรงมีรบั สั่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีทาการสารวจ โดยทางสานักงานฯ ไดร้ ว่ ม เดินทางไปกับผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี ไปทาการสารวจเบื้องต้น ปรากฏผลตามหนังสือของผู้ว่าฯจังหวัด โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๔ ~

ลพบุรี หนังสือที่ ๑๖/๓๒๔๕ ลงวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๒ ข้อ ๔.๑ ว่าบริเวณเขาเตี้ย เขตอาเภอเมือง สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเขาจริง แต่แหล่งน้าท่ีไหลลงอ่างเก็บน้ามีเพียงเล็กน้อย แต่อย่างไรก็ตามทาง สานักงานชลประทานทานท่ี ๘ พิจารณาว่าที่บ้านหนองเสา ในลาห้วยหนองเสา ตาบลโคกตูม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่บริเวณพื้นใต้อ่างดังกล่าวเล็กน้อยเหมาะสมท่ีจะก่อสร้างเป็นอ่างเก็บน้าขนาดเล็กเพื่อ อปุ โภคบริโภค ได้ สานักงานฯ จึงได้บรรจุงานก่อสร้างอ่างเก็บน้าบ้านหนองเสาเข้าแผนงานก่อสร้างชลประทานขนาด เล็ก ตามความเรง่ ดว่ นของราษฎรในปงี บประมาณ ๒๕๒๓ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลือการเพาะปลูกของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรับ การเพาะปลกู ในฤดูแล้ง ๒.๒ เป็นแหล่งน้าสาหรบั การอปุ โภคบรโิ ภคของราษฎร และการเลยี้ งสตั ว์ ๓. สถานท่ีต้ัง ๓.๑ ที่ตงั้ โครงการ : หมูท่ ่ี ๘ หมู่บ้านหนองเสา ตาบลโคกตูม อาเภอเมอื ง ๓.๒ พิกัดทต่ี ้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๘๙๓๓๔๖ : Longitude ๑๐๐.๗๙๒๑๓๓ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๕ ~

๔. ประโยชน์ท่ีได้รบั ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๓๐ ครวั เรอื น ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเป็นแหล่งเกบ็ กักนา้ สาหรับพื้นท่รี บั ประโยชน์ ประมาณ ๒๐๐ ไร่ ๔.๓ เป็นแหล่งแพรเ่ พาะพันธ์ปุ ลานา้ จืด ๕. สภาพของโครงการในปัจจุบนั เป็นอย่างไร สามารถเก็บน้าเพื่อใช้ในการเกษตร อุปโภค-บริโภค สาหรับชาวบ้านในพ้ืนที่ ประตูน้ามีรอยชารุดไม่ สามารถปดิ นา้ ได้ อาคารระบายนา้ ล้นชารดุ เสยี หาย ประตนู ้าชารุดมีนา้ รวั เข้าระบบส่งน้า ๖. การวางแผนพัฒนาโครงการในระยะต่อไป ซอ่ มแซมอาคารระบายนา้ ล้น , ซ่อมแซมประตูน้า ผลการดาเนินงาน : สภาพของโครงการในปัจจุบัน สามารถเก็บน้าเพ่ือใช้ในการเกษตร อุปโภคบริโภค สาหรบั ชาวบ้านในพื้นท่ี ประตูน้ามีรอยชารุดไม่สามารถปดิ นา้ ได้ อาคารระบายน้าล้นชารุดเสียหาย ประตูน้า ชารดุ มนี ้ารวั เข้าระบบสง่ นา้ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๖ ~

โครงการอ่างเก็บนา้ ซบั เสอื แมบ ตาบลนคิ มสร้างตนเอง อาเภอเมอื ง จังหวัดลพบรุ ี ๑. ความเปน็ มา เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ นายมนัส ปิ ติวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน เข้าเฝ้าท่ีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ได้ทรงมีพระราชดาริเก่ียวกับงาน ชลประทานโดยการวางโครงการก่อสรา้ งอา่ งเก็บน้าขนาดเล็ก เพอ่ื จดั กานา้ ใหส้ มาชิกนคิ มสรา้ งตนเอง พระ พุทธบาท ในเขตจงั หวัดสระบุรี และจังหวดั ลพบุรี และพจิ ารณาก่อสร้างฝายทดนา้ ในแม่นา้ ปา่ สกั ด้วย โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๗ ~

