Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐาน plc mitsubishi

พื้นฐาน plc mitsubishi

Published by chaiyut.tredangnoi, 2020-08-02 22:43:49

Description: พื้นฐาน plc mitsubishi

Search

Read the Text Version

《Circuit program》 กรณุ าใส่ Device ทห่ี ายไปลงในชอ่ งวา่ ง และทำ� ให้โปรแกรมสมบรู ณ์ 5 • เฉลย ดทู า้ ยบท • List program กรุณาดใู นภาคผนวก 5-11

5.6 เฉลยคำ� ตอบ ตวั อย่างการตดิ ตง้ั 3 ตวั อย่างการติดตงั้ 4 ตวั อย่างการตดิ ต้งั 5 ① X001 ① Y003 ① Y000 ② Y000 ② C0 K4 ② Y001 ③ X003 ③ T0 ③ T1 K20 ④ X000 ④ T1 ④ Y002 ⑤ X005 ⑤ T2 K20 ⑥ X006 ⑥ Y003 ⑦ T3 K20 ⑧ Y004 ⑨ T4 K20 5-12

เรามาลองสรา้ งโปรแกรมโดยการใชค้ อมพวิ เตอรก์ นั เถอะ!!! ภาคผนวก 1 GX Developer ขอแคใ่ ชค้ อมพิวเตอรเ์ ป็น ซีเควนซ์ (Sequence) กเ็ ปน็ เรอื่ งงา่ ยๆ… ผนวก ในการจะสร้างหรอื แกไ้ ขซีเควนซโ์ ปรแกรม (Sequence Program) สามารถด�ำเนินการไดอ้ ย่างงา่ ยดาย เสมือนการ 1 วาดรูปงา่ ยๆ ด้วยซอฟแวร์ส�ำหรบั ตดิ ต้ังในคอมพิวเตอร์ GX Developer เพยี งแค่เรียนรู้พน้ื ฐานการใช้งานเบ้อื งต้น ทีเ่ หลือก็แคก่ ารฝึกใหเ้ กิดความชำ� นาญ เป็นซอฟแวร์ (Software) ทมี่ ีฟงั ก์ชนั ที่ใช้งานงา่ ยและหลากหลาย กอ่ นอืน่ เรามาเรยี นรแู้ ละท�ำความรู้จักกบั การใช้งาน ทจ่ี ำ� เป็นตามล�ำดับเพือ่ ให้เกดิ ความเช่ยี วชาญ และชำ� นาญในการใชง้ านกันเถอะ การเรยี กใชง้ านและการปรบั ปรงุ แกไ้ ขกส็ ามารถดำ� เนนิ การไดอ้ ยา่ งราบรนื่ … การสรา้ งโปรแกรม (Program) กับการ Debug (แกจ้ ุดบกพรอ่ ง) เปน็ ของคูก่ นั เนือ่ งจากสามารถทำ� การแสดงผล (Monitoring) สภาพการทำ� งานของ Program และ PLC ได้จากจอคอมพิวเตอร์ จึงสะดวกในการตรวจสอบการทำ� งานและแก้ไขให้เปน็ ไปตามที่ต้องการได้อยา่ งรวดเรว็ โปรแกรม (Program) ดงู า่ ยไม่ซบั ซ้อน… เพ่อื ให้สามารถดูซเี ควนซโ์ ปรแกรม (Sequence Program) ไดง้ า่ ยขนึ้ ภายใน GX Developer จงึ มีฟงั ก์ชนั “Comment input function” เพยี งแค่กรอก Comment เอาไวก้ ็จะทำ� ให้เขา้ ใจโปรแกรมได้งา่ ยขนึ้ และชว่ ยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั ทำ� ซีเควนซ์ โปรแกรม (Sequence Program) และ Debug (แก้จดุ บกพร่อง) ได้ ผนวก 1-1

ภาคผนวก 1.1 ความรพู้ ้นื ฐานเพอื่ การใชง้ าน GX Developer ภาคผนวก 1.1.1 โครงสร้างหน้าจอของ GX Developer ① Title bar ② Menu bar ③ Toolbar ⑤ Edit screen ④ Project data list ⑥ Status bar การปรบั ย่อขยายขนาดหนา้ จอ ① Title bar จะแสดงชื่อ Project ท่ีก�ำลงั เปิดทำ� งานอยู่ และ Icon การทำ� งานของ Windows การเปลย่ี นขนาดหรือจบการทำ� งาน GX Developer ชื่อ Project และ path ย่อขนาดหนา้ ต่าง GX Developer จบการท�ำงาน GX Developer ให้เลก็ สุด ผนวก 1-2

② Menu bar กดเลอื กเมนู แลว้ จะมหี นา้ จอเมนู Drop down แสดงขน้ึ มา ③ Toolbar เมอื่ นำ� เมาส์ไปวาง จะปรากฏขอ้ ความ อธบิ ายรายละเอยี ด ของฟังชนั น้ันๆ * : รายละเอยี ดของ Toolbar เนอ่ื งจากสามารถทำ� การเคล่อื นย้ายหรอื เอาออกได้ ท�ำให้หวั ขอ้ ทีแ่ สดงและการจัดวางแตกต่างกนั ไป ผนวก หวั ขอ้ ไหนทม่ี ีการใช้งานบ่อยๆ จะเอามาวางเป็น Icon buttons สามารถคลิกเลอื กได้โดยตรง ซง่ึ จะเสมือนการเลอื ก เครอื่ งมอื จาก Menu bar 1 ④ Project data list สามารถเลอื กชอื่ ที่ปรากฏอยู่ ไดโ้ ดยตรง โดยการคลิกเมาส์ หนา้ จอในการสร้าง Ladder creating หรือหนา้ จอ Set Parameter เปน็ ตน้ จะแสดงโดย Tree structure ผนวก 1-3

⑤ Edit screen ⑤ Edit screen หนา้ จอในการสรา้ ง Ladder creating หรอื หนา้ จอ monitor จะแสดงหลายรูปแบบในหนา้ จอ ⑥ Status bar ทำ� การแสดงสภาพการทำ� งานและการตงั้ คา่ แสดงโหมดท่ี Input ในปจั จุบนั Scroll Lock Status Device memory FX3U(C) Host station Ovrwrte CAP NUM SCRL อธบิ ายต�ำแหนง่ ที่อยู่ของ Mouse CPU Type The Location of CAP Lock Status Num Lock Status the CPU connected ผนวก 1-4

ภาคผนวก 1.1.2 เก่ยี วกบั “Project” “Project” หมายถึง สิ่งท่รี วม Program, Device comment, Parameter, Device Memory เขา้ ดว้ ยกนั GX Developer จะเรียกตวั รวบรวม Data วา่ Project ซง่ึ จะเก็บไว้ใน Folder Windows Project เทยี บเท่า Folder ของ Windows Program PLC Program Device Comment Comment ส�ำหรบั Device Parameter Parameter set data ของ PLC Device Memory รายละเอยี ดคา่ Device ปจั จบุ นั หรอื คา่ Device ที่ Input ไปแล้ว ● การ Edit หลาย Project ในกรณที ี่ Edit Project มากกว่า 2 Project ด้วย GX Developer ให้เปดิ GX Developer แยกขึ้นมาอกี ต่างหาก ผนวก 1 ผนวก 1-5

