3.4 การเขยี น Program ลงใน PLC Sequence program ทจ่ี ดั ท�ำขน้ึ มา จะถกู เขียนลงใน FX PLC 3.4.1 การเช่อื มต่อกบั PLC การเชอ่ื มต่อกบั FX3G PLC (เชอ่ื มตอ่ โดยใชส้ าย USB cable) [การเตรยี มดา้ นคอมพิวเตอร์] จ�ำเป็นตอ้ ง Install USB driver ลงในคอมพวิ เตอร์เพ่อื ท�ำการต่อสาย USB ระหว่างคอมพิวเตอร์กบั FX3G PLC ขั้นตอนการ Install USB driver ให้ปฏิบตั ติ ามค่มู อื ใน “GX Works2 Operating Manual (บท Common)” [รปู แบบการเชอ่ื มต่อ] 3 PLC built-in port (USB) USB cable USB GX Works2 Point วธิ กี ารตดิ ตง้ั ไดรเวอร์ USB กรณีใช้งาน <Windows® 7, Windows® 8> ① ติดสายเคเบลิ้ ระหว่างคอมพิวเตอร์ และ PLC เข้าด้วยกัน จากนนั้ เปดิ PLC ② เลอื ก “Device Manager” ใน “System and Security” จากแท็บ “Control Panel” จากน้นั คลิกขวาที่ “Other derices” แลว้ เลือก “Update Driver Software...” ③ เมอื่ หนา้ จอของ “Update Driver Software” แสดงขน้ึ ใหเ้ ลอื ก “Browse my computer for driver software” ตอ่ ไปจะปรากฎ “Easysocket ¥USBDrivers” โฟลเ์ ดอรท์ มี่ กี ารตดิ ตง้ั GX Works2 ในกรณีผลติ ภณั ฑ์ MELSOFT ถกู ตดิ ตงั้ ไวห้ ลายตวั ใหอ้ า้ งองิ ปลายทางการตดิ ตงั้ ของผลติ ภณั ฑต์ งั้ แตค่ รงั้ แรก * กรณใี ช้ “FX3U-USB-BD”, “FX-USB-AW” เช่อื มกบั คอมพิวเตอร์ เนื่องจากวธิ กี ารตดิ ต้งั มคี วามแตกตา่ งตามแตค่ อมพิวเตอร์ที่ ใช้งาน ฉะนน้ั กรุณาดรู ายละเอียดใน “GX Works2 Operating Manual (Common)” 3-15
3.4.2 “Transfer Setup” ใน GX Work2 และ “Writing programs” ท�ำการ Set up GX Works2 เพ่ือเชอื่ มตอ่ กับ PLC ① คลิกท่ี “Connection Destination” ในหนา้ จอ Navigation ② ดับเบิลคลกิ ที่ “Connection 1” ② ดับเบลิ คลกิ ① คลิก ③ หนา้ จอเพื่อระบุ Destination จะปรากฏขนึ้ มา ③ หนา้ จอเพอื่ ระบุ Destination จะปรากฏขนึ้ มา ④ ดับเบลิ คลกิ ④ ดับเบิลคลกิ ที่ Icon ⑤ เลือก ⑥ คลิก ⑤ ท�ำการ Set up communication port ดา้ นคอมพิวเตอร์ ・ท ำ� การเลือก “USB” เมือ่ ตอ้ งการเชื่อมตอ่ ไปยงั Built-in USB ⑦ คลิก ⑧ คลกิ port ใน FX3G PLC ⑥ จากน้นั คลกิ [OK] ⑦ คลกิ ปมุ่ [Connection Test] เพือ่ ทำ� การตรวจสอบการรับสง่ สญั ญาณไปที่ PLC ⑧ คลิก [OK] หลังตรวจสอบเสรจ็ เพอื่ ยืนยันรายละเอยี ดท่ที �ำการ ตง้ั ค่าไป 3-16
9⑨) SSeett ttoo ⑨ ท่ี PLC ทำ� การสบั สวิทซ์ “RUN/STOP” ไปที่ “STOP” “S\"TSOTPO”P\" [หวั ข้อเพ่มิ เตมิ : Function auto RUN/STOP จาก Programming software] • กรณที ำ� การเขยี นโดยที่ PLC อยู่ในสถานะ RUN หลงั จากดำ� เนนิ การตาม ⑩ คลิก ⑪ ท ำ�การเลอื ก Data ขอ้ ⑫ แล้ว จะมขี ้อความว่า “หลัง Remote STOP จะดำ� เนนิ การเขียน ที่จะเขยี น PLC หรอื ไม่” ⑫ คลกิ กรณีท่ีตอ้ งการเขียนใหค้ ลิก [Yes (Y)] • เม่ือเขยี นเสร็จแล้ว จะมขี ้อความว่า “PLC อยใู่ นสถานะ STOP จะ REMOTE ไป RUN หรอื ไม่” เพ่ือให้ PLC RUN ให้คลกิ [Yes (Y)] 3⑩ เลอื ก จาก Toolbar หรือเลอื ก [Online] → [Write to PLC] จากเมนู ⑪ คลิก [Parameter + Program] ⑫ คลิก [Execute] (อ้างองิ หัวข้อเพิม่ เติมขอ้ ⑨) จะมกี ลอ่ งขอ้ ความปรากฏข้ึนเพ่ือแสดงสถานะก�ำลัง Write กำ�ลังเขยี น ⑬ หลังจากเสร็จส้นิ กระบวนการคลกิ [Close] ⑬ คลิก 3-17
3.4.3 การ Monitoring เพอ่ื ดกู ารท�ำงานของ PLC ① ที่ PLC ทำ�การสับสวทิ ซ์ “RUN/STOP” ไปที่ “RUN” ①1“)RS\"SUReeNUtt ”Nttoo\" ② คลิก ② ด�ำเนนิ การอย่างใดอย่างหนง่ึ ตามตัวเลือกดา้ นลา่ ง • กด (Monitor Mode/Start Monitoring) • กด จาก Toolbar • เลอื ก [Online] → [Monitor] → [Start Monitoring (All Windows)] จากเมนู ตรวจสอบการท�ำงานโดยการ Monitor Mode 1) ทำ� การตรวจสอบวา่ เมอ่ื [Switch X000 “OFF”] แล้ว [Switch X002 “ON”], [Output Y000 “ON”] หรือไม่ 2) ท�ำการตรวจสอบว่าแม้ [Switch X002 “OFF”] อยา่ งไร [Output Y000 ก็ยงั “ON”] อยหู่ รอื ไม่ 3) ท�ำการตรวจสอบวา่ เมือ่ [Switch X000 “ON”] แล้ว [Output Y000 “OFF”] หรอื ไม่ 4) ท�ำการตรวจสอบวา่ เม่ือ [Switch X003 “ON/OFF”] สลบั กนั [Output Y001 “ON/OFF”] สลับกันดว้ ย Point การ Edit หรือการหยุดการ Monitoring ●● ทำ�การหยดุ การ Monitor โดยคลกิ ที่ Icon (Stop Monitoring) หรอื เลอื ก [Online] → [Monitor] → [Stop Monitoring] ในการ Edit circuit สามารถทำ�ไดท้ ัง้ ตอนทก่ี ำ�ลงั Monitor อยู่ หรือหยุดการ Monitor ไปแลว้ 3-18
อา้ งองิ (1) Dialog ที่แสดง Monitor status 17ms ① Scan time การแสดงสถานะของ GX Works2 ทำ� การแสดง Scan time สงุ สุดใน Sequence program ② PLC status ②④ ③ ① ทำ� การแสดงสถานะของ PLC ▲ เม่ือ PLC RUN จะแสดงเปน็ “ ” เมอ่ื PLC STOP จะแสดงเป็น ③ “M■em” ory status 3 ท�ำการแสดงรายละเอยี ด Memory ของ PLC ④ ERR status (PLC Diagnotics) เมื่อทำ� การคลิกจะสามารถตรวจสอบรายละเอยี ดได้ (2) วิธดี กู ารแสดง Status ของ Ladder monitor ① คำ� สัง่ หน้าสมั ผสั (Contact Instruction) Input contact X0 : OFF X0 : ON Type X000 X000 หน้าสมั ผสั ปกตเิ ปดิ a หน้าสัมผัสเปดิ (Contact open) หนา้ สมั ผัสปดิ (Contact close) X000 X000 หน้าสมั ผสั ปกตปิ ิด b หนา้ สัมผัสปดิ (Contact close) หน้าสัมผัสเปดิ (Contact open) ② คำ�สัง่ เอาท์ (OUT Instruction) Driving status ไมท่ ำ� งาน/ไมเ่ คลอื่ นไหว ท�ำงาน/เคลอ่ื นไหว Type Y000 OUT instruction Y000 SET M0 Set instruction, etc. SET M0 คำ� สั่ง RST (RST Instruction) คอื การแสดง ON/OFF ของ Device ท่จี ะ Reset Device status Reset device OFF Reset device ON Type RST instruction RST M0 RST M0 3-19
3.5 การแกไ้ ขโปรแกรม 3.5.1 การแก้ไขโปรแกรม Point ● ตวั อกั ษรทจ่ี ะ Input ตอ้ งเป็นตวั อักษรภาษาองั กฤษพิมพเ์ ลก็ ตัวอกั ษรภาษาองั กฤษพิมพใ์ หญไ่ มส่ ามารถ Input ได้ ● การสลบั ระหว่าง “Ovrwrte” และ “Insert” ・กรณีทีจ่ ะทำ�การแก้ไข Program ท่มี ีอยแู่ ลว้ ขอให้เลือก “Ovrwrte” mode ・เมือ่ Set mode เปน็ “Insert” จะเป็นการ Input เป็น Program ใหม่ เมอื่ กด Insert จะเปน็ การ สลับ ระหวา่ ง “Insert” และ “Ovrwrte” 3-20