กรมชลประทานโดยงานจัดสรรน้า กองจัดสรรน้าและบารุงรักษา จึงได้มีบันทึกลงวันท่ี ๒ มกราคม ๒๕๒๓ เร่ืองโครงการชลประทานตามพระราชดาริ ในเขต จ.สระบุรี และ จ.ลพบุรี เสนอ ผชป. ๘ เพื่อ พจิ ารณาดาเนินการ สานักชลประทานท่ี ๘ ไดเ้ จา้ หนา้ ทอี่ อกไปพิจารณาความเหมาะสมเบอ้ื งต้น ในสภาพภมู ปิ ระเทศจริง ทุกแห่งแล้ว ปรากฏว่ามีบางโครงการเหมาะสมที่จะดาเนินการก่อสร้างได้ ซ่ึงจานวนโครงการต่างๆ น้ัน โครงการอ่างเก็บน้าซับเสือแมบ ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรีเหมาะสมที่จะดาเนินการก่อสร้างเป็น โครงการชลประทานขนาดเล็ก ประเภทอา่ งเก็บนา้ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลือการเพาะปลกู ของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหล่งน้าสาหรับ การเพาะปลกู ในฤดูแล้ง ๒.๒ เป็นแหลง่ น้าสาหรบั การอปุ โภคบรโิ ภคของราษฎร และการเลีย้ งสตั ว์ ๓. สถานทตี่ ้ัง ๓.๑ ทีต่ ัง้ โครงการ : หม่ทู ่ี ๑๐ หม่บู ้านซับเสอื แมบ ตาบลนิคมสร้างตนเอง อาเภอเมือง ๓.๒ พิกดั ที่ต้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๘๖๓๒๐๕ : Longitude ๑๐๐.๗๔๔๗๗๖ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๘ ~

๔. ประโยชน์ท่ีได้รบั ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๕๐ ครัวเรือน ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเปน็ แหล่งเก็บกักน้าสาหรบั พืน้ ท่รี ับประโยชน์ ประมาณ ๕๐๐ ไร่ ๔.๓ เปน็ แหลง่ แพรเ่ พาะพันธุ์ปลานา้ จดื ๕. สภาพของโครงการในปัจจบุ ัน มกี ารตืน้ เขินเนอ่ื งจากตะกอนดินสะสมในอ่างเก็บนา้ ทาให้เก็บกกั นา้ ได้นอ้ ย มีตน้ ไม้ขน้ึ บนสันอา่ งเก็บนา้ ๖. การวางแผนพฒั นาโครงการในระยะตอ่ ไป ขุดลอกตะกอนดนิ ภายในอ่างเกบ็ น้า กาจัดวชั พืชบนคนั อา่ งเกบ็ น้า ผลการดาเนินงาน : สภาพของโครงการในปัจจุบัน มีการต้ืนเขินเนื่องจากตะกอนดินสะสมในอ่างเก็บน้า ทา ใหเ้ กบ็ กักนา้ ได้น้อย มตี ้นไม้ข้นึ บนสันอา่ งเก็บนา้ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๒๙ ~

โครงการอา่ งเก็บนา้ ห้วยยางสาม ตาบลดีลัง อาเภอพัฒนานิคม จงั หวัดลพบุรี ๑. ความเป็นมา เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ นายมนัส ปิ ติวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน เข้าเฝ้าที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ได้ทรงมีพระราชดาริเก่ียวกับงาน ชลประทาน โดยการวางโครงการก่อสรา้ งอ่างเกบ็ น้าขนาดเล็กในลาน้าต่างๆเพอ่ื จัดหาน้าให้สมาชิกนคิ มสร้าง ตนเอง พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี และราษฎรหมู่บ้านต่างๆ ในเขตจังหวัดลพบุรี แล ะการพิจารณา วางโครงการกอ่ สรา้ งฝายทดน้าในแม่นา้ ปา่ สกั บริเวณบา้ นหาดสองแควและหม่บู า้ น บา้ นท่าเกวียน กรมชลประทาน จึงใคร่สั่งการให้เจ้าหน้าท่ีสานักงานชลประทานที่ ๘ ออกพิจารณาความเหมาะสม เบือ้ งตน้ ในสภาพภูมปิ ระเทศจรงิ ทุกแหง่ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๐ ~

๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลอื การเพาะปลูกของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหล่งน้าสาหรบั การเพาะปลกู ในฤดแู ลง้ ๒.๒ เป็นแหลง่ น้าสาหรบั การอุปโภคบริโภคของราษฎร และการเล้ียงสตั ว์ ๓. สถานท่ตี ั้ง ๓.๑ ท่ีตั้งโครงการ : หมู่ที่ ๓ หมูบ่ า้ นดีลัง ตาบลดีลงั อาเภอพฒั นานคิ ม ๓.๒ พิกัดที่ต้ังโครงการ : Latitude ๑๔.๘๙๓๗๕๙ : Longitude ๑๐๐.๘๙๖๗๖๕ ๔. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๑๔๐ ครัวเรอื น ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเป็นแหล่งเกบ็ กกั น้าสาหรบั พน้ื ทร่ี ับประโยชน์ ประมาณ ๒,๐๐๐ ไร่ ๔.๓ เปน็ แหลง่ แพรเ่ พาะพนั ธป์ุ ลานา้ จดื ๕. สภาพของโครงการในปัจจุบัน มีตะกอนดนิ ตน้ ไม้ขนึ้ ภายในอา่ ง ประตูน้าชารดุ ๖. การวางแผนพัฒนาโครงการในระยะตอ่ ไป ซ่อมแซมประตนู า้ ขุดลอกตะกอนดินภายในอ่างเก็บน้า โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๑ ~

โครงการอ่างเกบ็ น้าห้วยยางหนง่ึ ตาบลพัฒนานคิ ม อาเภอพัฒนานคิ ม จังหวัดลพบุรี ๑. ความเป็นมา เม่ือวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ นายมนัส ปิ ติวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน เข้าเฝ้าท่ีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ได้ทรงมีพระราชดาริเก่ียวกับงาน ชลประทาน โดยการวางโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าขนาดเล็กในลาน้าต่างๆ เพื่อจัดหาน้าให้สมาชิกนิคม สร้างตนเอง พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี และราษฎรหมู่บ้านต่างๆ ในเขตจังหวัดลพบุรี และการพิจารณา วางโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าขนาดเล็กในลาน้าต่าง ๆ เพื่อจัดหาน้าราษฎรในหมู่บ้านต่างๆ ในเขตจังหวัด ลพบุรี โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๒ ~

กรมชลประทานโดยสานักชลประทานท่ี ๘ ได้จัดส่งเจ้าหน้าที่ออกไปพิจารณาความเหมาะสม เบ้ืองต้น ในสภาพภูมิประเทศจริงแล้วเห็นเหมาะสม จึงทาการสารวจและออกแบบ และได้จัดโครงการอ่าง เก็บน้าห้วยยางหนึ่ง เขาเปน็ แผนงานกอ่ สรา้ งโครงการชลประทานตามพระราชดารใิ นปี งบประมาณ ๒๕๒๖ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลือการเพาะปลกู ของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรับ การเพาะปลกู ในฤดแู ลง้ ๒.๒ เปน็ แหล่งนา้ สาหรบั การอุปโภคบริโภคของราษฎร และการเลย้ี งสัตว์ ๓. สถานท่ีต้งั ๓.๑ ท่ีตั้งโครงการ : หมู่ท่ี ๓ หมู่บ้านห้วยบง ตาบลพฒั นานิคม อาเภอพฒั นานคิ ม ๓.๒ พกิ ัดทตี่ ้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๙๓๔๘๐๕ : Longitude ๑๐๐.๙๔๕๙๖๒ ๔. ประโยชน์ท่ีได้รบั ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๖๐ ครวั เรือน ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเปน็ แหล่งเกบ็ กักนา้ สาหรับพื้นทร่ี ับประโยชน์ ประมาณ ๑,๕๐๐ ไร่ ๔.๓ เปน็ แหล่งแพรเ่ พาะพนั ธ์ปุ ลาน้าจืด ๕. สภาพของโครงการในปัจจบุ ัน คลองคอนกรีตชารุดเปน็ บางจุด มตี ะกอนดนิ ในคลอง ๖. การวางแผนพัฒนาโครงการในระยะต่อไป ขดุ ลอกตะกอนดินพร้อมซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลอง โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๓ ~