ภาคผนวก 1.2 การเรียกใช้งาน GX Developer และการจดั ท�ำ Project ใหม่ ภาพผนวก 1.2.1 การเรยี กใช้งาน GX Developer ① กดปุ่ม Start Start Windows เลือก [Programs] ↓ [MELSOFT Application] ↓ เลอื ก [GX Developer] ② GX Developer เรมิ่ ทำ� งาน ผนวก 1-6

ภาคผนวก 1.2.2 การจดั ท�ำ Project ใหม่ (New Project) ① คลกิ ① เลือก จาก Toolbar หรือเลือก [Project] → [New Project] ( Ctrl + N ) จากเมนู ① คลิก ② คลิก ② คลกิ ปมุ่ [▼] ของ PLC Series ③ คลิก แลว้ เลอื ก ③ เลือก “FXCPU” ผนวก 1 ④ คลิก ④ คลกิ ปมุ่ [▼] ของ PLC type ⑤ คลกิ แลว้ เลือก ⑤ เลือก “FX3G” (ข้อควรระวัง) ท ำ� การเลือกใหต้ รงกับ รุน่ PLC ที่ทา่ นใชง้ าน อย่ปู ัจจบุ นั ผนวก 1-7

⑥ คลกิ OK ⑥ คลิก ⑦ หน้าจอ Project ใหมจ่ ะปรากฏสภาพพร้อมทีส่ ามารถท�ำการ Input Project ⑦ New project screen ผนวก 1-8

ภาคผนวก 1.3 การสร้างโปรแกรมหรอื วงจร (Circuit) ภาคผนวก 1.3.1 การสรา้ งโปรแกรมหรอื วงจร (Circuit) โดยใช้ ฟงั ก์ชันคยี ์ (Function Key) [Program ท่จี ะจัดสรา้ ง] Point ในเอกสารฉบับนี้ จะแสดงหมายเลข Input relay (X), Output Relay (Y) เปน็ สามหลัก “X000”, “Y000” เม่ือ Input จากคอมพิวเตอร์ จะสามารถยอ่ ได้เป็น “X0”, “Y1” Point ●● Function Key และ ladder elements จะถูกแสดงที่ ปุ่มบน Toolbar Key หลกั ๆ ที่ใช้งาน ผนวก 1 ●● ในตอนทจ่ี ัดสร้าง Program ขอให้ตรวจสอบว่าเลอื กโหมด “Write mode” เรียบร้อยแล้ว การเลือกจาก Toolbar ท�ำการเลอื กจากเมนู ([Edit] → [Write mode]) ●● การป้อนตวั อกั ษรขอใหป้ ้อนเปน็ ตวั พมิ พเ์ ล็ก ผนวก 1-9

① กดปุม่ F5 Input “X2” ① Input “X2” ② Input the Enter กด ESC หรอื [Exit] เพอ่ื Cancel ② ท�ำการยนื ยันโดยกด Enter หรอื [OK] ③ Ladder element จะปรากฏขน้ึ มา ③ Ladder ท่ี input แล้ว X2 จะปรากฏข้ึนมา ④ กด F6 หรอื input “X0” ⑤ ท�ำการยืนยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ④ Input “X0” ⑤ Input Enter ⑥ Ladder element จะปรากฏขึ้นมา ⑥ Ladder ท่ี input แล้ว จะปรากฏขึน้ มา ⑦ กด F7 ( (  )  ) หรือ input “Y0” ⑧ ท�ำการยืนยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ⑦ Input “Y0” ⑧ Input Enter ⑨ Ladder element จะปรากฏขน้ึ มา ⑨ Ladder ที่ input แลว้ ( (Y0 ) ) จะปรากฏขึ้นมา ⑩ กด Shift + F5 หรอื input “Y0” ⑪ ท�ำการยืนยันโดยกด Enter หรอื [OK] ⑩ Input “Y0” ⑪ Input Enter ผนวก 1-10

⑫ Ladder element จะปรากฏขึ้นมา ⑫ Ladder ที่ input แลว้ Y0 จะปรากฏขึ้นมา ⑬ ย้ายเคอรเ์ ซอร์ ⑬ ทำ� การเคลอ่ื นเคอเซอร์มาไวห้ นา้ สดุ ⑭ กด F5 หรือ input “X3” ⑭ Input “X3” ⑮ Input Enter ⑮ ทำ� การยนื ยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ⑯ Ladder element จะปรากฏขน้ึ มา ⑯ Ladder ท่ี input แลว้ X3 จะปรากฏข้นึ มา ⑰ กด F7 ( (  )  ) หรือ input “Y1” ⑱ ทำ� การยนื ยันโดยกด Enter หรอื [OK] ⑰ Input “Y1” ⑱ Input Enter ⑲ Ladder element จะปรากฏข้นึ มา ⑲ Ladder ที่ input แลว้ ( (Y1 ) ) จะปรากฏขึ้นมา!! ผนวก เสร็จสิ้นการด�ำเนนิ การจดั สรา้ ง Program!! 1 F4 (Convert) ⑳ การแปลง Program (สำ� คัญ) ⑳ ทำ� ใหส้ ่วนท่ีปรากฏเปน็ สีเทาหายไป ทำ� การแปลง Program เพ่ือให้ตำ� แหนง่ ที่ยังไม่ถกู ยืนยนั (บริเวณสีเทา) สามารถเร่มิ ท�ำงานได้ กดเลือก F4 (Convert) หรอื เลือก Toolbar หรือเลือก [Convert] → [Convert] จากเมนู ทำ� การลบสีเทาออกและยืนยัน Program กรณที เ่ี กิด Error เคอรเ์ ซอรจ์ ะเคลอื่ นตวั ไปต�ำแหน่งทเ่ี กิดปญั หาขนึ้ ขอใหต้ ามไปแก้ไข ผนวก 1-11

ภาคผนวก 1.3.2 จัดสร้าง Program โดยการใช้ Toolbar [Program ทีจ่ ะจดั สร้าง] Point ในเอกสารฉบับนี้ จะแสดงหมายเลข Input relay (X), Output Relay (Y) เปน็ สามหลกั “X000”, “Y000” เมอื่ Input จากคอมพวิ เตอร์ จะสามารถย่อ ได้เปน็ “X0”, “Y1” Point ●● Function Key และ ladder elements จะถูกแสดงที่ ปมุ่ บน Toolbar Key หลกั ๆ ทใี่ ชง้ าน ●● ในตอนที่จัดสร้าง Program ขอใหต้ รวจสอบว่าเลอื กโหมด “Write mode” เรยี บรอ้ ยแลว้ การเลอื กจาก Toolbar ท�ำการเลอื กจากเมนู ([Edit] → [Write mode]) ●● การ Input ตัวอักษร จะ Input ดว้ ยอักษรภาษาองั กฤษตวั พมิ พเ์ ลก็ ผนวก 1-12