① การเปลย่ี นหมายเลข OUT coils และ contacts [Program ท่ีจะแก้ไข] X002 X000 Y000 Y000 X003 Cเปhลaีย่ nนgeเปtน็o Y002 Y001 ① ทำ� การดับเบิลคลิกในสว่ นทีจ่ ะทำ� งานแกไ้ ข 3 ① ดับเบิลคลกิ ② เปล่ยี น “Y001” → “Y002” ③ กด Enter หรือ [OK] เพอ่ื ยืนยนั ② เปลี่ยนเป็น “Y002” ③ กด Enter ④ จะปรากฏ Program หลงั การแกไ้ ขขนึ้ แสดงในกรอบสเี ทา ④ แสดงผลการแกไ้ ข ⑤ F4 (Build) ⑤ กด F4 (Build) เพื่อยืนยนั 3-21
② เพม่ิ Lines เหจ縦を追พดัรมิ่加/作ือท横แ�ำLし成นiのOnวOすeUน罫UTอแる線นนTcコวoแをตilลイsงั้ ะル [Program ทจี่ ะท�ำการเพ่ิม Lines] ① คลกิ Toolbar ( F10 ) ① คลิก วางเคอร์เซอรท์ ี่ด้านบนขวา ② เม่ือน�ำเคอร์เซอร์ไปวางด้านขวาบนของต�ำแหนง่ ท่ีต้องการ ในตำ� แหนง่ ท่ตี ้องการเพม่ิ เพ่มิ Line แลว้ ให้ทำ� การลากเสน้ ② ลาก ④ ตำ� แหนง่ เคอร์เซอร์ ③ Line จะเพ่ิมขน้ึ ตามต�ำแหน่งทีล่ ากเคอรเ์ ซอร์ ③ เพม่ิ Line ④ วางเคอร์เซอร์ในต�ำแหน่งทต่ี ้องการเพมิ่ OUT coil แล้วคลกิ จาก Toolbar ⑤ Input “Y3” ⑤ Input “Y3” เข้าไป ⑥ กด Enter ⑥ ท�ำการยนื ยนั โดยกด Enter หรือ [OK] 3-22
⑦ เสรจ็ สิ้นการเพ่ิม Ladder ⑦ เมื่อทำ� การเพิ่ม Ladder แล้ว จะแสดงเป็นบล็อกสเี ทา ⑧ F4 (Build) ⑧ ทำ� การกด F4 (Build) เพอื่ ยนื ยันการเปลยี่ นแปลง 3 ・ เมอ่ื ดำ� เนินการเสรจ็ แล้ว ทำ� การคลกิ จาก Toolbar อกี คร้งั อ้างองิ การเพิม่ หรือลด Lines โดยการใช้ Keys ◦ GX Works2 สามารถทำ�การเพม่ิ หรือลบ Lines ได้โดยใช้ Ctrl + , , , 3-23
③ การลบ Lines ตこอ้ のงก回าร路ลบを ส削่วน除นす้ี る [Program ทต่ี ้องการลบ Lines] ① คลิก ( Alt + F9 ) จาก Toolbar ① คลกิ วางเคอร์เซอรท์ ี่ดา้ นบนขวา ② ท�ำการลากเคอร์เซอร์จากด้านขวาบนของต�ำแหนง่ ท่ตี ้องการ ในตำ� แหน่งท่ีตอ้ งการเพมิ่ ลบเสน้ ลากจนสดุ ต�ำแหนง่ ② ลาก ③ ลบ Line ③ ท�ำการลบ Lines ④ ลบโดยกด Delete ④ OUT coils ท�ำการลบโดยกด Delete 3-24
⑤ Program ทต่ี อ้ งการลบจะปรากฏเป็นกรอบสีเทา ⑥ F4 (Build) ⑥ กด F4 (Build) เพ่ือเปลยี่ นรายละเอียด 3 ・ กรณที ีต่ ้องการจบการด�ำเนนิ การให้กด จาก Toolbar อกี ครง้ั อา้ งองิ การเพ่ิมหรอื ลบ Lines โดยการใช้ Keys ◦ GX Works2 สามารถทำ�การเพิ่มหรอื ลบ Lines ไดโ้ ดยใช้ Ctrl + , , , 3-25
3.5.2 การแทรก/ลบ Rows ① การแทรก Rows [Program ทต่ี อ้ งการแทรก Rows] ตこ้อのงก行ารをเพิม่ R追o加wsすนる้ี ① น ำ� เคอรเ์ ซอรม์ าวางตำ� แหนง่ การแทรก Rows ทำ� การแทรกด้านบนแถวทีเ่ คอร์เซอรว์ างอยู่ ด้านลา่ งแถวที่ต้องการจะเพมิ่ ① นำ� เคอรเ์ ซอร์วางแถวลา่ งของต�ำแหน่งท่ตี อ้ งการแทรก ② คลิกขวาเลือก “Insert Row” ② ทำ� การคลิกขวาในต�ำแหน่งใดก็ได้เพ่อื เลอื ก ・ [Edit] → [Insert Row] ③ เสร็จสิ้นการแทรก Rows ③ Rows ใหม่แทรกเข้ามา ④ เพมิ่ Circuit ④ ทำ� การเพ่ิม Circuit ลงในแถวทีแ่ ทรกเขา้ ไปใหม่ ⑤ ท�ำการกด Build (F4) เพื่อยนื ยันการเปลีย่ นแปลง 3-26
② การลบ Rows [Program ที่ตอ้ งการลบ Rows] ① ย า้ ยเคอรเ์ ซอร์ไปวางใน Row ตこ้อのงก行ารをลบ 3 ทตี่ ้องการลบ R削o除w すนี้ る ① ย้ายเคอร์เซอร์ไปวางใน Row ที่ต้องการลบ ② คลกิ ขวาเลอื ก “Delete Row” ② วางเมาสใ์ นต�ำแหน่งใดก็ได้แล้วคลกิ ขวาเลอื ก ・ [Edit] → [Delete Row] ③ Row ถกู ลบไปเรียบร้อย ③ Row ถูกลบไปเรยี บร้อย Point กรณีทกี่ ารลบ Rows จะไม่มีการแสดงเป็นกรอบ สเี ทา ใหก้ ด Build (F4) เพอื่ ทำ� การยนื ยัน การดำ� เนินการ 3-27
3.5.3 การ Cut & Copy (Pasting) ladder ① การ Cut [Program ทีต่ ้องการ Edit] ตこอ้ のงก行ารをCut ต切�ำりแห取นる่งนี้ ① ย้ายเคอรเ์ ซอรม์ าวางหนา้ Circuit ท่ีตอ้ งการ Cut ① ย า้ ยเคอร์เซอรม์ าวาง บรเิ วณที่ตอ้ งการ Cut, Copy ต�ำแหนง่ หน้าสุดทตี่ อ้ งการ ② ทำ� การลากคลมุ บริเวณ ② ทำ� การลากคลุมทกุ ต�ำแหน่ง ③ เร่ิม Cut ③ Cut โดยเลือก จาก Toolbar หรือเลอื ก [Edit] → [Cut] ( Ctrl + X ) แลว้ ท�ำการ Cut ④ บริเวณท่ีเลอื กไว้โดน Cut ไป ④ บริเวณที่เลอื กไวจ้ ะถกู Cut กรณี Cut บางสว่ นของ Circuit จะเหลอื แสดงเป็นแถบสเี ทาอยู่ หลงั จากแก้ Circuit ไว้ กด F4 (Build) เพือ่ ยืนยนั การด�ำเนินการ 3-28
② Copy (Pasting) [Copy (Pasting)] ตこอ้ のงก行ารをCopy ตコำ� แピหーนง่ すน้ีる ตこ้อのงก行ารにPaste ต貼�ำแりห付นง่ けนี้ นำ� Program ที่ “Cut” แล้วมาวางแถวหนา้ 3 ① ทำ� การย้ายเคอรเ์ ซอร์มาวางไว้ทแ่ี ถวหนา้ ของ Circuit ท่จี ะ ① ย ้ายเคอรเ์ ซอรม์ าวางตำ� แหนง่ แรกสุดท่ตี ้องการ Copy ท�ำการ Copy ③ เร่ิม Copy ② ลากเคอรเ์ ซอรจ์ นถงึ ตำ� แหน่งจบ ② ทำ� การลากคลุมต�ำแหน่งจบ ③ ท�ำการเลือก ท่ี Toolbar หรือเลอื ก [Edit] → [Copy] ( Ctrl + C ) จากเมนูแลว้ ทำ� การ Cut ④ น ำ� เคอรเ์ ซอรย์ ้ายไปต�ำแหน่ง ④ ยา้ ยเคอรเ์ ซอร์มาวางในต�ำแหนง่ ที่ต้องการ Paste ท่ีต้องการ Paste Point การกดเปลย่ี น Insert “Ovrwrite” mode : การ Paste โดยการเขียนทบั ใน ตำ� แหน่งท่เี คอรเ์ ซอรว์ าง “Insert” mode : ท�ำการ Insert ขา้ งบนต�ำแหน่งที่วาง เคอรเ์ ซอร์ ⑤ Copy & Paste เรยี บรอ้ ยแล้ว ⑤ ทำ� การเลอื ก จาก Toolbar หรือเลอื ก [Edit] → [Paste] ( Ctrl + V ) จากเมนู กรณีตอ้ งการ Paste เฉพาะบางสว่ นของ Program จะมีการแสดง เปน็ กรอบสเี ทา ให้กด F4 (Build) เพือ่ เปน็ การยืนยนั 3-29
3.6 การบันทกึ Program ที่จัดทำ� เสรจ็ แล้ว 3.6.1 Save, Save as Point กรณที ่ี Circuit ยงั ไมไ่ ด้รบั การยนื ยัน ให้กด Build (F4) ① ทำ� การเลือก จาก Toolbar หรือเลอื ก [Project] → [Save] ( Ctrl + S ) หรือ [Save As] จากเมนู ① คลิก (เฉพาะกรณี Save as เท่าน้ัน) (กรณี Overwrite) Save Program เสร็จเรียบรอ้ ย ② ก ำ� หนด Destination ของ Project ③ ตั้งชอื่ ไฟล์ ② ก�ำหนด Destination ของ Project ③ ตง้ั ชื่อไฟล์ ④ ก�ำหนด Title ที่จะแสดงเนอื้ หาของ Program (ต้งั ไดต้ ามตอ้ งการ) ⑤ คลิก Save ⑤ คลิก ④ กำ� หนด Title 3-30