โครงการฝายห้วยยางบ้านหนองนา ตาบลพฒั นานิคม อาเภอพฒั นานิคม จงั หวดั ลพบรุ ี ๑. ความเป็นมา ฝายห้วยยางบ้านหนองนา เป็นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เมอ่ื วนั ท่ี ๒ มกราคม ๒๕๒๓ ก่อสร้างแลว้ เสร็จ พ.ศ.๒๕๒๔ พกิ ัด ๔๗ PQS ๐๘๔-๔๕๕ ระวาง ๕๑๓๘ I ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลอื การเพาะปลูกของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรับ การเพาะปลูกในฤดแู ล้ง ๒.๒ เป็นแหล่งน้าสาหรับการอปุ โภคบริโภคของราษฎร และการเลี้ยงสตั ว์ ๓. สถานที่ตงั้ ๓.๑ ท่ตี ้งั โครงการ : หมทู่ ่ี ๒,๑๒ หมบู่ า้ นหนองนา ตาบลพัฒนานิคม อาเภอพัฒนานิคม ๓.๒ พิกัดท่ีต้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๘๗๕๘๕ : Longitude ๑๐๐.๙๓๗๐๓ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๔ ~

๔. ประโยชน์ที่ไดร้ บั ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๓๐ ครัวเรอื น ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเปน็ แหล่งเกบ็ กักน้าสาหรับพื้นที่รบั ประโยชน์ ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ ๔.๓ เป็นแหล่งแพร่เพาะพันธ์ปุ ลาน้าจดื ๕. สภาพของโครงการในปจั จุบัน มีตะกอนดินหนา้ ฝาย และมีวัชพืชข้ึน ๖. การวางแผนพัฒนาโครงการในระยะตอ่ ไป ต้องทาการขุดลอกตะกอนดินหน้าฝาย และกาจัดวัชพืชเพื่อให้ฝายสามารถใช้งานได้อย่างเต็ม ประสิทธภิ าพ ผลการดาเนินงาน : ต้องทาการขุดลอกตะกอนดินหน้าฝาย และกาจัดวัชพืชเพื่อให้ฝายสามารถใช้งานได้ อยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๕ ~

โครงการอา่ งเก็บน้าบา้ นหนองโพธ์ิ ตาบลช่องสารกิ า อาเภอพัฒนานคิ ม จงั หวัดลพบุรี ๑. ความเปน็ มา เมื่อวันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ได้พระราชดาเนนิ ไปทรงบาเพ็ญพระราช กุศลผ้ากฐินเป็นการสว่ นพระองค์ และทรงเยยี่ มเยยี นราษฎร ณ วัดศรัทธาประชากร (วัดเขาราก) อ.เมือง จ. ลพบุรี ได้พระราชทานพระราชดารเิ ก่ียวกับงานชลประทาน โดยการพิจารณาโครงการ และก่อสร้างอ่างเก็บ น้าตามบริเวณเชงิ เขาโดยเร่งด่วน เพอ่ื จดั หาน้าให้กบั นคิ มสรา้ งตนเอง พระพทุ ธบาท ในเขต อ.เมอื ง จ.สระบรุ ี และในเขต อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี ซึ่งขาดแคลนน้ามากทั้งอุปโภคบริโภค และน้าสาหรับการเพาะปลูก โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๖ ~

เพอื่ ให้สมาชกิ นคิ มสร้างตนเองมีนา้ ทาการเพาะปลกู ไดฤ้ ดูฝน-ฤดแู ลง้ และมีนา้ การอปุ โภคบริโภคตลอดปีด้วย ตามทสี่ มาชกิ นคิ มสร้างตนเองไดก้ ราบบงั คมทลู พระกรณุ าขอพระราชทาน กรมชลประทาน โดยสานักชลประทานท่ี ๘ จึงได้พิจารณาโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าตาม พระราชดาริไว้ ๔ โครงการ ซึ่งในจานวนดังกล่าว โครงการอา่ งเก็บนา้ หนองโพธ์ิ ต.ช่องสาริกา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบรุ ี ไดด้ าเนินการสารวจออกแบบ และดาเนนิ การกอ่ สรา้ งเสร็จในปีงบประมาณ ๒๕๒๕ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลือการเพาะปลูกของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรับ การเพาะปลูกในฤดูแลง้ ๒.๒ เป็นแหล่งนา้ สาหรบั การอุปโภคบริโภคของราษฎร และการเล้ยี งสตั ว์ ๓. สถานทต่ี งั้ ๓.๑ ที่ตงั้ โครงการ : หม่ทู ี่ ๘ หมูบ่ ้านหนองโพธิ์ ตาบลช่องสารกิ า อาเภอพฒั นานคิ ม ๓.๒ พกิ ัดท่ีตั้งโครงการ : Latitude ๑๔.๗๕๓๐๕๓ : Longitude ๑๐๐.๙๔๕๙๔๑ ๔. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ ๔.๑ ด้านการอุปโภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภค-บริโภคของราษฎร ประมาณ ๑๒๐ ครัวเรอื น ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเป็นแหลง่ เกบ็ กกั นา้ สาหรบั พน้ื ที่รับประโยชน์ ประมาณ 700 ไร่ ๔.๓ เป็นแหลง่ แพร่เพาะพนั ธุ์ปลานา้ จืด ๕. สภาพของโครงการในปจั จุบนั ไม่สามารถเกบ็ นา้ ได้ ต้องปรบั ปรุง ๖. การวางแผนพฒั นาโครงการในระยะตอ่ ไป ปรับปรงุ คนั อา่ งเกบ็ นา้ , ปแู ผ่นยาง GCL(Geosynthetic Clay Line) ภายในอ่างเก็บนา้ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๗ ~