① Input “X2” ② คลกิ ① คลิกเลอื ก จาก Toolbar และ Input “X2” ③ Ladder element จะปรากฏขน้ึ มา กด ESC หรือ [Exit] เพ่ือ Cancel ② ทำ� การยืนยนั โดยกด Enter หรือ [OK] ③ Ladder ที่ input แลว้ X2 จะปรากฏขนึ้ มา ④ เลือก จาก Toolbar แล้ว input “X0” ⑤ ทำ� การยืนยันโดยกด Enter หรือ [OK] ④ Input “X0” ⑤ คลกิ ⑥ Ladder element จะปรากฏข้นึ มา ⑥ Ladder ที่ input แล้ว จะปรากฏขน้ึ มา ผนวก ⑦ เลือก จาก Toolbar แล้ว input “Y0” ⑧ ทำ� การยนื ยนั โดยกด Enter หรือ [OK] 1 ⑦ Input “Y0” ⑧ คลิก ⑨ Ladder element จะปรากฏขนึ้ มา ⑨ Ladder ท่ี input แล้ว ( (Y0 ) ) จะปรากฏขนึ้ มา ⑩ เลอื ก จาก Toolbar และ input “Y0” ⑪ ทำ� การยืนยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ⑩ Input “Y0” ⑪ คลกิ ผนวก 1-13

⑫ Ladder element จะปรากฏขึน้ มา ⑫ Ladder ที่ input แล้ว Y0 จะปรากฏขึ้นมา ⑬ ย้ายเคอร์เซอร์ ⑬ ทำ� การเคล่ือนเคอเซอรม์ าไวห้ น้าสดุ ⑭ เลอื ก จาก Toolbar และ input “X3” ⑮ ท�ำการยืนยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ⑭ Input “X3” ⑮ คลกิ ⑯ Ladder element จะปรากฏขน้ึ มา ⑯ Ladder ที่ input แล้ว X3 จะปรากฏข้ึนมา ⑰ เลอื ก จาก Toolbar และ input “Y1” ⑱ ท�ำการยืนยนั โดยกด Enter หรือ [OK] ⑰ Input “Y1” ⑱ คลกิ ⑲ Ladder element จะปรากฏข้นึ มา ⑲ Ladder ท่ี input แล้ว ( (Y1 ) ) จะปรากฏขน้ึ มา!! เสรจ็ สนิ้ การดำ� เนนิ การจัดสรา้ ง Program!! F4 (Convert) ⑳ การแปลง Program (สำ� คัญ) ⑳ ท�ำใหส้ ว่ นทปี่ รากฏเปน็ สีเทาหายไป ท�ำการแปลง Program เพ่อื ให้ตำ� แหนง่ ทย่ี ังไม่ถูกยืนยนั (บรเิ วณสเี ทา) สามารถเร่มิ ท�ำงานได้ กดเลือก F4 (Convert) หรอื เลอื ก Toolbar หรอื เลอื ก [Convert] → [Convert] จากเมนู ทำ� การลบสเี ทาออกและยนื ยนั Program กรณีทเี่ กดิ Error เคอรเ์ ซอร์จะเคลอื่ นตัวไปตำ� แหน่งทเ่ี กิดปญั หาขึน้ ขอใหต้ ามไปแก้ไข ผนวก 1-14

ภาคผนวก 1.4 การเขยี น Program ลง PLC Sequence Program ทจ่ี ดั ท�ำขึน้ จะเขียนใส่ใน FX PLC ภาคผนวก 1.4.1 การเชอ่ื มตอ่ กบั PLC การตอ่ กบั FX3G PLC (เชอื่ มต่อโดยใชส้ าย USB) [ข้นั ตอนการเตรยี มการด้านคอมพิวเตอร]์ จ�ำเป็นต้อง Install USB Driver ลงในคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื ท�ำการตอ่ สาย USB ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กับ FX3G PLC ข้ันตอนการ Install Driver ให้ปฏิบตั ติ ามค่มู ือใน [GX Developer Operation Manual (บท Start up)] (รปู แบบการเชอื่ มต่อ) [Port (USB)] built in PLC USB cable USB GX Developer ผนวก 1 ผนวก 1-15

ภาคผนวก 1.4.2 “Transfer Setup” ใน GX Developer ด�ำเนินการ Setting GX Developer เพ่ือเช่ือมตอ่ กบั PLC ① จากเมนเู ลือก [Online] → [Transfer Setup] ② ดบั เบลิ คลกิ ท่ี Icon ① แสดงหน้าจอ Transfer Setup ② ดับเบลิ คลิก ③ เลอื ก ③ ทำ� การ Set Communication port ของคอมพวิ เตอร์ ④ คลกิ • ท �ำการเลือก [USB (GOT transparent mode)] เม่ือจะทำ� การเช่อื มต่อไปท่ี FX3G PLC USB port (Built in) ④ หลังจากเลือกเสร็จ คลกิ OK ⑤ คลิก ⑤ คลกิ [Connection Test] เพอื่ ตรวจสอบการ communicate กับ ⑥ คลิก PLC ⑥ หลังตรวจสอบเรยี บร้อยแล้วคลกิ [OK] เพอ่ื ท�ำการยนื ยนั เนอ้ื หา ที่ Set ไป ผนวก 1-16

ภาคผนวก 1.4.3 การเขียน Program ① ท�ำการสลบั ตรงสวทิ ซ์ [RUN/STOP] ของ PLC เป็น [STOP] ① เลอื ก STOP ② คลิก ② ท�ำการเลือก จาก Toolbar หรอื จากเมนู เลือก [Online] → [Write to PLC] ④ คลิก ③ คลกิ [Param + Prog.] ④ คลิก [Execute] ③ เลอื ก data ท่ีจะด�ำเนินการ ผนวก 1 จะปรากฏ Dialog box แสดงสถานะการ Write ⑤ เมือ่ ด�ำเนนิ การเสร็จสิน้ คลิก [OK] ⑤ คลกิ ผนวก 1-17

ภาคผนวก 1.4.4 การ Monitoring การทำ� งานของ PLC ① ทำ� การสลับตรงสวทิ ซ์ [RUN/STOP] ของ PLC เลอื ก [RUN] ① เลือก RUN ② ทำ� การเลอื ก จาก Toolbar หรือจากเมนู เลอื ก [Online] → [Monitor] → [Monitor Mode] ② คลกิ ตรวจสอบการท�ำงาน ไดจ้ าก Monitor Mode ① เมอ่ื [switch X000 “OFF”] แล้วท�ำการ [switch X002 “ON”] ใหท้ ำ� การตรวจดวู ่า [Output Y000 “ON”] หรอื ไม่ ② ทำ� การตรวจสอบวา่ เมอื่ [switch X002 “OFF”] [Output Y000 “ON”] หรอื ไม่ ③ ทำ� การตรวจสอบว่าเม่ือ [switch X000 “ON”] [Output Y000 “OFF”] หรือไม่ ④ ทำ� การตรวจสอบว่าเม่ือท�ำการสลบั [switch X003 “ON/OFF”] [Output Y001 “ON/OFF”] หรือไม่ ผนวก 1-18