3.6.2 การ Read project อา้ งองิ กรณเี ปิด Project อ่ืนๆ คา้ งไว้ ในตอนที่ท�ำการ Read file ใหม่ Project น้นั จะถกู ปิดไป ถ้า Project ทจ่ี ะถูกปดิ น้นั ยงั ไม่ไดท้ �ำการ Convert หรอื Save จะมีขอ้ ความแจง้ เตอื นขึน้ มา ① เลือก จาก Toolbar หรือเลือก [Project] → [Open] ( Ctrl + O ) จากเมนู 3 ① คลกิ ② เลือก Destination ของ Project ③ เลือก Project ทจี่ ะเปดิ ④ คลกิ Open เพื่อเปดิ Project ② เลือก Destination ③ เลือกชือ่ Project ④ คลิก 3-31
3.7 Debug program เรือ่ งการอา่ น Program หรือการเชื่อมตอ่ PLC ขอให้อ้างองิ “ภาคผนวก 1.4 การเขียน Program ใน PLC” 3.7.1 Ladder monitor ท�ำการ Monitor สภาพการท�ำงานของ Coils หรอื สภาพการทำ� งานหนา้ สมั ผัส (Contact) ในแตล่ ะจดุ ในขณะท่ี Program กำ� ลงั แสดงอยู่ (รายละเอียดในการแสดงขอใหอ้ ้างอิง “การ Monitoring การท�ำงานของ Program”) ① เลอื ก จาก Toolbar หรอื เลือก [Online] → [Monitor] → [Start Monitoring (All Windows)] จากเมนู ② ท่ี Ladder monitor จะแสดงคา่ ปัจจุบนั ของ Word device (Timer, Counter, Data register) และสถานะการ ON/OFF ของ Ladder อ้างองิ ●● ใน GX Works2 สามารถหยุดการ Monitor ได้โดยการเลอื ก (Stop Monitoring) จาก Toolbar หรือเลือก [Online] → [Monitor] → [Stop Monitoring] จากเมนู ส่วนการ Edit program สามารถดำ� เนนิ การไดท้ งั้ ในขณะที่กำ� ลัง Monitor หรือหยดุ การ Monitor แล้ว 3-32
3.7.2 Device registration monitor เปน็ การก�ำหนดขอบเขตของ Program หรอื การก�ำหนด Device 1 Device ในหนา้ จอ Ladder monitor แล้วทำ� การ Register device ส่วนนน้ั ๆ ลงใน Watch windows ② กรณี Register 1 Device ① ไปทห่ี นา้ จอ Monitor mode (อ้างองิ ภาคผนวก 3.7.1 “Ladder Monitor”) ลากเมาส์ ② กรณีท่ี Register device ② ・กรณที ต่ี ้องการ Register 1 Device ให้ใช้เมาส์คลิกเลือกท่ี หลายตัว Device ・กรณที ่ตี อ้ งการ Register device หลายตัว ใหใ้ ชเ้ มาส์ลากคลุม พ้นื ท่ีที่ตอ้ งการ 3 ③ เลือก [View] → [Docking Window] → [Watch1] และ Watch windows จะแสดงออกมา ③ Watch windows ④ Device ท่เี ลอื กไว้แล้ว ใหท้ ำ� การ Drag และ Drop ลงใน ④ D rag & Drop ลง Watch windows Watch windows ⑤ เสร็จส้ินการ ⑤ Device ทเ่ี ลือกไว้จะถูก Register ลงใน Watch window Register device ⑥ สามารถ Input device names ได้โดยตรงลงในช่องว่าง “Device/ ⑥ Input ไดโ้ ดยตรง Label” เช่น “X0”, “M0”, “D0” ⑦ ค า่ ตา่ งๆ จะปรากฏขนึ้ หลังเลอื ก [Start ⑦ เลือก [Online] → [Monitor] → [Start Monitoring] จากเมนู Monitoring] (Bit devices : ON = 1, OFF = 0, Word device : จะแสดงคา่ ปจั จบุ นั 3-33
3.7.3 Device batch monitor (การเรียกดู Device ท้ังหมด) การระบหุ มายเลข Device และการ Monitor device ต่อเน่ือง ① ไปที่หน้าจอ Monitor mode (อา้ งองิ ภาคผนวก 3.7.1 “Ladder Monitor”) ② ท�ำการเลือก [Online] → [Monitor] → [Device/Buffer Memory Batch] จากเมนู ③ Device No. input ระวัง ③ ทำ� การ Input หมายเลขแรกของ Device ทจ่ี ะทำ� การ Monitor ใน Window “Device Memory Batch” กด Enter (ระวงั ) กรณีท่ีกำ� หนด Timer, Counter ใหค้ ลกิ [Reference] แลว้ เลอื ก Program “MAIN” ⑤ เปลย่ี นค่าปัจจุบัน ④ จะปรากฏสถานะการท�ำงานข้ึนตามการท�ำงานของ Device ・Bit devices (X, Y, M, S) : ON = 1, OFF = 0 ・Timers และ Counters: ส ถานะ ON/OFF ค่าท่ีกำ� หนดไวแ้ ละ ค่าปจั จุบนั ของ Contact Coil ・Data registers: คา่ ปจั จบุ ัน ⑤ หลังจากใชเ้ มาส์เลือกสว่ นทต่ี ้องการใหป้ รากฏใน Monitor data ให้ทำ� การคลิกที่ [Modify Value] จะสามารถเปลี่ยนค่าปจั จุบนั ของ Word device หรือ สามารถ Set forcibly ON/OFF 3-34
3.7.4 Device test ① Force ON/OFF (การบงั คบั เปิด/ปิด) ทำ� การ Force ON/OFF bit device ของ PLC (เชน่ M, Y, T, C) (จะไม่ Force ON/OFF ใน X) หาก Force ON/OFF Input (X) ในขณะที่ PLC ก�ำลงั RUN อยู่ จะทำ� การ ON/OFF เฉพาะเมอื่ ครบ 1 Cycle เท่าน้ัน ในกรณที จี่ ะตรวจสอบการทำ� งานของ Output (Y) ตอ้ งให้ PLC อยู่ในสถานะ STOP กอ่ น ① ไปที่หนา้ จอ Monitor mode (อา้ งองิ ภาคผนวก 3.7.1 “Ladder Monitor”) ② เลือก [Debug] → [Modify Value] จากเมนู 3 ③ Input Device ③ ท�ำการ Input หมายเลข Device ทจี่ ะทำ� การ Force ON/OFF ④ คลกิ ④ ・[Force ON] : Device ON ・[Force OFF] : Device OFF ・[Force ON/OFF Invert] : Device จะ ON/OFF สลับกนั ทุกคร้ังท่กี ด อา้ งองิ Force ON/OFF (Ladder monitor window) ◦ ทำ� การกด [Shift] key คา้ ง ใน Bit device ไหนกไ็ ด้ (Contact, Coil) บน Ladder monitor window แล้วดบั เบลิ คลิก จะสามารถ เลือก Force ON/OFF device ได้ 3-35
② การเปล่ยี นแปลงค่าปัจจุบนั ของ Word device การเปลี่ยนคา่ ปัจจบุ ันของ Word device ของ PLC (เชน่ T, C, D เปน็ ตน้ ) เป็นคา่ ทตี่ ้องการ ① ไปที่หนา้ จอ Monitor (อ้างอิงภาคผนวก 3.7.1 “Ladder Monitor”) ② ท�ำการเลอื ก [Debug] → [Modify Value] จากเมนู ③ ทำ� การป้อนหมายเลข Device ท่ีต้องการเปล่ียนแปลงแลว้ กด Enter ③ Input device ④ ทำ� การปอ้ นค่าท่ตี ้องการเปล่ยี น ⑤ คลิก [Set] ④ คา่ ท่ตี ้องการเปลยี่ น ⑤ คลิก 3-36
③ การเปลยี่ นคา่ ปัจจุบนั และการ Force ON/OFF โดยใช้ Watch window เป็นการใช้ Watch window ท�ำการ Force ON/OFF bit device หรอื การเปลี่ยนคา่ ปัจจุบนั ของ Word device (T, C, D เป็นต้น) เมื่อ Force ON/OFF input (X) ในตอนท่ี PLC ท�ำงาน กจ็ ะ ON/OFF ลงใน 1 scan cycle time เมอื่ ต้องการตรวจสอบการท�ำงานของ Output (Y) ตอ้ งให้ PLC อย่ใู นสถานะ STOP ก่อน ② Input คา่ ทีต่ ้องการเปล่ียน ① Input หมายเลข Device ในช่อง “Device/Label” แลว้ Regis- ① Device register ter ลง Watch windows (เพม่ิ เตมิ ) หลังจาก Register แล้วเลอื ก [Online] → [Watch] 3 → [Start Watching] ② Input ค่าที่ต้องการเปลยี่ นลงในช่อง “Current Value” แลว้ กด Enter ・Bit devices (เชน่ X,Y) : Input คา่ เปน็ ON “1”, OFF “0” ・Word devices (เช่น T, C, D) : Input คา่ ท่อี ยใู่ นขอบเขตทสี่ ามารถ Input ได้ 3-37
3.7.5 การ Writing program ขณะ PLC กำ� ลัง RUN การเขียนบางสว่ นของ Program ทต่ี อ้ งการแกไ้ ขลงใน PLC ในขณะท่ี PLC กำ� ลัง RUN เนื่องจากไมไ่ ดเ้ ป็นการ Write program ทงั้ หมดลงไป จึงสามารถด�ำเนินการ Write ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ① อ ธบิ ายโดยใช้ตวั อย่างการเพิม่ หน้าสมั ผัส (Contact) เข้าไปใน Curcuit ตามภาพทางซา้ ยมอื ② Add contact (เพิ่มหนา้ สมั ผัส) ② เพม่ิ หนา้ สมั ผสั (Add Contact) กรอบสีเทาบริเวณวงจรจะปรากฎขน้ึ มา cOhnalinnge program [Shift] + [F4] ③ กด [Shift] + [F4] หรือเลือก [Convert/Compile] → [Online Program Change] ④ คลิก [Yes] เม่ือมขี ้อความแจง้ เตอื นเกย่ี วกบั ระบบความปลอดภยั ของ PLC ขณะกำ� ลงั RUN ④ คลกิ ⑤ จะปรากฏข้อความแจ้ง “Online change has completed” ขึ้นมา คลกิ [OK] ⑤ คลกิ Caution ◦ ก รณที ่ี Program กอ่ นการแก้ไขใน PLC และ ใน PLC เปน็ คนละตัวกันจะไม่สามารถด�ำเนินการได้ กรณที ่ีไม่แน่ใจวา่ เปน็ ตัว เดยี วกนั หรือไม่ ขอใหท้ �ำการเปรยี บเทยี บดกู อ่ นหรอื สง่ ไปที่ [Write to PLC] 3-38
3.8 การใส่ Comment 3.8.1 ประเภทของ Comment สามารถใส่ Comment ได้ 3 ประเภทตามดา้ นล่าง ประเภท วตั ถปุ ระสงค์ จำ� นวนตวั อกั ษร (ตวั พมิ พใ์ หญ)่ หมายเหตุ ① Device comment Comment แสดงบทบาทและหน้าที่ 16 กรณี Write ลง PLC จ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำการ Set การใชง้ านของแตล่ ะ Device (ท่ี PLC มากสดุ 8 ตวั อกั ษร) ค่า “Comments capacity” และจ�ำเปน็ ต้อง Set “Comment range setting” ทจ่ี ะ write ② Statement Comment แสดงบทบาทและหน้าที่ 32 เปน็ Comment เฉพาะด้าน Computer software การใชง้ านของ Ladder blocks (ไม่ Download ลง PLC) ③ Note Comment แสดงบทบาทและหน้าท่ี 16 เป็น Comment เฉพาะดา้ น Computer software การใช้งานต่อ Output instructions (ไม่ Download ลง PLC) 3 [ตัวอย่าง Comment] ② Statement ③ Note ① Device comment T5 N.O. Contact มี 10 Step, N.C. Contact มี 8 Step Point วธิ ีการแสดง Comment ◦ ทำ� การเลือก [View] → [Display comment] จากเมนู แลว้ Comment จะปรากฏ ◦ เมอื่ ต้องการยกเลิกการแสดง Comment ใหด้ �ำเนินการตามขน้ั ตอนด้านบนอกี ครงั้ Point Global device comment และ Local device comment ใน GX Works2 ◦ Global device comment : เป็น Comment ทสี่ ามารถ Input ลงใน PLC ◦ Local device comment : เม่ือทำ� การ Set local device comment ใหม่ จะสามารถจัดท�ำ Comment ตา่ งหากแยกกบั Global device comment และใน GX Developer สามารถใชง้ าน Comment ทแี่ ยกต่าง Program เช่น QnH, QnU แตใ่ น FX Series ไม่สามารถ Write ลง PLC ได้ การใชง้ านปกตแิ นะน�ำใหเ้ ลอื ก “Global device comment” 3-39
3.8.2 วิธีการสร้าง Device comment ① วิธีการ Input device จาก List ① ทำ� การคลิก [Global Device Comment] จาก Project list ① ดบั เบลิ คลิก ② Input หมายเลข Device ② ทำ� การ Input ตวั เลขต้นของ Device ทต่ี อ้ งการจดั ท�ำ Comment ลงใน “Device Name” แลว้ คลกิ Enter ③ ทำ� การ Input comments ลงในช่อง “Comment” ・ กรณที ่ตี อ้ งการ Input comment ของ Device อื่นๆ ให้ทำ� การใส่ หมายเลขของ Device นน้ั ตามข้ันตอนขอ้ ② ③ Input Comment ② วธิ กี ารป้อน Comment โดยใช้ Enter symbol ① ดับเบลิ คลกิ ① คลิก จาก Toolbar และ ดับเบิลคลิกหมายเลข Ladder ที่ ตอ้ งการ Input comment ② Input Comment ② ทำ� การ Input comment ลงในหน้าจอ “Enter symbol” แลว้ คลกิ [OK] ・ เมอ่ื ด�ำเนินการเสร็จแล้วให้คลกิ อีกครั้ง 3-40
Point การ Set การ Write device comments ใน PLC เพือ่ ท�ำการ Write comment ใน PLC จ�ำเป็นต้อง Set “Parameter setting” และ “Comment range setting” 1) การ Set parameter ② sCeotmtinmgent capacity ① เลอื ก [Parameter] → [PLC parameter] ② ท ำ� การ Set “จำ� นวน Block” ใน “Comment capacity” ใน 1 Block สามารถบรรจุได้ 50 Comment โดย Program memory ที่ 500 Step ① ดบั เบลิ คลกิ ความจุ Program จะลดลง 3 ขึ้นอยกู่ ับความจุ Comment 2) Comment range setting ③ คลกิ ① เลือก [Online] → [Write to PLC] ② ท ำ� การเชค็ เครื่องหมายท่ี “Global device ② เช็ค comment” ③ คลิก [Details] ④ ท ำ� การ Set ประเภท Device และขอบเขตท่ี จะ Write ท่ี PLC ลงใน Setup comment range dialog ④ Craonmgemseenttting อ้างองิ วิธีการปอ้ น Comment เมือ่ จดั สรา้ ง Program (ตามวิธีการข้อ 2) ◦ เลือก [Tools] → [Options] จากนนั้ เลอื ก [Program Editor] → [Ladder/SFC] → [Enter ladder] และคลิกใสเ่ คร่ืองหมาย ถูกใน [Enter label comment and device comment] หากก�ำหนดค่าตรงนจี้ ะท�ำให้หนา้ ต่าง [Enter comment] ปรากฎขึน้ ในขน้ั ตอนการกรอก Ladder เวลาเขียนโปรแกรม ◦ คลิก Icon ทางซ้ายมอื เพอื่ กรอก Comments 3-41
3.8.3 การจัดสรา้ ง Statements ① คลกิ จาก Toolbar ทำ� การดบั เบลิ คลิกตรงส่วนไหนกไ็ ด้ ของ Ladder block ที่ตอ้ งการจะ Input statement ① ดบั เบิลคลกิ ② Statement input ② ทำ� การ Input statement ที่หน้าจอ “Enter line statement” แลว้ คลกิ [OK] • ในกรณีที่ดำ� เนนิ การเสร็จแลว้ ให้กด อกี ครัง้ 3.8.4 การจัดสรา้ ง Notes ① ค ลิก จาก Toolbar ทำ� การดับเบลิ คลกิ ตรง Output instruction ท่ตี ้องการจะ Input note ① ดับเบิลคลิก ② Note input ② ท�ำการ Input note ทหี่ นา้ จอ “Enter Note” แลว้ คลิก [OK] • ในกรณที ด่ี ำ� เนินการเสร็จแลว้ ใหก้ ด อีกครัง้ 3-42
คำ� สง่ั (Instructions) น้ันเหรอไมย่ ากหรอก เร่อื งจ๊บิ ๆ! บทท่ี 4 คำ� ส่ังของซีเควนซ์ (Sequence instructions) จนมาถึงเนอื้ หาในบทนเ้ี ราไดเ้ รยี นรูเ้ กี่ยวกับ... 4 ใน PLC นน้ั ประกอบไปด้วย Relay, Timer, Counter ต่างๆ มากมาย และข้างใน Sequence เหลา่ นั้น ยังเชื่อมต่อกนั โดยทางดา้ น Programming กบั อุปกรณต์ า่ งๆ ในแตล่ ะการทำ� งาน และการเดินสายไฟ สำ� หรบั การเดินสายไฟจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ฎเกณฑ์ เพือ่ รองรบั กบั ลักษณะการต่อ Coils ลกั ษณะของหน้าสัมผสั (Contact) ประเภทของ Coils ทเี่ หมาะสม ในส่วนน้จี ะเรยี กวา่ “คำ� สั่ง” (Instruction) นนั้ เอง รูปแบบของค�ำสงั่ (Instructions) ที่จัดสรา้ งขน้ึ ประกอบดว้ ย ‘ภาษาค�ำส่ัง (Instruction word) + Device number’ หรอื ทที่ �ำงานดว้ ย ภาษาค�ำสัง่ เดี่ยวๆ (Individual instruction words) ในบทน้ีจะขออธบิ ายเกย่ี วกบั ค�ำสงั่ (Instruction) ค�ำส่ังพ้นื ฐานตา่ งๆ เพ่อื ใชจ้ ดั สรา้ ง Sequence program ขอใหจ้ ำ� ความหมายของแตล่ ะคำ� สง่ั (Instruction) ตา่ งๆ ให้ได้ดว้ ยนะ 4-1
4.1 คำ� สั่ง (Instruction) 4.1.1 Commands และ Programs อุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการ Input ซเี ควนซโ์ ปรแกรม (Programing devices) มแี บบท่ไี ว้เขียนวงจรโปรแกรมในหน้าจอคอมพิวเตอรแ์ ละแบบ ทไี่ ว้ Input โปรแกรมด้วยภาษาค�ำสั่ง (Instruction words) (อปุ กรณส์ �ำหรับทำ� List program) เหลา่ นี้เพยี งแคว่ ธิ ีการ Input โปรแกรมต่างกนั เท่าน้ัน ส่วนตัวลกั ษณะโปรแกรมมคี วามคล้ายคลงึ กัน ส�ำหรับ Input ดว้ ย Ladder diagrams ส�ำหรับ Input ด้วย Instruction words (Programming software ส�ำหรับคอมพิวเตอร)์ (เช่น Handy programming panel) ตารางดา้ นล่างแสดง Instruction อ�ำนวยความสะดวกให้ PLC และแสดง Ladder instruction แต่ละอนั เคร่อื งหมาย, ช่อื เรยี ก ความหมาย Ladder ●● , แสดงจุดหนา้ สมั ผัส (Contact) ใน Ladder หน้าสัมผัสปกตเิ ปดิ a จะเชื่อมต่อกันหรอื ไม่ขนึ้ อย่กู ับสถานะการ ON/OFF ของ LD Input relay, Output relay, Auxiliary relay,Timer, Counter Load (N.O. Contact) , SET แสดงการทำ� งานของ Coil LDI Bus connection Load inverse หนB(้าNuสs.Cัมc.ผoCสั nปonneกtcตatิปicotดิ)n b หSนe(้าNrสie.มัOsผ.cสัCoปonกnnตteacเิ cปttio)ดิ na AND หนา้ สัมผัสปกติปิด b And (N.C. Contact) ANI Series connection And inverse หน(า้ Nส.ัมOผ. ัสCปoกnตtaเิ cปt)ดิ a OR Parallel connection Or หPนa(rา้Naส.llCมัe.ผl cCัสoปonnกntตaeิปccttดิ)ionb ORI Or inverse ANB Series connection And block between block ORB Parallel connection Or block between block OUT Coil drive instruction Out SET LCaotcilhinospteruracttiioonn, SET YMS Set RST Cancel latch operation, RST YMSTCD Reset Coil instruction NOP No operatioin Delete program or space NOP END End of program End of program Return to step 0 End 4-2
4.1.2 โครงสร้างของโปรแกรม Internal sequence สำ� หรับ Sequence control จะตอ้ งจดั ทำ� Circuit diagram (Ladder list) หรอื Instruction list เพือ่ เปน็ Sequence program Instruction list (Program list) Circuit diagram (Ladder diagram) คำ�ส่ัง (Instruction) X001 X003 Y000 0 X006 Step No. Insctroudcetion Device (Number) K30 (Operand) Y000 T1 0 END 1 LD X001 Y000 2 4 3 OR Y000 4 9 5 ANI X003 Repeat operation 6 9 OUT Y000 LD Y000 ANI X006 OUT T1 K30 END 4 ●● Program จะสร้างจากการประกอบกนั ของโคด้ คำ� สัง่ (Instruction codes) และ Device number (Operand) จำ� นวนมาก แต่ละค�ำสง่ั (Instruction) จะมกี ารตดิ หมายเลขตามล�ำดบั ในทน่ี จ้ี ะเรยี กวา่ Step no. (Step no. จะถกู ควบคมุ โดยอตั โนมตั )ิ ●● [Instruction] จะเทา่ กบั [Instruction code] + [Device number] แตอ่ าจมบี าง Instruction ที่มีเฉพาะ Instruction code ไม่มี Device หรือ นำ� เฉพาะ Instruction code มาแสดงเปน็ Instruction อยา่ งงา่ ยๆ ●● Max step ขีดจ�ำกัดที่สามารถจดั ทำ� Program ไดจ้ ะขน้ึ อยกู่ บั [Program memory capacity] ของ PLC ที่ใชอ้ ยู่ ในท่ีนจี้ ะขอเรียกว่า PLC program capacity ยกตัวอย่าง Capacity ใน Program memory ของแต่ละรนุ่ FX1s PLC [Step 2000], FX3G [Step 32000], FX3u [Step 64000] ●● PLC repeatedly จาก Step 0 ถงึ End step ในทนี่ จี้ ะเรยี กวา่ Cyclic operation สว่ นเวลาทใ่ี ช้ใน 1 รอบการทำ� งานจะเรียกวา่ Scan time Scan time น้นั จะแตกตา่ งกันข้ึนอยกู่ บั เนอื้ หา Program หรือ ลำ� ดบั การ Cyclic operation จริง จะแตกต่างกันประมาณ ms ~ หน่วย 10 ms ●● PLC program ทจี่ ดั ท�ำมาจาก Circuit diagram (Ladder diagram) จะใช้ความจจุ าก Program memory ใน PLC ในรปู แบบ “Instruction list (Program list)” Programming software ทใี่ ชก้ บั คอมพิวเตอร์ จะทำ� การ Convension ระหวา่ ง “Instruction list (Program list)”, Circuit diagram (Ladder diagram) 4-3
4.1.3 หน้าสมั ผัสปกติเปิด a (N.O. Contact), หน้าสมั ผัสปกตปิ ิด b (N.C. Contact), Out instruction, End instruction Circuit program Y000 Step number Bus line Y003 จะแสดงลำ� ดบั ของ Program และขนาด Program X000 กรณที �ำ Program ดว้ ย Instruction ตามลำ� ดบั 0 List program ทาง PLC จะดำ� เนนิ การตาม Step no. โดยอัตโนมัติ X000 2 4 END จาก Program ด้านบน... Input X000 OFF ON OFF OFF Output Y000 OFF ON ON Output Y003 ON OFF Input X000 ON Output Y000 ON Input X000 OFF Output Y003 ON อา้ งอิง การ Programming โดย Instruction list LD Load List Program LDI คำ� สง่ั สำ� หรับ Bus connection OUT ส�ำหรบั หนา้ สมั ผัสปกตเิ ปดิ a Step Instruction END (N.O. Contact) 0 LD X000 Load inverse 1 OUT Y000 คำ� สง่ั สำ� หรบั Bus connection 2 LDI X000 สำ� หรบั หน้าสมั ผสั ปกติปิด b 3 OUT Y003 (N.C. Contact) 4 END Out ค�ำส่ังเคลอ่ื นท่ี Coil หนา้ สัมผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contact) ท่ใี ช้ในชว่ งแรกของ Bus line ใช้ Instruction LD (Load) สว่ นหนา้ สัมผัสปกติ End ปิด b (N.C. Contact) ใช้ LDI (Load inverse) Contact คำ� สง่ั ใชส้ ำ� หรบั เมื่อสิน้ สุดโปรแกรม instuction เช่น LD หรอื LDI สามารถใช้ Device input relay X, Output relay Y, Timer T, Counter C, Auxiliary relay M ได้ Coil drive instruction เช่น OUT จะใช้ Device อื่นๆ ได้ ยกเว้น Input relay X 4-4
4.1.4 Series connection Circuit program จาก Program ด้านบน... Input X000 ON 4 Input X001 ON Input X002 ON OFF ON Input X003 ON Output Y000 ON Output Y003 ON เมื่อ Input X000 ON, X001 ON, X002 OFF จะท�ำให้ Output Y000 ON เม่ือ Input X000 ON, X001 ON, X002 OFF, X003 ON จะทำ� ให้ Output Y003 ON อ้างอิง Programming โดย Instruction list AND And List program คำ� ส่ังเชื่อมตอ่ หนา้ สัมผัสปกติเปิด a (N.O. Contact) (ปกติเปดิ เสมอ) Step Instruction 0 LD X000 ANI And inverse 1 AND X001 ค�ำสง่ั เชอื่ มต่อหนา้ สัมผสั ปกติปดิ b 2 ANI X002 (N.C. Contact) (ปกตปิ ิดเสมอ) 3 OUT Y000 4 AND X003 คำ� สงั่ AND ใชส้ ำ� หรับหนา้ สมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contact) และ 5 OUT Y003 ANI จะใชส้ ำ� หรบั หนา้ สมั ผัสปกติปิด b (N.C. Contact) ซ่งึ จะให้ 6 END ตามหลงั คำ� สง่ั LD และ ค�ำสงั่ LDI Y000, Y003 จะต้องกำ� ลังท�ำงานอยู่ และ Series contact จะต้องเชอื่ มตอ่ กันทง้ั หมด 4-5
4.1.5 Parallel connection Circuit program จาก Program ดา้ นบน... Input X000 ON Input X001 ON Input X002 ON OFF ON Output Y000 ON ถ้า Input X000 ON, X001 ON, X002 OFF อยา่ งใดอย่างหน่งึ เป็น ตามเงอ่ื นไขทีก่ ลา่ วมา จะทำ� ให้ Output Y000 ON อา้ งองิ Programming โดย Instruction list OR Or List program ORI ค�ำสง่ั Parallel connection instruction ส�ำหรบั หน้าสัมผสั ปกติปิด a Step Instruction (N.O. Contact) 0 LD X000 Or inverse 1 OR X001 ค�ำสั่ง Parallel connection instruction 2 ORI X002 ส�ำหรบั หน้าสมั ผสั ปกติปิด b 3 OUT Y000 (N.C. Contact) 4 END OR (OR) instruction จะใชส้ ำ� หรับ N.O. Contact สว่ น ORI (OR inverse) instruction จะใชส้ �ำหรบั N.C. Contact ในการ connect กบั parallel ตาม LD, LDI instruction ส่วน Output Y000 ด้านบน เมือ่ มีการ connect เพียง 1 contact กจ็ ะท�ำงานเมือ่ มกี าร conduction 4-6
4.1.6 Series และ Parallel connection Circuit program ตัวอยา่ ง Program ② ตัวอยา่ ง Program ① จาก Program ด้านบน... จาก Program ดา้ นบน... Input X000 ON X000 และ X001 ON พร้อมกัน หรือ X002 และ X003 ON 4 พรอ้ มกนั Output Y000 จะทำ� งาน Input X001 ON Inout X002 ON Input X003 ON Output Y000 ON ON Input X000 หรอื Input X001 และ X002 หรือ X003 อนั ใดอนั หนึ่ง ON Y000 จะเร่ิมทำ� งาน อา้ งองิ Programming โดย Instruction list ตวั อย่าง Program ① ตวั อยา่ ง Program ② List program List program Step Instruction Step Instruction 0 LD X000 0 LD X000 1 OR X001 1 AND X001 2 LD X002 2 LD X002 3 OR X003 3 AND X003 4 ANB 4 ORB 5 OUT Y000 5 OUT Y000 6 END 6 END รายละเอยี ด ANB, ORB กรณุ าดใู นภาคผนวก 4-7
4.1.7 SET instruction, RST instruction SET SET SET/RST instruction จะใช้กับ เชน่ Output relay Y, คำ� สงั่ Output Auxiliary relay M คงสภาพการท�ำงาน ในส่วนอื่นๆ เชน่ Counter หรอื Timer กใ็ ช้ RST instruction RST Reset คำ� สงั่ Cancel การคงสภาพการทำ� งาน Circuit program เป็นคำ� ส่ังเพอื่ ขับเคลอื่ น Coil เหมอื นกับ OUT instruction ส�ำหรับ OUT instruction เมื่อ Contact drive coil เปล่ียนจาก ON เปน็ OFF, OUT instruction ทีส่ ง่ั Coil กจ็ ะเปล่ยี นเป็น OFF ดว้ ย เมอื่ ใช้ Instruction SET ถงึ Contact จะเปล่ยี นจาก ON เป็น OFF coil ก็ยังจะ Stand by ON อยอู่ ยา่ งนนั้ ใช้ค�ำสง่ั RST (Reset) เพ่ือท�ำการเปลี่ยนการทำ� งานของ Coil ทีส่ ่งั ดว้ ย SET instruction จาก ON เปน็ OFF จาก Program ด้านบน... ●● วิธกี าร Input Space Input X001 ON Input X003 ON Space Output Y000 ON เมื่อ Input X001 ON Output Y000 จะ ON ดว้ ย หลงั จากนั้น ถึง Input X001 ON จะ OFF Y000 ก็จะ Stand by ON อย่อู ยา่ งนน้ั เม่ือ Input X003 ON Output Y000 จึงจะ OFF อ้างองิ Programming โดย InstructionSplaicset List program Step Command 0 LD X001 1 SET Y000 2 LD X003 3 RST Y000 Space 4 END 4-8
ส4า.1ม.า8รถLทa�ำtcกhารcHiroclduหitร(ือวRงeจleรaคsงeสouภtาpuพtตไดวั โ้ เดอยงก)าร Programming self-hold sequencer Circuit program จาก Program ดา้ นบน... ● เม่อื X001 ON, X003 OFF Y003 จะ ON ● ถึง X001 จะ OFF แต่ Y003 จะยงั ทำ� งานต่อไป (Self-hold) เมื่อ X003 ON จงึ จะเปลี่ยนเป็น OFF 4 อา้ งองิ Circuit ทงั้ คทู่ ำ� การแบบเดยี วกนั [ Output latch circuit ] [ Output SET/RST circuit ] เมอ่ื ใช้ SET instruction ถึงแม้ว่า Contact coil drive จะ OFF แต่ Output จะถูก Hold ON ไว้ ดงั น้ัน Output เดียวกนั จะสามารถ Programming ก่ีคร้ังก็ได้ โดยไมใ่ ช้ Double coil และยงั สามารถใชง้ านได้อย่างดใี นการควบคมุ Output จากจุดตา่ งๆ ของ Program อ้างอิง Programming โดย Instruction list [ Output latch circuit ] [ Output SET/RST circuit ] Step Instruction Step Instruction 0 LD X001 0 LD X001 1 OR Y003 1 SET Y003 2 ANI X003 2 LD X003 3 OUT Y003 3 RST Y003 4 END 4 END 4-9
4.2 Timer circuit Timers อา้ งอิง Timers นนั้ มหี ลากหลายประเภท ในท่ีนจี้ ะขออธิบายถงึ วิธกี าร Timer program ใชง้ านของ Digital timer ของ Micro PLC ●● Timer contact หลงั จาก Coil ทำ� งาน จะเริม่ ทำ� งาน หลงั จาก Circuit program Y000 Deley time ทSีก่ pำ�aหceนดไว้ (On delay timer) เราจะเรยี กเวลาทีก่ �ำหนดไว้ว่า Set value จะแสดงสัญลักษณ์ X000 K100 เป็น K คา่ K ทีจ่ ะ Set นน้ั สามารถ Set ไดต้ ้งั แต่ 1 - 32,767 0 T0 ยกตัวอย่าง KS1p0a0ceTimer จะเท่ากบั 10 sec *¹ (10 Sec) ●● เม่ือ X000 OFF ในขณะท่ี Timer ทำ� งาน คา่ ปจั จบุ ันของ Timer T0 จะกลับไปที่ 0 Timer contact กจ็ ะ OFF 5 Y003 ●● วธิ กี าร Input 7 END Space จาก Program ด้านบน... *¹ :100 ms (0.1 sec) หน่วยของ Timer Input X000 ON Output Y000, T0 Coil ON Output T0 a contact 10 Sec ON ON Output Y003 Coil อา้ งองิ Programming โดย InstructionSplaicset List program Step Instruction 5 LD T0 Step Instruction 6 OUT Y003 0 LD X000 7 END 1 OUT Y000 2 OUT T0 K100 4-10
4.3 Counter circuit Counters อา้ งองิ Counter น้นั มหี ลากหลายประเภท ในทนี่ ี้จะขออธบิ ายถึงวิธีการ ใชง้ าน Program ของ Counters ทั่วไปของ Micro PLC Circuit program X001 RST C0 Space Counter program 0 K10 ●● สจ�ำำ� หนรวบันจCะoถuูกnSนtepบั rascเeมอ่ื Contact (X003) เปลย่ี นจาก OFF → ON 4 Reset Input C0 Contact (X003) เราจะเรยี กวา่ Count input ส่วนตวั เลขทถี่ กู นับ X003 โดย Counters เราจะเรยี กวา่ “Present value” Y003 ส่วน Counter contact เม่ือคา่ ปัจจบุ ันว่ิงไปถึง คา่ ที่กำ� หนดไว้ 3 กจ็ ะเรมิ่ ท�ำงาน Count Input END คา่ ทก่ี ำ� หนดนนั้ สามารถก�ำหนดได้ ต้งั แต่ 1 - 32,767 C0 ●● หลังจาก Count up แล้ว คา่ ปัจจุบันของ Counter จะไม่มกี าร 7 เปลยี่ นแปลง Output contact ก็จะทำ� งานเหมอื นเดิม 9 Space จาก Program ด้านบน... ●● เม่อื Reset input X001 ON แล้ว คา่ ปจั จบุ นั ของ Counter จะเปน็ 0 Counter contact ก็จะ OFF Input X001 (Reset) ●● วิธกี าร Input Input X003(Total) คา่ ปัจจุบันของ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Counter CO Output Y003 ON Space อา้ งอิง Programming โดย Instruction List program Step Instruction Step Instruction 0 LD X001 7 LD C0 1 RST C0 8 OUT Y003 3 LD X003 9 END 4 OUT C0 K10 4-11
4.4 ลำ� ดบั Program (Order of program) ลำ� ดบั Program คอื Circuit diagram จะเรียงลำ� ดบั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงล่าง Step ① ② 0 2 X000 Y000 7 ③ ⑤ ⑥ X001 X003 Y001 ④ ⑦ X002 Y002 ⑧⑨ ⑬ X004 X005 Y003 ⑩⑪ ⑫ ⑭ X006 X007 Y004 15 ⑮ Y005 ⑯ END Program ด้านบนน้ี จะเรียงลำ� ดบั Program ① - ⑯ อา้ งอิง Programming โดย Instruction list ลำ� ดับ Step Instruction ①0 LD X000 ②1 OUT Y000 ③2 LD X001 ④3 OR X002 ⑤4 AND X003 ⑥5 OUT Y001 ⑦6 OUT Y002 ⑧7 LD X004 ⑨8 AND X005 ⑩9 LD X006 ⑪ 10 AND X007 ⑫ 11 ORB ⑬ 12 OUT Y003 ⑭ 13 OUT Y004 ⑮ 14 OUT Y005 ⑯ 15 END 4-12
กอ่ นอืน่ เรามาเริ่มฝึกจากโปรแกรมง่ายๆ กัน บทที่ 5 การฝกึ การเขียนโปรแกรม เอาละเราหยุดเรือ่ งของทฤษฎไี ว้แคน่ ี้ก่อนดีกว่า... ในบทนจ้ี ะเน้นการสอนเรื่องการใชง้ านทวั่ ไป เชน่ Programming และการ Monitoring โดยยดึ ตามตวั อย่าง ง่ายๆ ดังต่อไปน้ี 5 5-1
5.1 ตวั อย่างการน�ำไปใชง้ าน 1 (การควบคมุ บันไดเล่ือน) บันไดเล่อื นทำงาน สวิทซต รวจจับการผาน ของส่งิ ของ:1 X003 Y003 ทรี่ องน้ีคอื สวทิ ซสนิ ะ หลอดไฟ Y000 สวิทซตรวจจบั การผา น ของสิง่ ของ:0 X001 ลองคดิ วธิ ีการท�ำ Program PLC โดยใช้ระบบบนั ไดเลื่อนนเ้ี ปน็ ตวั อยา่ งกัน 《I/O assignment (การกำ�หนด I/O)》 Output Input Y000 หลอดไฟแสงสอ่ งสวา่ ง X001 สวทิ ซต์ รวจจบั การผ่านของสงิ่ ของ : 0 Y003 Output ให้บันไดเล่อื นท�ำงาน X003 สวิทซต์ รวจจบั การผ่านของสิง่ ของ : 1 《ระบบการควบคมุ 》 ① บนั ไดเลื่อนจะไม่ทำ� งานจนกว่าจะมีคนเข้ามาใกล้ ② เมื่อมคี นเขา้ มาใกล้ สวทิ ซต์ รวจจบั การผา่ นของสง่ิ ของ : 0 จะ ON จากนั้นไฟจะตดิ (เฉพาะบนั ไดเลอ่ื นขนึ้ เทา่ น้ัน) ③ เม่อื คนขน้ึ บนั ไดเล่อื นจนสุดทางเล่ือน สวิทซ์ตรวจจับการผา่ นของส่งิ ของ : 1 จะ ON ท้งั ไฟและบันไดเล่ือนจะหยดุ ทำ� งาน จากดา้ นบน ขอใหค้ ิดวา่ สวทิ ซต์ รวจจับการผา่ นของสิง่ ของทั้ง 0 และ 1 คอื สวทิ ซแ์ บบ Non-hold type (แบบไม่คงสภาพตัวเอง) สว่ นคนท่ีใชบ้ นั ไดเล่อื น กไ็ ม่ได้ข้ึนบันไดเล่อื นแบบต่อเน่อื ง 5-2
สามารถสรา้ งโปรแกรม (Program) ไดด้ งั นี้ 《Circuit program : ตัวอยา่ งที่ 1》 ตรวจจบั การผา นของส่ิงของ : 0 ตรวจจบั การผานของส่ิงของ : 1 X001 X003 0 Y000 หลอดไฟ ON คงสภาพตัวเอง Y003 บนั ไดเลื่อนทำงาน Y000 5 END 《Circuit program : ตวั อย่างท่ี 2》 SET Y000 หลอดไฟ ON 5 SET Y003 บันไดเลื่อนทำงาน ตรวจจบั การผานของสง่ิ ของ : 0 RST Y000 หลอดไฟ OFF RST Y003 บนั ไดเลื่อนหยุดทำงาน X001 0 END ตรวจจับการผานของส่ิงของ : 1 X003 3 6 《ตอ่ ไปมาลองตรวจสอบขนั้ ตอนการท�ำงานของ Program》 เราลองนำ� Program ดา้ นบน มาเขยี นลงใน PLC แล้วลองตรวจสอบขั้นตอนการทำ� งานของ Program เมื่อท�ำการ ON Input X001, Output Y000, Y003 จะท�ำงาน หลังจากน้ัน Input X003 ON, Output Y000, Y003 List program กรุณาดใู นภาคผนวก 2 5-3
5.2 ตัวอย่างการน�ำไปใชง้ าน 2 (เคร่อื งชงชา) เปล่ยี นใบชา เตมิ นำ้ Y000 Output Y003 ตรวจเช็คการ เปลย่ี นใบชา ระดับนำ้ สงู สุดในถัง X002 確認 X004 ป่มุ เตมิ ชา X001 注ぐ ระดับน้ำต่ำสุดในถัง X003 เติมชา Output Y004 ตรวจสอบแกว ชา X000 เรามาคิด Program PLC โดยใช้เคร่ืองชงชาเป็นตวั อย่างกนั Output Y000 ไฟแสดงสถานะการเปลย่ี นใบชา 《 I/O assignment (การกำ�หนด I/O) 》 Y003 Output การเตมิ น้ำ� Y004 Output การเติมชา Input X000 ตรวจสอบแกว้ ชา X001 ปุม่ กดเตมิ ชา X002 ป่มุ ตรวจสอบใบชา X003 ระดบั นำ�้ ต่ำ� สุดในถงั X004 ระดบั นำ�้ สงู สุดในถงั 《ระบบการควบคุม》 ① เมอ่ื X000 การตรวจสอบแกว้ ชา ON อยู่ แลว้ เรากดปมุ่ เตมิ ชา X001 (X001 ON), Output การเตมิ ชา Y004 จะทำ� งาน นำ�้ ร้อนจะไหลลงในแกว้ นำ้� ร้อนจะไหลเม่ือเรากดปุม่ เท่านัน้ เม่ือเราเอามือออก น้�ำร้อนจะหยุดไหล และถา้ X000 เปน็ OFF (หรือตรวจสอบไม่พบแกว้ ชา) ถึงเราจะกดปุ่มเตมิ ชา X001 นำ้� ร้อนกจ็ ะไม่ไหล ② เมือ่ นำ�้ ในถังลดลง ตวั แจ้งระดบั นำ้� LS X003 จะ ON, Output ตัวเตมิ น้�ำ Y003 จะท�ำงาน เมื่อ Output ตัวเติมนำ้� Y003 ท�ำการเตมิ น�้ำจนตัวแจ้งระดบั นำ�้ LS X004 ON, Output ตวั เติมนำ�้ Y003 จะหยุดทำ� งาน ③ เม่ือตวั เติมนำ้� ท�ำงาน 5 ครง้ั ไฟแจ้งการเปลย่ี นใบชาจะทำ� งาน ④ เมื่อกดปมุ่ ตรวจสอบ ไฟแจง้ การเปล่ียนใบชาจะดับ 5-4
สามารถสรา้ งโปรแกรม (Program) ไดด้ งั น้ี 《Circuit program》 X000 X001 Y004 Output เติมชา 0 Y003 Output เตมิ นำ้ ป่มุ เติมชา ตรวจสอบแกวชา K5 X004 X003 C0 จำนวนครงั้ ในการเตมิ นำ้ 3 แจงระดบั นำ้ max LS Y000 ไฟแจง เปลี่ยนใบชา RST C0 Counter reset แจงระดบั น้ำ min LS END Y003 Self hold Y003 7 Output เตมิ นำ้ C0 11 13 X002 ปุ่มตรวจสอบ 16 5 《ต่อไปมาลองตรวจสอบขน้ั ตอนการท�ำงานของ Program》 เราลองนำ� Program ด้านบน มา Input ลงใน PLC แล้วลองตรวจสอบขั้นตอนการท�ำงานของ Program ① เมอ่ื Input X000 หรอื X001 ON, Output Y004 จะทำ�งาน ② เม่อื Input X003 ON, Output Y003 จะทำ�งาน เมอ่ื Input X004 ทำ�งาน Output Y003 จะหยุดทำ�งาน ③ ทุกคร้งั ที่ Output Y003 ทำ�งาน Counter C0 จะเพมิ่ ข้ึน 1 ครง้ั เม่อื Counter ครบ 5 ครงั้ Y000 จะทำ�งาน ④ เมื่อ Input X002 ON, Counter C0 จะเป็น 0 แล้ว Output Y000 จะหยุดทำ� งาน List program กรุณาดใู นภาคผนวก 2 5-5
5.3 ตัวอย่างการนำ� ไปใชง้ าน 3 (การควบคมุ พดั ลม) ไฟแสดงความพรอมทำงาน ระดับเบา ระดบั แรง พัดลม Y000 X005 X006 เตรียมความพรอม ยกเลกิ การเตรยี มความพรอม X001 X003 ปมุ่ เปิด/ปิดพัดลม ระดOYบั u0ลt0pม1uเtบา ระดOYบั u0ลt0pม3uแt รง X000 MC สYำห00ร2ับพดั ลม เรามาลองคิด Program PLC โดยใชร้ ะบบควบคุมพดั ลมเปน็ ตัวอยา่ ง 《I/O assignment (การกำ�หนด I/O)》 Output Y000 ไฟแสดงความพรอ้ ม Input Y001 Output ลมระดบั เบา X000 ปมุ่ เปดิ /ปดิ พัดลม Y002 MC สำ� หรับพดั ลม X001 สวทิ ซเ์ ตรียมความพร้อม Y003 Output ลมระดบั แรง X003 สวิทซ์ยกเลกิ การเตรยี มความพร้อม X005 เลือกระดบั เบา X006 เลือกระดบั แรง 《ระบบการควบคมุ 》 ① เมอ่ื สวิทซเ์ ตรียมความพร้อม (X001) ON ไฟแสดงความพร้อม (Y000) จะติด ON, Self-hold จะท�ำงาน และเมือ่ สวิทซย์ กเลิก การเตรียมความพรอ้ ม (X003) ON ไฟแสดงความพร้อม (Y000) จะดับ OFF, Self-hold เลกิ ทำ� งาน ② ไฟแสดงความพรอ้ มติด (Y000) ON พัดลมจะเริม่ /หยุด การท�ำงานตาม MC ส�ำหรบั พัดลม ซ่ึงสัง่ การเปดิ /ปิดการท�ำงานตามสวทิ ซ์ เปดิ /ปดิ พดั ลม (X000) ส่วนแรงลมจะเลือกจากสวทิ ซ์ (X005/X006) ・กรณีท่ี X005 ON : Output แรงลมระดับเบาจะ ON (Y001) ・กรณที ่ี X006 ON : Output แรงลมระดับแรงจะ ON (Y003) 5-6
《Circuit program》 กรณุ าใส่ Device ทห่ี ายไปลงในชอ่ งวา่ ง และทำ� ให้โปรแกรมสมบรู ณ์ ① ③ Y000 0 ④ ② Y002 Y001 Y000 Y003 4 END Y002 ⑤ Y003 ⑥ Y001 Inter lock 16 • เฉลย ดูทา้ ยบท 5 • List program กรณุ าดใู นภาคผนวก 5-7
5.4 ตัวอยา่ งการนำ� ไปใชง้ าน 4 (การควบคุมของเครอ่ื ง Press) สวิทซส าXย0พ0า1นลำเลยี ง ออดแจง Yเค0ร0อื่1งทำงาน RUN Press output Y002 สายพานลYำ0เ0ล3ยี งช้ินงาน นเซบั X็นจ0ำเ0ซน4อวรน ทิศทางลำเลยี ง เรามาลองคิด Program PLC โดยใชร้ ะบบควบคมุ เครอ่ื ง Press เปน็ ตัวอย่าง 《I/O assignments (การกำ�หนด I/O)》 Output Y001 ออดแจง้ เครอ่ื งเรม่ิ ทำ� งาน Input Y002 Press output X001 สวทิ ซส์ ายพานลำ� เลยี ง Y003 สายพานลำ� เลยี งชน้ิ งาน X004 เซ็นเซอร์นับจำ� นวน 《ระบบการควบคมุ 》 ① สายพานลำ� เลยี งชนิ้ งานจะ ON (Y003) เมอื่ สวทิ ซส์ ายพานลำ� เลยี ง (X001) ON อยู่ และจะทำ� การสง่ งานไปยงั ตำ� แหนง่ Press เมอื่ เซน็ เซอร์ (X004) ทำ� การตรวจจบั งานงานทผี่ ลติ เสรจ็ แลว้ ครบ 4 ตวั สายพานสำ� หรบั สง่ งาน (Y003) จะ OFF และหยดุ ทำ� งาน ② หลงั จากสายพานหยดุ ทำ� งาน ออดแจง้ เครอื่ งเรมิ่ ทำ� งาน (Y001) จะดงั ประมาณ 1 วนิ าที และหลงั จากนนั้ จะเรม่ิ ทำ� การ Press (Y002) ③ เมอื่ Press (Y002) ดำ� เนนิ การเสร็จภายใน 2 วนิ าที ออด (Y001) กจ็ ะ OFF ในเวลาเดยี วกนั ④ หลงั จากดำ� เนนิ การ Press เสร็จแลว้ จำ� นวนตวั งานที่ Press จะถกู Reset และจะดำ� เนนิ การขน้ั ตอน 1-5 ใหมอ่ กี ครง้ั 5-8
《Circuit program》 กรุณาใส่ Device ทหี่ ายไปลงในชอ่ งวา่ ง และทำ� ให้โปรแกรมสมบรู ณ์ X001 C0 0 ① Y003 ② X004 4 Y001 K10 C0 8 T0 ③ Y002 K20 5 T1 ④ 18 RST C0 21 END • เฉลย ดูทา้ ยบท • List program กรุณาดใู นภาคผนวก 5-9
5.5 ตวั อยา่ งการน�ำไปใชง้ าน 5 (Timing chart) มาลองคิด Program PLC โดยยึด Timing chart เปน็ ตัวอยา่ งดู สวทิ ซเริม่ ทำงาน X001 หลอดไฟ Y000 ออด MC ภายใน 2 วนิ าที Motor Solenoid valve Y001 ภายใน 2 วินาที Y002 ภายใน 2 วนิ าที Y003 ภายใน 2 วินาที Y004 ภายใน 2 วินาที 《I/O assignment (การกำ�หนด I/O)》 Output Input Y000 หลอดไฟ X001 สวทิ ซเ์ ร่มิ ทำ� งาน Y001 ออดหรอื กร่งิ เตอื น Y002 MC Y003 Motor Y004 Solenoid valve 《ระบบการควบคุม》 เมื่อสวิทซเ์ ริม่ งาน (X001) ON หลอดไฟ (Y000) ON ในเวลาเดยี วกัน Timer (T0) จะเริ่มจบั เวลา ออด (Y001) จะดัง เมื่อครบเงื่อนไขทตี่ ้ังไวค้ อื เวลา Timer เกินจาก 2 วนิ าที และ Timer (T1) จะเรมิ่ จบั เวลาพรอ้ มกัน หลังจากนั้น MC (Y002), Motor (Y003), Solenoid valve (Y004) จะ ON ตามล�ำดบั ลดหลน่ั กนั 2 วนิ าที เมอื่ Solenoid valve ล�ำดบั สุดท้าย ON ครบ 2 วินาที Output ทงั้ หมดจะ OFF 5-10
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164