โครงการอา่ งเก็บน้าหว้ ยแฟน บริเวณกองบนิ ๒ ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมอื ง จังหวดั ลพบุรี ๑. ความเปน็ มา เม่ือวันท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดาริให้กรม ชลประทาน พิจารณาโครงการอ่างเก็บน้าห้วยแฟน เพื่อจัดหาน้าให้กับพื้นที่เพาะปลูกในเขตตาบลเขาพระ งาม อาเภอเมือง จงั หวัดลพบรุ ี สามารถทาการ อุปโภคบริโภค และการเกษตรในเขตโครงการไดต้ ลอดปี ทรง เสด็จทอดพระเนตรภูมิประเทศจริง เม่ือวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๒๔ ได้ทรงมีพระราชดารัสแก่อธิบดีกรม ชลประทานให้พิจารณาก่อสร้างโดยด่วน กรมชลประทานได้สนองพระราชดาริโดยดาเนินการสารวจภูมิ ประเทศ สารวจธรณีฐานราก ออกแบบและดาเนนิ ก่อสรา้ งเฉพาะตวั เขอ่ื น เสรจ็ เรยี บรอ้ ยในปี ๒๕๒๖ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๘ ~

๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลอื การเพาะปลกู ของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรบั การเพาะปลกู ในฤดแู ลง้ ๒.๒ เป็นแหลง่ นา้ สาหรับการอปุ โภคบรโิ ภคของราษฎร และการเล้ยี งสตั ว์ ๓. สถานท่ีตั้ง ๓.๑ ทต่ี ั้งโครงการ : หม่ทู ่ี ๗ หม่บู า้ น ค่ายกองบิน ๒ ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมือง ๓.๒ พิกดั ทต่ี ้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๘๖๐๖ : Longitude ๑๐๐.๖๙๑๒๔๑ ๔. ประโยชน์ท่ีไดร้ บั ๔.๑ ด้านการอุปโภคบริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภคบริโภคของราษฎร ประมาณ ๓,๐๐๐ ครวั เรอื น ๔.๒ ดา้ นการเกษตร สามารถเปน็ แหลง่ เก็บกักน้าสาหรบั พนื้ ท่ีรบั ประโยชน์ ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ ๔.๓ เป็นแหล่งแพร่เพาะพนั ธ์ุปลานา้ จดื ๕. สภาพของโครงการในปจั จบุ นั ต้องซ่อมแซมอาคารระบายน้า ผลการดาเนินงาน : ตอ้ งซ่อมแซมอาคารระบายน้า โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๓๙ ~

โครงการอ่างเก็บน้าหว้ ยใหญ่ ศนู ยก์ ารทหารปืนใหญ่ ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบุรี ๑. ความเป็นมา เมื่อวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดาริให้กรม ชลประทาน พิจารณาโครงการอ่างเก็บน้าห้วยใหญ่ เพื่อจัดหาน้าให้กับพ้ืนที่เพาะปลูกในเขตตาบลเขาพระ งาม อาเภอเมอื ง จงั หวัดลพบุรี สามารถทาการเพาะปลกู ได้ ทั้งในฤดูแล้ง และฤดฝู นและสาหรับการ อุปโภค- บริโภค ในเขตโครงการได้ตลอดปี และได้เสด็จทอดพระเนตรภูมิประเทศจริง เมื่อวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๒๔ ได้ทรงมีพระราชดารัสแก่อธิบดีกรมชลประทาน ให้พิจารณาก่อสร้างโดยด่วน กรมชลประทานได้สนอง พระราชดาริโดยดาเนินการสารวจธรณีฐานราก ออกแบบและดาเนินการก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน้าห้วย ใหญ่ จนเสร็จเรยี บร้อยในปี ๒๕๒๙ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๐ ~

๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลอื การเพาะปลกู ของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหล่งน้าสาหรบั การเพาะปลกู ในฤดแู ล้ง ๒.๒ เป็นแหลง่ น้าสาหรับการอุปโภคบริโภคของราษฎร และการเลย้ี งสตั ว์ ๓. สถานท่ีตง้ั ๓.๑ ท่ตี ง้ั โครงการ : หมู่ที่ ๗ หมบู่ ้าน ศนู ย์การทหารปนื ใหญ่ ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมอื ง ๓.๒ พิกดั ทต่ี ้งั โครงการ : Latitude ๑๔.๙๐๑๔๕๓ : Longitude ๑๐๐.๖๙๘๔๑๑ ๔. ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั ๔.๑ ด้านการอุปโภคบริโภค สามารถเป็นแหล่งน้าสาหรับการอุปโภคบริโภคของเจ้าหน้าที่ศูนย์ การทหารปืนใหญ่ ๔.๒ ด้านการเกษตร สามารถเปน็ แหลง่ เกบ็ กักนา้ สาหรับพน้ื ท่ีรบั ประโยชน์ ประมาณ4,000 ไร่ ๔.๓ เป็นแหล่งแพร่เพาะพันธุป์ ลาน้าจดื ๕. สภาพของโครงการในปจั จุบันเปน็ อย่างไร ต้องซอ่ มแซมทานบดินและอาคารระบายน้า โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๑ ~

โครงการปรับปรุงคา่ ยวชริ าลงกรณ์ ตาบลป่าหวาย อาเภอเมอื ง จงั หวัดลพบรุ ี ๑. ความเปน็ มา เป็นโครงการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระราชดาริกับนายประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์ ตาแหน่งอธิบดี กรมชลประทาน เม่ือวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ โดยสรุปประเด็นสาคัญได้ดังนี้ ให้ วางโครงการปรับปรุงค่ายวชิราลงกรณโ์ ดยด่วน เพ่ือช่วยในการอุปโภค – บริโภค พ้ืนที่ได้รับประโยชน์ ๒๐๐ ไร่ มีสระเก็บนา้ ๒ แห่ง สระท่ี ๑ จุ ๙๐,๐๐๐ ม๓ , สระท่ี ๑ จุ ๑๖๐,๐๐๐ ม๓ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ เป็นแหล่งเก็บกักน้าสาหรับช่วยเหลือการเพาะปลกู ของราษฎรในฤดูฝนและเป็นแหลง่ น้าสาหรบั การเพาะปลูกในฤดูแลง้ ๒.๒ เปน็ แหลง่ นา้ สาหรับการอุปโภคบรโิ ภคของราษฎร โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๒ ~

๓. สถานท่ตี ัง้ ๓.๑ ท่ีตงั้ โครงการ : หมทู่ ่ี ๖ หมู่บ้าน ค่ายวชริ าลงกรณ์ ตาบลป่าหวาย อาเภอ เมือง ๓.๒ พกิ ัดท่ีตัง้ โครงการ : Latitude ๑๔.๗๗๑๕๑๔ : Longitude ๑๐๐.๖๕๒๗๘๓ ๔. ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ ๔.๑ ดา้ นการอปุ โภค-บริโภค สามารถเป็นแหล่งนา้ สาหรบั การอุปโภค-บรโิ ภคของกรมรบพเิ ศษท่ี ๑ ๔.๒ ดา้ นการเกษตร สามารถเป็นแหล่งเกบ็ กักนา้ สาหรับพ้ืนท่ีรับประโยชน์ ประมาณ ๒๐๐ ไร่ ๔.๓ เป็นแหล่งแพรเ่ พาะพันธ์ุปลาน้าจืด ๕. สภาพของโครงการในปจั จุบนั ใชง้ านได้ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๓ ~