อา้ งองิ (1) แสดง Monitor Status Dialog ① Scan time แสดง Scan time สงู สดุ ของ PLC Program ② PLC Status แสดง PLC Status ③ Execute status display ต�ำแหน่งท่ที ำ� งาน (Execute) จะกะพริบ ④ Memory type แสดง Memory type ของ PLC (2) วิธีดกู ารแสดง Status ของ Ladder Monitor ① คำ� สั่งหน้าสัมผสั (Contact Instruction) Input contact X0 : OFF X0 : ON Type X000 หน้าสัมผัสปกติเปดิ a X000 (N.O.Contact) หน้าสัมผัสปิด หนา้ สัมผัสเปิด (Contact close) (Contact open) X000 หน้าสมั ผัสปกติปิด b X000 ผนวก (N.C.Contact) หน้าสมั ผสั เปิด หน้าสมั ผัสปดิ (Contact open) 1 (Contact close) ② คำ� ส่งั เอาท์ (Out Instruction) ท�ำงาน/เคล่อื นไหว Type Drive status ไมท่ �ำงาน/ไมเ่ คล่อื นไหว OUT Instruction Y000 Y000 SET Instruction. Etc. SET M0 SET M0 คำ� ส่งั RST (RST Instruction) คอื การแสดง ON/OFF ของ Device ท่ีจะ Reset Type Drive status Reset Device OFF Reset Device ON RST instruction RST M0 RST M0 ผนวก 1-19

ภาคผนวก 1.5 การแกไ้ ข Program (Editing program) ภาคผนวก 1.5.1 แก้ไข Program Point ●● เมื่อจะทำ� การแกไ้ ข Program ให้เลือก “Write mode” ท�ำการเลือกจาก Toolbar ท�ำการเลือกจากเมนู ([Edit] → [Write mode]) ●● ตัวหนังสือทใ่ี ช้ ขอให้เปน็ ตัวพมิ พ์เล็กทง้ั หมด ตัวพิมพใ์ หญ่ไม่สามารถใช้งานได้ ●● การเลอื กระหว่าง [Ovrwrte], [Insert] • กรณที ี่ท�ำการแก้ไข Program ทม่ี ีอยู่เดิม ขอใหเ้ ลอื ก [Ovrwrte] • เม่อื ท�ำการเลอื กโหมด [Insert] จะเป็นการเพม่ิ Program ใหม่ แยกเป็นอีก Program กด Insert เพ่อื ทำ� การเลอื ก ระหว่าง [Ovrwrte], [Insert] ผนวก 1-20

① ทำ� การเปลย่ี นหมายเลขของ OUT Coils หรอื Contact [Program ท่ีจะแก]้ X000 X002 Y000 Y000 X003 เปล่ยี นเป็น Y002 Y001 ① ดับเบลิ คลิกตรงต�ำแหน่งท่ตี อ้ งการแก้ไข ① ดับเบิลคลกิ ② ท�ำการเปลี่ยน “Y001” → “Y002” ผนวก ② เปลี่ยนเป็น “Y002” ③ กด Enter 1 ③ ท�ำการยืนยนั โดยกด Enter หรือ [OK] ④ ผลการแกไ้ ขจะถกู แสดงในกรอบสเี ทา ④ แสดงผลการแกไ้ ข F4 (Convert) ⑤ กด F4 (Convert) เพ่อื ทำ� การยนื ยนั เนอื้ หาการเปลี่ยนแปลง ผนวก 1-21

② การเพม่ิ Lines [Program ทจ่ี ะทำ� การเพิ่ม Lines] X002 X000 Y000 Y000 ท�ำการเพม่ิ Line แนว ตง้ั /แนวนอน แล้วท�ำ X003 การสรา้ ง OUT Coil Y003 Y002 ① คลกิ ① คลกิ ( F10 ) จาก Toolbar นำ� เคอรเ์ ซอร์ไปวางด้านขวาบน ② เมอื่ น�ำเคอร์เซอร์ไปวางด้านขวาบนของต�ำแหนง่ ทตี่ ้องการเพ่มิ ตำ� แหน่งเรมิ่ ลากเส้น Line Line แลว้ ใหท้ �ำการลากเสน้ ② ลาก ④ ต�ำแหนง่ เคอร์เซอร์ ③ Line จะเพมิ่ ข้นึ ตามต�ำแหนง่ ที่ลากเคอรเ์ ซอร์ ③ เพิ่ม Line ④ วางเคอร์เซอร์ในตำ� แหนง่ ที่ตอ้ งการเพม่ิ OUT Coil แล้วคลิก จาก Toolbar ⑤ Input “Y3” ⑥ กด Enter ⑤ Input “Y3” เข้าไป ⑥ ทำ� การยืนยนั โดยกด Enter หรอื [OK] ผนวก 1-22

⑦ เสร็จส้นิ การเพมิ่ Ladder ⑦ เม่ือท�ำการเพม่ิ Ladder แลว้ จะแสดงเปน็ บลอ็ กสีเทา ⑧ F4 (Convert) ⑧ ท�ำการกด F4 (Convert) เพือ่ ยืนยนั การเปลย่ี นแปลง • เมอ่ื ด�ำเนินการเสร็จแลว้ ท�ำการคลกิ จาก Toolbar อกี ครั้ง ผนวก 1 ผนวก 1-23

③ การลบ Lines [Program ท่ีตอ้ งการลบ Lines] X002 X000 Y000 Y000 ตอ้ งการลบ Line นี้ X003 Y003 Y002 ① คลกิ ① คลิก ( Alt + F9 ) จาก Toolbar วางเคอรเ์ ซอร์ท่ตี ำ� แหนง่ ขวาบน ② ทำ� การลากเคอรเ์ ซอรจ์ ากด้านขวาบน Line ที่ตอ้ งการยกเลกิ จดุ เร่ิมของ Line ทต่ี ้องการจะลบ ไปถงึ ตำ� แหน่งสดุ ทา้ ยของ Line ② ลาก ③ ลบ Line ③ ทำ� การลบ Line ④ ลบโดยกด Delete ④ OUT Coils ทำ� การลบโดยกด Delete ผนวก 1-24

⑥ F4 (Convert) ⑤ Line ท่ีต้องการจะลบจะแสดงข้ึนมาเปน็ กรอบสเี ทา ⑥ กด F4 (Convert) ทำ� การยืนยนั การเปลยี่ นแปลง • เมอื่ ด�ำเนินการเสรจ็ แลว้ ท�ำการคลิก จาก Toolbar อกี ครง้ั ผนวก 1 ผนวก 1-25

ภาคผนวก 1.5.2 การแทรก/ลบ Rows ① การแทรก Rows [Program ท่ตี ้องการแทรก Rows] ต้องการเพม่ิ Y001 Rows น้ี X001 Y000 X002 X000 Y002 Y000 X003 ① นำ� เคอร์เซอรม์ าวางตำ� แหนง่ การแทรก Rows ทำ� การแทรกดา้ นบนแถวทเ่ี คอรเ์ ซอรว์ างอยู่ ด้านลา่ งแถวทตี่ ้องการจะเพมิ่ ① นำ� เคอร์เซอรว์ างแถวล่างของแถวท่ตี อ้ งการแทรก ② คลกิ ขวา ② ทำ� การคลกิ ขวาในตำ� แหนง่ ใดก็ได้ เพื่อเลอื ก [Insert row] ③ เสรจ็ สิน้ การแทรก Rows เลอื ก “Insert row” ③ ท�ำการเพ่มิ Rows ใหม่ ④ เพ่ิม Ladder ④ ทำ� การเพ่มิ Ladder ลงในแถวทีแ่ ทรกเข้าไปใหม่ X001 Y001 ⑤ ทำ� การกด Convert (F4) เพ่ือยืนยนั การเปลย่ี นแปลง ผนวก 1-26

② การลบ Rows [Program ที่ต้องการลบ Rows] X001 X002 X000 Y001 Y000 Y000 ตอ้ งการลบ X003 Y002 Rows น้ี ① ยา้ ยเคอรเ์ ซอรไ์ ปวาง ① ย้ายเคอรเ์ ซอร์ไปวางใน Rows ทตี่ อ้ งการลบ ในแถวท่ตี ้องการลบ ② ② วางเมาสใ์ นตำ� แหน่งใดก็ไดแ้ ลว้ คลิกขวา เลือก [Delete Row] คลกิ เมาสข์ วา ผนวก 1 เลือก “Delete Row” ③ แถวถูกลบไปเรียบร้อย ③ แถวถกู ลบไปเรยี บร้อย Point กรณที ่กี ารลบ Rows จะไม่มกี ารแสดงเปน็ กรอบ สีเทา ให้กด Convert F4 เพ่อื ท�ำการยนื ยันการ ด�ำเนนิ การ ผนวก 1-27

ภาคผนวก 1.5.3 การ Cut & Copy (Pasting) Ladder ① การ Cut [Program ทต่ี ้องการ Edit] こตอ้のง行กをาร Cut Y001 切ต�ำりแ取หるน่งนี้ X001 X002 X000 Y000 Y000 ① ย้ายเคอร์เซอร์มาวางหนา้ Ladder ที่ตอ้ งการ Cut ① ยา้ ยเคอร์เซอร์มาวาง บริเวณที่ต้องการ Cut, Copy ต�ำแหน่งหนา้ สดุ ทีต่ อ้ งการ ② ทำ� การลากคลมุ บริเวณ ② ทำ� การลากคลมุ ทกุ ต�ำแหน่ง ③ เริม่ Cut ③ Cut โดยเลอื ก จาก Toolbar หรอื เลอื ก [Edit] → [cut] ( Ctrl + X ) แล้วทำ� การ Cut ④ บรเิ วณที่เลอื กไว้โดน Cut ไป ④ บริเวณท่ีเลอื กไว้จะถกู Cut กรณี Cut บางสว่ นของ Ladder จะเหลอื แสดงเป็นแถบสเี ทาอยู่ หลังจากแก้ Ladder ไว้ กด F4 (Convert) เพื่อยืนยนั การด�ำเนนิ การ ผนวก 1-28

② Copy (Pasting) ส่วนของโปรแกรมทีต่ อ้ งการ Copy (Pasting) X002 X000 こコCピのop行ーyをする こ貼Pのりas付行teけに Y000 Y000 Y000 X002 X000 Y000 ① ยา้ ยเคอรเ์ ซอร์มาวางตำ� แหน่ง น�ำ Program ที่ “cut” แล้วมาวางแถวหน้า แรกสดุ ทตี่ ้องการ Copy ① ท�ำการยา้ ยเคอร์เซอรม์ าวางไว้ที่แถวหน้าของ Ladder ทจ่ี ะ ท�ำการ Copy ③ เรมิ่ Copy ② ลากเคอรเ์ ซอร์จนถงึ ตำ� แหนง่ จบ ② ทำ� การลากคลุมต�ำแหนง่ จบ ④ น�ำเคอร์เซอร์ย้ายไปตำ� แหนง่ ③ ท�ำการเลอื ก ท่ี Toolbar หรือเลอื กเมนู [Edit] → [Copy] ท่ีตอ้ งการ Paste ( Ctrl + C ) ⑤ Copy & Paste เรียบร้อยแลว้ ④ ย้ายเคอรเ์ ซอร์มาวางในต�ำแหนง่ ท่ีตอ้ งการ Paste ผนวก 1 Point การกดเปลยี่ น Insert [Ovrwrte] mode : การ Paste โดยการเขียนทับ ในตำ� แหน่งท่เี คอร์เซอร์วาง [Insert] mode : ทำ� การ Insert ขา้ งบนตำ� แหน่งท่ี วางเคอรเ์ ซอร์ ⑤ ท�ำการเลือก จาก Toolbar หรือเลือก [Edit] → [Paste] ( Ctrl + V ) จากเมนู กรณตี ้องการ Paste เฉพาะบางสว่ นของ Program จะมี การแสดงเป็นกรอบสีเทา ให้กด F4 (Convert) เพอ่ื เป็น การยืนยนั ผนวก 1-29

ภาคผนวก 1.6 การบันทกึ Program ที่จัดทำ� เสร็จแล้ว ภาคผนวก 1.6.1 การ Save, Save as Point กรณที ่ี Ladder ยงั ไม่ได้รับการยืนยัน ให้กด F4 Convert ① ทำ� การเลอื ก จาก Toolbar หรอื เลอื ก [Project] → [Save] จากเมนู ( Ctrl + S ) ① คลิก (เฉพาะกรณี Save as เทา่ นัน้ ) (กรณี Overwrite) Save Program เสร็จเรียบร้อย ③ ต้งั ชือ่ Project ⑤ คลิก ② กในำ� กหานรดSDaevestiansatไioฟnล์ ② กำ� หนด Destination ของ Project ③ ตง้ั ช่อื Project ④ สามารถก�ำหนด Title ได้ เชน่ รายละเอียดของ Project (option) ⑤ คลิก Save ④ ใส่ Title ของไฟล์ ⑥ จะมี Dialog box ปรากฏขึน้ มา คลกิ YES ⑥ คลิก กรณี Save ใน แผน่ Floppy disk ความจุ อาจไมพ่ อ ใหท้ ำ� การ Save ใน Hard disk แลว้ ค่อยทำ� การยา้ ยจาก Hard disk ไปท่ี Floppy disk อา้ งองิ ●● Project name ไม่สามารถใชส้ ัญลกั ษณ์ด้านลา่ งได้ / , \\, > , < , * , ? , ” , “ , |, : , ; ( ; , \\ สามารถใชไ้ ดเ้ ฉพาะ Drive ทก่ี �ำหนดเทา่ น้ัน) และพยางคส์ ุดท้ายของ Project name ห้ามใช้ . (period) ●● กรณีทำ� การต้งั ชือ่ Project มากกว่า 8 ตวั อักษรโดยใช้ GX Developer (SW6D5-GPPW เปน็ ต้นไป) แลว้ Load ด้วย Version GX Developer (กอ่ น Version SW2D5-GPPW) ตวั อักษรหลังจากหลกั ที่ 8 จะไมแ่ สดง ●● จำ� นวนตวั อกั ษร Project path + Project name ตวั พิมพเ์ ล็กไม่เกิน 150 ตัว (ตวั พมิ พ์ใหญไ่ ม่เกิน 75 ตวั ) ●● ตัวอักษรของ Title ตวั พิมพ์เลก็ ไม่เกนิ 32 ตัว (ตวั พมิ พใ์ หญไ่ ม่เกิน 16 ตวั ) ●● กรณีท่ี Project path + Project name มกี ารเว้นวรรคดว้ ย ถึงจะดับเบลิ คลิก File GPPW.gpj, ***.gps file ใน Explorer GX Developer ก็จะท�ำงานไม่ปกติ ●● กรณที ี่ Project path + Project name มีการเวน้ วรรคด้วย ใหท้ ำ� การเปิด Project ดังน้ี หลงั จาก Run ด้วย Explorer → [Project] → [Project open] ผนวก 1-30

ภาคผนวก 1.6.2 การ Save as Point กรณีที่ Ladder ยังไมไ่ ด้รบั การยนื ยัน ใหก้ ด F4 Convert ① เลือก [Project] → [Project save as] จากเมนู ① คลิก ③ ต้ังช่อื Project ⑤ คลิก ② ท�ำการก�ำหนด Destination ของ Project ② กใน�ำกหานรดSDaevestiansatไioฟnล์ ③ ก�ำหนดช่ือ Project ④ สามารถก�ำหนด Title ได้ เช่น รายละเอยี ดของ Project (option) ⑤ คลิก Save ผนวก 1 ④ ใส่ Title ของไฟล์ ⑥ คลิก ⑥ จะมี Dialog box ปรากฏขนึ้ มา คลกิ YES วิธีการต้งั ช่อื Drive/Path name และ Project name อ้างองิ หน้า กอ่ นหน้า กรณี Save ใน แผ่น Floppy disk ความจุ อาจไม่พอ ให้ทำ� การ Save ใน Hard disk แลว้ ค่อยทำ� การยา้ ยจาก Hard disk ไปที่ Floppy disk ผนวก 1-31

ภาคผนวก 1.6.3 การ Reading Project อ้างองิ กรณี Reading Proejct โดยทเ่ี ปิดอีก Project ค้างอยู่ Project นั้นจะถกู ปดิ กรณที ี่ Project นั้น ยงั ไม่ได้ Convert ladder หรือยงั ไม่ได้ Save จะมีข้อความแจง้ เตอื นปรากฏขึ้นมา ① เลอื ก จาก Toolbar หรอื เลือก [Project] → [Open proejct] ( Ctrl + O ) จากเมนู ① คลิก ② กขอ�ำหงนPดroDjeecsttination ② ทำ� การเลือก Destination ของ Proejct ④ คลิก ③ เลอื ก Read Project ④ คลกิ Open เพอ่ื เลือก Read Project ③ เลือกช่ือ Project ผนวก 1-32

ภาคผนวก 1.7 การท�ำงานทจ่ี ำ� เป็นในการ Debug Program เร่ืองการอา่ น Program หรือการเชื่อมต่อ PLC ขอให้อ้างองิ [ภาคผนวก 1.4 การเขียน Program ใน PLC] ภาคผนวก 1.7.1 Laddet Monitor ทำ� การ Monitor สภาพการท�ำงานของ Coils หรอื สภาพการท�ำงาน Contact ในแตล่ ะจดุ ในขณะที่ Program กำ� ลังแสดงอยู่ ① เลอื ก จาก Toolbar หรือเลอื ก [Online] → [Monitor] → [Monitor mode] ② ท่ี Ladder Monitor จะแสดงคา่ ปจั จุบนั ของ word device (timer, counter, data register) และสถานะการ ON/OFF ของ Ladder ③ เม่อื ต้องการจบการท�ำงานของ Ladder monitor ให้คลกิ ขวา บนหนา้ จอ เลอื ก [Stop monitor] ④ เมือ่ ต้องการแก้ไขหรือเขยี น Program เลอื ก จาก Toolbar หรือเลือก [Edit] → [Write mode] จากเมนู ผนวก 1 ผนวก 1-33

อา้ งอิง (1) แสดง Monitor Status Dialog ① Scan time แสดง Scan time สูงสดุ ของ PLC Program ② PLC Status แสดง PLC Status ③ Execute status display ตำ� แหนง่ ทท่ี �ำงาน (Execute) จะกะพริบ ④ Memory type แสดง Memory type ของ PLC (2) วธิ ดี ูการแสดง Status ของ Ladder Monitor ① ค�ำสง่ั หน้าสัมผสั (Contact Instruction) Input contact X0 : OFF X0 : ON Type X000 หน้าสมั ผัสปกตเิ ปดิ a X000 (N.O.Contact) หน้าสมั ผสั ปดิ หน้าสัมผสั เปดิ (Contact close) (Contact open) X000 หนา้ สมั ผสั ปกตปิ ดิ b X000 (N.C.Contact) หน้าสมั ผสั เปดิ หน้าสัมผสั ปิด (Contact open) (Contact close) ทำ� งาน/เคลือ่ นไหว ② คำ� สงั่ เอาท์ (Out Instruction) Type Drive status ไม่ท�ำงาน/ไม่เคล่อื นไหว OUT Instruction Y000 Y000 SET Instruction. Etc. SET M0 SET M0 คำ� ส่ัง RST (RST Instruction) คือ การแสดง ON/OFF ของ Device ท่ีจะ Reset Type Drive status Reset Device OFF Reset Device ON RST instruction RST M0 RST M0 ผนวก 1-34

ภาคผนวก 1.7.2 Device registration monitor ① การ Register Device อ่ืนๆ เร่ืองการ Register Device อ่ืนๆ (Optional Device) ในหน้าจอ Monitor และการ Monitor เฉพาะ Parts ทตี่ ้องการ ① เปิดหนา้ จอ Ladder monitor (อา้ งองิ ภาคผนวก 1.7.1) ② ท�ำการเลือก [Online] → [Monitor] → [Entry data monitor] จากเมนหู รือทำ� การคลิกขวาบนหน้าตา่ ง Program แลว้ เลือก [Entry data monitor] ③ คลกิ [Register devices] ในหน้าจอ [Entry data monitor] ③ คลกิ ผนวก ④ Input device 1 ⑤ คลิก กรณที ่ีตอ้ งการ monitor ④ ทำ� การ Input device number ในหนา้ จอ Register device Device 32 bit ขอใหเ้ ลือก ⑤ คลกิ [Register] [32 bit integer] ⑦ คลกิ ⑥ Device จะถกู บนั ทกึ ลงใน Monitor window ⑦ เม่ือคลกิ [Start monitor] จะปรากฏ สถานะ ON/OFF ของ Coils และค่าตวั เลข รวมถึงจุดสถานะตามการท�ำงานของ Device นั้น ผนวก 1-35

② การ Register Device ระหว่างที่ Ladder monitor กำ� ลงั แสดง กำ� หนดขอบเขตการแสดงผลโดยเลือกจากหนา้ จอ Ladder monitor และทำ� การ Register device ทอี่ ย่ใู นขอบเขตนั้น ③ คลิก ① ไปท่ีหน้าจอ Monitor mode (อา้ งองิ ภาคผนวก 1.7.1) ② ทำ� การเลือก [Online] → [Monitor] → [Entry data monitor] หรอื คลิกขวาท่หี นา้ จอ Ladder เลือก [Entry data monitor] (อ้างอิงหน้ากอ่ นหนา้ ) ③ ทำ� การเลอื ก [Windows] → [Tile horizontally] จะปรากฏ [Ladder monitor windows] และ [Entry data monitor windows] ขน้ึ เรียงกนั (ทำ� ให้ [Entry data monitor windows] อยใู่ นสถานะ Stop monitoring) ④ [Ladder monitor windows] และ [Entry data monitor windows] จะปรากฏจากบนลงล่าง ⑤ เริ่มลากจดุ นี้ ⑥ กด [Shift] จนสุดทา้ ย ⑤ คลิกทจ่ี ุดเรม่ิ ของ Ladder ⑦ ลาก ⑥ กด [Shift] ค้างและคลิกท่ีจดุ สดุ ท้าย เพือ่ ท�ำการเลือกขอบเขต ⑦ ทำ� การลาก ขอบเขตทเ่ี ราเลือกไว้ ลงมาใน [Entry data monitor windows] โดยกด [Ctrl] ⑧ ทำ� การ Register Device ใน Monitor windows ⑨ เมือ่ คลิก [Start monitor] จะปรากฏ ตำ� แหนง่ Coils status ON/OFF และคา่ ตามการทำ� งานของ Device ⑨ คลกิ ผนวก 1-36

