แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 121 ๖) ร้อยละของเด็กในวัยเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ได้รับการศึกษา เตม็ ตามศกั ยภาพเพ่มิ ข้นึ (จำแนกตามกลุม่ ประเภทของความจำเป็นพิเศษ) ๗) อัตราการเข้าเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และ อุดมศึกษาสูงขึน้ ๘) ร้อยละของผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทาง การศกึ ษาทเี่ หมาะสม ๙) อตั ราการออกกลางคันของผู้เรียนระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานลดลง ๑๐) ผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานทุกคนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายใน การศกึ ษา ๑๕ ปี ๑๑) จำนวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษา/องค์กรท่ีจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม ตามรูปแบบ/หลักสูตร สำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผ้มู ีความสามารถพิเศษ) เพม่ิ ข้ึน ๑๒) จำนวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษา/องค์กรที่จัดการศึกษาตามรูปแบบ/ หลกั สตู รสำหรบั ผู้ที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษเพ่ิมขึน้ ๑๓) มีหลักสูตรการศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มการศึกษาเฉพาะด้าน เฉพาะทาง กลุ่มที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษในทุกระดับการศึกษา ท้ังการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ที่มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ๑๔) ดัชนีความเสมอภาคของอัตราการเข้าเรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตาม ฐานะทางเศรษฐกิจและพ้ืนทล่ี ดลง ๑๕) ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหว่างพ้ืนที่/ภาคการศึกษา ในวิชาคณิตศาสตร์และ ภาษาองั กฤษลดลง ๑๖) จำนวนสถานศึกษาที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่าง เร่งดว่ น (ICU) ลดลง ๒.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสำหรับ คนทกุ ช่วงวยั ตัวชว้ี ดั ๑) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบ ความตอ้ งการของผเู้ รียนและผูใ้ ชบ้ รกิ ารอย่างทั่วถงึ และมปี ระสิทธิภาพ ๒) มีสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือ การศกึ ษา
122 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๓) มกี ารจดั ตง้ั สถานีโทรทัศน์และการผลิตรายการเพอื่ การศึกษา ๔) ร้อยละของสถานศึกษาได้รับบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลุม ทุกพน้ื ที่ ขั้นตำ่ ๓๐ Mbps ใน ๕ ปีแรก และ ๑๐๐ Mbps ภายใน ๒๐ ปี เพมิ่ ข้นึ ๕) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ด้วยระบบ DLIT, DLTV, ETV และผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) เพิ่มข้นึ ๖) ร้อยละของผูใ้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเพ่อื การคน้ ควา้ หาความรู้เพิม่ ขึน้ ๗) มีส่อื ดิจทิ ัลเพอ่ื พัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน และการสง่ เสรมิ การมีอาชีพเพิม่ ข้นึ ๘) สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและมีคุณภาพ ๒.๓ ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เปน็ ปัจจบุ นั เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการศกึ ษา การติดตาม ประเมิน และรายงานผล ตัวชีว้ ดั ๑) มีระบบฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างอิงจากเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน ๑๓ หลักท่ีสามารถเชื่อมโยง และแลกเปล่ียนฐานข้อมูล รวมท้ังใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอ่ืน ด้านสาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และ การศึกษา ๒) มีระบบสารสนเทศด้านการศึกษาและด้านอื่นท่ีเก่ียวข้อง ที่เป็นระบบ เดียวกันทั้งประเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ เพื่อใช้ประโยชน์ใน การวางแผน การบรหิ ารจดั การศึกษา การตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล ๓) มีระบบคลังข้อมูลเก่ียวกับส่ือและนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถให้บรกิ ารและใช้ประโยชนร์ ่วมกันระหวา่ งหน่วยงานได้ ๔) ระดับความพึงพอใจของบุคคลและหน่วยงานในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากข้อมลู และสารสนเทศทางการศึกษาสูงข้ึน ๕) มกี ฎหมาย กฎ และระเบยี บทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ ทางการศกึ ษาทีไ่ ด้รบั การปรบั ปรุงและมผี ลบังคับใช ้ ๓) แนวทางการพฒั นา ๓.๑ เพม่ิ โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพ ๑) ประกันโอกาสการเข้ารับบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้แกผ่ เู้ รียนในทุกพนื้ ที่ ครอบคลมุ ผู้ท่มี คี วามตอ้ งการจำเป็นพิเศษ อาทิ การจัดหาทนุ และแหลง่ ทุน ทางการศกึ ษา การออกกฎหมายเฉพาะรองรบั สทิ ธแิ ละโอกาสทางการศึกษา เปน็ ตน้
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 123 ๒) ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท่ีสอดคล้อง กับความสนใจ และวิถีชีวติ ของผเู้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ๓) เร่งพัฒนาสถานศึกษาให้มีมาตรฐานการจัดการศึกษาท่ีทัดเทียมหรือ ใกล้เคียงกนั ๔) เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถใหบ้ ริการได้อย่างทว่ั ถงึ ๕) ส่งเสริมการจดั การศึกษาแบบเรยี นรวม (Inclusive Education) ใหม้ ากขน้ึ ๖) จัดสรรบคุ ลากรเพอื่ ชว่ ยเหลือเด็กที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษใหเ้ พยี งพอ ๗) พัฒนาส่ือการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับเด็กท่ีมีความต้องการจำเป็น พเิ ศษ ๘) สนับสนุนให้ท้องถิ่นและเอกชนมาร่วมมือพัฒนาและจัดการศึกษาเพื่อ ลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษา ๙) เสริมสร้างโอกาสให้เด็กและเยาวชนที่กระทำความผิด มีทักษะเพื่อ การประกอบอาชีพ และให้โอกาส/ยอมรบั ในการกลับไปดำรงชีวติ ในสงั คม ๓.๒ พฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพือ่ การศึกษาสำหรบั คนทกุ ชว่ งวยั ๑) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การจัดการเรียนการสอน และ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ที่มีความยดื หย่นุ หลากหลาย สามารถเขา้ ถึงได้ โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท ่ี ๒) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลในระบบ ต่าง ๆ อาทิ DLIT, DLTV, ETV ๓) ดำเนินการจัดต้ังสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และกองทุนพัฒนา เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา ๔) ส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งสถานีโทรทัศน์และการผลิตรายการเพื่อ การศกึ ษา รวมท้งั การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่ การศกึ ษา ๕) ขยายเครือข่ายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพียงพอ กับผเู้ รียน (ความเรว็ ข้นั ต่ำ ๓๐ Mbps ใน ๕ ปแี รก และ ๑๐๐ Mbps ภายใน ๒๐ ป)ี ๓.๓ พัฒนาฐานขอ้ มูลด้านการศกึ ษาทม่ี มี าตรฐาน เชื่อมโยง และเข้าถึงได ้ ๑) พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาและด้านอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องให้มีมาตรฐาน ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน มีความเป็นเอกภาพ เทียบเคียงกับมาตรฐานนานาชาติได้ และ สามารถใช้รว่ มกนั ระหว่างหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธกิ ารและหนว่ ยงานภายนอกทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๒) จัดให้มีการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลรายบุคคลทุกช่วงวัย ข้อมูล ดา้ นการศึกษาและด้านอ่ืนท่เี กีย่ วข้อง ตัง้ แต่แรกเกดิ การเขา้ รับการศกึ ษา การเขา้ สกู่ ารทำงาน และ
124 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การเข้าสู่วัยผู้สูงวัย ระหว่างหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การเรียนรูต้ ลอดชีวิต ๓) พฒั นาระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลมุ ถูกต้อง และเป็นปจั จบุ นั เพือ่ การวางแผน การบรหิ ารจดั การศกึ ษา การติดตาม ประเมนิ และรายงานผล สามารถอา้ งอิงและ ใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน ตามพระราชบัญญัตขิ ้อมูลข่าวสาร ๔) ปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ ขอ้ มลู สารสนเทศของหน่วยงานการศึกษา และหน่วยงานอ่นื ที่เกีย่ วขอ้ ง ๔) แผนงานและโครงการสำคญั ✥ แผนงาน/โครงการสำคัญเร่งด่วน (ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑) ๑) โครงการยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ต้องการ ความชว่ ยเหลอื และพัฒนาเป็นพเิ ศษอยา่ งเร่งดว่ น (ICU) ๒) โครงการเติมเต็มความรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLTV, DLIT) สอ่ื ทีวีสาธารณะ และชอ่ งทางต่าง ๆ ๓) โครงการคัดกรองและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็น พเิ ศษ ๔) โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษา การจัดการเรียน การสอน และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ๕) โครงการขยายเครือข่ายการบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุม ทกุ พน้ื ท่ี ๖) โครงการจัดทำฐานข้อมูลรายบุคคลทุกช่วงวัย ทั้งด้านสาธารณสุข สังคม ภูมสิ ารสนเทศ แรงงาน และการศกึ ษา ✥ แผนงาน/โครงการตามเป้าหมาย ตัวชว้ี ดั ๑) โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการส่ือสารทาง การศึกษา ท่ีสามารถเชอื่ มโยงขอ้ มูลระหวา่ งหน่วยงานทางการศึกษา ๒) โครงการพฒั นาคลังขอ้ มูล สือ่ และนวตั กรรมการเรยี นรู ้ ๓) โครงการจดั หาเทคโนโลยี สง่ิ อำนวยความสะดวก/สอ่ื อปุ กรณแ์ ละการบรกิ าร ทีส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการจำเปน็ เฉพาะบุคคล ๔) โครงการจัดฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เก่ียวข้องกับ การจัดการศกึ ษาสำหรับคนพิการในระดบั อดุ มศกึ ษา ๕) โครงการจดั บริการสอื่ และนวัตกรรมการเรยี นรู้ ผา่ นระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 125 ๖) โครงการศึกษาระบบและกลไกการส่งเสริมสนับสนุนการผลิตและพัฒนา สื่อ ตำรา สิ่งพิมพ์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ภายใต้กลไกการแข่งขัน อยา่ งเสรแี ละเป็นธรรม ๗) โครงการจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และกองทุนพัฒนา เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ๘) โครงการจัดต้ังสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา รวมท้ังการพัฒนาโครงสร้าง พน้ื ฐานดา้ นระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพื่อการศกึ ษา ๙) โครงการจดั ให้มีสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตอยา่ งทัว่ ถงึ และมีประสิทธภิ าพ ๑๐) โครงการจัดทำคู่มือการบันทึกและใช้ข้อมูลสารสนเทศ ผ่านระบบ เทคโนโลยดี ิจิทลั ๑๑) โครงการจัดทำมาตรฐานขอ้ มูลกลางระดบั สถานศึกษา หน่วยงานส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค เพ่ือการวางแผน การบรหิ ารจดั การศกึ ษา การติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ๑๒) โครงการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศทาง การศกึ ษา
126 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ การจดั การศกึ ษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิต ที่เป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม สภาวการณ์ของภูมิภาคและโลกที่ต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ ปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม ส่งผลให้ทุกประเทศต้องเร่งศึกษา เรียนรู้ และปรับตัวให้พร้อมเผชิญกับ สภาพวกิ ฤตด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึน ทัง้ จากการผนั แปรของธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์ พร้อมทั้งเร่งปลูกฝังเจตคติและความตระหนักในการพัฒนาหรือเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อมของประชาชน ปลูกจิตสำนึกและความรับผิดชอบในการกระทำ มีคุณธรรม จริยธรรม และน้อมนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดำเนินชีวิต โดยใน ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ได้ให้ความสำคัญในเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถรับมือกับภัยพิบัติและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งในระดับประเทศ และพื้นที่ และการนำประเทศไทยไปสู่สังคมคาร์บอนต่ำและการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม พร้อมกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏบิ ตั ิ ในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม จำเป็นอย่างยิ่งท่ีภาคการศึกษาต้องเข้ามามีบทบาทสำคัญ ในการให้ความรู้ ทักษะ สร้างทัศนคติและความตระหนักแก่ผู้เรียนและคนทุกช่วงวัยในเร่ือง ความสำคัญของการพัฒนาและเติบโตในสังคมท่ีรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม สามารถปรับตัวในโลก ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติอย่างรวดเร็วและรุนแรง มีคุณธรรม จริยธรรม และรับผิดชอบ ในการกระทำของตน และน้อมนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัต ิ ในการดำเนินชีวิต พร้อมทั้งเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยี ท่ีสามารถปรับตัวได้ในสภาพอากาศที่เปล่ียนแปลงและการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ๑) วตั ถปุ ระสงค ์ ๑.๑ เพื่อสร้างจิตสำนึก ปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม วัฒนธรรมของคนทุกช่วงวัย ในการดำเนินชีวติ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม ๑.๒ เพื่อสร้างและปรับเปล่ียนค่านิยมของคนไทยทุกช่วงวัยให้มีคุณธรรม จริยธรรม เห็นคุณค่าของการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสามารถดำรงชีวิต อย่างเปน็ สุขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 127 ๑.๓ เพื่อวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม ๑.๔ เพอื่ สรา้ งความตระหนกั และสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพใหป้ ระชาชนในการนำองคค์ วามรู้ ไปใช้เพ่ือจัดการในเรื่องภัยธรรมชาติ ความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และการจัดการทรัพยากร ธรรมชาต ิ ๒) เป้าหมายและตัวชีว้ ดั ๒.๑ คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และ นำแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิ ตัวชี้วดั ๑) ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กและสถานศึกษาระดับปฐมวัยท่ีจัดกิจกรรมที่สร้าง ความตระหนักในความสำคัญของการดำรงชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ิมข้ึน ๒) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึง ความตระหนักในความสำคัญของการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดำเนินชวี ิตเพิ่มขนึ้ ๒.๑ ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม/โครงงานที่เก่ียวข้องกับ การสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมเพ่มิ ข้ึน ๒.๒ ร้อยละของจำนวนโรงเรียนท่ีใช้กระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรมเพ่มิ ข้ึน ๒.๓ ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการน้อมนำ แนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติเพมิ่ ขึน้ ๓) ร้อยละของครู/บุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการอบรม/พัฒนาในเรื่อง การสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพม่ิ ขึ้น ๔) จำนวนสถานศึกษาในโครงการโรงเรยี นสีเขียวและห้องเรยี นสีเขียวเพมิ่ ขึ้น ๕) จำนวนสถานศกึ ษาในโครงการโรงเรียนคุณธรรมเพิ่มข้นึ ๖) จำนวนสถาบนั อดุ มศกึ ษาทตี่ ดิ อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั สีเขยี วโลกเพิม่ ขนึ้ ๒.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร กับสงิ่ แวดล้อม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่การปฏิบัต ิ ตัวชีว้ ดั ๑) จำนวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม ทเี่ ก่ียวข้องกบั การสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพมิ่ ข้นึ
128 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๒) จำนวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สกู่ ารปฏิบัตเิ พิ่มขน้ึ ๓) จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรม การเรยี นรู้ท่ีส่งเสรมิ ในเร่อื งการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อมเพิ่มขึน้ ๔) จำนวนส่ือการเรียนรู้ในสื่อสารมวลชนที่เผยแพร่หรือให้ความรู้เก่ียวกับ การสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ มเพิม่ ขึน้ ๒.๓ การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ทเ่ี ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ตัวช้วี ดั ๑) จำนวนงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร กบั สิง่ แวดลอ้ มเพ่มิ ข้ึน ๒) จำนวนสถานศึกษาที่มีความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการวิจัยและพัฒนา ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ มเพมิ่ ขน้ึ ๓) จำนวนฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ในสาขาต่าง ๆ เพิ่มขึน้ ๓) แนวทางการพฒั นา ๓.๑ ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ใิ นการดำเนินชวี ิต ๑) สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมสรา้ งสำนกึ รักษ์ส่งิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาทุกระดบั ๒) สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมปลกู ฝงั ความมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ใิ นการดำเนนิ ชีวติ ๓) พัฒนา/อบรมครูผู้สอนทั้งการศึกษาในระบบและนอกระบบในเรื่อง การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติในการดำเนินชีวติ ๔) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาผลิตบุคลากรในสาขาเฉพาะท่ีต้องใช้ความรู้ ความเช่ยี วชาญระดบั สูงในศาสตร์/สาขาต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการสร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตร กับสง่ิ แวดล้อม ๕) ส่งเสริมการจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมและการจัดการในสถานศึกษา/ สถาบนั การศกึ ษาทีส่ รา้ งจิตสำนกึ รักษ์สง่ิ แวดล้อมแกผ่ ูเ้ รียนและทกุ ฝา่ ยท่ีเก่ียวขอ้ ง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 129 ๓.๒ ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และ สอ่ื การเรยี นรู้ต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ๑) จัดทำ/พัฒนาหลักสูตรในระดับการศึกษาต่าง ๆ ท้ังการศึกษาในระบบและ นอกระบบ ที่สร้างจิตสำนึก ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ส่งเสริมการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม โดยคำนึงถงึ บริบททีแ่ ตกตา่ งกันของแตล่ ะทอ้ งถิ่นให้กบั คนทุกช่วงวัย ๒) จดั ทำ/พฒั นาหลกั สตู รและสง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรม การจดั กระบวนการเรยี นร ู้ ที่มุ่งพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในการดำเนนิ ชีวติ ๓) ส่งเสริมการผลิตส่ือ ส่ือการเรียนการสอน ตำรา สิ่งพิมพ์ ส่ือวีดิทัศน์ สื่อดิจิทัลสำหรับคนทุกช่วงวัยท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัต ิ ในการดำเนินชีวติ ๔) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีมาตรฐาน ในเรอื่ งการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัตใิ นการดำเนินชีวิต ๓.๓ พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ท่ีเปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม ๑) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ๒) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับต่างประเทศในเร่ืองการวิจัยและพัฒนา ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ๓) พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม เชน่ ฐานขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นการสอน ๔) แผนงานและโครงการสำคญั ✥ แผนงานและโครงการสำคญั เร่งด่วน (ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑) ๑) โครงการน้อมนำศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั ๒) โครงการโรงเรียนคุณธรรม ๓) โครงการโรงเรยี นสเี ขยี ว ๔) โครงการหอ้ งเรียนอนุรกั ษพ์ ลังงาน ๕) โครงการรกั ษ์โลก รกั ษ์พลงั งาน
130 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ✥ แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตัวชว้ี ัด ๑) แผนงาน/โครงการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและการให้ความรู้ ทกั ษะ และทัศนคติให้กบั คนทุกชว่ งวัยในเร่อื งการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ๒) แผนงาน/โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏิบัต ิ ๓) โครงการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบจากภยั ธรรมชาติ และภัยพิบัติจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๔) โครงการส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม ๕) โครงการหอ้ งเรยี นอนุรักษพ์ ลังงาน ๖) โครงการรักษโ์ ลก รกั ษพ์ ลงั งาน ๗) โครงการจัดต้งั แหลง่ เรยี นรูใ้ นเรอ่ื งภยั พิบตั ิ และพลังงานทางเลอื ก ๘) โครงการวจิ ัยและพฒั นาเพอื่ เพิ่มศกั ยภาพในเรือ่ งความม่ันคงทางอาหาร
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 131 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา โลกศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่สามารถรับและส่งต่ออย่างรวดเร็ว ส่งผล ให้ประชาชน ชุมชน และสังคมรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ประชาชนมีความรู้ความสามารถมากข้ึน และพร้อมที่จะเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษามากข้ึน ในขณะท่ีโครงสร้างและระบบการศึกษายังบริหารและจัดการภายใต้ กฎ ระเบียบ กติกา และแบบแผนการปฏิบัติรูปแบบเดิม ส่งผลให้เกิดปัญหาและความไม่คล่องตัว ในการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา อีกท้ังการบริหารงานบุคคล ในสถานศึกษายังเป็นปัญหา ท้ังเรื่องการขาดแคลนครูในบางสาขา ครูไม่ครบชั้น อัตราส่วนครูต่อ นักเรียนและนักเรียนต่อห้องไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพ การเรยี นการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี นอยา่ งยิ่ง การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของหนว่ ยงานสว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และสถานศกึ ษา ควบคู่กับการปรับปรุงแก้ไขปัญหาและการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของผู้บริหาร ครู และ บคุ ลากรทางการศกึ ษาเพอื่ แก้ปญั หาทเ่ี กดิ ข้ึน จะส่งผลใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาสามารถบริหาร และจัดการศึกษาทแ่ี สดงความรบั ผดิ ชอบต่อคุณภาพมาตรฐานใหแ้ กผ่ ูเ้ รียนอย่างมีประสิทธภิ าพและ มปี ระสทิ ธิผลมากขึ้น รวมทั้งการเปิดโอกาสใหท้ กุ ภาคส่วนของสงั คม อาทิ บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ภาคเอกชน สถานประกอบการ มูลนิธิ วัด สถาบันและองค์กรต่าง ๆ ในสังคมท่ีมีศักยภาพ และความพร้อมสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการศึกษาในรูปแบบท่ีหลากหลาย โดยมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ กติกาท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน และมีนโยบายและมาตรการจูงใจท้ังที่ เป็นตัวเงินและสิทธิประโยชน์อื่น เช่น การลดหย่อนภาษี เพ่ือส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา นอกจากน้ี ผลกระทบจากโครงสร้างประชากรวัยเรียนที่ลดลงตลอดระยะเวลา ๑๐ กว่าปี ท่ีผ่านมาและต่อเน่ืองไปอีก ๒๐ ปีข้างหน้า จะส่งผลให้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ ในอีกไม่เกิน ๕ ปีต่อจากนี้ และจะทำให้มีห้องเรียนและสถานศึกษาที่ต้องปิดตัวลง และจำนวน สถานศึกษาขนาดเล็กมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง สถาบันอาชีวศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา ก็ต้องเผชิญกับสถานการณ์เดียวกัน รัฐจึงจำเป็นต้องบริหารและจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัด ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยการกำหนดท่ีต้ังและจัดกลุ่มสถานศึกษาตามระดับคุณภาพมาตรฐาน การปรับเปล่ียนและพัฒนาสถานศึกษาท่ีปิดตัวลงให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน หรือใช้ประโยชน์ ร่วมกันในพื้นที่ การเลือกผลิตกำลังคนในสาขาวิชาท่ีสถาบันมีความเชี่ยวชาญและความเป็นเลิศ
132 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของสังคม เพ่ือให้รัฐสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน และใช้งบประมาณในส่วนที่สามารถประหยัดได้ เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อตอบโจทย์การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ และบริบททเี่ ปลย่ี นแปลงของสงั คมและประเทศ ๑) วัตถุประสงค ์ ๑.๑ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบและรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีเป็นอิสระ คลอ่ งตัวในการบริหารจดั การดว้ ยความรับผิดชอบและตรวจสอบไดต้ ามหลักธรรมาภิบาล ๑.๒ เพื่อให้รัฐสามารถบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล สง่ ผลต่อคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาท่จี ัดให้กบั ผู้เรยี นทกุ ระดับและประเภทการศกึ ษา ๑.๓ เพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ การจดั การศกึ ษา การเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการศกึ ษาและความรับผิดชอบร่วมกนั ๑.๔ เพ่ือพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริมประสิทธิภาพ การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาและสถาบันการศกึ ษา ๑.๕ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ท่ีแสดง ความรับผิดรับชอบต่อผู้เรียน (Accountability) และตอบสนองความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาประเทศ โดยผ่านเคร่ืองมือทางการเงินที่หลากหลายในการส่งเสริมและกำกับติดตาม การดำเนินงานของสถานศกึ ษา และการผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ ๑.๖ เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมจัดและสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือ การศึกษาตามหลักประโยชน์ท่ีได้รับ (Benefit principle) ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม ๑.๗ เพื่อให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้ตรงกับ ความรู้ความสามารถ มีความก้าวหน้าในวชิ าชพี ๒) เป้าหมายและตวั ช้วี ดั ๒.๑ โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษา มีความคล่องตัว ชดั เจน และสามารถตรวจสอบได ้ ตวั ชว้ี ดั ๑) มกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งและระบบบรหิ ารราชการสว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และ สถานศกึ ษาใหม้ เี อกภาพ สอดคล้องกบั บริบทของพน้ื ท่แี ละการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 133 ๒) มีการปรับปรุง แก้ไขและบังคับใช้กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ การปรับบทบาทและภารกิจของรัฐ ความเป็นอิสระและความรับผิดรับชอบของสถานศึกษา และ การระดมทุนและร่วมสนับสนนุ การจัดการศึกษา ๓) มีกลไกในการรายงานและตรวจสอบผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ที่รองรบั การกระจายอำนาจในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ๒.๒ ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ตวั ช้วี ัด ๑) ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาที่ต้องการความช่วยเหลือและ พัฒนาเปน็ พเิ ศษอย่างเร่งดว่ นท่ีไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินคุณภาพภายนอกลดลง ๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ิมขึ้น ๓) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีความพึงพอใจต่อระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาเพม่ิ ขน้ึ ๔) คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรยี นที่เรยี นในกลมุ่ สถานศึกษาท่ีเข้าสรู่ ะบบการบรหิ ารจัดการแนวใหม่สงู ขึ้น ๕) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองและชุมชนในการให้บริการการศึกษาของ กล่มุ สถานศกึ ษาที่เข้าสรู่ ะบบการบรหิ ารจดั การสูงขึ้น ๖) จำนวนสถานศกึ ษาท่ีบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลเพม่ิ ข้นึ ๗) อตั ราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรตอ่ นักเรยี นลดลง ๒.๓ ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาทตี่ อบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนและพน้ื ท ี่ ๑) จำนวนเครือข่ายการศึกษาท่ีมีศักยภาพและความพร้อมในการส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาเพอื่ ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพน้ื ที่เพิม่ ข้ึน ๒) จำนวนองค์กร สมาคม มูลนิธิ หรือหน่วยงานอื่นท่ีเข้ามาจัดการศึกษา หรือร่วมมือกับสถานศกึ ษา ทงั้ ของรฐั เอกชน และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ิมข้ึน ๓) จำนวนสถานประกอบการท่ีเข้าร่วมการจัดการศึกษากับสถานศึกษา สถาบัน การศกึ ษา จำแนกตามระดับ ประเภทการศกึ ษา และสาขาวชิ าเพ่มิ ขนึ้ ๔) สดั ส่วนผเู้ รยี นเอกชนสงู ข้ึน เม่ือเทียบกับรฐั ๕) สัดส่วนการมีส่วนร่วมสนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคีเครือข่ายเมอ่ื เทียบกบั รัฐ จำแนกตามระดบั การศกึ ษาสงู ขนึ้
134 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๖) จำนวนมาตรการ/แนวทางการสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา เพ่ือสร้าง แรงจงู ใจในการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนในสังคมเพม่ิ ขึน้ ๒.๔ กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับ ลกั ษณะท่แี ตกตา่ งกนั ของผ้เู รยี น สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลงั แรงงานของประเทศ ตัวชี้วดั ๑) มีรูปแบบกองทุนเพ่ือการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกต่างกันของผู้เรียน ความต้องการกำลังแรงงาน และสภาพปญั หาท่แี ทจ้ ริงของประเทศ ๒) มีกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และระบบการจดั สรรเงนิ เพื่อการศกึ ษา ท่ีเอ้ือและ สนองตอบคุณลักษณะท่ีแตกต่างกันของผู้เรียน ความต้องการกำลังแรงงาน และสภาพปัญหา ที่แท้จรงิ ของประเทศ ๓) มีรูปแบบ/แนวทาง กลไกการจัดสรรงบประมาณผ่านด้านอุปสงค์และ อปุ ทานในสดั สว่ นที่เหมาะสม ตามลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น ความต้องการกำลังแรงงานและ สภาพปัญหาทแ่ี ทจ้ รงิ ของประเทศ ๔) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ตามลักษณะท่แี ตกต่างกนั ของสถานศกึ ษาเพม่ิ ขน้ึ ๕) ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการผลิตกำลัง แรงงานตามความต้องการกำลงั คนของประเทศ จำแนกตามระดับการศกึ ษาเพมิ่ ข้นึ ๖) ร้อยละของผู้เรียนที่เข้ารับการศึกษาผ่านการจัดสรรงบประมาณในรูปแบบ ท่ีเหมาะสมตามคุณลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน อาทิ รายได้ครัวเรือน (ผู้เรียนท่ัวไป/ผู้เรียน ยากจน) สภาพร่างกาย (ผู้เรียนทั่วไป/ผู้เรียนพิการเรียนร่วม) ความสามารถ (ผู้เรียนท่ัวไป/ผู้เรียน ทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ) เพมิ่ ขึ้น ๗) ร้อยละของผู้เรียนที่เข้ารับการศึกษา ผ่านการจัดสรรงบประมาณตาม ความต้องการกำลังคนของประเทศเพ่ิมขน้ึ ๘) สดั ส่วนงบประมาณตามประเดน็ (Agenda) สูงข้ึน เมื่อเทียบกับงบประมาณ ตามภารกจิ (Function) ๙) มีรูปแบบวิธีการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชนที่สะท้อนคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษา ๑๐) จำนวนสถานศึกษาที่มีระบบบัญชีที่สามารถรายงานการเงินท่ีเป็นปัจจุบัน และตรวจสอบไดเ้ พม่ิ ข้ึน ๑๑) จำนวนสถานศึกษาที่มีระบบบัญชีที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ เพิ่มขน้ึ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 135 ๒.๕ ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มีความเป็นธรรม สรา้ งขวัญกำลังใจ และสง่ เสรมิ ให้ปฏิบตั งิ านได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ ตัวชีว้ ัด ๑) มีระบบการสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน การบริหารการศึกษา และความสำเร็จ ในวิชาชีพ ๒) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่มี ีครูเพยี งพอตอ่ การจดั การเรียนการสอนเพิ่มขน้ึ ๓) ร้อยละของครู/ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน/ผู้ประกอบการท่ีปฏิบัติงาน สนับสนนุ การเรยี นการสอนเพม่ิ ข้ึน ๔) จำนวนสถานศึกษาในพ้ืนที่ห่างไกล ทุรกันดาร เส่ียงภัย พ้ืนที่พิเศษ ท่ีจัด อยใู่ นมาตรการจงู ใจมรี ะบบเงนิ เดือน ค่าตอบแทนที่สูงกวา่ ระบบปกตเิ พ่ิมขึน้ ๕) ร้อยละของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานตรง กบั ความรคู้ วามสามารถเพม่ิ ข้ึน ๖) ร้อยละของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีคุณวุฒิการศึกษา/ การฝึกอบรมเพ่ิมขึ้น ๗) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีบุคลากรทางการศึกษาทำหน้าท่ีปฏิบัติงาน สนับสนนุ การเรียนการสอนเพ่ิมขึน้ ๘) จำนวนผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ผ่าน การประเมินทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานตำแหน่ง และวทิ ยฐานะเพม่ิ ขึน้ ๙) จำนวนครทู ม่ี คี ณุ สมบตั ิ และสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหนง่ เพอ่ื การพฒั นา และเตรียมเขา้ สูก่ ารเปน็ ครแู กนนำ และครมู อื อาชพี เพิม่ ขน้ึ ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ ปรบั ปรุงโครงสร้างการบรหิ ารจัดการศึกษา ๑) ปรับบทบาทและภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นผู้กำกับนโยบาย แผน มาตรฐาน การนิเทศ ติดตามประเมินผล ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนร้ ู ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และพัฒนารูปแบบการกระจายอำนาจสู่พ้ืนท่ีและสถานศึกษา โดยคำนึงถึง ความพร้อมและเง่ือนไขท่เี หมาะสมของพ้ืนท่ี ๒) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหพ้ ้ืนทีแ่ ละสถานศึกษามีความเข้มแข็ง ใหส้ ามารถบริหาร จัดการการศึกษาด้วยตนเอง (นิติบุคคล/ในกำกับ) สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของพื้นท่ี ภูมภิ าค และประเทศ
136 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๓.๒ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา ๑) จัดกลุ่มสถานศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาด้วยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) เพอื่ วางแผนการบริหารจดั การใหเ้ หมาะสมกับสภาพปัญหา บรบิ ทของพื้นที่และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดงาน ชุมชน และสังคม ๒) กำหนดแนวทางและมาตรการทางการบริหารจัดการเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของสถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาท่ีต้องการความช่วยเหลือและพัฒนา เปน็ พเิ ศษอย่างเร่งด่วน ๓) ปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นระบบ ท่ีไม่ยุ่งยากต่อการปฏิบัติ และไม่เป็นภาระของผู้สอน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาแต่ละ ระดับ และเป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ๔) ส่งเสริมการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบติดตาม เพื่อการปรับปรุง พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไป ตามมาตรฐานการศึกษา ๕) พัฒนากลไกในการกำกับสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษา ใหด้ ำเนนิ บทบาทภารกิจ อำนาจหน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ แผนพฒั นา อุดมศึกษา แผนพัฒนาอาชีวศึกษา รวมท้ังการแสดงความรับผิดรับชอบต่อการจัดการศึกษา ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๖) ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการปรับบทบาทและภารกิจของรัฐ ความเปน็ อสิ ระและความรบั ผดิ ชอบของสถานศกึ ษา ๓.๓ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา ๑) สร้างการรับรู้ ความเข้าใจและการยอมรับจากทุกภาคส่วนของสังคม โดย ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษา จากการเป็นผู้จัดการศึกษาโดยรัฐมาเป็นการจัด การศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสังคม ๒) ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและมาตรการท่ีเกี่ยวข้องกับการจูงใจและเอื้อให้เกิด การระดมทนุ และรว่ มสนับสนนุ การจัดการศึกษาในรปู แบบต่าง ๆ ๓) พฒั นาระบบและกลไกการบรหิ ารจดั การเครอื ขา่ ย รวมทงั้ รปู แบบความรว่ มมอื ระหว่างหน่วยงานในประเทศ/ต่างประเทศ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือและสร้างเครือข่าย/ความเป็น ภาคหี ุ้นสว่ นกับองค์กรทกุ ภาคส่วนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔) สง่ เสริม สนับสนุนการจดั ตั้ง การพฒั นาและการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ย ทางการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 137 ๕) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามาจัดการศึกษาในบางพื้นท่ีหรือกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ โดยคำนึงถึงคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาตามเกณฑ์การประเมินศักยภาพและ ความพรอ้ มของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ มารว่ มจดั และพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ๖) ส่งเสริมและพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และเขา้ มาร่วมรบั ผิดรับชอบในการจดั การศกึ ษาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๗) พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามา มีส่วนร่วมในการผลิตและพัฒนาส่ือทุกประเภทท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ภายใต้กลไกการแข่งขัน อยา่ งเสรแี ละเปน็ ธรรม ๓.๔ ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษา ๑) ปรับปรุงกฎหมาย กฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเงินเพ่ือการศึกษา ระบบการจดั สรรงบประมาณและกองทนุ เพอ่ื การศกึ ษาทเ่ี ออื้ และสนองตอบคณุ ลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น ความตอ้ งการกำลังแรงงานของประเทศ และสภาพปัญหาท่ีแทจ้ ริงของประเทศ ๒) มีระบบและกลไกกำหนดนโยบายการบริหารจัดการระบบการเงิน เพือ่ การศึกษา ทำหนา้ ทกี่ ำกับทศิ ทาง ยทุ ธศาสตร์ และการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ๓) จัดระบบสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพ่ือการศึกษา สำหรับผู้เรียนระดับอาชีวศึกษา และสนบั สนุนผเู้ รียนระดบั อุดมศึกษาในสาขาท่ีเปน็ ความตอ้ งการจำเปน็ ของประเทศ ๔) พัฒนาระบบบัญชีสถานศึกษาและการรายงานการเงินผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และส่งเสริมการนำข้อมูลมาใช้ประกอบการกำกับ ติดตามประเมินผล การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน คุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ๕) พัฒนารูปแบบและกลไกการจัดสรรงบประมาณผ่านด้านอุปสงค์ (ผู้เรียน) และด้านอุปทาน (สถานศึกษา) ทเ่ี หมาะสม ๖) พัฒนาระบบกองทุนเพ่ือการศึกษารูปแบบต่าง ๆ เพื่อการสนับสนุนผู้เรียน ที่มคี ณุ ลกั ษณะท่ีแตกต่างกัน และความต้องการกำลงั แรงงานของประเทศ ๓.๕ พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๑) พัฒนาระบบการใช้ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ปฏิบัติงานตรงกับ ความรู้ความสามารถ วุฒิการศึกษา/การฝึกอบรม และลดภาระงานของครูท่ีไม่เกี่ยวกับการเรียน การสอน (งานธุรการ งานบริหารทวั่ ไป)
138 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๒) พัฒนาระบบการสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหาร สถานศึกษาระดับต่าง ๆ โดยยึดหลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์การจัดการเรียน การสอน การบริหารการศกึ ษา และการประสบความสำเรจ็ ในวชิ าชีพ ๓) พฒั นาระบบประเมินสมรรถนะครูตามมาตรฐานวิชาชีพ รวมท้ังพฒั นาระบบ การประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะสำหรับตำแหน่งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพื่อดำรงไว้ ซ่ึงความรู้ความสามารถ ความชำนาญการ หรือความเช่ียวชาญในตำแหน่งและวิทยฐานะที่ได้รับ การบรรจแุ ละแต่งต้ัง ๔) กำหนดแผนงาน ขั้นตอน และมาตรการทางการบริหารเพื่อกระจายอัตรา กำลังครูใหเ้ หมาะสมกับจำนวนนกั เรยี นทล่ี ดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง ๕) พัฒนาระบบเงินเดือนและค่าตอบแทน สำหรับครูท่ีมีสมรรถนะสูง และ ครทู ปี่ ฏิบัตงิ านในพน้ื ท่ีหา่ งไกล ทรุ กันดาร เสย่ี งภัย และพนื้ ทพี่ เิ ศษ ๖) พัฒนากระบวนการบริหารจดั การอัตรากำลังครแู ละระบบการจา้ งครู เพื่อให้ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีจำนวนท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจการจัดการเรียนการสอน และแนวโน้มของประชากรวัยเรียนทลี่ ดลงอย่างต่อเนอ่ื ง ๗) ปรับปรุงฐานข้อมูลความต้องการใช้ครูให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ สัดสว่ นของประชากรวัยเรียน ๔) แผนงานและโครงการสำคัญ ✥ แผนงาน/โครงการสำคญั เรง่ ด่วน (ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑) ๑) โครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ต้องการ ความช่วยเหลือและพฒั นาเปน็ พเิ ศษอย่างเร่งดว่ น (ICU) ๒) โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ๓) แผนงานเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ๔) แผนงานเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและ อุดมศึกษา ๕) โครงการพัฒนาระบบจดั สรรงบประมาณเพื่อการศึกษา ๖) โครงการทดลองนำรอ่ งระบบการจดั สรรเงนิ ผา่ นดา้ นอปุ สงคแ์ ละดา้ นอปุ ทาน
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 139 ✥ แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั ๑) โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมิน ประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาทุกระดบั /ประเภทการศกึ ษา ๒) โครงการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารราชการ สว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค และสถานศึกษา ๓) โครงการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพและความพร้อม รองรบั การปรับบทบาทการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา ๔) โครงการพัฒนารูปแบบ/แนวทางการส่งเสริมการสร้างการมีส่วนร่วม ในการจดั และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาจากทกุ ภาคสว่ นของสงั คม ๕) โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการศึกษาในการจัดการศึกษา ในพื้นที่ อาทิ สมัชชาการศึกษา สภาการศึกษาจังหวัด หรือสถาบัน และองคก์ รต่าง ๆ ในสงั คม ๖) โครงการปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎ และระเบียบ ที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ สถานศึกษา สถาบันการศึกษามีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ สามารถให้ทุกภาคส่วนของ สงั คมเข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาดว้ ยรปู แบบท่หี ลากหลาย ๗) โครงการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินประสิทธิภาพการจัดสรรและ ใช้งบประมาณเพอ่ื การศกึ ษา ๘) โครงการพฒั นาระบบบญั ชสี ถานศกึ ษา และระบบการเงนิ ผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ๙) โครงการพฒั นาระบบการเงนิ เพือ่ การศกึ ษาสำหรับการศกึ ษาเอกชน ๑๐) โครงการยกระดับคุณภาพระบบการบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 141 บทที่ ๖ การขับเคลอ่ื นแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ จัดทำข้ึนเพื่อพัฒนาคุณภาพและ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งเพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึง บริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานของประชาชนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่มเป้าหมาย เพิ่ม ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ พัฒนากำลังคนท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ และสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน ในสังคมผ่านการสร้างความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ การยอมรับและพร้อมท่ีจะเข้ามามีส่วนร่วม ในการดำเนินงานของผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนเพ่ือให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด โดยมีกรอบทิศทางและเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติท่ีสนองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง แนวพระราชดำริของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เก่ียวกับการสร้างบุคลิกและอุปนิสัยที่ดีงาม (Character Education) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และรองรับกับ โครงสร้างประชากร บริบทการจัดการศึกษาของประเทศ และสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของ กระแสโลกาภวิ ัตนใ์ นโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ความสำเรจ็ ของการขบั เคลอื่ นแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สกู่ ารปฏิบัติ ข้ึนอยู่กับปัจจัยสำคัญหลายประการ ประกอบด้วย สาระของแผนฯ ท่ีมีความชัดเจน ครบถ้วนและ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกระดับการศึกษา การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา แผนการศึกษาแห่งชาติของผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และสาธารณชน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แก่ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนเพื่อสร้าง ความตระหนักในความสำคัญของแผนการศึกษาแห่งชาติ การสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ และการนำแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติท่ีชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัต ิ ทุกระดับ เพ่อื ใหท้ ุกภาคสว่ นได้เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาการจดั การศกึ ษาของชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ นอกจากจะดำเนินการขับเคลื่อนตาม แนวทางการขับเคล่ือนท่ีกำหนดไว้อย่างเป็นระบบแล้ว จะต้องผลักดันให้ระบบการจัดสรร งบประมาณยึดกรอบทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์และแนวทาง การพัฒนาของแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้การดำเนินงานพัฒนาการศึกษาบรรลุผลตาม
142 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดตามช่วงเวลาท่ีกำหนด มีระบบการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วมที่มี ประสิทธิภาพ และสะท้อนการถ่ายทอดจากระดับยุทธศาสตร์ชาติและแผนการศึกษาแห่งชาต ิ สู่แผนพัฒนาการศึกษาระยะ ๕ ปี แผนปฏิบัติราชการระยะ ๔ ปี และแผนปฏิบัติการประจำปี ของกระทรวง องคก์ ร และหนว่ ยงานการจดั การศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายและตวั ชวี้ ดั ในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของการพัฒนา นอกจากนี้ ระบบติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และการประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานจะต้อง มีความสอดคล้องกัน โดยจะต้องมีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่มีความเช่ือมโยง สอดรับกัน รวมถึงการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานและการขับเคลื่อนการดำเนินการที่บูรณาการกันอย่าง เหมาะสม ๖.๑ หลักการและแนวทางในการขับเคล่อื นแผนการศกึ ษาแห่งชาติสูก่ ารปฏบิ ัติ ๖.๑.๑ หลักการ ๑) ขับเคล่ือนการจัดการศึกษาของประเทศโดยยึดแผนการศึกษาแห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ เป็นกรอบทิศทางหลกั และนำสู่การปฏบิ ัตใิ นระดบั ตา่ ง ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกับ กลุ่มเป้าหมายและระดับการศึกษา ๒) ดำเนินการจัดการศึกษาตามบทบาทและภารกิจของแต่ละหน่วยงานหรือ องคก์ ร โดยยึดหลกั คณุ ภาพและประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา และเป้าหมายการพฒั นาผเู้ รียน ตามชว่ งวัย ประเภท และระดบั การศกึ ษา ๓) เพ่ิมการใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้เป็น เครื่องมือหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษา และการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ๔) ใช้กลไกการดำเนินงานของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ เอกชน และ ส่ือมวลชนอย่างบูรณาการ ให้การขับเคล่ือนเกิดประสิทธิภาพ โดยการสร้างเครือข่ายการศึกษา ในรูปแบบประชารฐั ท่ีตอบสนองตอ่ การแกไ้ ขปญั หาและการพัฒนาศกั ยภาพของสถานศกึ ษา ผ้เู รียน และกำลังแรงงาน ๕) จัดระบบการบริหารจัดการแผนสู่การปฏิบัติท่ีมีความเชื่อมโยงกันในระดับ ต่าง ๆ ต้ังแต่ระดับยุทธศาสตร์ท่ีเช่ือมต่อกับแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษา และ แผนปฏิบัติการประจำปีของกระทรวง หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ และมีระบบการจัดสรร งบประมาณท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพทต่ี อบสนองการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ เปา้ หมายและตวั ช้วี ัดทก่ี ำหนด ไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงานจัดการศึกษา ทส่ี อดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการจดั การศึกษา
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 143 ๖.๑.๒ แนวทางการขับเคล่ือนแผนการศกึ ษาแห่งชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ ๑) สร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญ และพร้อมเข้าร่วมในการผลักดันแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ไปสู่การปฏิบัติ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สร้างความเข้าใจกับหน่วยงาน องค์กร และภาคีทุกภาคส่วน ถึงวิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยส่ือสารประชาสัมพันธ์อย่างกว้างขวาง สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านหน่วยงาน บุคคล ส่ือมวลชน ทั้งระดับชาติและท้องถ่ิน กิจกรรม ส่ือสมัยใหม่ท่ีเข้าใจง่าย รวมท้ังการสร้างเครือข่ายให้ข้อมูล ข่าวสารกระจายไปยังพ้ืนท่ีต่าง ๆ อย่างกว้างขวางและต่อเน่ือง จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ฉบบั ประชาชน เผยแพรแ่ ก่สาธารณชนเพอ่ื สร้างความเข้าใจในเป้าประสงค์ และแนวทางของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ๒) สร้างความเช่ือมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาการศึกษาระยะ ๕ ปี แผนปฏิบัติราชการระยะ ๔ ปี และแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน องค์กร โดยผลักดันให้แนวทางการพัฒนาในแต่ละ ยุทธศาสตร์แปลงสู่การปฏิบัติผ่านแผนงานระดับกระทรวงสู่หน่วยงานและสถานศึกษาระดับต่าง ๆ บูรณาการอยู่ในภารกิจหลักของหน่วยงานท่ีมีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน โดยสำนักงาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา และหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งรว่ มจัดทำและตดิ ตามประเมินผลแผนดงั กลา่ ว ๓) ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ และระเบยี บตา่ ง ๆ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การขบั เคลอื่ นการพฒั นา การศึกษาในระดับตา่ ง ๆ โดยปรับปรงุ กฎหมายให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ลดความ ซ้ำซ้อนและเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกการจัดการศึกษาท่ีมีอยู่ให้มากข้ึน เป็นการลดอุปสรรค การพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับต่าง ๆ อาทิ ผลักดันให้มีการออกกฎหมายเก่ียวกับการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ สำหรบั ทุกช่วงวัย ๔) สร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาอย่างกว้างขวาง ท้ังระดับนโยบายและพ้ืนที่ โดยเปิดพื้นท่ีสาธารณะให้ทุกภาคี ใช้ประโยชน์ในการจัดเวทีระดมความคิดเห็นในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดเวทีประชาคม การสานเสวนา รวมถึงใช้ช่องทางเครือข่ายออนไลน์ สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมดำเนินกิจกรรม ต่าง ๆ เพ่อื พฒั นาการจดั การศกึ ษาของประเทศ ๖.๒ การดำเนนิ การขบั เคลอื่ นแผนการศึกษาแห่งชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ เปน็ แผนระยะยาว ๒๐ ปี ทีใ่ หค้ วามสำคญั กับการสร้างกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทย โดยกำหนดเป้าหมายการดำเนินการ ไว้ ๕ ด้าน และยุทธศาสตร์การดำเนินการ ๖ ยุทธศาสตร์ ดังมีแนวทางการขับเคลื่อนแต่ละ ยทุ ธศาสตร์ ดงั น ี้
144 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การจดั การศึกษาเพอื่ ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาต ิ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้การศึกษาเป็นกลไกสำคัญ ในการเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข สรา้ งสงั คมไทยใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ คุณธรรม จรยิ ธรรม ปลอดภัย และสมานฉนั ทแ์ ละปลกู ฝงั คณุ ลกั ษณะความเปน็ พลเมอื ง และคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั คนไทยทกุ คน เพื่อความมั่นคงในชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น รวมถึงการใช้การศึกษาในการเสริมสร้างความม่ันคง ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนท่ีพิเศษ รวมท้ังส่งเสริมกลุ่มชน ต่างเชอื้ ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาและ การเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน เหมาะสม และสอดคล้องกับอัตลักษณ์และความต้องการของ ชุมชนและพืน้ ท่ี เพ่อื ความมั่นคงในชีวิตและการอยรู่ ว่ มกนั อย่างเป็นสุขในสงั คม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 145 บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ สกู่ ารปฏบิ ัติ ตาราง ๑๗ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ สู่การปฏบิ ัติ ส ว่ นรก ะลดาับง หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ๑) กำหนดนโยบายการจดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของ • กระทรวงศึกษาธิการ ■ สำนักงานปลัด สถาบันหลกั ของชาติ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กระทรวงศึกษาธกิ าร อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข • หนว่ ยงานอื่นท่ีเก่ียวขอ้ งกับ ๒) กำหนดนโยบายการขยายโอกาสและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา การพฒั นาการจดั การศึกษาเพือ่ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และพื้นท่ี เสรมิ สร้างความมนั่ คงของสังคม พิเศษ และประเทศ ๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งจติ สำนกึ ของคนไทยทกุ ชว่ งวัยให้มี ความจงรกั ภักดี และธำรงรกั ษาสถาบันหลักของชาติ ๔) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมอื ง (Civic Education) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การจดั การความขดั แยง้ ด้วยสันติวิธี และการต่อต้านการทุจรติ คอรร์ ัปชัน่ ๕) ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ในสถานศึกษาให้ มคี ุณภาพและมาตรฐาน ๖) พฒั นาระบบ กลไก และมาตรการในการป้องกนั และแก้ไข ภยั คกุ คามในรูปแบบใหมส่ ำหรบั ผู้เรียนทุกระดบั ๗) พัฒนาระบบเงนิ เดือนและค่าตอบแทน สำหรบั ครทู มี่ ี สมรรถนะสงู และครทู ี่ปฏิบัตงิ านในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และพ้ืนท่พี เิ ศษ ๘) เสริมสร้างขวญั และกำลงั ใจให้ครู อาจารย์ และบคุ ลากร ทางการศึกษาท่ีปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในพน้ื ที ่ ๙) ปรับปรุง แก้ไขกฎหมายและระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑๐) ดำเนินการในภารกิจอื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง ■ สำนักงานเลขาธกิ าร ๑) ศกึ ษา วจิ ัย และจดั ทำขอ้ เสนอเชิงนโยบายเก่ียวกับการพฒั นา สภาการศกึ ษา คุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศกึ ษาในเขตพัฒนา พเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพี้นทีพ่ เิ ศษ ๒) ศกึ ษา วจิ ัย นำรอ่ ง และจัดทำขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเก่ยี วกบั การจดั การศึกษาเพือ่ เสริมสร้างความเป็นพลเมอื ง (Civic Education) คุณธรรม จรยิ ธรรม การจัดการความขัดแย้ง ดว้ ยสันตวิ ิธี และการต่อตา้ นการทจุ ริตคอรร์ ปั ชัน่ ๓) วิจัยและพฒั นากฎหมายและมาตรฐานการจัดการศึกษาใน เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพน้ี ท่ี พเิ ศษ ๔) ดำเนินการในภารกิจอื่น ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง
146 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๗ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ สู่การปฏิบตั ิ (ตอ่ ) ระดับ หน่วยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษา การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ขัน้ พื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน และพ้นี ทพ่ี ิเศษ • หนว่ ยงานอน่ื ท่เี กี่ยวข้องกบั ๒) สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา และบูรณาการทุนการศึกษาท้ังใน การจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และตา่ งประเทศ จัดระบบการเทียบโอน และรับรองคณุ วุฒิ การศกึ ษาผู้ทีจ่ บการศกึ ษาจากต่างประเทศ ๓) พัฒนาหลกั สตู รและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ดา้ นความเปน็ พลเมอื ง การสรา้ งจติ สำนกึ การยึดมั่น ในสถาบนั หลกั ของชาติ วถิ ีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท์ สันตวิ ิธี การอยรู่ ่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และตอ่ ตา้ นการทจุ ริตคอรร์ ปั ช่ัน ๔) ส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษาในพนื้ ท่ีจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกับสงั คม วัฒนธรรม และภาษาถ่นิ ๕) พัฒนาการจัดการศกึ ษาของศูนยก์ ารศกึ ษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดกี า) สถาบันศกึ ษาปอเนาะ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้มีคณุ ภาพและถูกตอ้ ง สอดคลอ้ งตามหลักการศาสนา ๖) เสริมสรา้ งขวญั และกำลังใจให้ครู อาจารย์และบุคลากร ทางการศกึ ษาที่ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีในพน้ื ที ่ ๗) ส่งเสรมิ ใหค้ นทุกชว่ งวยั สามารถอา่ นและเขยี นภาษาไทยและ ภาษาทอ้ งถ่ิน รวมทงั้ ภาษาของประเทศเพือ่ นบ้าน ๘) พัฒนาความรู้และทกั ษะของครใู นพ้ืนทช่ี ายแดนและพืน้ ที ่ เส่ยี งภยั ๙) พัฒนาระบบ กลไก และมาตรการทีเ่ ข้มแข็งในการป้องกันและ แก้ไขภยั คุกคามในรูปแบบใหมส่ ำหรบั ผเู้ รียนระดับการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑๐) ดำเนนิ การในภารกิจอืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง การอาชีวศกึ ษา ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑) พฒั นาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนดา้ นความเป็น การอดุ มศึกษา พลเมอื งสำหรับผู้เรียนในระดับอาชีวศกึ ษา/อดุ มศกึ ษา โดยเนน้ • หนว่ ยงานอ่ืนท่เี ก่ยี วข้องกบั การปลูกฝังและเสริมสร้างวถิ ีประชาธิปไตย ความสามคั คี การจดั การศกึ ษาระดบั สมานฉนั ท์ สันติวิธี ส่งเสริมการอยู่ร่วมกนั อาชีวศกึ ษา/อดุ มศกึ ษา ในสังคมพหุวัฒนธรรม และตอ่ ต้านการทจุ ริตคอร์รปั ชัน่ ๒) พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษา/ อุดมศกึ ษาเพอื่ ส่งเสริมสนับสนนุ การจดั การศึกษาและการให้ ความรู/้ ฝึกทกั ษะดา้ นอาชีพสำหรบั คนทุกช่วงวัย
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 147 ตาราง ๑๗ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ตอ่ ) ร ะดับ หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนินการ ๓) ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาท่ตี อบสนองการสร้างอาชีพและเพมิ่ คณุ ภาพชวี ิตในพน้ื ท่ี ลดความเหลือ่ มล้ำ สรา้ งความสมานฉันท์ และเสริมสร้างความมนั่ คง ๔) เพมิ่ โอกาสและทนุ การศกึ ษาสำหรับผเู้ รยี น ๕) พฒั นาระบบ กลไก และมาตรการทเ่ี ขม้ แขง็ ในการป้องกันและ แก้ไขการทะเลาะวิวาท การสร้างความรุนแรง และภัยคุกคาม ในรูปแบบใหม่สำหรบั ผู้เรยี นระดับอาชีวศกึ ษา ■ สำนักงานส่งเสริมการศึกษา ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอื่น ๆ ท่เี กีย่ วข้อง นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ๑) ขยายโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน • หน่วยงานอนื่ ท่เี กยี่ วข้องกับ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาของผ้เู รียนนอกระบบและตามอัธยาศัยในเขตพัฒนา การศึกษาตามอัธยาศยั พิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพนื้ ทพี่ ิเศษ ๒) พฒั นาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนด้านความเป็น พลเมอื ง เพอื่ สรา้ งจติ สำนกึ ของคนไทยทกุ ชว่ งวยั เนน้ การปลกู ฝงั และเสริมสรา้ งวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท ์ สันตวิ ธิ ี ส่งเสรมิ การอยู่รว่ มกนั ในสงั คม และตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอร์รปั ชัน่ ๔) สร้างและพัฒนาศูนยก์ ารเรยี นรู้ใหก้ ับเด็ก เยาวชน ประชาชน ในพนื้ ทพ่ี ิเศษ ๕) พฒั นาระบบ กลไก และมาตรการที่เขม้ แขง็ ในการป้องกนั และ • หนว่ ยงานอ่ืนที่รว่ มจดั การศึกษา แก้ไขภยั คุกคามในรปู แบบใหมส่ ำหรับผ้เู รยี นนอกระบบ ๖) ดำเนินการในภารกจิ อนื่ ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๑) พัฒนาหลกั สตู รและการจดั การเรียนการสอนดา้ นความเป็น พลเมอื ง สำหรับผเู้ รยี นกลุม่ การศึกษาเฉพาะด้าน เฉพาะทาง โดยเน้นการปลูกฝงั และเสริมสร้างวิถีประชาธิปไตย ความ สามคั คี สมานฉันท์ สันติวธิ ี สง่ เสรมิ การอยู่ร่วมกนั ในสังคม และตอ่ ตา้ นการทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั่ ๒) พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของผู้เรียนกลุ่ม การศึกษาเฉพาะดา้ น เฉพาะทาง ในสถานศกึ ษาตามภารกจิ ของตน ๓) พัฒนาระบบ กลไก และมาตรการทีเ่ ข้มแข็งในการปอ้ งกนั และ แกไ้ ขภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่สำหรับผู้เรียนในสถานศึกษา เฉพาะด้าน เฉพาะทาง ๔) ดำเนนิ การในภารกจิ อืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
148 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๗ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่กู ารปฏิบัติ (ตอ่ ) ร ะดบั หนว่ ยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ ส่วนภมู ภิ าค ■ สำนักงานศึกษาธิการภาค/ ๑) กำหนดเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรียนในส่วนทส่ี อดคล้องกบั สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั / สภาพและบรบิ ทของพื้นท่ี ทอ้ งถิน่ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ๒) พฒั นาหลกั สูตรท้องถิ่นทีส่ อดคล้องบริบทพนื้ ที่ ภมู ิสงั คม • หนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กย่ี วข้องในระดบั ภูมภิ าค อาชพี ท่ีสนองตอบการพัฒนาเอกลกั ษณ์ เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมและความต้องการของชุมชนและภมู ภิ าค ๓) ส่งเสริมการจดั การเรยี นรดู้ ้านความเป็นพลเมือง การปลูกฝัง และเสริมสร้างวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ความสามัคคี สมานฉันท์ สนั ติวธิ ี ส่งเสรมิ การอยู่ร่วมกนั ในชมุ ชนท่สี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท ของแตล่ ะพน้ื ท่แี ละตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ๔) จดั ระบบและรปู แบบการเสริมขวัญและกำลงั ใจ ความปลอดภยั ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและผเู้ รียน ๕) ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้เพ่ือป้องกันและแก้ไขภัยคกุ คาม ในรูปแบบใหม่สำหรับผเู้ รยี นในสถานศึกษาทุกระดบั และ ประเภท ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่นื ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง สถานศึกษา ทกุ สังกัด ๑) จดั การเรียนการสอนหรอื กจิ กรรมท่สี รา้ งจติ สำนกึ ให้ผเู้ รียน มคี วามจงรกั ภักดี และธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติ ๒) จัดกระบวนการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ชุมนุมหรอื ชมรม เพ่ือส่งเสริมความเป็นพลเมือง การปลูกฝังและเสริมสร้าง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย ความสามคั คี สมานฉนั ท์ สนั ตวิ ธิ ี การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม และต่อต้านการทจุ ริตคอรร์ ัปชน่ั ๓) จดั กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารีใหม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน ๔) จัดระบบการดูแลการเสริมขวญั และกำลงั ใจ ความปลอดภัย ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและผเู้ รยี น ๕) จัดการเรยี นการสอนและวางระบบการป้องกันและแกไ้ ข ภัยคุกคามในรปู แบบตา่ ง ๆ ๖) ดำเนินการในภารกจิ อ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 149 ตาราง ๑๗ บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ร ะดับ หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนินการ หอ้ งเรียน ทกุ ระดบั ๑) จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้/โครงงานท่เี สริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ทถ่ี ูกตอ้ งเกย่ี วกับสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ สรา้ งจิตสำนึกความจงรกั ภกั ดี และการธำรงรักษาสถาบนั หลกั ของชาต ิ ๒) จัดกจิ กรรมการเรียนรู/้ โครงงานที่ส่งเสริมความเป็นพลเมือง เนน้ การปลกู ฝงั และเสริมสร้างวถิ ีประชาธปิ ไตย ความสามัคคี สมานฉันท์ สันติวธิ ี การอยูร่ ว่ มกันในสงั คมและตอ่ ตา้ น การทุจริตคอรร์ ปั ชั่น ๓) จัดกจิ กรรมและกระบวนการเรียนรเู้ พอื่ ปลูกฝังการจัดการ ความขัดแยง้ โดยสนั ตวิ ิธี เพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจและ ลดความรุนแรงเม่ือเผชิญกบั สถานการณ์และปญั หาความมน่ั คง รปู แบบต่าง ๆ ๔) จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจท่ถี ูกต้อง เกย่ี วกบั ภัยคุกคามในรปู แบบใหม ่ ๕) จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ทงั้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ความเปน็ พลเมอื ง ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่นื ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
150 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขบั เคลื่อนยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ : การผลติ และพัฒนากำลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ เป็นยุทธศาสตร์ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนท่ีมีสมรรถนะ ตรงกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ส่งเสริม การใช้ประโยชน์จากการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมและผลผลิต รวมท้ังเพิ่มผลิตภาพ ของกำลังแรงงานของประเทศ ด้วยการกำหนดกรอบทิศทางและเป้าหมายการผลิตและพัฒนา กำลงั คนทชี่ ดั เจนในสาขาตา่ ง ๆ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ ทส่ี อดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกบั กรอบคุณวุฒิแห่งชาติและมาตรฐานอาชีพ/วิชาชีพ การจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรมฝีมือ แรงงาน และการฝกึ งานทม่ี งุ่ เนน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ อยา่ งครบวงจรในสถานการณจ์ รงิ พฒั นาฝมี อื แรงงาน ระดับสูงในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ส่งเสริมการเรียนรู้ที่บูรณาการองค์ความร ู้ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM Education) พฒั นาทักษะการใช้ ภาษาองั กฤษ และพฒั นาครผู ูส้ อนอาชีพที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน เพือ่ สร้างกำลังคนให้มีสมรรถนะ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รองรับ พลวัตของโลกและการแข่งขันในศตวรรษท่ี ๒๑ และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ ประเทศไทย ๔.๐
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 151 บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ สกู่ ารปฏบิ ัต ิ ตาราง ๑๘ บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ สกู่ ารปฏิบตั ิ ระดบั หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนนิ การ สว่ นกลาง • กระทรวงศึกษาธิการ ๑) กำหนดเป้าหมายการผลิตกำลังคนในสาขาต่าง ๆ ■ สำนกั งานปลัด ตามความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒) กำหนดนโยบายการสง่ เสริมการเรยี นดา้ นอาชวี ศึกษา • หน่วยงานอ่นื ที่เกย่ี วข้องกบั และด้านวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลย ี การผลิตและพฒั นากำลังคน ๓) จดั ระบบและกลไกทางงบประมาณในการกำหนดปริมาณ การวจิ ัย และนวตั กรรม เพอ่ื สร้าง การผลติ กำลังคนในสาขาทเ่ี ป็นความตอ้ งการจำเปน็ ของ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน ประเทศ ของประเทศ ๔) สง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษ และทักษะดิจทิ ลั ของผ้เู รียนทุกระดับ ๕) ส่งเสรมิ การลงทนุ เพ่ือการวจิ ัยและพัฒนา วจิ ัยเพื่อสรา้ ง องค์ความรู้และนวัตกรรมที่นำไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนา ประเทศ ๖) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การขับเคล่อื นกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาต ิ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ เพอ่ื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๗) ส่งเสริมสนบั สนุนการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษ อย่างต่อเนอื่ งทกุ ระดบั ให้สอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพฒั นา ประเทศ ๘) เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของกระบวนการผลิตและพฒั นา กำลงั คน โดยสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื ระหว่างประชาชน ภาครฐั ผปู้ ระกอบการ (ประชารัฐ) ทง้ั ระหว่างองค์กรภายใน และตา่ งประเทศ ๙) ปรับระบบการศกึ ษาใหม้ ีความเช่อื มโยงและยดื หยุ่น เพ่ือให ้ ผ้เู รยี นทง้ั สายสามัญและสายอาชีพสามารถเรยี นข้ามสายได ้ ๑๐) ปรบั ปรุง แกไ้ ข กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกย่ี วขอ้ ง ๑๑) ดำเนินการในภารกิจอนื่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง ■ สำนกั งานเลขาธกิ าร ๑) จัดทำฐานขอ้ มูลการผลิตและความต้องการกำลังคน สภาการศึกษา (Demand-Supply) ของประเทศ จำแนกตามสาขาวชิ า • หนว่ ยงานอนื่ ที่เก่ียวข้องกับ และกล่มุ อตุ สาหกรรม การพฒั นากำลงั คน การวจิ ยั ๒) ศึกษาวิจัยเกีย่ วกบั แนวโน้ม แผนการผลิตและพฒั นากำลังคน และนวัตกรรม เพอื่ สร้าง ในสาขาและกลุ่มอตุ สาหกรรมเป้าหมาย ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ๓) วิจยั พัฒนากรอบหลักสตู รเพอ่ื ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนา ของประเทศ สมรรถนะคนไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ๔) พฒั นาและขบั เคลอ่ื นกรอบคุณวุฒิแห่งชาตสิ กู่ ารปฏิบัต ิ ๕) ดำเนินการในภารกจิ อน่ื ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
152 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๘ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ร ะดับ หนว่ ยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะพนื้ ฐานดา้ นอาชพี และ วางรากฐานทกั ษะอาชีพและค่านิยมการเรียนเพ่อื การมีงานทำ การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๒) สร้างเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนสายอาชีพ และวางแผนการเรยี น • หน่วยงานอนื่ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย เพอ่ื การประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการแนะแนว และการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ท่มี ีประสิทธิภาพ ๓) พฒั นาหลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้ดา้ นอาชพี ในระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลายและสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาระบบ ทวิภาคี ๔) สง่ เสริมทักษะดา้ นอาชพี ทกั ษะการทำงานและการประกอบ อาชีพอสิ ระของผเู้ รียน ๕) สง่ เสริมกระบวนการเรียนรูเ้ ชงิ รุก และการบรู ณาการ องค์ความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และ คณติ ศาสตร์ (STEM Education) ๖) พฒั นาความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษและทกั ษะดิจิทลั ของผ้เู รยี น ๗) ดำเนินการในภารกจิ อ่ืน ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) ผลติ และพัฒนากำลงั คนให้มีความรแู้ ละสมรรถนะที่ได้ การอาชวี ศึกษา มาตรฐานตรงตามความตอ้ งการของผู้ใชแ้ ละแผนการผลิต • หน่วยงานอ่นื ท่เี กีย่ วข้องกบั ๒) พฒั นาสถาบนั อาชวี ศึกษาใหผ้ ลิตและพฒั นากำลังคน การจัดการศกึ ษาระดบั ตามความเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน อาชีวศกึ ษา ๓) สง่ เสริมภาพลกั ษณ์การอาชีวศกึ ษา เรง่ ปรบั คา่ นิยมการเรียน ในสาขาวิชาท่ีจบแล้วมงี านทำทันท ี ๔) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาระบบทวิวฒุ ิ (Dual Degree) และ ระบบทวิภาคใี นสถานประกอบการทีม่ มี าตรฐาน ๕) ส่งเสรมิ และจดั ใหม้ ีการประเมินสมรรถนะผเู้ รยี นหรือผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาตามมาตรฐานฝีมือแรงงานและคณุ วุฒิวิชาชีพ ๖) พัฒนามาตรฐานและจดั การประเมินสมรรถนะวชิ าชพี ครู อาชวี ศึกษา มาตรฐานครฝู ึกในสถานประกอบการ และ มาตรฐานสถานประกอบการทท่ี ำหนา้ ทฝ่ี ึกปฏบิ ัตผิ เู้ รียน ๗) พฒั นาทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษในงานอาชีพของผเู้ รยี น และสง่ เสรมิ ทกั ษะการทำงาน การประกอบอาชีพอิสระและ การเปน็ ผ้ปู ระกอบการของผู้เรียน ๘) เร่งรัดพฒั นาครใู นสาขาวชิ าทีข่ าดแคลนและครูฝกึ ในสถานประกอบการ ๙) พฒั นาหลักสตู รทีส่ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาทักษะและสมรรถนะ ตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน/อาชพี และหลักสตู รฐานสมรรถนะ เพอื่ เสริมสรา้ งความเชย่ี วชาญในอาชีพสาขาต่าง ๆ แบบครบวงจร
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 153 ตาราง ๑๘ บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สูก่ ารปฏบิ ัติ (ตอ่ ) ร ะดับ หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ๑๐) พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่เี นน้ การฝกึ ปฏบิ ัติเสมอื นจริง การสรา้ งสมรรถนะและความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ นในสาขาวชิ า ๑๑) พัฒนาระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียน และประสบการณ ์ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑๒) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่ืน ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง การอุดมศึกษา • หน่วยงานอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ ๑) ผลติ บัณฑติ ในสาขาวชิ าและจำนวนที่สอดคลอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษา ความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ ตามขอ้ มลู ความต้องการกำลังคน (Demand) ในกลุ่มอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ๒) ผลติ และพัฒนากำลงั คนใหม้ ีความร้แู ละสมรรถนะทไี่ ด้ มาตรฐานตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ช้และแผนการผลติ ๓) สง่ เสริมและพฒั นาสถาบนั อุดมศกึ ษาใหผ้ ลิตและพฒั นา กำลงั คนตามความเชีย่ วชาญและความเปน็ เลศิ เฉพาะดา้ น ๔) จดั ระบบและกลไกทางงบประมาณเพือ่ ควบคุมปรมิ าณและ คุณภาพการผลิตกำลงั คนของสถาบนั อดุ มศกึ ษาในสาขาทเ่ี ปน็ ความตอ้ งการของประเทศ ๕) พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรยี นร้เู พ่ือพัฒนา ทกั ษะและสมรรถนะตามมาตรฐานฝีมอื แรงงาน/อาชีพ และ หลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขาทีต่ รงกบั ความต้องการ ของตลาดงานและประเทศ ๖) พัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทกั ษะและ สมรรถนะการทำงาน ทกั ษะการออกแบบ การสรา้ งความร ู้ เชงิ วจิ ยั และการพฒั นานวัตกรรม ๗) ประเมนิ และพฒั นาความสามารถด้านภาษาอังกฤษและทักษะ ดิจิทัลของผ้เู รยี น ๘) สง่ เสริมและพฒั นาระบบการเทยี บประสบการณ์ การเทยี บโอน ความรู้ รวมทงั้ ส่งเสรมิ การประเมินสมรรถนะผู้สำเรจ็ การศึกษา ตามมาตรฐานวชิ าชพี ๙) ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษาในหนว่ ยงาน องคก์ รและสถานประกอบการทม่ี ีมาตรฐาน ๑๐) ส่งเสริมทักษะการทำงาน การประกอบอาชพี อสิ ระและ การเป็นผ้ปู ระกอบการของผเู้ รียนและบัณฑิต ๑๑) สง่ เสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรดา้ นการวิจัยและพัฒนา วางระบบการปฏิบัติงานและการจงู ใจ ๑๒) ส่งเสรมิ งานวจิ ยั และนวตั กรรมเพอ่ื สรา้ งผลผลิตและมูลคา่ เพิ่ม ทางเศรษฐกิจ และจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ การวจิ ัย จากภาครัฐและการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วน
154 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๘ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ ส่กู ารปฏิบตั ิ (ต่อ) ระดบั หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบดำเนินการ ๑๓) ส่งเสริมการพัฒนานวตั กรรม/ส่งิ ประดษิ ฐ์ เพอื่ จดสทิ ธิบตั รและ ทรัพย์สินทางปัญญา ๑๔) ดำเนินการในภารกิจอ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ■ สำนักงานสง่ เสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษา ๑) พัฒนาทกั ษะและสมรรถนะดา้ นวิชาการและอาชพี ของ ตามอัธยาศยั • หนว่ ยงานอน่ื ท่จี ัดการศึกษา ประชาชนวัยทำงานและผ้สู ูงวัย นอกระบบ และการศึกษา ๒) ยกระดับคุณวุฒวิ ิชาชพี ของกำลังแรงงานในสาขาอาชพี ต่าง ๆ ตามอัธยาศัย ๓) สง่ เสริมทักษะการประกอบอาชพี อสิ ระของประชาชน ๔) ใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาและเรยี นรู้อาชีพในรูปแบบท่ีหลากหลาย ผ่านสือ่ สิ่งพมิ พ์และส่ือดิจิทัล ๕) ส่งเสริมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษผา่ นส่อื การเรียนรู้ ส่วนภมู ิภาค ■ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค/ รูปแบบตา่ ง ๆ ทที่ นั สมยั สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัด/ ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา • หน่วยงานอน่ื ท่ีเก่ียวข้องในระดับ ๑) วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลดา้ นบรบิ ทและศกั ยภาพของพืน้ ที่ ภูมภิ าค ดา้ นการผลิต การประกอบอาชีพ และการบรกิ าร เพอ่ื การกำหนดความตอ้ งการในการพฒั นาคนในสาขาต่าง ๆ ในภมู ภิ าค ๒) จัดทำฐานข้อมลู ด้านอาชีพ แผนการผลติ ผู้เรยี นในสาขาต่าง ๆ ที่สอดคล้องและสนองความตอ้ งการของภมู ิภาคและทอ้ งถิ่น ๓) กระตนุ้ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา สถาบนั อาชวี ศกึ ษา และอุดมศึกษาในพ้ืนทีผ่ ลติ และพัฒนากำลงั แรงงานตาม แผนการผลิตท่ีสอดคลอ้ งและสนองความต้องการของภมู ภิ าค และท้องถ่นิ ๔) ระดมสรรพกำลังและการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในพนื้ ที ่ ในการสนับสนุนและรว่ มจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชพี ของ ส ถานศกึ ษา • สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรยี นและคนในพื้นที่ ๕) สนบั สนนุ และส่งเสรมิ การฝกึ ประสบการณ์อาชีพ การประกอบ • หน่วยงานอื่นที่จัดการศึกษา อาชพี อสิ ระ และการเปน็ ผู้ประกอบการของผเู้ รียนระดบั ตา่ ง ๆ ขั้นพ้นื ฐาน ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ๑) พัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามรู้และพ้ืนฐานทักษะอาชพี ตามมาตรฐาน หลักสูตร ๒) ส่งเสรมิ ความรู้และทกั ษะอาชพี แนะแนวอาชีพและ จัดการเรยี นรู้ด้านอาชีพตามหลักสูตร ๓) จดั กิจกรรมเพ่ือสรา้ งความรู้และประสบการณ์ดา้ นงานอาชีพ การประกอบอาชพี อสิ ระ และการเปน็ ผู้ประกอบการแกผ่ เู้ รยี น
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 155 ตาราง ๑๘ บทบาทของหน่วยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ สกู่ ารปฏิบตั ิ (ตอ่ ) ร ะดับ หน่วยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ๔) จัดการศึกษาระบบทวิศกึ ษา ๕) จัดกระบวนการเรียนรเู้ ชงิ รุกและการบูรณาการองค์ความร้ ู ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ (STEM Education) ๖) พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและทักษะดจิ ทิ ลั ของผ้เู รียน ๗) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ที่เก่ียวข้อง • สถาบนั การศกึ ษา ในระดับอาชวี ศึกษา ๑) จดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรการศกึ ษาระดับอาชวี ศึกษาและ และอุดมศกึ ษา อุดมศกึ ษา • หนว่ ยงานอ่ืนทจ่ี ัดการศกึ ษา ๒) จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพือ่ เพม่ิ พูน ระดบั อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ทกั ษะ สมรรถนะและความเชยี่ วชาญของผู้เรียนทงั้ ดา้ น วิชาการและดา้ นอาชพี ๓) จดั การเรียนรตู้ ามหลักสูตรฐานสมรรถนะและการศึกษา ในรปู แบบทวศิ กึ ษา ทวิภาคี ทวิวุฒิ และสหกิจศกึ ษา ๔) กำหนดหลกั สูตรหรอื สาขาวชิ าทีผ่ ูเ้ รยี นสามารถโอนย้ายหรือ ศกึ ษาต่อเน่ือง ๕) พฒั นาความเช่ียวชาญและความเปน็ เลิศเฉพาะดา้ นของ สถาบัน เพอ่ื การผลิตกำลังคนเฉพาะดา้ น/บัณฑิตเฉพาะด้าน ตามกลมุ่ อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย ๖) จัดการเรียนการสอนเพ่ือผลิตกำลังคนระดบั กลางและระดับสูง แรงงานที่มฝี มี ือและทกั ษะท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ ตลาดงานและการพฒั นาประเทศ ๗) พฒั นาและประเมนิ ความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR ของผู้เรียนและบัณฑติ ๘) จัดกระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ และการบูรณาการองค์ความรู้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ (STEM Education) ๙) พฒั นาทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษและทกั ษะดิจิทลั ของผ้เู รยี น ๑๐) ดำเนนิ การวิจัยและพัฒนาเพอ่ื การสรา้ งองค์ความรู้และ นวัตกรรม ๑๑) ดำเนินการในภารกิจอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง
156 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ เป็นยุทธศาสตร์ที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย ตั้งแต่ แรกเกิดจนถึงผู้สูงวัย โดยการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความต้องการของคน ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย และทกุ ชว่ งวัย ดว้ ยหลกั สูตรการศกึ ษาในทุกระดับท่ีมีมาตรฐาน ดว้ ยรูปแบบและ ช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของช่วงวัย สื่อการเรียนรู้ ท่ีไม่จำกัดรูปแบบ เวลาและสถานที่ และเอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพของคนทุกกลุ่มเป้าหมาย แหลง่ การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาและชมุ ชนทมี่ คี ณุ ภาพ สนองความตอ้ งการและความสนใจในการศกึ ษา เรยี นรู้และระบบการวดั และประเมินผลท่ียืดหยุ่น เหมาะสม พร้อมดว้ ยระบบการผลิตและพฒั นาครู ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ท่ียั่งยืน โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้คน ทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐาน วิชาชีพในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีวินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค ์
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 157 บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ส่กู ารปฏบิ ัต ิ ตาราง ๑๙ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ระดบั หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ส่วนกลาง • กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑) กำหนดนโยบายการพัฒนาศกั ยภาพคนแต่ละชว่ งวัย การพัฒนา ■ สำนกั งานปลัด หลักสูตร การเรยี นการสอน ส่อื และการวัดและประเมินผล กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำหรับการศกึ ษาทุกระดบั ทุกช่วงวยั และทกุ กล่มุ เปา้ หมาย • หนว่ ยงานอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ ๒) ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่อื พฒั นา การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั คณุ ภาพชวี ิตของคนในช่วงวยั ต่าง ๆ ในทกุ ระดบั และรูปแบบ และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนร้ ู การจัดการศกึ ษา ๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ทกุ ภาคส่วนของสังคมร่วมจดั การศึกษา สรา้ งกลไกความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษา สมาคมวชิ าชีพ สถานประกอบการและหน่วยงาน องค์กรที่เกยี่ วข้อง เพ่อื การพัฒนาคนทุกชว่ งวยั ๔) จดั ระบบการบริหารจดั การการดูแลและพฒั นาเด็กเลก็ (๐ – ๒ ปี) และการศกึ ษาปฐมวัย (๓ – ๕ ปี) ใหม้ คี ุณภาพ และมาตรฐาน ๕) สง่ เสริมใหท้ กุ ภาคส่วนของสังคมทัง้ ภาครฐั และเอกชนผลติ และพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้ ทงั้ ท่ีเปน็ ส่อื ส่งิ พมิ พ์ และสือ่ ดจิ ทิ ัลที่มี คุณภาพและมาตรฐาน ๖) จัดให้มีระบบและกลไกการทดสอบ การวัด การติดตาม และ ประเมนิ ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะของผเู้ รยี นในทุกระดับ การศึกษา ๗) จัดใหม้ ีระบบการสะสมและเทียบโอนผลการเรยี นจาก การศึกษาเรียนรแู้ ละประสบการณ์จากการทำงาน ๘) จดั ให้มีคลงั ขอ้ สอบ และระบบการทดสอบออนไลน์ เผยแพร่ และใหบ้ ริการผา่ นระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ๙) กำหนดนโยบายการผลิต แผนการผลิต การพัฒนาและ การใช้ครูทีเ่ หมาะสม ๑๐) กำกบั ดแู ลการผลิต การพฒั นาครใู ห้เปน็ ไปตามนโยบายและ ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนและสมรรถนะกำลังคน และ ความตอ้ งการใชค้ รขู องประเทศ ๑๑) จดั ทำและปรับปรุงกฎหมาย ประกาศ และระเบียบทเี่ ก่ียวข้อง ๑๒) ดำเนินการในภารกจิ อน่ื ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
158 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๙ บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ระดับ หน่วยงาน รับผดิ ชอบดำเนินการ ■ สำนกั งานเลขาธิการ ๑) พัฒนามาตรฐานการศึกษาของชาติ สภาการศกึ ษา ๒) ศกึ ษา วจิ ัย จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกยี่ วกับการพัฒนาคน • หนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ทุกช่วงวัย การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย ๓) ศึกษาวจิ ยั และจดั ทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกีย่ วกบั การศึกษา และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นร ู้ ปฐมวยั การศึกษาสำหรบั ผสู้ งู วยั และกลมุ่ ความสามารถพเิ ศษ ๔) ศกึ ษา วิจยั องค์ความรู้เพ่อื พัฒนาการจัดการศกึ ษาและ แหลง่ เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับบรบิ ทพน้ื ที่ และสภาวการณท์ ่ี เปลี่ยนแปลงของสงั คม ๕) วจิ ยั และพัฒนาเก่ยี วกบั หลกั สูตรการศึกษาระดบั ปฐมวยั สมรรถนะเด็กปฐมวยั ทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานอาเซยี น หลักสตู รและคมู่ อื การเตรียมความพร้อมพ่อแม่ และการเล้ยี งดู และพัฒนาเด็กเลก็ ให้มพี ฒั นาการตามวยั ๖) วิจยั และพฒั นารูปแบบการพัฒนาศกั ยภาพของ ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ ๗) ศึกษา วิจัย กำหนดทศิ ทางการผลิต พัฒนาครู อาจารย ์ และบุคลากรทางการศึกษา ๘) ศึกษา วิจัยเก่ียวกับการยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานวชิ าชีพ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๙) ศกึ ษา วจิ ัย ติดตาม ประเมนิ และรายงานสภาวการณ์และ ผลการจัดการศกึ ษาของประเทศ ๑๐) จัดทำ ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมาย และระเบียบที่เก่ยี วขอ้ ง ๑๑) ดำเนินการในภารกจิ อื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑) พัฒนาระบบและรปู แบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากร ข้าราชการครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการผลิตและ ทางการศึกษา พัฒนาครู ตามความตอ้ งการใช้ครู ทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพในแตล่ ะระยะ ๒) พฒั นาระบบการสรรหาคนดี คนเกง่ มีความศรทั ธาในวิชาชีพ เขา้ มาเปน็ คร ู ๓) พฒั นามาตรฐานหลกั สตู รวชิ าชีพ ตามกรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (TQF) ๔) ดำเนินการในภารกจิ อนื่ ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ■ สำนักงานเลขาธกิ าร ๑) พฒั นามาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพครู ครุ ุสภา อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ๒) พฒั นาระบบการประเมนิ ตามระดับคณุ ภาพของมาตรฐาน วิชาชพี เพื่อการต่ออายใุ บอนญุ าตประกอบวิชาชพี
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 159 ตาราง ๑๙ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ สูก่ ารปฏิบตั ิ (ต่อ) ระดับ หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนินการ ๓) ปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบยี บท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั วชิ าชีพ จรรยาบรรณวิชาชพี การประเมินความร้แู ละสมรรถนะ และ การออกใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ๔) ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องในการรบั ชาวตา่ งชาติ มาสอนหรือชว่ ยจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา สถาบนั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ๕) พัฒนาระบบและรปู แบบการพฒั นาครู อาจารย์ และบคุ ลากร ทางการศกึ ษาเพ่อื ใหค้ รทู ุกระดบั และประเภทการศึกษา ได้รบั การพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่ืน ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน • หน่วยงานอนื่ ท่เี ก่ียวข้องกับ ๑) พฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน หลักสูตรการศึกษา การจัดการศึกษาระดบั การศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน สำหรับกลุ่มทม่ี ีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ กลุม่ ความสามารถ พเิ ศษ และกล่มุ ดอ้ ยโอกาส ๒) พฒั นารูปแบบการจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี ๒๑ ของผเู้ รยี น ๓) จดั การศกึ ษาและการเรียนรใู้ นรูปแบบทเี่ หมาะสมและ มีคณุ ภาพสำหรบั ผ้เู รียนกลมุ่ ท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ กลุม่ ความสามารถพเิ ศษ และกลมุ่ ดอ้ ยโอกาส ๔) สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ งั้ ในและ นอกห้องเรียน เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ความมวี ินยั และจติ สาธารณะของผูเ้ รียน ๕) สง่ เสริมการจดั กิจกรรมเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะทส่ี ำคญั ของ คนในสงั คมไทย อาทิ ความรับผดิ ชอบ การตรงตอ่ เวลา การเคารพความคิดเหน็ ทีแ่ ตกตา่ ง การทำงานเปน็ หมคู่ ณะ ๖) สนับสนนุ การผลิตและพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอน และ ส่อื การเรยี นรู้ทมี่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน ท้งั ส่ือส่ิงพิมพแ์ ละ ส่อื ดิจิทัล ๗) ประเมนิ คณุ ภาพและมาตรฐานสื่อการเรียนร้ใู นระดบั การศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน ๘) พฒั นารูปแบบและวธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ ี่มี มาตรฐาน รวมทง้ั พฒั นาและจัดระบบการเทียบความร้ใู นระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ๙) ส่งเสริมสนบั สนนุ การมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ นในสังคม ในการสนับสนุนหรอื รว่ มจดั การศกึ ษา ๑๐) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาสถานศึกษาท่ีเปน็ หนว่ ยปฏิบตั ิ การสอนให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
160 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๙ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ สู่การปฏบิ ตั ิ (ตอ่ ) ระดับ หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การ ๑๑) เรง่ รัดพัฒนาครปู ระจำการที่สอนไมต่ รงวฒุ ิ ครทู ่สี อนคละชั้น และครใู นสาขาวชิ าทข่ี าดแคลน ๑๒) ดำเนนิ การในภารกิจอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ■ สำนกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา ๑) พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษาเพ่ือการพัฒนา • หนว่ ยงานอื่นทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับ การจัดการศกึ ษาระดับ ทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงคต์ ามมาตรฐาน อาชีวศกึ ษา หลกั สตู รและมาตรฐานอาชพี /วชิ าชพี ๒) พัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้เพอื่ พฒั นาคณุ ลกั ษณะ และ ทกั ษะทส่ี ำคญั จำเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ของผเู้ รยี น ๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ้งั ในและ นอกห้องเรยี น เพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ความมีวินยั และจิตสาธารณะของผู้เรยี น ๔) พัฒนาครู อาจารย์ผู้สอนในสถานศึกษาและครูฝึก ในสถานประกอบการ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๕) ดำเนนิ การในภารกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง การอดุ มศกึ ษา • หน่วยงานอืน่ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ๑) พฒั นาหลักสตู รการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาเพอื่ การพฒั นา การจดั การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา ทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะทพ่ี ึงประสงคต์ ามมาตรฐาน หลกั สตู รและมาตรฐานอาชีพ/วชิ าชีพ ๒) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พัฒนารปู แบบการจดั การเรียนรู้ และ การจดั การเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นาคุณลักษณะ/ทกั ษะท่ีสำคัญ จำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ความมีวนิ ัย และจิตสาธารณะของผู้เรียน ๓) จัดให้มกี ลไกกำหนดนโยบายและแผนการผลิต ระบบการผลติ และพัฒนาครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔) ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาสถาบนั การศึกษาท่เี ปน็ หน่วยผลติ ครู พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐานสงู ในสาขาวิชาที่เช่ยี วชาญ ๕) เรง่ รดั การผลติ และพัฒนาครูในสาขาวชิ าท่ขี าดแคลน ๖) สง่ เสริมและกำกับใหส้ ถาบนั ผลติ ครูจัดการเรียนการสอน ตามมาตรฐานหลกั สตู ร และมาตรฐานวชิ าชีพครู และพัฒนา ส่กู ารเปน็ สถาบันผลิตครูวชิ าชพี ชนั้ สงู และผลติ ครูในระบบ จำกดั รับตามความต้องการใชค้ ร ู ๗) ดำเนินการในภารกจิ อืน่ ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 161 ตาราง ๑๙ บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ สูก่ ารปฏิบัติ (ตอ่ ) ร ะดบั หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ■ สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษา ๑) พัฒนาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยในระดับ นอกระบบและการศึกษา การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานและอาชวี ศกึ ษา ตามอธั ยาศยั • หน่วยงานอ่ืนที่เกีย่ วข้องกับ ๒) จัดการศกึ ษาตามหลักสูตรสำหรับกลุ่มการศกึ ษาเฉพาะดา้ น การจดั การศกึ ษานอกระบบ เฉพาะทาง กล่มุ ผดู้ ้อยโอกาส กลุ่มผ้สู ูงวยั ในทกุ ระดบั และการศึกษาตามอธั ยาศยั การศึกษา ทั้งการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัย ๓) ใหบ้ ริการการศึกษา การเรียนรู้และการวัดและประเมินผล แก่ประชาชนผ่านระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัล ๔) พฒั นาระบบการเทยี บประสบการณ์ การเทยี บโอนความรู้ รวมทั้งส่งเสริมการประเมนิ สมรรถนะตามมาตรฐานฝมี อื แรงงาน และคณุ วฒุ ิวชิ าชีพ ๕) สง่ เสรมิ การศกึ ษา การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชน วยั ทำงานและผสู้ ูงวัย ด้วยรูปแบบวธิ ที ห่ี ลากหลาย สนองตอบ ความต้องการ และความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย ๖) จัดรปู แบบการศึกษาเรียนรผู้ า่ นระบบการให้บริการท่มี ี ประสทิ ธิภาพ สะดวก ไม่จำกดั เวลา และสถานท่ี ๗) สนบั สนุนการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนในสังคมเพ่ือการผลิต ส่ือการเรยี นร้ทู ีม่ ีคณุ ภาพและมาตรฐานสำหรับคนทุกช่วงวัย ๘) ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรูร้ ว่ มกันของ ครอบครัว กลุ่มสนใจ และชมุ ชนทส่ี อดแทรกทักษะทางสังคม คุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ ๙) สง่ เสริมและจัดกจิ กรรมฝึกฝนทกั ษะชีวติ และทกั ษะอาชีพ ใหก้ ับประชาชน ท้ังวยั ทำงานและผู้สงู วยั ผา่ นส่อื การเรียนรู้ • หนว่ ยงานอ่ืนทีร่ ่วมจดั การศึกษา ทหี่ ลากหลาย โดยเฉพาะส่ือดจิ ิทลั เพอื่ การศึกษาและเรียนรู้ ตลอดชีวิต ๑๐) พฒั นาแหล่งเรยี นรูท้ ่ีมีคณุ ภาพในรปู แบบตา่ ง ๆ ให้ประชาชน เข้าถึง สามารถศึกษาเรยี นรู้และนำความรู้และแนวปฏบิ ัติไปใช้ ประโยชนใ์ นการพฒั นาคุณภาพชีวิต ๑๑) ดำเนินการในภารกจิ อ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ๑) พัฒนาหลกั สตู รการศึกษาในการจัดการศกึ ษาสำหรับกลุ่ม การศึกษาเฉพาะด้าน เฉพาะทาง ๒) จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรยี นตามระดับการศึกษาและ กลมุ่ เปา้ หมายที่รบั ผิดชอบด้วยหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้ ส่อื และการวัดและประเมนิ ผลท่มี มี าตรฐานตามทกี่ ำหนด ๓) ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั กิจกรรมการเรียนรรู้ ว่ มกนั ของ ครอบครัว กลุ่มสนใจ และชุมชนท่ีสอดแทรกทักษะทางสงั คม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ รวมทัง้ กิจกรรมฝกึ ฝน ทักษะชีวติ และทกั ษะอาชีพ ๔) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
162 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๑๙ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ที่ ๓ สู่การปฏบิ ัติ (ต่อ) ระดบั หน่วยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนินการ ส่วนภมู ิภาค • สำนักงานศึกษาธิการภาค/ ๑) กำหนดเป้าหมายการพฒั นาผูเ้ รียนในสว่ นท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพ สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัด/ และบริบทของพื้นที่ ท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • หนว่ ยงานอ่นื ทเ่ี กย่ี วข้องในระดบั ๒) ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาสำหรบั คนทุกชว่ งวัยในพ้ืนที่ โดย ภูมภิ าค/พื้นท ่ี บรู ณาการการให้บรกิ ารการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ และหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง ๓) สง่ เสริมการพัฒนาหลักสูตรท้องถนิ่ ท่ีสอดคลอ้ งกับบริบทพนื้ ท่ี ภูมิสงั คม อาชพี ท่ีสนองตอบการพัฒนาเอกลักษณ์ เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและความต้องการของชุมชนและภูมภิ าค ๔) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนร้เู พอ่ื สรา้ งความรกั ความภมู ใิ จใน ชุมชน และพื้นท่ี สบื สานศิลปวฒั นธรรม ประเพณแี ละคา่ นยิ ม ทด่ี งี าม ๕) ส่งเสรมิ การใชส้ อื่ และแหล่งเรยี นรู้ และการใช้ประโยชน ์ ของภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ปราชญช์ าวบ้านในกระบวนการ จดั การเรียนรู้ ๖) ส่งเสริมสนับสนุนการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ นในการสง่ เสริม การเรียนรตู้ ามอธั ยาศัย และการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นร ู้ ในชมุ ชน ผ่านการพฒั นาแหล่งการเรียนรูท้ ีม่ ีมาตรฐานและ หลากหลาย ๗) กำกบั ติดตาม และสนับสนนุ การดำเนินงานของสถานศกึ ษา และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องใหบ้ รรลุผลตามเป้าหมาย ของการจดั การศกึ ษา ๘) จดั ระบบและรูปแบบการพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษา ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของภูมิภาคและพืน้ ท ี่ สถานศึกษา ทกุ สังกัด ๙) ส่งเสรมิ การพฒั นาครูสู่การเป็นครแู กนนำ (Master Teacher) และครูมอื อาชพี (Professional Teacher) ทสี่ ะท้อนทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของวชิ าชพี ครู ๑๐) ดำเนินการในภารกจิ อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๑) จัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู รการศึกษาในระดับ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ๒) สง่ เสริม สนับสนุนและจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทงั้ ในและ นอกห้องเรยี น และกิจกรรมการเรยี นร้รู ่วมกันของครอบครัว กลุ่มสนใจ และชมุ ชน ทสี่ อดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม ความมวี นิ ยั จิตสาธารณะ ๓) จัดกจิ กรรมที่ส่งเสรมิ แนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั การดำรงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และหลกั ธรรมของ ศาสนาที่ถูกต้อง
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 163 ตาราง ๑๙ บทบาทของหนว่ ยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่กู ารปฏิบตั ิ (ต่อ) ระดบั หนว่ ยงาน รับผิดชอบดำเนนิ การ ๔) จดั กจิ กรรมเพือ่ พฒั นาทักษะการศกึ ษาเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ของผู้เรยี น ๕) จัดกจิ กรรมพฒั นาพฤตกิ รรม และวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ทีพ่ ึงประสงค์ อาทิ การมีวินยั การตรงต่อเวลา การเคารพ ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกตา่ ง การทำงานเป็นกลุ่มคณะ ๖) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถปฏิบัตงิ าน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๗) ส่งเสริมการพฒั นาวิชาชีพครูในสถานศึกษาดว้ ยการส่งเสริม ใหม้ ีชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพหรือ Professional Learning Community (PLC) ๘) คัดสรรและพฒั นาสถานศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพและมาตรฐานเพือ่ เปน็ หนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารสอนของสถาบันการผลิตครู ๙) จดั การเรียนรู้ และประเมินความสามารถดา้ นการใชภ้ าษา อังกฤษตามมาตรฐานความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (CEFR) ของผู้สำเร็จการศกึ ษาระดับต่าง ๆ หอ้ งเรยี น ทกุ ระดับ ๑๐) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่นื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง ๑) พัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สูตรการศกึ ษาในระดับ ท่รี ับผิดชอบ ๒) จดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาความรู้ ทักษะและ คณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรูข้ องหลักสูตร ๓) จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่มุ่งพัฒนาทักษะการเรียนร้ ู ในศตวรรษที่ ๒๑ และคณุ ธรรม จริยธรรม โดยเนน้ การพฒั นา ทกั ษะ การคิดวิเคราะห์ ความคดิ สร้างสรรค์ การพฒั นา นวตั กรรมและความรบั ผิดชอบ ๔) จัดการเรยี นรู้ด้วยรูปแบบการเรียนรูท้ ่เี หมาะสม สอดคลอ้ งกับ เปา้ หมายการพัฒนาผ้เู รียน อาทิ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก สะเต็มศึกษา การเรียนรู้และฝกึ ประสบการณเ์ สมือนจรงิ ๕) จัดการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ่ือทเี่ หมาะสม และมปี ระสิทธิภาพ ทง้ั ส่อื สิ่งพิมพแ์ ละสื่อดจิ ทิ ลั ๖) วดั และประเมนิ ผลตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละนำผล การประเมินไปใชเ้ พื่อการพฒั นาผูเ้ รียนอย่างต่อเนอื่ ง ๗) ดำเนนิ การในภารกจิ อืน่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
164 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขับเคลื่อนยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคให้แก่ คนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่ม ทุกพ้ืนที่ และทุกระดับการศึกษา ในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีมี คุณภาพในรูปแบบท่ีเหมาะสม ทัดเทียมกันตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และพัฒนา เช่ือมโยง ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษา และข้อมูลอื่นท่ีเกี่ยวข้องให้เป็นระบบเดียวกัน ท้ังหน่วยงานกลางและระหว่างกระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็น ปัจจุบัน เชื่อมโยงกันได้ และเพ่ือให้ทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลร่วมกัน เพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย การวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมิน และ รายงานผลด้านการศึกษา รวมทั้งเปน็ การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี ิจิทลั อย่างทว่ั ถึง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 165 บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ สู่การปฏิบตั ิ ตาราง ๒๐ บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ระดบั หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ ส่วนกลาง • กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑) ประกนั โอกาสการเข้ารับบรกิ ารทางการศึกษาระดับการศกึ ษา ■ สำนกั งานปลดั ข้ันพน้ื ฐานใหแ้ กผ่ ู้เรยี นในทกุ พืน้ ท่ี ครอบคลมุ ผู้ท่มี ี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร • หนว่ ยงานอื่นทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ความต้องการจำเป็นพเิ ศษ กับการจัดการศึกษา ๒) กำหนดนโยบายเพอื่ สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาแบบเรยี นรวม (Inclusive Education) ในทกุ ระดับการศึกษา ๓) พฒั นาสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม และจดั สรรบุคลากร เพื่อช่วยเหลอื ผู้เรยี นทีม่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ ๔) สนับสนุนให้ทอ้ งถ่ินและเอกชนมาร่วมมือพฒั นาและ จดั การศึกษา ๕) เสริมสร้างโอกาสใหเ้ ด็กและเยาวชนที่กระทำความผดิ มีทกั ษะ เพื่อการประกอบอาชีพ และการกลับไปดำรงชวี ิตในสงั คม ๖) พฒั นาโครงสรา้ งและระบบข้อมลู สารสนเทศ ดา้ นการศึกษา และดา้ นอ่นื ที่บูรณาการและเชอื่ มโยงระหว่างหน่วยงาน สว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค และสถานศกึ ษา ทง้ั ภายในหนว่ ยงาน และระหวา่ งหนว่ ยงานในกระทรวง และนอกกระทรวง ศึกษาธกิ าร ๗) จดั ให้มกี ารเช่ือมโยงและแลกเปล่ยี นข้อมูลรายบุคคลทกุ ชว่ งวยั ระหวา่ งหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุน การเรียนรู้ตลอดชีวติ ๘) พฒั นาเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื ให้ทกุ ฝ่ายสามารถ เขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์อย่างเตม็ ประสทิ ธิภาพจากระบบขอ้ มลู สารสนเทศทีถ่ กู ตอ้ งและเป็นปจั จบุ ันได้ตลอดเวลา ๙) พัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ความเร็วสงู ให้บริการครอบคลุม สถานศกึ ษาและสถาบนั การศกึ ษาทุกแห่งทว่ั ประเทศ ๑๐) จัดตั้งสถาบนั เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา กองทุนพฒั นาเทคโนโลยี เพ่อื การศึกษา และจัดต้งั สถานโี ทรทศั น์และผลิตรายการ เพอ่ื การศึกษา ๑๑) ปรับปรุง แกไ้ ขกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง ๑๒) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
166 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๐ บทบาทของหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ ส่กู ารปฏิบตั ิ (ตอ่ ) ระดับ หน่วยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ ■ สำนกั งานเลขาธกิ าร ๑) ศึกษา วิจัย จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกยี่ วกับการสร้างโอกาส สภาการศึกษา ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา • หนว่ ยงานอ่นื ท่ีเกย่ี วข้อง กับการจัดการศกึ ษา ๒) ออกแบบและพฒั นาฐานขอ้ มลู และสารสนเทศระดับ สถานศึกษา จำแนกตามหนว่ ยงาน/สังกดั ระดบั /ประเภท การศึกษา ที่สามารถบูรณาการและเชอ่ื มโยงกบั ระบบ การประกนั คณุ ภาพภายใน การประเมินคณุ ภาพภายนอก และ ระบบตดิ ตามประเมินผลการพัฒนาการศกึ ษา ตามยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการท่สี อดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาต ิ ๓) ประสานและติดตามประเมินผลการใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูล สารสนเทศ ๔) ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผน การศกึ ษาแหง่ ชาติ และในมติ อิ นื่ ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง ๕) จัดทำ ปรบั ปรุง แกไ้ ขกฎหมาย และระเบียบทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๖) ดำเนนิ การในภารกิจอ่ืน ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๑) จดั การศึกษาและเรียนรูใ้ นรปู แบบทเี่ หมาะสมและมีคุณภาพ การอาชวี ศกึ ษา เพื่อสร้างโอกาสและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตสำหรับผเู้ รยี นกลุ่ม ■ สำนักงานคณะกรรมการ ท่ีมีความต้องการจำเปน็ พิเศษ กลุ่มความสามารถพิเศษ และ การอดุ มศกึ ษา กลมุ่ ด้อยโอกาส • หนว่ ยงานอ่ืนทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ๒) ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาแบบเรียนรวม (Inclusive กับการจดั การศกึ ษาสำหรับ Education) ให้ครอบคลุมและทว่ั ถึงมากขนึ้ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้าน ๓) จดั สรรบุคลากรเพอื่ ชว่ ยเหลอื เดก็ ทีม่ คี วามตอ้ งการจำเป็น เฉพาะทางในระดบั ตา่ ง ๆ พเิ ศษใหเ้ พยี งพอ ๔) พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอนทเี่ หมาะสมสำหรับผเู้ รยี นที่มี ความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ ๕) จัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดว้ ยระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทีถ่ กู ตอ้ ง เป็นปัจจุบัน และ มกี ารปรบั ปรุงขอ้ มลู ทุกไตรมาส ๖) จัดทำระบบสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถกู ตอ้ ง เป็นปจั จุบัน และสามารถอ้างองิ และใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างหนว่ ยงานได้ ๗) จัดทำฐานข้อมูลสือ่ การเรยี นการสอน และสือ่ การเรยี นร้ทู ไ่ี ด้ คณุ ภาพและมาตรฐาน ๘) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดจิ ิทลั ให้ครอบคลุมทกุ พ้นื ท่ี เพื่อสนับสนุนการจดั การเรียนรใู้ นรปู แบบ DLTV DLIT และให้ บรกิ ารสอื่ การเรียนรู้และการทดสอบความร้ใู นระดับการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน ๙) ดำเนนิ การในภารกจิ อืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 167 ตาราง ๒๐ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ ส่กู ารปฏบิ ัติ (ตอ่ ) ระดับ หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนินการ ส่วนภมู ภิ าค ■ สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษา ๑) สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษานอกระบบ และการเขา้ ถงึ นอกระบบและการศึกษา แหล่งเรยี นรทู้ ่สี อดคลอ้ งกบั ความสนใจ และวถิ ชี วี ติ ของผเู้ รยี น ตามอธั ยาศัย • หนว่ ยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย กบั การจดั การศกึ ษานอกระบบ ๒) เรง่ พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ท่ีเอ้อื ตอ่ การศึกษาและการเรยี นร ู้ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถ ใหบ้ ริการไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ ๓) จัดทำข้อมูลและสารสนเทศรายบคุ คลของผู้เรยี น และข้อมลู ดา้ นอ่นื ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง ผ่านระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั • หนว่ ยงานอนื่ ทร่ี ่วมจดั ๔) ดำเนินการในภารกจิ อน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง การศกึ ษาเฉพาะกลมุ่ เฉพาะด้าน ๑) จัดการศกึ ษาและเรยี นรู้ในรูปแบบทเี่ หมาะสมและมีคณุ ภาพ เพอ่ื สรา้ งโอกาสและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ สำหรับผู้เรียน เฉพาะกล่มุ เฉพาะด้าน ๒) จดั ทำขอ้ มูลและสารสนเทศรายบุคคลของผเู้ รยี น และขอ้ มลู ด้านอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ผา่ นระบบเทคโนโลยีดิจิทลั ๓) รายงานผลการดำเนนิ งาน ปญั หา อุปสรรค ต่อหน่วยงาน • สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค/ ต้นสงั กัด เพ่อื การปรับปรุงและพฒั นาใหร้ ะบบมคี วามสมบูรณ ์ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด/ ๔) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา • หน่วยงานอื่นทเ่ี กี่ยวข้อง ๑) ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาและเรยี นรใู้ นรปู แบบท่ีเหมาะสมและ ในระดับภูมภิ าค/พ้นื ท ่ี มีคุณภาพ เพือ่ สร้างโอกาสและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต สำหรับ ผ้เู รยี นทุกกล่มุ เปา้ หมาย ๒) พัฒนาระบบขอ้ มูลและสารสนเทศ เพ่ือการบริหารจดั การ ระดับสถานศึกษา หนว่ ยงานส่วนภูมิภาค และหนว่ ยงาน ส่วนกลาง ๓) ส่งเสริมใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาในพื้นท่ใี ช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ผา่ นระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การบนั ทึกและ จดั กระทำขอ้ มูลและสารสนเทศสำหรบั สถานศกึ ษา ๔) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาบุคลากรที่เกยี่ วข้อง เพือ่ ให้เกดิ การบูรณาการและเชอ่ื มโยง สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องและ เปน็ ปจั จบุ นั และใช้ประโยชน์เพ่อื การบริหารจดั การและ การพัฒนาการศกึ ษา ๕) ดำเนนิ การในภารกจิ อืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง
168 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๐ บทบาทของหน่วยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ สู่การปฏบิ ัติ (ต่อ) ระดบั หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนนิ การ สถานศกึ ษา ทุกสังกดั ๑) จัดการเรียนรูใ้ นรปู แบบที่เหมาะสมและมีคณุ ภาพ สำหรับ ผู้เรยี นกลุ่มที่มคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ ทัง้ กลมุ่ ความสามารถพิเศษ และกลุ่มด้อยโอกาส ๒) จัดการศกึ ษา บันทึกและจดั กระทำข้อมูลและสารสนเทศ รายบคุ คลของผู้เรยี นและขอ้ มูลทเ่ี กยี่ วขอ้ งผา่ นระบบ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ๓) รายงานผลการดำเนนิ งาน ปญั หา อปุ สรรค ต่อหนว่ ยงาน ตน้ สงั กดั เพื่อการปรบั ปรงุ และพฒั นาใหร้ ะบบมีความสมบูรณ์ ท้ังด้าน software hardware และ peopleware ๔) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 169 การขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ : การจัดการศึกษาเพอ่ื สร้างเสริมคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เป็นยทุ ธศาสตรท์ ่มี ีจดุ มงุ่ หมายเพื่อสรา้ งจติ สำนึก ปลกู ฝังทัศนคติ คา่ นยิ ม วัฒนธรรมของคนทุกช่วงวัยในพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ การจัดทำฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การสร้าง ความตระหนัก และเสริมสร้างศักยภาพให้ประชาชนสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้เพ่ือจัดการในเรื่อง ภยั ธรรมชาติ ความมัน่ คงทางอาหาร พลังงาน และการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติได้ รวมทัง้ พฒั นา แหล่งเรียนรู้ที่เก่ียวข้องให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น หลากหลาย สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพื้นทีต่ ่าง ๆ ได้
170 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ สู่การปฏบิ ตั ิ ตาราง ๒๑ บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์ท่ี ๕ สู่การปฏิบัต ิ ระดบั หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบดำเนินการ ส่วนกลาง • กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑) กำหนดนโยบายการจดั การศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให ้ ■ สำนักงานปลดั คนทกุ ชว่ งวัยมีพฤตกิ รรม และทักษะท่ีสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิต กระทรวงศึกษาธิการ ที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม • หนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับขอ้ มลู ๒) สง่ เสริมสนบั สนุนให้ทกุ ภาคสว่ นพฒั นาการวิจยั องค์ความรู้ นโยบาย แผนการสร้างเสรมิ และนวัตกรรมที่เกย่ี วขอ้ งกับการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั ท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม สงิ่ แวดล้อม ๓) ส่งเสริมให้ทกุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ทีม่ มี าตรฐาน เพ่อื เสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และจิตสำนึก เก่ียวกับสิ่งแวดลอ้ มให้กับคนทุกชว่ งวยั ๔) สร้างกลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศึกษา ชมุ ชน สงั คม และ หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง เพอ่ื สรา้ งจิตสำนกึ ปลกู ฝังทัศนคติ คา่ นยิ ม วฒั นธรรมของคนทุกชว่ งวัยในการสร้างเสรมิ คณุ ภาพ ชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๕) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท้งั ในและ นอกหอ้ งเรยี น เพอื่ พฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ๖) ส่งเสริมการนำแนวปฏิบัติในการดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และหลกั ธรรมของศาสนาไปปฏบิ ัต ิ ในชีวติ จริง ๗) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑) พัฒนาหลกั สูตรในระดบั การศกึ ษาต่าง ๆ ท้ังการศึกษาในระบบ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และนอกระบบที่สร้างจติ สำนึก ความตระหนัก และพฤติกรรม ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม โดยคำนึงถึง การอาชวี ศกึ ษา บรบิ ทท่ีแตกต่างกนั ของแต่ละทอ้ งถ่ิน ๒) จัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รท่ีสร้างเสรมิ คณุ ภาพ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ชีวิตท่เี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม การอุดมศึกษา • หนว่ ยงานอนื่ ทจี่ ัดการศึกษาระดับ ๓) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้/กจิ กรรมท้ังในและ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน อาชวี ศกึ ษา นอกหอ้ งเรยี น เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจติ สำนึก ความรับผิดชอบ และอุดมศกึ ษา ๔) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรยี นร้/ู กิจกรรม/สื่อการเรียนรู้ • หนว่ ยงานอนื่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ในการนำแนวปฏิบตั ใิ นการดำรงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของ กับการจัดการศึกษาสำหรบั เศรษฐกจิ พอเพียง และหลกั ธรรมของศาสนาไปปฏิบตั ิ กลุม่ เปา้ หมายเฉพาะด้าน เฉพาะทางในระดบั ต่าง ๆ ในชวี ติ จรงิ ๕) พฒั นาและอบรมครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ในเรอื่ งการจดั การเรยี นการสอนทส่ี ง่ เสรมิ การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และแนวปฏบิ ตั ิ ในการดำรงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230