โครงการเข่ือนปา่ สักชลสทิ ธิ์ ตาบลหนองบวั อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ๑. ความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯได้พระราชทานพระราชดาริเม่ือ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๒ ให้กรม ชลประทานศึกษาความเหมาะสมของโครงการเข่ือนกักเก็บน้าแม่น้าป่าสักอย่างเร่งด่วน เพ่ือแก้ ปัญหาการ ขาดแคลนน้า เพื่อประโยชนต์ ่อพืน้ ที่เพาะปลกู และบรรเทาปัญหาอทุ กภัยที่เกิดขึ้นเป็นประจาในลุ่มนา้ ป่าสกั เปน็ ผลสืบเน่ืองมายงั เขตกรงุ เทพมหานคร และเขตปรมิ ณฑลด้วย ซ่งึ นาความเดอื นรอ้ นมาใหร้ าษฎรเกือบทุก ปี ต่อมาเมื่อวันท่ี ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานพระราชดารัส เน่ืองในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เก่ียวกับการพัฒนาแหล่งน้าของกรมชลประทานว่า หากเร่ิม โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๔ ~

ดาเนินการต้ังแต่ปัจจุบัน ก็สามารถแก้ปัญหาน้าท่วม ภัยแล้ง และขาดแคลนน้าให้กับประชาชนได้ จะต้อง กอ่ สรา้ งเขอื่ น ๒ แห่ง ที่แมน่ ้าปา่ สกั และแมน่ า้ นครนายก ซ่งึ คณะรฐั มนตรีได้อนุมัติใหด้ าเนินการ เมื่อวันท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ โครงการนี้ใชเ้ วลาก่อสร้าง ๕ ปี ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๒ และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวไดท้ รงพระกรณุ าพระราชทานนาม เข่อื นน้วี ่า \"เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ\" อนั หมายถงึ \"เขือ่ นแม่นา้ ปา่ สักท่ีเก็บกักน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ\" เข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ ได้เริ่มเก็บกักน้าคร้ังแรกเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดาเนนิ มา ทรงเปน็ ประธานในพิธี การก่อสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ ใช้งบประมาณรวมท้ังสิ้น ๒๓,๓๓๖ ล้านบาท เป็นค่าก่อสร้างด้าน ชลประทาน ๗,๘๓๑ ล้านบาท งบประมาณแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ๑๕,๕๐๕ ล้านบาท โครงการพัฒนา ลุ่มน้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดาริได้ก่อสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และงานอื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนประกอบ เสร็จสมบูรณแ์ ละเพอ่ื เปน็ โครงการเฉลิมพระเกยี รติในวาระท่ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ไดท้ รงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ ในวันพฤหัสบดีท่ี ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๔ ๓ -๒ ๕ ๔ ๘ ก่ อ ส ร้ า ง ร ะ บ บ ช ล ป ร ะ ท า น ใ น พ้ื น ท่ี เ ปิ ด ใหม่ ๓ โครงการ พ้ืนที่ ๑๕๙,๕๐๐ ไร่ ประกอบด้วยโครงการสูบน้าแก่งคอย-บ้านหมอ (๘๖,๗๐๐ ไร่) โครงการสูบนา้ พฒั นานิคมและพฒั นานคิ ม- แกง่ คอย (๕๗,๘๐๐ ไร่)โครงการจดั หาน้าเพือ่ การเกษตรจังหวัด ลพบรุ ี (๑๕,๐๐๐ ไร่) โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๕ ~

๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพื่อเปน็ แหล่งน้าต้นทนุ ให้แก่พ้ืนทเ่ี กษตรกรรมในล่มุ น้าป่าสกั ตอนลา่ ง ๒.๒ เพ่ือเป็นแหล่งน้าต้นทุนของโครงการชลประทานขนาดใหญ่ท่ีได้ก่อสร้างไปแล้วจานวน ๗ โครงการ ในพืน้ ที่เจ้าพระยาตะวนั ออกตอนล่าง โครงการชลประทานขนาดกลางและพน้ื ทีร่ บั ประประโยชน์ ท้ายน้ารวมเนื้อทป่ี ระมาณ ๒.๒ ล้านไร่ ๒.๓ เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลมุ่ น้าปา่ สกั และลมุ่ น้าเจา้ พระยาตอนลา่ ง โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ~ ๔๖ ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook