แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 171 ตาราง ๒๑ บทบาทของหน่วยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ สกู่ ารปฏิบัติ (ต่อ) ร ะดับ หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบดำเนินการ ๖) ปลกู ฝังและพฒั นาผู้เรียน/บัณฑิตใหม้ ีพฤติกรรม คุณลักษณะ และทกั ษะท่สี รา้ งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม และสามารถประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นตัวอย่างทีด่ ใี หก้ ับบุคคล อ่นื ๆ ได ้ ๗) สง่ เสริมสถาบนั การศึกษาให้ผลิตบุคลากรสาขาเฉพาะดา้ น หรือมคี วามเชยี่ วชาญระดบั สูงดา้ นส่ิงแวดล้อม ๘) ศกึ ษา วิจัยสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรม และสรา้ งเครอื ขา่ ย ความรว่ มมือกับตา่ งประเทศเกี่ยวกบั การพฒั นาคุณภาพชีวิต ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม การจดั การทรพั ยากรธรรมชาต ิ ภยั ธรรมชาติ ความม่นั คงทางอาหาร และพลังงาน สว่ นภมู ภิ าค • สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค/ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด/ ๙) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ท่เี กี่ยวข้อง สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา • หนว่ ยงานอ่นื ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ๑) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัยให้มพี ฤตกิ รรม ในระดบั ภมู ิภาค/พน้ื ท่ี และทักษะทสี่ ร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม ๒) พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ และสื่อการเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่ีมคี ุณภาพ มาตรฐาน ในเร่อื งสงิ่ แวดลอ้ มท่ีสอดคล้องกบั บริบทของสงั คม และวัฒนธรรมในแตล่ ะพ้นื ท่ใี ห้กบั คนทุกชว่ งวัย ๓) สนับสนุนและใหค้ วามรว่ มมือกับทกุ ภาคส่วนในการมสี ว่ นรว่ ม พัฒนาแหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ีมาตรฐานในเร่อื งการสร้างเสรมิ คุณภาพ ชีวติ ที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อมให้กับคนทุกช่วงวยั ๔) พฒั นาระบบข้อมลู และสารสนเทศดา้ นการศึกษาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๕) กำกับ ติดตาม และสนบั สนุนการดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศกึ ษา ทกุ สงั กดั และทุกระดบั การศึกษา และหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งให้บรรลุผลตามเปา้ หมาย และหอ้ งเรยี น ของการจดั การศึกษาเพื่อสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตร กบั สง่ิ แวดลอ้ ม ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่ืน ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนทงั้ ในและ นอกห้องเรียน และกจิ กรรมการเรยี นรู้ร่วมกันของครอบครวั กลุ่มสนใจ และชุมชน ที่สอดแทรกการสรา้ งจติ สำนกึ ปลกู ฝัง ทศั นคติ คา่ นยิ ม วัฒนธรรมทเ่ี กย่ี วกับการสร้างเสริมคณุ ภาพ ชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ๒) พัฒนาแหล่งเรียนรูท้ ่เี กยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ให้มกี จิ กรรมท่ีมคี วามยืดหย่นุ หลากหลาย และสามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของคนในพนื้ ที่ ต่าง ๆ ได้ ๓) ดำเนินการในภารกิจอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
172 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การขับเคล่อื นยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ : การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิดระบบ/รูปแบบการบริหาร จัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคมและพัฒนาระบบ การเงินเพื่อการศึกษาให้รัฐสามารถใช้ทรัพยากรในการกำหนดทิศทางการผลิตและพัฒนาผู้เรียน และกำลังคนของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐานแก่ผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สนองตอบความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา และสังคม ด้วยความรับผิดชอบ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล รวมท้ัง พัฒนาระบบการผลิต ใช้และพัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงกับความรู้ ความสามารถ มคี วามก้าวหน้าในวิชาชพี
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 173 บทบาทของหนว่ ยงานระดับต่าง ๆ ในการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ สกู่ ารปฏิบตั ิ ตาราง ๒๒ บทบาทของหน่วยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ สูก่ ารปฏิบตั ิ ระดบั หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบดำเนินการ ส่วนกลาง • กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑) ปรับปรุงโครงสรา้ งและระบบการบรหิ ารจัดการที่ม ี ■ สำนักงานปลดั ความเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบตั ิได้อยา่ งเป็นรูปธรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และขยายผลไปส่หู นว่ ยงานต่าง ๆ ท้ังระดบั หน่วยงาน • หนว่ ยงานอื่นท่ีเกย่ี วขอ้ ง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษา กบั การพฒั นาระบบบริหาร ๒) กำหนดนโยบายการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การ จัดการศกึ ษา • หน่วยงานอื่นท่ีเก่ยี วขอ้ ง สถานศกึ ษาขนาดเล็ก และสถานศกึ ษาทตี่ ้องการ กับการพฒั นาระบบการเงิน ความชว่ ยเหลอื และพฒั นาเป็นพิเศษอย่างเรง่ ด่วน เพอ่ื การศึกษา เพอื่ สร้างคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศกึ ษาในทกุ พน้ื ที่ ๓) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ศักยภาพและความพรอ้ มของหนว่ ยงาน บุคคล สมาคม มูลนธิ ิ สถานประกอบการ สถาบนั /องคก์ ร ต่าง ๆ ในสังคม ในการสนับสนนุ หรือมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา โดยเฉพาะการมีสว่ นร่วมรปู แบบประชารัฐ ๔) กำหนดมาตรการจงู ใจในการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการระดมทนุ หรอื รว่ มสนบั สนุนการศกึ ษาของทุกภาคสว่ นในสังคม ผา่ นมาตรการทางการเงนิ และการคลงั ๕) กำหนดนโยบายการพัฒนาระบบการเงนิ เพ่ือการศึกษาท ี่ สง่ ผลต่อคุณภาพและประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษา ๖) กำหนดกลไกกลางรบั ผิดชอบระบบการเงนิ เพ่ือการศึกษา ทำหนา้ ทีก่ ำกบั ทศิ ทาง ยทุ ธศาสตร์ และการดำเนนิ งาน ในด้านต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง ๗) จดั ระบบการจัดสรรงบประมาณผ่านอปุ สงค์และอปุ ทาน การพัฒนาระบบบญั ชสี ถานศกึ ษา และการรายงานการเงนิ ผา่ นระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั ๘) ปรบั ปรุงและพัฒนาระบบ และวธิ กี ารจัดสรรงบประมาณ ที่ใชส้ นับสนนุ ผเู้ รียนและการจดั การศกึ ษา ใหเ้ ป็นกลไก ในการสรา้ งทักษะแรงงานระดบั กลางและระดบั สูง และกำกับ เป้าหมายการผลติ กำลงั แรงงานในสาขาทส่ี อดคลอ้ งกับ ความต้องการจำเปน็ ในการพฒั นาประเทศ ๙) กำหนดนโยบายการบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และ บคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ หมาะสมกบั สภาวการณ์ด้าน โครงสร้างประชากร และความต้องการในการพฒั นาคณุ ภาพ ผ้เู รยี นและสมรรถนะกำลังคนของประเทศ ๑๐) ปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูลความตอ้ งการใชค้ รใู ห้เหมาะสมกับ สถานการณ์ และสดั สว่ นของประชากรวยั เรยี น ๑๑) จดั ทำแผนการใช้ครขู องประเทศ และกำกับดแู ลการใช้ครู ใหเ้ ป็นไปตามความต้องการใช้ครูของประเทศ
174 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๒ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ต่าง ๆ ในการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ สู่การปฏบิ ัติ (ตอ่ ) ระดับ หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบดำเนนิ การ ๑๒) จัดทำ ปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมาย ประกาศ ระเบียบและ แนวปฏิบตั ใิ นส่วนต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ๑๓) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่นื ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ■ สำนกั งานเลขาธิการ ๑) ศกึ ษา วจิ ยั ทศิ ทางระบบบรหิ ารจดั การศึกษา รูปแบบ สภาการศกึ ษา การบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากร • หน่วยงานอ่นื ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ทางการศกึ ษา กับการพฒั นาระบบการเงิน ๒) ศึกษาวิจยั และพฒั นาระบบการเงนิ เพือ่ การศึกษา เพื่อศึกษา ทัง้ ดา้ นการระดมทนุ การจดั สรรทุน และการบริหารจดั การ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ๓) ปรับปรงุ และพัฒนาระบบการจดั สรรเงนิ ผ่านดา้ นอุปสงค์และ อุปทานของสถานศึกษา ๔) ออกแบบและพฒั นาระบบการบริหารจดั การกองทนุ เพ่ือ การศึกษาตามบทบญั ญัติในรัฐธรรมนูญ ๕) พฒั นาระบบกองทุนเพ่อื การศึกษารูปแบบต่าง ๆ ใหเ้ กิด ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล เพ่อื เปน็ เครอื่ งมือในการกำกับ การผลิตกำลงั คนของสถาบันการศกึ ษาใหส้ นองตอบ ความตอ้ งการของการพัฒนาประเทศ ๖) ดำเนินการในภารกจิ อน่ื ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง • สำนกั งานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศกึ ษา ๑) พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (องค์การมหาชน) ทีบ่ ูรณาการเชื่อมโยงกับระบบการประกนั คุณภาพภายใน การประเมนิ คุณภาพภายนอก และการติดตามประเมินผลของ หน่วยงานสว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าค ๒) พัฒนาระบบการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษาของ สถานศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทการศึกษา ๓) ปรับปรงุ ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ ระบบทีไ่ ม่ยงุ่ ยากตอ่ การปฏิบตั ิ และไมเ่ ปน็ ภาระของ ผู้สอน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาแต่ละระดบั และ เปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ๔) ดำเนินการในภารกิจอน่ื ๆ ที่เกี่ยวข้อง ■ สำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการครแู ละบุคลากร ๑) พฒั นาระบบการใชค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหป้ ฏบิ ตั งิ าน ทางการศกึ ษา ตรงกับความรู้ความสามารถ ๒) พัฒนาระบบการสรรหาและแตง่ ต้งั ผู้บริหารการศกึ ษา และ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 175 ตาราง ๒๒ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ท่ี ๖ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (ต่อ) ร ะดบั หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนนิ การ ๓) พัฒนาระบบประเมินสมรรถนะครูตามมาตรฐานวชิ าชพี รวมทัง้ พฒั นาระบบการประเมนิ ตำแหน่งและวทิ ยฐานะ สำหรับตำแหนง่ ทีม่ ีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๔) พัฒนาระบบเงินเดอื นและคา่ ตอบแทน สำหรบั ครูทม่ี ี สมรรถนะสูง และครทู ปี่ ฏิบัตงิ านในพืน้ ทหี่ ่างไกล ทุรกนั ดาร เส่ยี งภัย และพ้ืนที่พิเศษ ๕) พฒั นากระบวนการบรหิ ารจัดการอตั รากำลงั ครูและระบบ การจา้ งครู ๖) ปรับปรุงกฎ ระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิในสว่ นตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ■ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ๗) ดำเนนิ การในภารกิจอ่ืน ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง ๑) พฒั นาระบบการประเมนิ ตามระดับคุณภาพของมาตรฐาน วชิ าชีพเพือ่ การต่ออายุใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ๒) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบียบทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชพี จรรยาบรรณวชิ าชพี การประเมนิ ความรู้และสมรรถนะ และ การออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ■ สำนักงานคณะกรรมการ ๓) ดำเนินการในภารกจิ อื่น ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน • หนว่ ยงานอน่ื ท่ีเกีย่ วข้อง ๑) จัดกลมุ่ สถานศกึ ษาทจี่ ดั การศึกษาต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษา กบั การจดั การศึกษาระดับ ตอนปลายด้วยระบบภมู สิ ารสนเทศ เพ่ือเพมิ่ ประสิทธิภาพ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การบริหาร และการจัดการท่ีสอดคล้องกับสภาพปญั หา และ บริบทของพื้นท ่ี ๒) ดำเนนิ มาตรการทางการบริหารจัดการ เพ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพ การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศกึ ษา ทีต่ อ้ งการความชว่ ยเหลือและพฒั นาเป็นพิเศษอยา่ งเรง่ ด่วน ๓) จดั ระบบการบรหิ ารงานบุคคลของหน่วยงาน และสถานศึกษา ในสังกดั ใหส้ อดคล้อง รองรบั กบั นโยบายและแผนการใชค้ รู ของประเทศ ๔) รว่ มดำเนินงานจดั การศกึ ษากบั ภาคส่วนประชาสังคม โดยเฉพาะการมีส่วนรว่ มรปู แบบประชารัฐ ๕) จดั ระบบบญั ชี และรายงานการเงนิ ของสถานศึกษาในสงั กดั ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ตรวจสอบไดแ้ ละเป็นปัจจบุ ัน รวมทงั้ พฒั นาบุคลากรให้สามารถบันทกึ การเงินของสถานศึกษา ผ่านระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อ่นื ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
176 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ตาราง ๒๒ บทบาทของหนว่ ยงานระดับตา่ ง ๆ ในการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ท่ี ๖ ส่กู ารปฏิบัติ (ตอ่ ) ระดับ หนว่ ยงาน รบั ผิดชอบดำเนินการ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ๑) ปรับโครงสร้าง ระบบ และกลไกการบริหารและการจดั การ การอาชีวศึกษา สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา เพอื่ สรา้ งความเปน็ เลศิ ■ สำนกั งานคณะกรรมการ ในศาสตร/์ สาขาวชิ าท่ีสถาบันมีความเช่ียวชาญ การอดุ มศกึ ษา ๒) ปรับระบบการบรหิ ารจัดการท่ีมุ่งเนน้ ธรรมาภบิ าลและ • หน่วยงานอนื่ ที่เกย่ี วขอ้ ง ความรบั ผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสถาบันอาชวี ศึกษาและ กับการพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ อดุ มศึกษา ทีจ่ ดั การศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา ๓) ส่งเสริม สนบั สนนุ และรว่ มจัดการศึกษากบั ทุกภาคสว่ น และอดุ มศกึ ษา ทเี่ ก่ยี วข้อง เพอ่ื การสรา้ งและพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นกำลงั คนท่มี ี • หนว่ ยงานอน่ื ท่ีเกย่ี วขอ้ ง คณุ ภาพและมีสมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ กับการพัฒนาระบบการเงิน ๔) ปรับระบบและวธิ กี ารสนบั สนนุ ผเู้ รียนระดบั อาชวี ศกึ ษาและ เพ่อื การศึกษา อดุ มศกึ ษาในสาขาท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการจำเป็น ในการพัฒนาประเทศ ๕) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษา/สถาบัน อุดมศึกษา ปรับปรุงระบบการเก็บคา่ เลา่ เรยี น คา่ ธรรมเนยี ม การเรียนท่สี ะทอ้ นต้นทนุ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมรบั ภาระ ค่าใชจ้ ่ายในสดั ส่วนท่เี หมาะสม ๖) ดำเนนิ การในภารกจิ อืน่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง สว่ นภมู ิภาค • สำนักงานศึกษาธิการภาค/ ๑) ปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกการบรหิ ารและการจัดการของ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั / หนว่ ยงานระดบั จังหวดั เพ่ือรองรับบทบาทหน้าทผ่ี ูก้ ำกบั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา นโยบาย แผน มาตรฐาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และตดิ ตาม • หนว่ ยงานอื่นที่เกีย่ วข้อง ประเมินผล รวมทั้งเพิ่มศักยภาพและความเข้มแข็งของ กบั การพฒั นาระบบบริหารจัดการ สถานศึกษาในการบรหิ ารและจดั การศึกษา และการมสี ว่ นร่วมในการจัด ๒) เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารและการจดั การสถานศึกษา การศึกษาของทุกภาคสว่ น ขน้ั พน้ื ฐานขนาดเลก็ การพฒั นาสถานศกึ ษาในพ้นื ที่ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นคุณภาพ (Magnet School) และการปรบั ปรุง คณุ ภาพและประสิทธิภาพของสถานศกึ ษาทตี่ อ้ งการ ความชว่ ยเหลอื และพัฒนาเปน็ พเิ ศษอยา่ งเร่งด่วน (ICU) ๓) พัฒนาสถานศกึ ษาขนาดเล็กท่เี ลิก/ควบรวมให้เป็น แหล่งเรยี นร้ขู องชมุ ชน ตามความตอ้ งการจำเปน็ ๔) สง่ เสริม สนบั สนุนการจัดการศึกษา หรือการมสี ่วนร่วม ในการจัดการศกึ ษาของบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน มูลนธิ ิ วัด องค์กรเอกชน สถานประกอบการ สถาบนั /องคก์ รต่าง ๆ ใน สงั คมให้เข้ามามีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา ๕) กำหนดแผนงาน ข้นั ตอน และมาตรการทางการบรหิ าร เพื่อ กระจายอัตรากำลงั ครูให้เหมาะสม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 177 ตาราง ๒๒ บทบาทของหนว่ ยงานระดบั ตา่ ง ๆ ในการขับเคล่อื นยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ สกู่ ารปฏบิ ัติ (ตอ่ ) ระดับ หน่วยงาน รับผิดชอบดำเนินการ ๖) พัฒนากระบวนการบริหารจดั การอัตรากำลังครู และระบบ การจา้ งครู เพื่อให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามจี ำนวน ทเี่ หมาะสม รวมทงั้ ปรับปรุงฐานข้อมลู ความต้องการใชค้ รู ใหเ้ หมาะสม ๗) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง สถานศึกษา • สถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน • หนว่ ยงานอ่นื ทีเ่ ก่ียวข้อง ๑) พฒั นาและยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาของ กบั การจดั การศึกษาระดบั สถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๒) เพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยรูปแบบ วิธกี ารทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความต้องการ จำเปน็ ของสถานศึกษา ๓) นำผลการประกนั คุณภาพการศกึ ษามาใชใ้ นการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบติดตาม เพื่อการปรับปรงุ พฒั นา สถานศึกษาให้มีคณุ ภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษา ๔) สรา้ งการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาจากทกุ ภาคส่วนใน ชุมชน พื้นท่ี เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา • สถาบนั อาชวี ศึกษา/ ๕) ดำเนนิ การในภารกิจอน่ื ๆ ที่เก่ยี วข้อง สถาบันอุดมศึกษา • หนว่ ยงานอื่นทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ๑) พฒั นาและยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาให้เปน็ ไปตาม กบั การจัดการศกึ ษาระดบั มาตรฐานทก่ี ำหนด อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศึกษา ๒) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การสถาบันอาชีวศึกษา/ สถาบันอุดมศึกษา ๓) สรา้ งความเป็นเลิศในศาสตร/์ สาขาวิชาทีแ่ ตล่ ะสถาบนั มีความเช่ียวชาญ ๔) ดำเนนิ การในภารกิจอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
178 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๖.๓ การตดิ ตามประเมินผลแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มหี ลกั การและแนวทางในการติดตามและประเมนิ ผล ดังนี ้ ๑. หลักการตดิ ตามประเมินผลแผนการศึกษาแหง่ ชาต ิ ๑.๑ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษามีส่วนร่วมในกระบวนการ ด้วยการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงาน องค์กรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา ผู้จัด การศึกษา ผ้รู ับบริการทางการศึกษาทุกกลุม่ เป้าหมาย ทกุ ระดับ นักวิชาการ ชุมชน และประชาชน ทัว่ ไป ไดร้ ว่ มตรวจสอบ ให้ข้อมูลและรับทราบขอ้ มลู อย่างเทา่ เทยี ม ๑.๒ ใช้ระบบการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของการดำเนินงานตาม แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เพอื่ วดั ความสำเร็จของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ๑.๓ หน่วยงาน องค์กรหรือสถาบันการศึกษาประเมินผลด้วยตนเอง เพื่อสร้าง กระบวนการเรียนรู้และติดตามผลการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด ควบคู่กับการให้หน่วยงานหรือ สถาบันท่เี ป็นกลางทำหนา้ ที่ประเมนิ ผลเพอื่ ความถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ ๑.๔ มีหลักเกณฑ์การติดตามประเมินผลและตัวช้ีวัดที่ชัดเจน โปร่งใส มีมาตรฐาน เป็นกลางและถูกต้องตามหลักวิชาการบนพื้นฐานของข้อเท็จจริง เพ่ือให้สามารถใช้เป็นแนวทาง ปรบั ปรุงและทบทวนมาตรการ นโยบาย แผนงานโครงการ ท้งั ระดบั ภาพรวม กระทรวง/หนว่ ยงาน หรอื เทยี บเทา่ ภูมภิ าค จังหวดั และสถานศึกษา ให้สามารถตอบสนองความตอ้ งการในการรบั บริการ ทางการศกึ ษาของประชาชนทุกช่วงวยั อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ๒. แนวทางการประเมนิ ผลแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ๒.๑ ประเมินผล ๓ ระยะเวลา ๑) การประเมินผลก่อนการดำเนินงานหรือก่อนเร่ิมโครงการ เป็นการประเมิน บรบิ ท และสภาวะก่อนการดำเนินการ ๒) การประเมนิ ผลระหว่างดำเนนิ การ เปน็ การตดิ ตามประเมนิ ผลความกา้ วหน้า ในระยะที่กำลังดำเนินงานเพื่อศึกษาว่ามีปัญหาอุปสรรคใดบ้างในการดำเนินงาน ทั้งจากปัจจัย ภายในและภายนอกทม่ี ผี ลกระทบต่อการดำเนนิ งาน ๓) การประเมินผลหลังการดำเนินงาน เป็นการประเมินผลภายหลังจากสิ้นสุด แผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือสรุปว่ามีความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกำหนดไว ้ มากน้อยเพียงใด มีผลผลิต ผลลัพธ์ใดท่ีเกิดขึ้น เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตลอดจนผลกระทบทง้ั ทางบวกและลบ ๒.๒ วางระบบการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการระดับกระทรวง ส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค จังหวัดและเขตพื้นท่ี เพ่ือเช่อื มโยงแผนปฏบิ ัติการจงั หวดั และภมู ิภาคกับแผนการศกึ ษา แห่งชาติ โดย
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 179 ๑) กำหนดประเด็นการพัฒนาของหน่วยงานที่เชื่อมโยงกับประเด็นการพัฒนา และเป้าหมายที่กำหนดในแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นกรอบในการกำหนดแผนปฏิบัติการ ของเขตพืน้ ที่ จังหวดั ภมู ภิ าค ส่วนกลางและหนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ ง ๒) ติดตามความก้าวหนา้ และประเมินผลระหว่างดำเนนิ การ ๓) ประเมินผลแผนงานโครงการท้ังในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติระยะดังกล่าวและเป็นข้อมูล ในการปรบั มาตรการและตวั ชี้วดั ผลผลิตในระยะตอ่ ไป ๒.๓ ส่งเสริมให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรหลักในกระทรวง ศึกษาธิการ หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงบประมาณ และ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังในส่วนกลางและในพ้ืนท่ี เพื่อให้การติดตามประเมินผลมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ๒.๔ จัดให้หน่วยงานหรือองค์กรท่ีมีความเป็นมืออาชีพด้านการวัดและประเมินผล มีความชำนาญและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายเป็นผู้ประเมิน เพ่ือให้การติดตามประเมินผล มคี วามเปน็ สากล ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ เช่อื ถอื ได ้ ๒.๕ จัดเวทีสาธารณะเพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีเวทีแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย และโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ๒.๖ นำเสนอผลการติดตามและประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติให้ทุกฝ่าย ที่เก่ียวข้องได้รับทราบ ทั้งประชาชน กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการศึกษา หน่วยงานกำหนด นโยบาย หน่วยงานนำนโยบายไปปฏิบัติ หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียและสาธารณชนผสู้ นใจได้รับทราบผลการประเมิน ๖.๔ ปัจจัยและเง่อื นไขความสำเรจ็ (Key Success Factors) การดำเนินการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ตามท่ีกำหนดไว้ใน แผนการศึกษาแห่งชาติจะประสบผลสำเร็จตามท่ีระบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ได้หน่วยงานท้ังระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด เขตพ้ืนที่ การศึกษา และสถานศึกษาต้องยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินงาน และมีการทบทวน ปรับปรุง มาตรการ เป้าหมายความสำเร็จให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในแต่ละพ้ืนที่ เพื่อการพัฒนา ศักยภาพผูเ้ รยี นในทกุ ช่วงวัย ซงึ่ ตอ้ งดำเนินการ ดังน้ี ๑) การสร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ และการยอมรับจากผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียและประชาสังคม ในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่างๆ อย่างกว้างขวาง มุ่งเน้นท ่ี
180 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ การจัดระบบการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของ ผูเ้ รียนในทุกระดับ ๒) การสร้างความเข้าใจในเป้าหมายและยุทธศาสตร์การดำเนินงานของแผนการศึกษา แห่งชาติของผู้ปฏิบัติทุกหน่วยงาน ทุกระดับ เพื่อให้การขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติ ไปส ู่ การปฏบิ ตั ิ มกี ารบรหิ ารจดั การและการเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพฒั นาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย และวิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษา มีคณะกรรมการกำกับดูแลแต่ละยุทธศาสตร์ให้เกิดการนำไป ปฏิบตั ิ โดยมีระบบงบประมาณเปน็ กลไกสนบั สนุนให้บรรลุผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม ๓) การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการจัดการศึกษา จากการเป็นผู้จัดการศึกษาโดยรัฐ มาเป็นการจัดการศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสังคม ที่มุ่งการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและ ท่ัวถึง (Inclusive Education) ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน ซึ่ง สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ่ังยืน (Sustainable Development Goals) ๔) การจัดให้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจัดการศึกษา ของรัฐ ระบบการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ยึดแผนงาน โครงการ และเป้าหมายการพัฒนา ที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของแผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นหลักในการ พิจารณา เพื่อให้การดำเนินงานพัฒนาการศึกษาเป็นไปในทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน แต่ละช่วงวัย และการพัฒนากำลังคนตามความต้องการของตลาดงานและประเทศ เพ่ือการจัด การศกึ ษาบรรลผุ ลตามยุทธศาสตร์ ตวั ช้วี ัดในชว่ งเวลาทก่ี ำหนด ๕) การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ โดยปรับโครงสร้าง การบรหิ ารงานใหม้ ีความชัดเจนในด้านบทบาทหน้าท่ี และการกระจายอำนาจและการตัดสินใจจาก ส่วนกลางสู่ระดับภูมิภาคและสถานศึกษา รวมทั้งการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหาร งานบุคคลในแต่ละระดับให้ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมี คุณภาพ ผเู้ รียนไดร้ บั บริการการศกึ ษาที่มมี าตรฐานอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี ม ๖) การสร้างระบบข้อมูลและสารสนเทศท่ีบูรณาการและเช่ือมโยงกับระบบการประกัน คณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการรายงาน ต่อสาธารณชนจะเป็นกลไกในการสร้างการรับรู้ของผู้จัดการศึกษาและผู้เรียน เพ่ือการปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผู้เรียน ผ่านระบบการกำกับ ตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผล ๗) การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา เพื่อให้รัฐสามารถใช้เคร่ืองมือ ทางการเงินในการกำกับการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติและ นโยบายรฐั บาล
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 181 การขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติให้ประสบความสำเร็จจึงต้องอาศัยปัจจัยดังกล่าว ข้างตน้ เปน็ สำคญั หากสาธารณชนทุกภาคสว่ นเข้ามารว่ มสนับสนุนการดำเนินการ และผ้ปู ฏบิ ัติงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายเข้าใจบทบาทของตนและรวมพลังดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาที่กำหนด ย่อมส่งผลให้การพัฒนาการศึกษาของชาติบรรล ุ ผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาคน พัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ ตามความมงุ่ หวงั
182 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ บรรณานกุ รม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (๒๕๕๘). รายงานสถิติคดีประจำปี ๒๕๕๗. (ออนไลน์). แหลง่ ทมี่ า: http://www.djop.go.th/images/djopimage/yaer2557.pdf (๒๗ มนี าคม ๒๕๕๙) กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย.์ (๒๕๕๗). ประชากรสูงอายุไทย: ปจั จุบนั และ อนาคต. ปราโมทย์ ประสาทกุล. (๒๕๕๖). สถานการณ์ผู้สูงอายุ แนวโน้ม และผลกระทบจากการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี น. ราชกิจจานุเบกษา. (๒๕๕๗). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗. เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๕๕ ก. ลดาวัลย์ ค้าภา. (๒๕๕๙). ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี Sustainable Development Goals และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ของประเทศ. นำเสนอใน เวทสี าธารณะนโยบายนำ้ สกว. คร้ังที่ ๗ เรอื่ ง การเชอื่ มโยงยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจัดการ น้ำกับยุทธศาสตร์ชาติ วันพธุ ท่ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมเอทสั ลุมพินี กรงุ เทพฯ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (๒๕๕๖). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอา่ น และวทิ ยาศาสตร์ บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร. บรษิ ทั แอดวานซ์ พรน้ิ ตง้ิ เซอร์วสิ จำกัด. . (๒๕๕๙). ผลการประเมนิ PISA 2015 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ บทสรุป สำหรับผูบ้ ริหาร. บริษทั แอดวานซ์ พร้ินตง้ิ เซอร์วสิ จำกดั . . (๒๕๕๖). สรปุ ผลการวจิ ยั โครงการ TIMSS 2011 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔. บรษิ ทั แอดวานซ ์ พร้ินติง้ เซอรว์ ิส จำกัด. . (๒๕๕๙). สรปุ ผลการวจิ ยั โครงการ TIMSS 2015 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒. บริษัทแอดวานซ์ พรน้ิ ติ้ง เซอรว์ ิส จำกัด. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. (๒๕๕๘). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๘. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.bopp-obec.info/home/?page_id=18308. (๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๗). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๗. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=14038. (๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙)
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 183 . (๒๕๕๖). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๖. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=10968. (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๕). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๕. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=5993. (๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๔). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๔. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=2113. (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๓). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๓. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/home/?page_id=1063. (๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๒). สถิติการศึกษา ปี ๒๕๕๒. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.bopp- obec.info/info_52/index.php. (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๕๙). เอกสารจำนวนผู้ออกกลางคัน ปีการศึกษา ๒๕๕๗. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. (อดั สำเนา) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๕๗). ประมาณการสัดส่วน ผู้สูงอายใุ นไทย. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๘). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). เอกสารประกอบการประชุมประจำปี ๒๕๕๘ ของ สศช. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). สำนกั งานเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร.ี (๒๕๕๘). ร่างกรอบยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการนายกรฐั มนตรี. (อัดสำเนา) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๕๙). จดหมายถึง IMD กรณีสมรรถนะการศึกษาไทยใน เวทีสากล พ.ศ. ๒๕๕๙ (IMD 2016) : ในชีพจรการศึกษาโลก. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.onec.go.th/ onec_web/page.php?mod=Eduworld&file=view& itemId=1948 (๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๙). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (อัดสำเนา) . (๒๕๕๗). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ ศตวรรษท่ี ๒๑. บรษิ ทั พรกิ หวาน กราฟฟิค: สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. . (๒๕๕๙). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษา แห่งชาติ ฉบับปรับปรงุ (พ.ศ. 2552-2559). (อัดสำเนา)
184 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ . (๒๕๕๙) (ร่าง) กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔. บริษัท พริกหวาน กราฟฟคิ : สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. . (๒๕๕๙). สถิติการศึกษาของประเทศไทย ปีการศึกษา ๒๕๕๘. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารการฉายภาพประชากรวัยเรียนของประเทศไทย ๑๕ ปีข้างหน้า. กรุงเทพมหานคร : สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารรายจ่ายด้านการศึกษาของภาครัฐส่วนกลาง (กรมบัญชีกลาง GFMIS) ปี พ.ศ. ๒๕๕๗. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๙). เอกสารรายจ่ายด้านการศึกษาของภาคครัวเรือน ปีการศึกษา ๒๕๕๘. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (อดั สำเนา) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๕๕). การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. คณะทำงานจัดทำ ขอ้ มลู เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มข้าราชการรฐั สภาส่ปู ระชาคมอาเซยี น. (อดั สำเนา) . (๒๕๕๗). รายงานการติดตามผลการพัฒนาระดับภาคในระยะครึ่งแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) และแนวทางการพฒั นาในระยะตอ่ ไป. (อดั สำเนา) สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (๒๕๕๘). บทสรุปสำหรับผู้บริหารการสำรวจการอ่านของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๘. (ออนไลน์). แหล่งที่มาhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ themes/files/ readingSum58_update.pdf. (๑ เมษายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๘). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. ๒๕๕๘. (ออนไลน์).แหล่งท่ีมา: http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ themes/files/ icthh_report_58.pdf. (๑ เมษายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๖). สรปุ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ การสำรวจความตอ้ งการตลาดแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ.๒๕๕๖. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.m-society.go.th/article_attach/ 11930/16186.pdf (๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙) . (๒๕๕๙). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://osthailand. nic.go.th แผนพัฒนาสถิติทางการ/แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่/118-sdgs/257 sustainable-development-goals-sdgs.html. (๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙) สำนกั วจิ ัยและสถิติ. (๒๕๕๘). สังคมสูงวยั ในอาเซยี น. บรษิ ัทไทยรับประกันภยั ตอ่ จำกดั (มหาชน). สุวิทย์ เมษินทรีย์. (๒๕๕๘). โมเดลประเทศไทย ๔.๐. หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๘.
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 185 . (๒๕๕๘). ไขรหัส “ประเทศไทย ๔.๐” สร้างเศรษฐกิจใหม่ก้าวข้ามกับดักรายได ้ ปานกลาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://sustainabledevelopment.un.org/sdgs (๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๘). โสภาวดี เลิศมนัสชัย. (๒๕๕๕). การปฏิรูประบบสวัสดิการพื้นฐานของสังคม กองทุนบำเหน็จ บำนาญขา้ ราชการ. Quacquarelli Symonds. (2016). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www.topuniversities.com/university-rankings/asian-university- rankings/2016#sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+ search= (July 2016) . (2015). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2015# sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2014). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2014# sorting= rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2013). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2013# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2012). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2012# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2011). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2011# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2010). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2010# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016)
186 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ . (2009). QS UNIVERSITY RANKINGS : ASIA. (Online). Available from : http://www. topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2009# sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) . (2016). QS World University Ranking 2015/16. (Online). Available from : http://www.topuniversities.com/university-rankings/world-university-rankings /2015#sorting=rank+region=+country=+faculty=+stars=false+search= (July 2016) OECD/UNESCO (2016). Education in Thailand : An OECD-UNESCO Perspective. Reviews of National Policies for Education. OECD Publishing. Paris. http://dx.doi.org/10.1787/9789264259259119-en. The World Competitiveness Center. (2008) IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2009). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2010). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2011). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2012). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2013). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2014). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2015). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. . (2016). IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK. United Nations. (2002). World Population Ageing 1950-2050. United Nations Publications. . (2012). World Population Prospects: The 2012 Revision. Population Division of Department of Economic and Social Affairs of the United Nations Secretariat. http:22esa.un.org2undp2wpp2index.htm. . (2016). Sustainable development goals. (Online). http://www. thairath.co.th/content/613903. (June 2016)
ภาคผนวก
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 189 คำสง่ั สภาการศึกษา ที่ ๒ / ๒๕๕๘ เรอ่ื ง การแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกจิ ดา้ นจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และได้จัด ทำแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๙) ขึ้น เพ่ือเป็นแผนแม่บทสำหรับหน่วยงานท่ี เกย่ี วขอ้ งนำไปใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการพฒั นาการศกึ ษา และตอ่ มาไดป้ รบั ปรงุ เปน็ แผนการศกึ ษา แ ห่งชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) ซง่ึ จะสน้ิ สุดระยะเวลาของแผนในปี ๒๕๕๙ เพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมบ่ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านการจัดทำ แผนการศกึ ษาแห่งชาต ิ ดงั น้ี องคป์ ระกอบ ๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ ์ ธรรมใจ ประธานอนุกรรมการ ๒. รองศาสตราจารยว์ ฒุ ิสาร ตนั ไชย รองประธานอนุกรรมการ ๓. นางสุทธศร ี วงษส์ มาน รองประธานอนกุ รรมการ ๔. นายเขมทตั สคุ นธสิงห์ อนกุ รรมการ ๕. นายถาวร ชลษั เสถียร อนุกรรมการ ๖. รองศาสตราจารยท์ ิพรัตน ์ วงษเ์ จริญ อนุกรรมการ ๗. นายเทอดศักดิ ์ ชมโต๊ะสวุ รรณ อนกุ รรมการ ๘. นายบัณฑติ ธนชัยเศรษฐวฒุ ิ อนกุ รรมการ ๙. นายพนั ธอ์ุ าจ ชยั รัตน ์ อนุกรรมการ
190 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๑๐. รองศาสตราจารยย์ งยทุ ธ แฉลม้ วงษ ์ อนกุ รรมการ ๑๑. รองศาสตราจารย์วิทยากร เชียงกูล อนกุ รรมการ ๑๒. ศาสตราจารยศ์ ุภชยั ยาวะประภาษ อนุกรรมการ ๑๓. ศาสตราจารย์ พลโท สมชาย วริ ฬุ หผล อนุกรรมการ ๑๔. นายสมนึก พมิ ลเสถียร อนุกรรมการ ๑๕. ศาสตราจารย์สมพงษ์ จติ ระดับ อนกุ รรมการ ๑๖. นายสเุ มธ แย้มนนุ่ อนกุ รรมการ ๑๗. นายอรรถการ ตฤษณารงั สี อนุกรรมการ ๑๘. ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ อนกุ รรมการ ๑๙. ผแู้ ทนกระทรวงแรงงาน อนุกรรมการ ๒๐. ผู้แทนสำนกั งบประมาณ อนกุ รรมการ ๒๑. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน อนกุ รรมการ ๒๒. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา อนุกรรมการ ๒๓. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อนุกรรมการ ๒๔. ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ อนุกรรมการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ๒๕. ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจ อนุกรรมการ และสังคมแหง่ ชาติ ๒๖. ผู้แทนสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ ๒๗. ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สกศ. อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ๒๘. หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษาหภาค สกศ. อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๒๙. เจา้ หนา้ ทส่ี ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๐. เจา้ หนา้ ทสี่ ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 191 อำนาจหน้าท ี่ ๑. พิจารณาเสนอความเห็นหรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ รวมทัง้ การนำสู่การปฏบิ ตั ิ ๒. ดำเนินการจดั ทำแผนการศกึ ษาแห่งชาติ เสนอต่อสภาการศกึ ษา ๓. แตง่ ตง้ั คณะทำงานเพอื่ ดำเนนิ งานตามทค่ี ณะอนกุ รรมการมอบหมาย ๔. มอบหมายบุคคลหรือคณะบคุ คลเพอื่ ดำเนินการตามท่เี หน็ สมควร ๕. ดำเนนิ การอืน่ ใดตามท่สี ภาการศึกษามอบหมาย ทัง้ น้ี ตง้ั แต่บัดนเ้ี ป็นตน้ ไป สัง่ ณ วนั ที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเรือเอก (ณรงค์ พิพัฒนาศยั ) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ประธานสภาการศึกษา
192 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คำสั่งคณะอนุกรรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ที่ ๑ / ๒๕๕๘ เร่ือง การแตง่ ตัง้ คณะทำงานจดั ทำกรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และ สภาการศึกษาได้มีคำส่ังแต่งต้ังคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศึกษา แห่งชาติ ตามคำส่ังสภาการศึกษาที่ ๒/๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ โดยมีหน้าที่พิจารณา เสนอความเหน็ หรอื ใหค้ ำแนะนำเกยี่ วกบั การจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ รวมทงั้ การนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และดำเนินการจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เสนอต่อสภาการศึกษา เพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมบ่ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ จึงเห็นสมควรแต่งต้ัง คณะทำงานจัดทำกรอบแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ดังนี ้ องคป์ ระกอบ ๑. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์อนุสรณ ์ ธรรมใจ ที่ปรึกษา ๒. นายกฤษณพงศ ์ กีรตกิ ร ทป่ี รกึ ษา ๓. นายเขมทัต สุคนธสิงห์ ประธานคณะทำงาน ๔. นางสาวเจือจันทร ์ จงสถติ อยู่ คณะทำงาน ๕. รองศาสตราจารย์วุฒสิ าร ตนั ไชย คณะทำงาน ๖. นายสมนกึ พิมลเสถียร คณะทำงาน ๗. ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สกศ. คณะทำงานและเลขานกุ าร ๘. หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค สกศ. คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๙. เจา้ หน้าทส่ี ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๐. เจ้าหน้าทส่ี ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา คณะทำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 193 อำนาจหน้าท ี่ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำกรอบแผนการศึกษาแหง่ ชาต ิ ๒. นำเสนอคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ ๓. ดำเนนิ การอนื่ ใดท่ีเก่ียวข้องตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทัง้ น้ี ต้ังแต่บดั น้ีเป็นต้นไป สง่ั ณ วันท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ (ผ้ชู ่วยศาสตราจารยอ์ นสุ รณ ์ ธรรมใจ) ประธานคณะอนุกรรมการสภาการศกึ ษาเฉพาะกจิ ดา้ นจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาต ิ
194 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คำสั่งกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สกศ. ๑๑๑๙ / ๒๕๕๙ เรอ่ื ง การแตง่ ตง้ั คณะทำงานพจิ ารณาแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำ นโยบายและแผนการศึกษาแห่งชาติ ที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษา ทุกระดับ ทุกประเภท และได้ดำเนินการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ๑๕ ปี ข้นึ เพื่อเปน็ แผนแม่บทสำหรบั หน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งนำไปใช้เปน็ กรอบ แนวทางในการพัฒนาการศกึ ษาในชว่ งระยะเวลาดังกล่าว เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ สามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเปนรปู ธรรม จึงจำเป็นต้องจดั ทำแผนการศึกษาแหง่ ชาตเิ ปน็ ตน้ ฉบับและรปู เลม่ สมบูรณ์ รวมท้ังมีรูปแบบเหมาะสมแก่การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนรับทราบ และ เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ เหน็ สมควรแตง่ ตง้ั คณะทำงานพจิ ารณาแผนการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ดังนี ้ องคป์ ระกอบ ๑. เลขานกุ ารรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประธานคณะทำงาน (พ.อ.ณฐั พงษ ์ เพราแก้ว) ๒. รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาทไี่ ดร้ ับมอบหมาย รองประธานคณะทำงาน ๓. นายเกรยี งพงศ์ ภมู ริ าช คณะทำงาน ๔. นางเกศทิพย์ ศุภวานชิ คณะทำงาน ๕. นายจริ ะ เฉลิมศักดิ์ คณะทำงาน ๖. นายปรเมษฐ ์ โมลี คณะทำงาน ๗. รองศาสตราจารยฤ์ ๅเดช เกิดวิชยั คณะทำงาน
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 195 ๘. นายวิม กัลปนาท คณะทำงาน ๙. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยศ์ ภุ รา เชาว์ปรชี า คณะทำงาน ๑๐. นายสามารถ รอดสำราญ คณะทำงาน ๑๑. รองศาสตราจารย์สรุ ินทร์ คำฝอย คณะทำงาน ๑๒. ผู้แทนสำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สป.ศธ. คณะทำงาน ๑๓. ผู้แทนสำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สป.ศธ. คณะทำงาน ๑๔. ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครู คณะทำงาน และบุคลากรทางการศึกษา สป.ศธ. ๑๕. ผู้แทนสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษา คณะทำงาน เอกชน สป.ศธ. ๑๖. ผแู้ ทนสำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ คณะทำงาน การศกึ ษาตามอธั ยาศัย สป.ศธ. ๑๗. ผแู้ ทนสำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน สพฐ. คณะทำงาน ๑๘. ผู้แทนสำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา สพฐ. คณะทำงาน ๑๙. ผ้แู ทนสำนกั นโยบายและแผนการอาชวี ศกึ ษา สอศ. คณะทำงาน ๒๐. ผู้แทนสำนักมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและวชิ าชพี สอศ. คณะทำงาน ๒๑. ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สกอ. คณะทำงาน ๒๒. ผแู้ ทนสำนกั มาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สกอ. คณะทำงาน ๒๓. ผ้แู ทนสำนักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา คณะทำงาน ๒๔. ผู้แทนสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะทำงาน ๒๕. ผู้แทนสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาต ิ คณะทำงาน ๒๖. นายถวัลย ์ มาศจรัส คณะทำงาน ๒๗. นายรวชิ ตาแกว้ คณะทำงาน ๒๘. นางสาวสวุ ณี า เกนทะนะศลิ คณะทำงาน ๒๙. นางสาวสมปอง สมญาต ิ คณะทำงาน ๓๐. นางสาวรงุ่ นภา จิตรโรจนรักษ ์ คณะทำงาน ๓๑. นางสาวสายรุง้ แสงแจง้ คณะทำงาน ๓๒. นางสาวณตุ ตรา แทนขำ คณะทำงาน ๓๓. นายภูรติ วาจาบัณฑติ ย์ คณะทำงาน ๓๔. นางสาวจอมหทยาสนิท พงษเ์ สฐียร คณะทำงาน
196 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๓๕. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา คณะทำงานและเลขานุการ (นายชาญ ตนั ติธรรมถาวร) ๓๖. นางรชั น ี พึ่งพาณชิ ย์กลุ คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๓๗. นางสาวสอาดลกั ษม ์ จงคลา้ ยกลาง คณะทำงานและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๘. นางสาวชลาลัย ทรัพย์สมั พนั ธ ์ คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ อำนาจหนา้ ที่ ๑. รวบรวม สังเคราะห์เอกสารและข้อมูลท่ีเก่ียวข้องเพ่ือจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ๒. พจิ ารณาใหข้ อ้ คดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ เนอื้ หาสาระ และรปู แบบการนำเสนอ ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ๓. ดำเนินการอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติฯ ตามที่ประธาน มอบหมาย ท้งั นี้ ตั้งแตบ่ ัดน้ีเปน็ ตน้ ไป ส่งั ณ วันที่ ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก (ดาวพ์ งษ ์ รตั นสวุ รรณ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 197 คำส่ังสำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ท่ี ๑๑/ ๒๕๖๐ เร่ือง การแต่งตง้ั คณะทำงานปรบั ปรุงแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีภารกิจหลักในการจัดทำนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติ ท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬากับการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และ ได้ดำเนินการจัดทำร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ ขึ้น เพ่ือเป็นแผนแม่บท สำหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในช่วงระยะเวลา ด งั กลา่ ว สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจะได้ดำเนินการปรับปรุงร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ เปน็ “แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙” ซงึ่ เปน็ แผนระยะยาว ๒๐ ปี เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และเพ่ือให ้ การปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควร แตง่ ตงั้ คณะทำงานปรบั ปรงุ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ดงั น ้ี องค์ประกอบ ๑. เลขาธกิ ารสภาการศึกษา ทปี่ รกึ ษา ๒. รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ประธานคณะทำงาน (นางวัฒนาพร ระงับทุกข์) ๓. ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสภาการศกึ ษา คณะทำงาน (นายชาญ ตันตธิ รรมถาวร) ๔. นางสาวพฒุ สิ าร ์ อัคคะพู คณะทำงาน ๕. นางสาวสุวิมล เลก็ สขุ ศร ี คณะทำงาน ๖. นายสำเนา เนือ้ ทอง คณะทำงาน
198 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๗. นางสาวสมปอง สมญาต ิ คณะทำงาน ๘. นายสมพงษ ์ ผยุ สาธรรม คณะทำงาน ๙. นางสาวร่งุ นภา จติ รโรจนรักษ ์ คณะทำงาน ๑๐. นางรงุ่ ตะวัน งามจิตอนนั ต์ คณะทำงาน ๑๑. นางสาวสอาดลักษม ์ จงคล้ายกลาง คณะทำงาน ๑๒. นายปานเทพ ลาภเกษร คณะทำงาน ๑๓. นางสาวสายรงุ้ แสงแจง้ คณะทำงาน ๑๔. นางสาวปทั มา เอีย่ มละออง คณะทำงาน ๑๕. นางศศิรศั ม์ พันธุ์กระว ี คณะทำงาน ๑๖. นายชัชวาล อชั ฌากลุ คณะทำงาน ๑๗. นายภานุพงศ์ พนมวัน คณะทำงาน ๑๘. นางสาวกนกวรรณ ศรลี าเลศิ คณะทำงาน ๑๙. นายภูรติ วาจาบณั ฑิตย์ คณะทำงาน ๒๐. นายวรี ะพงษ ์ อเู๋ จรญิ คณะทำงาน ๒๑. นายธรี ะพจน ์ คำรณฤทธศิ ร คณะทำงาน ๒๒. นางสาวพรรณงาม ธีระพงศ ์ คณะทำงาน ๒๓. นายวิทยาศาสตร ์ ดลประสิทธ์ิ คณะทำงาน ๒๔. นางสาวสุภารตั น์ ศรีหลัก คณะทำงาน ๒๕. นายธีรพงศ์ วงศ์จอม คณะทำงาน ๒๖. นายวรพจน์ หาญใจ คณะทำงาน ๒๗. นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐียร คณะทำงาน ๒๘. ผ้อู ำนวยการสำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา คณะทำงานและเลขานกุ าร (นางเรอื งรัตน ์ วงศป์ ราโมทย)์ ๒๙. นางรชั น ี พ่ึงพาณชิ ย์กลุ คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ๓๐. นางสาวชลาลัย ทรพั ย์สัมพันธ ์ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานกุ าร ๓๑. นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน ์ คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ 199 อำนาจหน้าท ี่ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ของประเทศ เอกสารและข้อมูล ท่เี กีย่ วข้องเพอื่ จดั ทำแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ๒. พิจารณาให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะและดำเนินการปรับปรุงเน้ือหาสาระ และรูปแบบ การนำเสนอของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ๓. ดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติฯ ตามท่ีประธาน มอบหมาย ท้ังนี้ ตั้งแต่วนั ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ เป็นตน้ ไป สงั่ ณ วนั ท ่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (นายกมล รอดคล้าย) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา
200 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ คณะผดู้ ำเนนิ การ ทปี่ รกึ ษา นายกมล รอดคลา้ ย เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นางวฒั นาพร ระงบั ทกุ ข ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายสมศกั ด ิ์ ดลประสทิ ธ ์ิ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายชาญ ตนั ตธิ รรมถาวร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา บรรณาธกิ ารกจิ และจดั ทำรปู เลม่ นางวฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ นางเรอื งรตั น ์ วงศป์ ราโมทย ์ นางรชั น ี พงึ่ พาณชิ ยก์ ลุ นางสาวชลาลยั ทรพั ยส์ มั พนั ธ ์ นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน ์ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางเรอื งรตั น ์ วงศป์ ราโมทย ์ ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา อำนวยการโครงการ นางรชั น ี พงึ่ พาณชิ ยก์ ลุ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค เลขานกุ ารโครงการ นางสาวสอาดลกั ษม ์ จงคลา้ ยกลาง นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นกั วชิ าการประจำโครงการ นางสาวสายรงุ้ แสงแจง้ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นางสาวชลาลยั ทรพั ยส์ มั พนั ธ ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวตวงดาว ศลิ าอาศน ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวพรรณงาม ธรี ะพงศ ์ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นายวทิ ยาศาสตร ์ ดลประสทิ ธ ์ิ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษเ์ สฐยี ร นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ กลมุ่ นโยบายและแผนการศกึ ษามหภาค สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230