ภาคผนวก 1.7.3 Device batch monitor (การเรยี กดู Device ท้งั หมด) ทำ� การระบุตัว Device แรก และท�ำการ Monitor Device ต่อเน่ือง ① ไปทห่ี น้าจอ Monitor mode (อา้ งองิ ภาคผนวก 1.7.1) ② ท�ำการเลอื ก [Online] → [Monitor] → [Device batch] หรอื คลกิ ขวาทหี่ นา้ จอ Ladder เลือก [Device batch] ③ Device input ③ ท�ำการใส่หมายเลขแรกของ Device ทจี่ ะ Monitor ใน Windows [Device batch monitor] กด Enter หรอื คลกิ [Start monitor] ผนวก 1 ④ ปรากฏ Coils Status ON/OFF และคา่ ตามการท�ำงานของ Device ผนวก 1-37

ภาคผนวก 1.7.4 Device Test ① Force ON/OFF (การบงั คบั เปดิ /ปดิ ) ทำ� การ Force ON/OFF Bit Device ของ PLC (เช่น M, Y, T, C) (จะไม่ Force ON/OFF ใน X) ในตอนท่ี PLC กำ� ลงั RUN อยู่ จะทำ� การ ON/OFF เฉพาะเมื่อครบ 1 Cycle เทา่ นัน้ จะตอ้ งให้ Sequence Program ทำ� งานให้เสร็จสน้ิ ก่อน ในกรณที จี่ ะดำ� เนนิ การอน่ื ๆ อยา่ งเช่น ตรวจสอบ Output ตอ้ งให้ PLC อย่ใู นสถานะ STOP กอ่ น ① ไปท่ีหน้าจอ Monitor mode (อ้างองิ ภาคผนวก 1.7.1) ② ทำ� การเลือก [Online] → [Debug] → [Device Test] หรือ คลกิ ขวาท่หี นา้ จอ Program เลอื ก [Device test] ③ Input Device ③ ทำ� การ Input หมายเลข Device ทจี่ ะทำ� การ Force ON/OFF ④ คลิก ④ • [Force ON] : Device ON • [Force OFF] : Device OFF • [Toggle force] : Device จะ ON/OFF สลบั กนั ทุกครง้ั ที่กด อา้ งอิง Force ON/OFF (Ladder Monitor Windows) ท�ำการกด [Shift] คา้ ง ใน Bit Device ไหนก็ได้ (Contact, Coil) บน Ladder monitor windows แล้วดับเบิลคลกิ จะสามารถเลอื ก force ON/OFF Device ได้ ผนวก 1-38

② การเปล่ียนแปลงคา่ ปจั จุบันของ Word Device การเปลย่ี นค่าปจั จบุ ันของ Word Device ของ PLC (เชน่ T, C, D เปน็ ตน้ ) เปน็ ค่าท่ตี ้องการ ① ไปทีห่ น้าจอ Monitor (อ้างอิงภาคผนวก 1.7.1) ② ท�ำการเลอื ก [Online] →[Debug] → [Device Test] หรือคลิก ขวาทีห่ น้าจอ Program เลอื ก [Device test] ③ ท�ำการปอ้ นหมายเลข Device ทีต่ ้องการเปลี่ยนแปลง ④ ท�ำการปอ้ นค่าทต่ี ้องการเปลีย่ น ⑤ คลิก [Set] ③ Input Device ผนวก 1 ④ คา่ ทต่ี อ้ งการเปลย่ี น ⑤ คลิก ผนวก 1-39

ภาคผนวก 1.7.5 การเขียน Program ขณะ Run Program ทำ� การเขยี น Program ลงใน PLC เฉพาะ Program ส่วนทแ่ี ก้ไข ขณะ PLC กำ� ลังท�ำงาน ท�ำการลดระยะเวลาการเขยี น program โดยไม่ต้อง Run Program ท้งั หมด ① อธิบายการเพ่มิ หน้าสัมผัส (Contact) ลงที่ Ladder ตาม ดา้ นซา้ ย เปล่ียน Program ใหอ้ ย่ใู น Write mode ( ) ② Add contact (เพม่ิ หน้าสัมผสั ) ② ทำ� การเพ่มิ หนา้ สัมผัส (Add Contact) กรอบ Program จะปรากฏเปน็ สีเทา Write during RUN [Shift] + [F4] ③ เลือก [Shift] + [F4] หรอื เลอื ก [Convert] → [Convert (Write during RUN)] จากเมนู ④ เพื่อความปลอดภัยจากการเปลี่ยนการควบคมุ PLC ด้วย การเปลี่ยน Program จะมี Message แจ้งเตือน ใหค้ ลกิ [Yes] ④ คลกิ ⑤ เม่ือมี Message แจ้งข้ึนมาว่า “RUN write processing has completed” ใหค้ ลิก [OK] ⑤ คลกิ ข้อควรระวัง กรณที ่ี Program ใน GX Developer กบั Program ใน PLC กอ่ นการแกไ้ ข ไม่ตรงกัน จะไมส่ ามารถ write ได้ กรณีที่ ไม่แนใ่ จว่า Program ตรงกนั หรือไม่ให้ทำ� การเปรียบเทียบก่อน หรอื Transfer ไปที่ [Write to PLC] ผนวก 1-40

ภาคผนวก 1.8 การใส่ Comment ภาคผนวก 1.8.1 ประเภทของ Comment สามารถใส่ Comment ได้ 3 ประเภทตามดา้ นล่าง ประเภท วัตถุประสงค์ จ�ำนวนตวั อกั ษร หมายเหตุ (ตัวพิมพใ์ หญ่) ① Device comment Comment แสดง บทบาทและหนา้ ท่ี 16 กรณี write ลง PLC จำ� เปน็ ต้องท�ำการ Set การใช้งานของแต่ละ Device (ที่ PLC มากสดุ 8 ตวั อกั ษร) คา่ [Comment Capacity] และจำ� เปน็ ต้อง Set [Comment range setting] ทจ่ี ะ write ② Statement Comment แสดง บทบาทและหนา้ ที่ 32 เปน็ Comment เฉพาะด้าน Computer การใชง้ านของ Ladder block software (ไม่ Download ลง PLC) ③ Note Comment แสดงบทบาทและหนา้ ที่ 16 เปน็ Comment เฉพาะดา้ น Computer การใชง้ านต่อ Output instruction software (ไม่ Download ลง PLC) [ตัวอย่าง Comment] ② Statement * (ไฟกะพรบิ เมอื่ กดปมุ่ Start) ③ Note * เม่ือถงึ เวลาทต่ี งั้ ไว้ Buzzer จะดัง ผนวก ① Device comment 1 T5 N.O. Contact มี 10 Step, N.C. Contact มี 8 Step Point วิธกี ารแสดง Comment • ท�ำการเลอื ก [Display] → [Display comment] จากเมนู แลว้ Comment จะปรากฏ • เม่อื ตอ้ งการยกเลิกการแสดง Comment ใหด้ ำ� เนนิ การตามขั้นตอนด้านบนอีกครง้ั ผนวก 1-41

ภาคผนวก 1.8.2 วิธกี ารสร้าง Device comment ① วิธีการ Input Device จาก List ① ทำ� การคลิก [Device Comment] → [COMMENT] จาก Project list ① คลิก ② ทำ� การ Input ตัวเลขต้นของ Device ท่ีต้องการจดั ท�ำ Comment ② Input หมายเลข Device ลงใน “Device name” แล้วคลกิ [Display] ③ ทำ� การ Input Comment ลงในช่อง [Comment] • กรณที ต่ี อ้ งการ Input comment ของ Device อน่ื ๆ ให้ทำ� การใส่ หมายเลขของ Device น้ันตามขั้นตอนขอ้ ② อีกครงั้ ③ Input Comment ② วิธกี ารป้อน Comment โดยใช้ Enter Symbol ① ดับเบลิ คลกิ ① คลกิ จาก Toolbar และ ดับเบลิ คลิกหมายเลข Ladder ② Comment input ทีต่ ้องการ Input Comment ② วธิ กี ารป้อน Comment โดยใช้ Enter Symbol แล้วคลกิ [OK] • เมอื่ ด�ำเนนิ การเสรจ็ แลว้ ใหค้ ลกิ อกี ครัง้ ผนวก 1-42

Point การ Set การ Write Device Comment ใน PLC ผนวก เพ่อื ทำ� การ write Comment ใน PLC จ�ำเปน็ ต้อง Set “Parameter Setting” และ “Comment range setting” 1 ① การ Set parameter • เลือก [Parameter] → [PLC Parameter] • ทำ� การ Set “จ�ำนวน Block” ใน [Comment Capacity] ในหนง่ึ Block สามารถบรรจไุ ด้ 50 Comment โดย Program memory ท่ี 500 Step Comment capacity setting ความจุ Program จะลดลง ขนึ้ อยู่กับ ความจุ Comment ② Comment range setting • เลือก [Device Comment] → [COMMENT] จะปรากฏหนา้ จอให้ Input Comment • เลือก [Edit] → [Setup Comment range] จากเมนู • ทำ� การ Set ประเภท Device และขอบเขตที่จะ Write ท่ี PLC ลงใน Setup comment range dialog Comment range setting อ้างองิ วิธีการปอ้ น Comment เม่ือจัดสร้าง Program ทำ� การเลือก [Tools] → [Options] จากเมนู ทำ� การใส่ เครือ่ งหมายถูก “Continues during command write” ในชอ่ ง [Comment input] ใน [Program common] เม่ือด�ำเนนิ การ Set ตามนแ้ี ลว้ จะปรากฏหนา้ จอขอ้ ② “Enter symbol” หลังจาก Input Program ในขั้นตอน การจดั สรา้ ง Program ผนวก 1-43

ภาคผนวก 1.8.3 ด�ำเนนิ การจัดสร้าง Statement ① ดบั เบลิ คลกิ ① คลิก จาก Toolbar ทำ� การดบั เบิลคลกิ ตรงสว่ นไหนก็ได้ ② Statement input ของ Ladder block ทต่ี อ้ งการจะ input Statement ② ทำ� การ Input statement ที่หน้าจอ [Enter Line Statement] แล้วคลกิ [OK] • เม่อื ด�ำเนินการเสรจ็ แล้ว ท�ำการคลกิ จาก Toolbar อีกคร้ัง ภาคผนวก 1.8.4 การจดั สรา้ ง Note ① ดับเบิลคลกิ ① คลิก จาก Toolbar ทำ� การดับเบลิ คลิกตรง Output ② Note input instruction ทต่ี อ้ งการจะ Input Note ② ทำ� การ Input Note หนา้ จอ “Enter Note” แล้วคลิก [OK] • เมื่อด�ำเนนิ การเสรจ็ แลว้ ท�ำการคลกิ จาก Toolbar อกี ครั้ง ผนวก 1-44

ภาคผนวก 1.9 การจดั สรา้ ง List Program GX Developer สามารถจัดสร้าง Program โดยใช้ List ได้ ภาคผนวก 1.9.1 การแสดงหนา้ จอ List edit ① Edit Screen แสดงข้ึนมา ① จดั สรา้ ง New project (อ้างอิงภาคผนวก 1.2.2) หรอื เลอื กเปิด Program จาก Project เดิม ② เลือก จาก Toolbar หรอื เลือก [View] → [Instruction list] จากเมนู ③ จะปรากฏหน้าจอ List edit ขน้ึ เลอื ก กรณีต้องการกลบั มาทีห่ นา้ จอ Ladder ใหก้ ด [View] → [Ladder] จากเมนู ③ Edit Screen แสดงขึน้ มา ภาคผนวก 1.9.2 วธิ ีการปอ้ นค�ำส่งั (Instructions) ผนวก 1 Start up monitor After input list ① ท�ำการ Input ตาม Step ต้งั แต่ Step 0 ในตัวเลขที่ปรากฏของ แตล่ ะ Step เมื่อ Input เข้าไปแลว้ จะทำ� การเพิ่มให้อัตโนมตั ิ (วธิ กี าร Input อ้างอิงหน้าถัดไป) ผนวก 1-45

● วิธีการปอ้ นค�ำส่ังพืน้ ฐานและคำ� ส่ังประยกุ ต์ (Input Basic instruction และ applied instruction) Instruction กับหมายเลข Device หรอื Operand ท�ำการเวน้ วรรคดว้ ยการใส่ “Space” [ตัวอย่าง Basic instruction] Enter Connection and OUT Instructions Enter Coil instructions for the timer and counter LD X0 Enter OUT Y0 Enter LDI X0 Enter AND Y0 Enter OUT M0 Enter LD M0 Enter OUT T0 K10 OUT C0 K5 [ตัวอยา่ งคำ� สัง่ ประยุกต์ (Applied instruction)] MOV K1 D0  Enter CMP K20 D3 M10 Enter อา้ งอิง การใช้งาน Key ในการ Input และ Edit • เมอ่ื กด Insert จะเป็นการสลบั Mode [Ovrwrte] / [Insert] • สามารถท�ำการ Delete 1 instruction ได้ด้วย Delete • เมอ่ื คลิกขวาท่เี มาส์ สามารถทำ� การ [Insert line] / [Delete line] ผนวก 1-46

ภาคผนวก 1.9.3 การตรวจสอบรายละเอยี ดในการ Input List ทำ� การตรวจสอบ Program ทจ่ี ดั สร้างขนึ้ ว่ามี Error หรอื ไม่ โดยใช้ Input List ที่หนา้ จอ Ladder ① เลือก จาก Toolbar หรือเลอื ก [View] → [Ladder] จากเมนู ② ขอให้ทำ� การตรวจสอบ Program ท่ีจัดสรา้ งขึ้น ท่ี List ท่ี Input ไป ③ เมอื่ ท�ำการ Execute Program check ท่เี ลอื กจากเมนู [Tools] ผนวก → [Check program] จะสามารถตรวจสอบได้ว่ามี Error หรือไม่ 1 หรอื เกิด Error ที่ Step ไหน ผนวก 1-47

MEMO ผนวก 1-48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook