Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

Published by Srp Srk, 2022-02-03 09:26:59

Description: เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการบรรยาย/คมู อื การอบรมหลักสตู รการพัฒนาครู ดา นการจดั การเรียนรูแ บบออนไลน หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน สำนักงาน กศน. สำนักปลดั กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จันทรเกษม

หลกั สูตรการพฒั นาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน คำนำ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีนโยบายพัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน (Online Learning) โดย มุงเนนการสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง สามารถเลือกเรียนตามความสนใจและความถนัดของ ตนเอง เพื่อเปนการชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนนั้น ทางสำนักงาน กศน. สำนักปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ จึงไดจัดทำโครงการที่ปรึกษาพัฒนาระบบและบุคลากรในการจัดการศึกษาออนไลน เพื่อทำการ พัฒนาระบบและบุคลากรในการจัดการศึกษาออนไลน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรูและทักษะของ บุคลากรสำนักงาน กศน. ในการใชเครื่องมือและอุปกรณการผลิตสื่อการเรียนรูสำหรับใชในการจัดการเรียนรู แบบออนไลน และเพื่อใหบุคลากรสังกัดสำนักงาน กศน.สามารถพัฒนาสื่อการเรียนรูสำหรับใชในการจัดการ เรยี นรูแ บบออนไลน ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พัฒนาหลักสูตรการอบรมหลักสูตรการพัฒนาครูดานการจัดการเรียนรูแบบออนไลน และไดรวบรวมและเรียบเรียง จัดทำเปนเอกสารประกอบการบรรยายและคูมือการใชงานขึ้น โดยหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนประโยชนตอครู และบคุ ลากรสำนักงาน กศน. ที่เขารบั การอบรมจะสามารถนำไปใชป ระโยชนใ นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ ตอ ไป สำนกั งาน กศน. และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม 1

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน สารบญั หนา คำนำ........................................................................................................................................................ 1 สารบญั .................................................................................................................................................... 2 บทท่ี 1 ความรพู นื้ ฐานคอมพิวเตอรใ นยคุ ปจ จบุ นั ...................................................................................5 1.1 คอมพวิ เตอรคืออะไร ...............................................................................................................................5 1.2 ประเภทของคอมพิวเตอร ........................................................................................................................5 1.3 องคประกอบพ้ืนฐานของระบบคอมพวิ เตอรประกอบดวย......................................................................7 1.4 การปรับพน้ื ฐานความรู ความเขา ใจ ทกั ษะเกีย่ วกบั การใชคอมพวิ เตอรในยคุ ปจจบุ นั ............................8 1.5 ขอควรระวังและการรักษาความปลอดภยั จากการใชงานบน Internet.................................................14 1.6 การสรางขอสอบการวดั และการประเมนิ ผลหลงั จากการเรยี นรสู ำหรบั ครูผสู อน..................................19 1.7 การเลือกใชงาน Internet การเลอื กใช Web Browser สำหรบั การใช Web Portal ..........................23 1.8 กระบวนการใชงาน Web Portal เพอ่ื ใชในการจดั การเรียนรู และประเมนิ ผลทางการเรยี นสำหรบั การ จดั การเรียนรแู บบออนไลน...........................................................................................................................31 บทปฏบิ ตั กิ ารบทท่ี 1..............................................................................................................................33 บทท่ี 2 การใชง าน Web Application เพ่ือใชในการผลิตสื่อการเรยี นรูในยคุ ดจิ ิทลั .............................34 2.1 ประโยชนข อง Web Application ........................................................................................................35 2.2 ความแตกตางระหวา ง Web Application กบั Software Computer ...............................................36 2.3 สวนประกอบของ Web Application ..................................................................................................38 2.4 การใชงาน Web Application..............................................................................................................38 2.5 Web Application เพอื่ การผลติ ส่อื มลั ตมิ ีเดีย......................................................................................46 บทปฏบิ ตั ิการบทที่ 2..............................................................................................................................50 บทท่ี 3 การสรา งหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส ดวย Anyflip............................................................................52 3.1 การสมคั รสมาชกิ ...................................................................................................................................52 3.2 การเขาใชง าน Anyflip ..........................................................................................................................55 3.3 ขน้ั ตอนการสราง E-book โดยใช Anyflip............................................................................................56 3.4 เมนสู ำหรบั การทำงานใน Anyflip เพื่อการสราง E-book ....................................................................58 3.5 การนำเขา ไฟล pdf สำหรับทำ E-book................................................................................................61 3.6 การปรบั แตง หนังสอื E-book ................................................................................................................64 3.7 การสรางชัน้ วางหนังสอื E-book...........................................................................................................68 2

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน สารบญั (ตอ) หนา 3.8 การเผยแพรเพ่ือการใชง าน....................................................................................................................72 3.9 การสรา งไฟล PDF จาก Microsoft word............................................................................................74 บทปฏิบตั กิ ารบท่ี 3.................................................................................................................................79 บทที่ 4 การสรางแบบทดสอบออนไลน (E-Testing) ดว ย Liveworksheets........................................80 4.1 จุดเดน ของ Liveworksheets...............................................................................................................80 4.2 การสมคั รสมาชกิ เพื่อเขา ใชง าน.............................................................................................................80 4.3 การ Upload ไฟลง าน...........................................................................................................................82 4.4 รูปแบบการสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหดั /แบบทดสอบ.........................................................................84 4.5 การสรา งใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบเติมคำในชอ งวาง (Fill in the Blank)..............85 4.6 การสรา งใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบโยงเสน จับคู (Join)............................................87 4.7 การสรางใบกจิ กรรม/แบบฝกหดั /แบบทดสอบ : แบบลากวางคำตอบ (Drag & Drop) .......................89 4.8 การสรางใบกจิ กรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบเลือกตอบหลายตัวเลือก (Multiple Choices).91 4.9 การสรางใบกจิ กรรม/แบบฝก หัด/แบบทดสอบ : แบบเลอื กตอบ (Check Box)...................................93 4.10 การสรา งใบกจิ กรรม/แบบฝกหดั /แบบทดสอบ : แบบกลองขอความ (Drop Down) ........................95 4.11 การสรา งใบกจิ กรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบคน หาคำ (Word Search Puzzle).................97 4.12 การสรางใบกจิ กรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบฟงเสียง (Listening)................................... 100 4.13 การสรางใบกิจกรรม/แบบฝก หัด/แบบทดสอบ : แบบพดู (Speaking)............................................ 102 4.14 การสรา งใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ : แบบแทรกเสยี ง (Insert Sound) ........................ 104 4.15 การนำใบกจิ กรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบไปใชง าน ..................................................................... 108 บทปฏิบตั ิการบทท่ี 4............................................................................................................................113 บทที่ 5 การสรางสือ่ วดิ ีโอสำหรบั การสอนดวยแอปพลเิ คชันบนมือถอื KineMaster............................114 5.1 คณุ สมบัตแิ ละความสามารถของ KineMaster (Application Features)......................................... 115 5.2 การสมัครสมาชกิ ................................................................................................................................ 115 5.3 ระบบปฏบิ ัติการและอุปกรณที่สนบั สนนุ ............................................................................................ 116 5.4 การสนบั สนุนและรองรบั ไฟลมลั ติมีเดยี .............................................................................................. 116 5.5 การใช KineMaster สรา งสือ่ วดิ ีโอสำหรับการสอน............................................................................ 117 5.5.1 เรม่ิ ตนการใชง าน............................................................................................................................. 117 5.5.2 สรา งส่ือวดิ ีโอดวย KineMaster ...................................................................................................... 118 5.5.3 ขัน้ ตอนการผลติ สอ่ื มลั ตมิ เี ดีย.......................................................................................................... 122 3

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน สารบญั (ตอ) หนา 5.5.4 เทคนคิ ตัดตอวิดโี อ........................................................................................................................... 123 5.5.5 เทคนคิ การเพม่ิ ความนาสนใจ.......................................................................................................... 126 บทปฏบิ ตั กิ ารบทที่ 5............................................................................................................................130 บทท่ี 6 การสรางชนิ้ งานดวยโปรแกรมบนเว็บไซต CANVA.................................................................131 6.1 การลงทะเบยี นเพอ่ื ใชงาน................................................................................................................... 131 6.2 การสรา งช้นิ งาน.................................................................................................................................. 132 6.3 การอัปโหลดขอ มลู ภายนอกเพือ่ ใชง าน............................................................................................... 140 6.4 การสงออกไฟลช ้นิ งาน........................................................................................................................ 141 บทปฏบิ ัติการบทท่ี 6............................................................................................................................143 บทที่ 7 การสรา งการต นู แอนเิ มชนั ดวย Animaker สำหรบั การเรยี นการสอนในยคุ ออนไลน...............144 7.1 แนวทางความคดิ และการออกแบบสื่อ.............................................................................................. 144 7.2 การออกแบบ (Design)....................................................................................................................... 144 7.3 พ้นื ฐานการใชงานโปรแกรม Animaker............................................................................................. 146 7.4 การสรางโปรเจกต (Project).............................................................................................................. 147 7.5 การสรา ง Dashboard........................................................................................................................ 147 7.6 แถบเครอื่ งมือ (Tool) ......................................................................................................................... 148 7.7 พ้นื ทสี่ รางงาน Layout....................................................................................................................... 154 7.8 Scene ................................................................................................................................................ 155 7.9 แถบแสดงเวลา Timeline.................................................................................................................. 156 7.10 ปุม Publish ..................................................................................................................................... 157 7.11 การสรา ง Character........................................................................................................................ 158 7.12 การจดั Object ตามทว่ี างโครงเรือ่ งไว............................................................................................. 161 บทปฏิบตั กิ ารบทที่ 7............................................................................................................................166 บทท่ี 8 การใชง านเครอ่ื งมอื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน.............................................................167 8.1 การใชง านเคร่ืองมือการจดั การเรียนการสอนออนไลนสำหรับผูสอน.................................................. 167 8.2 การใชงานเคร่ืองมอื การจดั การเรียนการสอนออนไลนส ำหรบั ผูเรยี น................................................. 173 บทปฏบิ ัติการบทท่ี 8............................................................................................................................176 เอกสารอา งองิ ......................................................................................................................................177 4

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน บทท่ี 1 ความรพู ้ืนฐานคอมพวิ เตอรในยุคปจ จุบนั ในปจจุบันคอมพิวเตอร เขามามีบทบาทตอการศึกษา เชน การใชคอมพิวเตอรในกิจกรรมการเรียน การสอน งานสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน การเก็บรวบรวมขอมูลผูเรียน และการวิเคราะหประเมินผล เปนตน เพ่อื พฒั นาศักยภาพของผสู อนและผเู รียนใหก า วทนั ตอการเปล่ียนแปลง สอดคลอ งกับสถานการณป จ จบุ นั ดังนั้น การปรับพื้นฐานความรู ความเขาใจ ทักษะการใชคอมพิวเตอรในยุคปจจุบัน ขอควรระวัง กระบวนการใชงาน และการประยุกตการใชงาน จึงเปนเรื่องสำคัญที่จะชวยใหผูสอนสามารถเลือกใช คอมพิวเตอร และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ตา ง ๆ ไดอ ยา งเหมาะสม 1.1 คอมพิวเตอรค ืออะไร คอมพิวเตอร คือ เคร่ืองจักร หรืออุปกรณท างอิเลก็ ทรอนิกส ที่ใชในการปรับเปลย่ี นขอมลู ตามลำดบั ชุดคำส่ัง หรือโปรแกรมที่กำหนดใหเปนเคร่ืองมือ สามารถนำมาประยกุ ตใ ชงานดา นตาง ๆ เพื่อชวยใหงานนนั้ ๆ ถูกตอง แมนยำ และรวดเร็วยิง่ ขึ้น 1.2 ประเภทของคอมพิวเตอร การแบงประเภทของคอมพิวเตอร โดยการแบงตามขนาด ความสามารถของหนวยประมวลผลกลาง และอุปกรณเสริมรอบขา ง แบง ไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1.2.1 Super Computer จัดเปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ใชในการประมวลผลขอมูล ที่มีจำนวนมาก มีความสามารถในการคำนวณสูงมากเชนกัน โดยสามารถคำนวณและประมวลผลเปนจำนวน หลายลานลานคำสั่ง ในหนึ่งวินาที (Trillion Calculations Per Second) หรือมีชื่อเรียกวา จิกะฟลอป (Gigaflop) ซุปเปอรค อมพวิ เตอรโดยท่ัวไปจะสามารถบรรจุ CPU ไว ภายในไดห ลายรอยตัว เพอื่ ชว ยกันทำงานประมวลผล ชุดคำสั่งที่เขามา ในปจจุบันซูเปอรคอมพิวเตอรสามารถคำนวณไดเร็วถึง 128 จิกะฟลอป งานที่ตองการ ซุปเปอรคอมพวิ เตอร ไดแ ก - งานดานการทหารและการปองกนั ประเทศ - งานดานอุตุนิยมวิทยา - งานประมวลผลภาพทางการแพทย - งานดานอวกาศและการบนิ - งานดา นวิศวกรรมเคมภี ัณฑและปโตเลยี ม - งานการวจิ ัยทางดานนิวเคลียรและอนภุ าค - งานทางดานเคมีและเภสชั วทิ ยา - งานดา นระบบธนาคาร - งานดานซ้ือขายหลักทรพั ยและตลาดหลกั ทรัพย 5

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน - งานดานทะเบยี นทม่ี ฐี านขอ มลู ขนาดใหญ เชน งานทะเบียนราษฎรข องกรมการปกครอง ภาพที่ 1.1 Super Computer ทมี่ า : NASA 1.2.2 Micro Computer หรือPersonal Computer เปนเครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มีสว นของหนวยความจำและความเรว็ ในการประมวลผลนอ ยทีส่ ดุ สามารถใชงานไดดวยคนเดยี ว จึงถูกเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer : PC) ปจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงกวา ในสมัยกอนมาก อาจเทากับ หรือมากกวาเครื่องเมนเฟรมในยุคกอนและราคาถูกลงมาก ดังนั้นคอมพิวเตอร สวนบุคคลจงึ เปน ท่ีนยิ ม ท้ังตามหนวยงานและบริษทั หางรา นตลอดจนตามโรงเรียน สถานศกึ ษา และบา นเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอรออกจำหนาย ไดแก Acer, Apple, Compaq, Dell และIBM เปนตน โดยสามารถจัดแบงออกเปน 4 กลุมยอย ดังน้ี 1) Workstation เปนคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูง เหมาะกับการใชคำนวณ ทางคณติ ศาสตร หรือวิศวกรรม 2) Desktop Computer เปนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร พบไดท่ัวไปตามสำนักงาน หรือในหอ งปฏบิ ัติการ เพอื่ การเรียนการสอน 3) Laptop หรือ Note-books มีความสามารถเทากับ Desktop Computer แตมีขนาดเลก็ เทา กับกระเปา หรอื สมดุ โนต 4) Handhelds หรือ Personal Digital Assistants: PDA มีขนาดเทาโทรศัพทพกพา สามารถปอนขอ มูลดวยปากกาคอมพวิ เตอร (Stylus) หรือน้ิวมือได ภาพที่ 1.2 Micro Computer ที่มา : JIB 6

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 1.3 องคป ระกอบพน้ื ฐานของระบบคอมพวิ เตอรประกอบดว ย ระบบคอมพวิ เตอร มอี งคประกอบพื้นฐาน ประกอบดวย 1.3.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง สว นทปี่ ระกอบเปนเครื่องคอมพิวเตอร รวมอปุ กรณต อพวง ตาง ๆ ที่เก่ียวของกับคอมพิวเตอรที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได เชน ตัวเครื่อง จอภาพ คียบอรด และ เมาส เปน ตน เครือ่ งคอมพิวเตอรส วนบุคคลโดยทว่ั ไปจะมฮี ารด แวรหลกั ๆ แบงออกเปน 5 หนว ยหลกั ๆ ดังน้ี 1) หนวยรับขอมลู เขา (Input Devices) 2) หนวยแสดงผล (Output Devices) 3) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Units) 4) หนว ยความจำหลัก (Main memory) 5) หนวยความจำรอง (Secondary Storage หรอื Auxiliary Storage) 1.3.2 ซอฟตแวร (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำส่ัง ที่ควบคุมใหเคร่ือง คอมพิวเตอรทำงานใหไดผลลัพธตามท่ีตองการ ซ่ึงคอมพิวเตอรฮารดแวรท่ีประกอบออกมาจากโรงงานจะไม สามารถทำงานไดในทันที ตองมีซอฟตแวรซ่ึงเปนโปรแกรม หรือชุดคำสั่งที่สั่งใหฮารดแวรทำงานตามตองการ โดยโปรแกรม หรือชุดคำส่ังนั้นจะเขียนจากภาษาตาง ๆ ท่ีมนุษยสรางขึ้น เรียกวา ภาษาคอมพิวเตอร (Programming Language) และมีโปรแกรมเมอร (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเปนผูใช ภาษาคอมพิวเตอรเหลา นนั้ เขยี นซอฟตแวรแบบตา ง ๆ ขึน้ มา ซอฟตแ วร สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ ซอฟตแ วรร ะบบ (System Software) และ ซอฟตแ วรป ระยกุ ต (Application Software) 1) ซอฟตแวรระบบ (System Software) เปนซอฟตแวรที่ทำหนาที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรตาง ๆ ของคอมพิวเตอร และอำนวยความสะดวกดานเคร่ืองมือสำหรับการทำงานพื้นฐานตาง ๆ ตั้งแตผูใชเริ่มเปดเคร่ืองคอมพิวเตอร การทำงานจะเปนไปตามชุดคำส่ังที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสาร ขอมูลในระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอร 2) ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) หมายถึง ซอฟตแวรที่สราง หรือพัฒนาข้ึน เพื่อใชงานดานใดดานหน่ึง โดยเฉพาะตามที่ผูใชตองการ เชน งานดานการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจดั เกบ็ ขอ มูลขา วสาร ตลอดจนงานดานอน่ื ๆ ตามแตผใู ชตองการ เปน ตน 1.3.3 บุคลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรที่มีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใช งาน หรอื สง่ั งานคอมพิวเตอรดำเนินการตามทต่ี อ งการได โดยสามารถแบง ออกได 4 ระดับ คอื 1) ผูจัดการระบบ (System Manager) เปนผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรของหนวย เพ่อื ใหบรรลเุ ปาหมายทีต่ องการ 7

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน 2) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) เปนผูศึกษา รวบรวมขอมูล วิเคราะหและ ประมวลความเหมาะสมและความเปนไปไดของคอมพิวเตอรกับระบบงานที่ตอบสนองตามความตองการ หนว ยงาน และของผใู ช 3) โปรแกรมเมอร (Programmer) เปนผูเขียนโปรแกรมสั่งงานคอมพิวเตอรเพื่อให คอมพวิ เตอรนน้ั ทำงานตามทน่ี ักวิเคราะหร ะบบไดว ิเคราะหไ ว 4) ผูใช (User) เปนผูใชคอมพิวเตอรทั่วไป เพื่อการดำเนินการตาง ๆ ซึ่งตองเรียนรูว ิธีการใช เคร่ือง การใชโปรแกรม เพ่อื ใหไ ดง านตามทตี่ อ งการ 1.3.4 ขอ มูลและสารสนเทศ (Data and Information) ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณขาวสาร หรือขอมูลดิบ ที่ยังไมผาน การประมวลผล อาจอยูในรปู ของตวั เลข (Numeric Data), ตวั อักษร (Text Data), รปู ภาพ (Image Data) ฯลฯ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลที่ไดผานกระบวนการประมวลผล หรือจดั ระบบแลว เพ่อื ใหม คี วามหมายและสามารถนำไปใชประโยชน หรือนำไปใชเพอ่ื การตัดสินใจได 1.3.5 กระบวนการทำงาน (Procedures) หมายถึง กระบวนการหลัก สำหรับการดำเนินงาน เพอื่ ใหร ะบบคอมพวิ เตอรทำงานตามความตองการของผูใช มี 3 สวนหลักดงั ตอ ไปน้ี 1) การประมวลผล (Processing) ไดแก การรวบรวมขอมูล การจัดกลุมขอมูล การคำนวณ เปรียบเทยี บ การเรียงลำดบั การสรุปและแสดงผล 2) การสรางความนาเช่ือถือ (Reliability) เปนกระบวนการรักษาความปลอดภัย และความ แมน ยำเทย่ี งตรงในการทำงาน 3) การพฒั นา (Development) เปนการพัฒนาคำส่ัง หรอื โปรแกรมเพือ่ ใหฮารด แวรทำงาน ไดต ามคำสงั่ ดียิง่ ขน้ึ 1.4 การปรบั พืน้ ฐานความรู ความเขา ใจ ทกั ษะเก่ยี วกับการใชค อมพิวเตอรใ นยคุ ปจจบุ นั 1.4.1 ซอฟตแ วรประยกุ ต ซอฟตแวรประยุกต หมายถึง ซอฟตแวรที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใชงานในดานตาง ๆ ตามความตองการ ของผูใช สามารถแบงได 3 ประเภท ดังตอ ไปน้ี 1) ซอฟตแวรที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเฉพาะดาน (Custom Software) เปนซอฟตแวรที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใช และสอดคลองกับการทำงาน โดยอาจมีการวาจางบริษัทผลิตซอฟตแวร หรือนักพัฒนาโปรแกรม (Programmer) มาพัฒนาซอฟตแวรซึ่งจะตองเขาไปศึกษาการทำงานและความ ตองการของผูใชเฉพาะดานนั้น ๆ ตัวอยางของซอฟตแวรประเภทนี้ไดแก โปรแกรมระบบเงินเดือน โปรแกรมควบคมุ สนิ คา คงคลัง ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ซอฟตแ วรที่พฒั นาขึ้นใชง านเฉพาะดา น สามารถแบง ตามลักษณะการผลิตไดเปน 2 ประเภท 8

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 1.1) ซอฟตแวรท่ีพัฒนาเอง (proprietary software) เนื่องจากหนวยงานไมสามารถหา ซอฟตแวรท่เี หมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพดีเพียงพอกบั ความตอ งการได วิธีการพัฒนาอาจทำได 2 วิธี คอื วิธีท่ี 1 in-house developed สรา งและพัฒนาโดยหนว ยงานในบริษัทเอง วธิ ที ่ี 2 contract หรอื outsource เปน การจางบคุ คลภายนอกใหท ำขึน้ มา ขอดีของซอฟตแวรท ่ีพัฒนาเอง - สามารถเพิม่ เง่ือนไขและความตอ งการตา ง ๆ ไดไ มจ ำกดั - สามารถควบคมุ ใหเปน ไปตามที่ตองการไดต ลอดระยะเวลาการพัฒนานน้ั - ยดื หยนุ การทำงานไดด ีกวา เมอ่ื ขอ มูลใด ๆ มกี ารเปล่ียนแปลง ขอเสียของซอฟตแวรท่พี ัฒนาเอง - ใชเวลาในการออกแบบและพัฒนานานมาก เพื่อใหไดคุณสมบัติตรงตามที่ ตอ งการ - ทีมงานถูกกดดัน เพราะจะถูกคาดหวังวาตองไดคุณสมบัติตรงตามความตองการ ทกุ ประการ - เสยี เวลาดูแลและบำรุงรักษาระบบนัน้ ๆ ตามมา - เสีย่ งตอ ความผิดพลาดสูง อาจทำใหเ กดิ ปญ หาข้นึ มาได 1.2) ซอฟตแวรท่ีหาซื้อไดโดยทว่ั ไป (off-the-shelf software) เปนซอฟตแ วรท่ีมีวางขาย ตามทองตลาดท่ัวไป โดยมี packaging อยางดีและสามารถนำไปติดตั้งและใชงานไดทันที บางคร้ังนิยมเรียกวา โปรแกรมสำเรจ็ รูป (package software) อาจแบงออกไดเปน 2 ประเภท คอื โปรแกรมเฉพาะ (customized package) และโปรแกรมมาตรฐาน (standard package) 1.2.1) โปรแกรมเฉพาะ (customized package) เปนโปรแกรมที่อาจตองขอให ผูผลิตทำการเพิ่มเติมคุณสมบัติบางอยางลงไปเพียงเล็กนอย เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานแบบเฉพาะองคกร มากขึ้นบางครัง้ นยิ มเรียกวาเปนซอฟตแวรตามคำส่ัง (tailormade software) 1.2.2 ) โปรแกรมมาตรฐาน (standard package) สามารถใชไดกับงานทั่วไป มีคุณสมบัติท่ีเปนมาตรฐานเดียวกัน ใชงานงาย ศึกษาคูมือและรายละเอียดการใชเพียงเล็กนอย ไมจำเปนตอง ไปปรับปรุง หรอื แกไขสวนของโปรแกรมเพม่ิ เติม เชน กลมุ โปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางดา น Microsoft Office ขอดขี องซอฟตแ วรท หี่ าซือ้ ไดโ ดยทั่วไป - ซือ้ ไดในราคาถูก เพราะนำออกมาจำหนายเปนจำนวนมาก - ความเส่ียงในการใชงานต่ำ และสามารถศึกษาคุณสมบัติ และประสิทธิภาพของ โปรแกรมไดโ ดยตรงจากคูมือทมี่ ใี ห - โปรแกรมท่ีไดมีคุณภาพดีกวา เน่ืองจากมีผูใชหลายรายทดสอบและแจงแกไข ปญหาใหกบั ผูผลติ มาเปนอยา งดี 9

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน ขอ เสยี ของซอฟตแ วรท ี่หาซ้อื ไดโดยทั่วไป - คุณสมบัติบางอยางเกนิ ความจำเปนและตอ งการ - คณุ สมบัตบิ างอยางอาจไมม ีใหใ ช - เมื่อตองการเพ่ิมคณุ สมบัตติ องจายเงินมากขน้ึ แตใ นบางโปรแกรมกไ็ มสามารถทำได - ไมยดื หยุน จงึ ไมเ หมาะสมกบั งานท่ีจำเปน ตองปรับเปลยี่ น หรือแกไ ขระบบอยบู อ ย ๆ 2) ซอฟตแวรประยุกตประจำสำนักงาน (Office Application) เปนซอฟตแวรท่ีผลิตโดย บริษัทผลิตซอฟตแวร โดยครอบคลุมผใู ชง านท่วั ๆ ไป ไมเฉพาะ หรือเจาะจงตอผูใชร ายใดรายหน่ึง ตวั อยางเชน ชดุ โปรแกรม Microsoft Office, Adobe creative suite และ Office365 3) โปรแกรมประยุกตสำหรับเครือขายอินเตอรเน็ต (Internet Application) เปนโปรแกรม ที่เชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต ทำใหเครื่องคอมพิวเตอรสามารถเขาถึงบริการตาง ๆ บนอินเตอรเน็ตได เชน การใหบริการเว็บไซต สามารถเขาถึงโดยใชเว็บเบราวเซอร Internet Explorer หรือFirefox เปนตน หรอื การรับสง อีเมล (E-mail) หรือการโอนยายขอมูลผา นอินเตอรเ น็ต (FTP) ทั้งนี้ การใชงานซอฟตแวรประยุกต สามารถใชกับงานไดเกือบทุกดาน เชน การใชงานดาน ธุรกิจ (Business) มุงเนนใหใชงานเพื่อประโยชนสำหรับงานทางดานธุรกิจโดยเฉพาะ ทำใหการทำงาน มีประสิทธิภาพดีขึ้นมากกวาการใชแรงงานคน ตัวอยางงาน เชน ใชสำหรับการจัดพิมพรายงานเอกสาร นำเสนองาน รวมถงึ การบนั ทกึ นัดหมายตาง ๆ อาจแบง ซอฟตแวรกลมุ นี้ออกเปน ประเภท ไดด งั นี้ 1) ซอฟตแวรประมวลผลคำ (Word processing) เปนซอฟตแวรประยุกตใชสำหรับพิมพ เอกสาร สามารถแกไข ลบ แทรกขอความ หรือรูปภาพ ชวยใหการจดั รูปแบบเอกสารไดงายและสวยงามยิ่งขึ้น เชน Microsoft Word 2) ซอฟตแวรตารางคำนวณ (Spreadsheet) เปนซอฟตแวรตารางคำนวณ หรือตาราง อิเล็กทรอนิกส (Spread Sheet) เปนซอฟตแวรที่ชวยในการคิดคำนวณที่ซับซอน สามารถใสขอความ สูตร หรือสมการ เพื่อใหโปรแกรมคำนวณตามเงอื่ นไข เชน Microsoft Excel 3) ซอฟตแวรฐานขอมูล (Database) เปนซอฟตแวรที่ใชสำหรับจัดการกับขอมูล ซึ่งขอมูล อาจจะมีจำนวนมากและมีความสัมพันธกัน จึงจำเปนที่จะตองมีโปรแกรมสำหรับจัดฐานขอมูล ซึ่งจะชวย ในการจัดการจัดเก็บ เรียกคน มาใชงาน การทำรายงาน และการสรุปผล เชน - Microsoft Access - Microsoft SQL Server - MySQL - Oracle - IBM DB2 10

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 4) ซอฟตแวรนำเสนองาน (Presentation) เปนซอฟตแวรที่ใชสำหรับนำเสนอขอมูลจะทำให การนำเสนอขอมูลดูนาสนใจยิ่งขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถสรางแผนภูมิ กราฟ และแทรกรูปภาพ เชน Microsoft PowerPoint 5) ซอฟตแวรแบบกลุม (Software Suite) เปนการนำเอาซอฟตแวรหลายตัวมาจำหนาย รวมกันเปนกลุมเดียว ทำใหการทำงานคลองตัวและสะดวกเนื่องจากจัดกลุมซอฟทแวรที่ทำงานใกลเคียงกัน ไวเปนกลุมเดียว และราคาจำหนายถูกกวาการเลือกซื้อซอฟตแวรแตละตัวมาใช ตัวอยางโปรแกรม เชน Microsoft Office, Sun Star Office และ Pladao Office 6) ซอฟตแวรสำหรับจัดการโครงการ (Project management) เปนซอฟตแวรที่ใชกับ การวิเคราะหและวางแผนโครงการเปนหลัก สามารถจัดการกับกิจกรรมงาน (schedule) ติดตามงาน วิเคราะหและหาตนทุนคาใชจายตาง ๆ ของโครงการไดงายขึ้น ตัวอยางโปรแกรม เชน Microsoft Project, Macromedia Site spring 7) ซอฟตแวรสำหรับงานบัญชี (Accounting) เปนซอฟตแวรบันทึกขอมูลและแสดงรายงาน ทางการเงินตาง ๆ สามารถออกรายงานงบกำไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายงานซื้อ-ขายได ตัวอยางโปรแกรม เชน Intuit QuickBooks, Peachtree Complete Accounting 1.4.2 การใชง านดานกราฟฟกและมลั ตมิ เี ดยี (Graphics/Multimedia) การใชงานดานกราฟฟกและมัลติมีเดีย มีวัตถุประสงคเพื่อชวยสำหรับจัดการงานดานกราฟกและ มัลติมีเดียใหงายข้ึน จึงเสมือนเปนผูชวยในการออกแบบงานที่มีความสามารถหลากหลาย เชน ตกแตงภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดตอภาพเคล่ือนไหว รวมถึงการสรางและออกแบบพัฒนาเว็บไซต แบงซอฟตแวรกลุมน้ี ออกเปนประเภท ไดด ังนี้ 1) ซอฟตแวรสำหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design) ชวยสำหรับการ ออกแบบแผนผัง การออกแบบและตกแตงบาน รวมถึงการจัดองคประกอบอื่น ๆ เหมาะสำหรับงาน ดานวิศกรรม สถาปตยกรรม รวมถึงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีบางประเภท ตัวอยางโปรแกรม เชน Autodesk AutoCAD และ Microsoft Visio Professional 2) ซอฟตแวรคอมพิวเตอรชวยออกแบบสิ่งพิมพ (Desktop Publishing) เปนซอฟตแวร ออกแบบเอกสารอีกชนิดหนึ่ง แตซอฟตแวรประเภทนี้จะเปนแบบ “อะไรท่ีคุณเห็น คุณก็จะไดอยางนั้น” (WYSIWYG: What You See Is What You Get) โดยสามารถที่จะออกแบบโครงรางของหนาเอกสาร ซงึ่ ประกอบไปดวยขอความ (Text) และกราฟก ส (Graphics) รปู ภาพ (Image) 3) ซอฟตแวรสำหรับแตงรูปภาพ (Image Edition Software) เปนซอฟตแวรที่เก่ียวกับการ จัดการ หรือตกแตงรูปภาพ ซ่ึงเราสามารถตกแตงภาพไดไมวาจะเปนการทำใหภาพเบลอ ใสแสง หมุนภาพ ใสเอฟเฟกต (effects) ตา ง ๆ ไดงา ยยิ่งข้ึน ตวั อยางเชน Adobe Photoshop, GIMP, PhotoScape เปน ตน 11

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 4) ซอฟตแวรสำหรับการตัดตอวิดีโอและเสียง (Video and audio editing) ใชจัดการกับ ขอมูลเสียง เชน ผสมเสียง แกไขเสียง สรางเอฟเฟกต หรือเสียงใหม ๆ เหมาะสำหรับใชกับงานวงการตัดตอ ภาพยนตร โทรทัศน สตูดิโอบันทึกเสียง หรืองานบนอินเทอรเน็ตบางชนิด ตัวอยางโปรแกรม เชน Adobe Premiere, Cakewalk, SONAR, Pinnacle และ Studio DV 5) ซอฟตแวรสำหรับสรางสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia authoring) เปนซอฟตแวรท่ีใช เกี่ยวกับการศกึ ษา ในการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการสอนและการรบั รูของผเู รียน โดยใชค อมพิวเตอรเ ปน ตัวนำเสนอ เน้ือหา และกิจกรรมของการเรียน โดยนำเน้ือหาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว และนำเสนอในรูปแบบ ท่ีเหมาะสม จะตองถูกสรางข้ึนมาตามวัตถุประสงคของการเรียนรู ใชเคร่ืองมือหลาย ๆ อยางมาประกอบกัน เชน Authorware, Toolbook, Photoshop, Movie Maker และ Sound Editor 6) ซอฟตแวรท่ีชวยในการสรางหนาเว็บ (Web Page Authoring) เปนซอฟตแวรท่ีชวย ในการสรางหนาเว็บ (Web Page) ซ่ึงจะชวยใหการสรางเว็บมีความสะดวกมากขึ้น และสามารถจัดรูปแบบ ไดง า ยขึ้น เชน Adobe Dreamweave, Microsoft Expression และ Web 1.4.3 การใชง านเก่ียวกบั การตดิ ตอ ส่อื สาร (Communication) กลุมของซอฟตแวรป ระเภทน้ี เชน 1) ซอฟตแ วรเ กีย่ วกับการสือ่ สารขอมลู (Communication Software) เปนซอฟตแวรท่ีใชใน การติดตอส่ือสารกับคอมพิวเตอรเคร่ืองอื่นผานเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อทำการแลกเปลี่ยนขอมูลตาง ๆ เชน ขอมูลภาพ ขอมูลเสียง จดหมาย ฯลฯ ซ่ึงกันและกัน เชน การรับสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การโอนยาย แฟมขอมูล การแลกเปล่ียนขอมูลขาวสาร การประชุมออนไลน การพูดคุยและสนทนา หรือการคนหาขอมูล ตาง ๆ 2) เว็บเบราวเซอร (Web Browser) เปนซอฟตแวรที่ใชในการเขาถึงขอมูลและการติดตอ สื่อสารในรูปแบบที่เรียกวาเว็บเพจ โดยแปลงภาษาคอมพิวเตอร HTML ใหเปนภาษาที่คนทั่วไปเขาใจ เชน Internet Explorer, Safari, Mozilla, Firefox และ Opera เปนตน 3) ซอฟตแวรสำหรับจัดประชุมทางไกล (Video Conference) เปนซอฟตแวรสำหรับการ ประชุมแบบทางไกลโดยเฉพาะ สามารถใหขอมูลที่เปนท้ังภาพเคล่ือนไหวและเสียงท่ีใชในการประชุม และถายทอดออกไปในระยะไกลได นอกจากนี้ อาจพบเห็นกับการนำเอาไปประยุกตใชในการติดตอส่ือสาร ระหวา งเพอื่ น หรอื คนรูจ กั ที่อยตู างถิ่นได 4) ซอฟตแวรสำหรับถายโอนไฟล (File Transfer) เปนซอฟตแวรที่นำมาใชในการถายโอน ไฟลขอมูลบนอินเตอรเน็ต จึงเหมาะสำหรับนักพัฒนาเว็บไซตและผูดูแลเว็บไซตเพื่อการสงขอมูลไปเก็บไวบน อนิ เตอรเน็ตเพ่อื ใหบ รกิ ารกับผูเขาชมเวบ็ ตวั อยางเชน WsFTP และ Secure Shell File Transfer 5) ซอฟตแวรประเภทสงขอความดวน (Instant Messaging) เปนซอฟตแวรที่ใชสงขอความ ดวนระหวางผรู ับและผูสง ผานอีเมล (E-mail) หรอื หมายเลขทร่ี ะบุ 12

หลักสูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน 6) ซอฟทแวรสำหรับสนทนาบนอินเทอรเน็ต (Internet Relay Chat) เปนซอฟตแวรสำหรับ การสนทนาผานการเชื่อมตออินเตอรเน็ต การติดตอสื่อสารสามารถทำไดโดยการพิมพขอความโตตอบกัน สามารถตั้งหองสนทนากลุม รับสงไฟล สนทนาผานวิดีโอและเสียงได เชน Line, Messenger, WeChat และ WhatsApp เปนตน 1.4.4 ลขิ สทิ ธกิ์ ารใชซอฟตแ วรท น่ี ยิ มใชใ นปจจบุ นั ลขิ สิทธก์ิ ารใชซ อฟตแ วรท นี่ ิยมในปจ จุบนั มดี ังตอ ไปน้ี 1) ซอฟตแ วรเ ชิงพาณชิ ย (Commercial Software) เปน ซอฟตแวรท ่มี ลี ขิ สิทธ์ิ มีความสามารถ ครบถวน ผูใชงานตองเสียคาใชจายในการใชซอฟตแวร โดยหาซื้อไดกับตัวแทนจำหนายซอฟตแวรท่ีไดรับ การแตงต้ังจากบริษัทผูผลิตโดยตรง นำไปติดต้ังเพื่อการใชงานไดโดยทันที โดยมีบรรจุภัณฑและเอกสารคูมือ การใชง านไวแลว อาจเขา ไปในเว็บไซตของบริษทั ผูผลติ เพ่ือซ้ือไดเ ชน กัน 2) แชรแวร (Shareware) เปนซอฟตแวรที่มีลิขสิทธิ์ มีความสามารถครบถวน หรืออาจจะตัด ความสามารถบางสวนออกไป หรือจำกัดจำนวนขอมูลในการใชงาน โดยสามารถนำไปทดลองใชงานไดในชวง ระยะเวลาหนึ่ง ถาทดลองใชงานแลวพบวา สามารถนำไปใชงานไดตรงกับความตองการ ก็สามารถชำระเงิน ใหก บั ผผู ลิตซอฟตแวรเพอ่ื ใชงานตอ ไปได 3) ฟรีแวร (Freeware) เปนซอฟตแวรที่มีลิขสิทธิ์ ท่ีแจกจายใหใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย แตไมอนุญาตใหนำซอฟตแวรน้ีไปใชในเชิงการคาไดผูใชไมสามารถเปลี่ยนแปลง หรือนำไปพัฒนาตอเองได ลขิ สทิ ธิ์ เปน ของบรษิ ทั หรือทมี งานผผู ลติ 4) ซอฟตแวรสาธารณะ (Public-Domain Software หรือopen source) เปนซอฟตแวรท่ี แจกจายใหใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย และไมมีขอจำกัดในการใชงาน ผูใชสามารถนำ source code มาแกไข ไดตามความตองการภายใตเง่ือนไขทีก่ ำหนด 5) ซอฟตแวรโอเพนซอรส (Open Source Software) เปนแนวทางของการพัฒนาและ เผยแพรซอฟตแวรท่ีแตกตางจากรูปแบบการพัฒนาและเผยแพรซอฟตแวรแบบมีลิขสิทธ์ิ แนวคิดพ้ืนฐานของ การพัฒนาโอเพนซอรสก็คือ ทุกคนสามารถเรียนรูแกไขเพิ่มเติม/ปรับปรุง/ทำซ้ำและเผยแพรได ตัวอยาง ซอฟตแวรโอเพนซอรส - ระบบปฏบิ ัตกิ าร Linux - Apache (Web Server) - MySQL (Database) - PHP (ภาษาเขยี นเวบ็ เพจ) 13

หลักสูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 1.5 ขอควรระวงั และการรักษาความปลอดภัยจากการใชง านบน Internet 1.5.1 การควบคมุ ความปลอดภยั 1) การพิสูจนทราบตัวตน (Authentication) คือ กระบวนการแสดงหลักฐาน (Identity) และตรวจสอบความถูกตองของหลักฐานของบุคคล หรือคอมพิวเตอร เพื่อใหทราบวาบุคคล หรือคอมพิวเตอร ทก่ี ลา วอา งน้ันเปน ตัวจริง หรอื ไม ขั้นตอนของการพิสูจนตัวตนแบงออกเปน 2 ขั้นตอน ไดแก “การระบุตัวตน” และ “การพิสูจน ตัวตน” 1.1) การระบุตัวตน (Identification) คือ ขั้นตอนที่บุคคล หรือคอมพิวเตอรแสดง หลักฐานวาตนเองคือใคร เชน สมชาย ปอน username และ password บนหนาจอล็อกอินของเว็บไซต www.hotmail.com หรือตัวอยางการระบุตัวตนของคอมพิวเตอร ไดแก เครื่อง Note-book ใชคา MAC Address ของตวั เองเพ่ือขอเช่อื มตอ เขา สู Access Point ท่ผี ูด ูแลระบบตัง้ คา MAC Address Filtering ไว 1.2) การพิสูจนตัวตน (Authentication) คือ ขั้นตอนการตรวจสอบหลักฐาน เพื่อพิสูจน วาบุคคล หรือคอมพิวเตอรที่แสดงตนเองนั้น เปนบุคคล หรือคอมพิวเตอรที่กลาวอางจริง หรือไม เชน เครื่องเว็บเซิรฟเวอรของ www.hotmail.com ไดตรวจสอบวาผูใชสมชายที่กลาวอางนั้นเปนตัวจริง หรือไม โดยการนำคา password ที่สงมาจากเบราวเซอร ไปทดสอบ หรือเปรียบเทียบกับรหัสผานในฐานขอมูลผูใช ของ Hotmail 1.5.2 หลักฐานอางองิ ที่เกยี่ วกับเรือ่ งความปลอดภัย 1) Actual identity หลักฐานที่สามารถบงบอกไดวาในความเปนจริงบุคคลที่กลาวอางน้ัน เปน ใคร เชน ลายนิ้วมอื ใบหนา DNA และบตั รประจำตัวประชาชน 2) Electronic identity หลักฐานทางอิเล็กทรอนิกสซึ่งสามารถบงบอกขอมูลของบุคคลนั้นได แตละบคุ คลอาจมีหลักฐานทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ ดมากกวา 1 หลักฐาน เชน บญั ชชี ่ือผใู ช username, password 1.5.3 ระดบั การควบคมุ ความปลอดภัย 1) กลไกของการพิสูจนตัวตน (Authentication mechanisms) ที่สามารถบงชี้ไดวาเปน บุคคล หรือคอมพิวเตอรที่กลาวอางนั้นจริง หรือไมจริงสามารถตรวจสอบไดจาก “สิ่งที่คุณรู” หรือ “สิ่งที่คุณ ม”ี หรอื “ส่งิ ทีค่ ณุ เปน ” โดยสามารถใช 2 สงิ่ หรอื 3 สง่ิ ประกอบกันได 1.1) สิ่งที่คุณมี (Something you have) เปนการพิสูจนตัวตนในลักษณะที่ เรียกวา Multi Factor กลา วคือ นอกจากจะมี Password ทต่ี อ งจำแลว ยังตองใชอ ุปกรณเสรมิ เขา มาใชใ นการเขาระบบ ดวย เชน บตั ร ATM, Swipe Card, Access Card และ Smart Card เปนตน การตรวจสอบผูใชระบบโดยใชสมารทการดเขามาชวยนั้นจะชวยตรวจสอบตัวตนของ ผูใชงานระบบไดคลาย ๆ กับที่ธนาคารตรวจสอบผูใชงานบัตร ATM ของธนาคารวาเปนเจาของบัตร หรือไม 14

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรูแ บบออนไลน เพราะบัตรควรจะตอ งอยูกับเจา ของบัตรเทานนั้ และเจา ของบัตรเทาน้นั ที่ทราบรหัสของตน ผูอ นื่ ถงึ แมจะขโมย บัตรไปแตก็ไมท ราบรหสั ท่อี ยูใ นบัตร ทำใหยากไปอกี ขนั้ หน่ึง ในการเจาะเขาสรู ะบบ 1.2) สิ่งที่คุณรู (Something you know) หมายถึง การใช UserName และ Password ในการเขาสูระบบโดยท่ัวไป เชน การใชอินเทอรเน็ตดว ยการหมนุ Modem จากบานเขาสู ISP หรือการทำงาน ในบริษัทที่ตองมีการ Log in โดยใช UserName และ Password ซึ่งการพิสูจนตัวตนในลักษณะนี้ ถือเปน ระดับความปลอดภัยที่นอยที่สุด เพราะถาใครรู UserName และ Password ของเราก็สามารถเขาใชงาน ระบบไดทันที นอกจากนี้เรายังตรวจสอบตัวตน (Authenticity/Accountability) ของผูใชระบบไมไดวาใครเปนใคร อีกดวย 1.3) สิ่งที่คุณเปน (Something you are) ก็คือการนำเทคโนโลยี Biometric เขามาใช ในการตรวจสอบตัวตนโดยอาศัยอวัยวะที่คนเรามีอยู และมีลักษณะที่เปนหนึ่งเดียวคือ ไมซ้ำกัน ไดแก ลายนิ้วมือ มานตา หรือเสียง เปนตน การใชงานสมารทการดสามารถรวมกับระบบ Biometric ได กลาวคือ เราสามารถเก็บลายนิ้วมือของคนลงไปใน Microchip ที่อยูในสมารทการดไดดวย ซึ่งจะเพิ่มระดับของความ ปลอดภัยมากข้นึ แตค าใชจา ยกจ็ ะสงู ขึน้ เชน กนั กระบวนการพิสูจนตัวตนนน้ั จะนำ 3 ลักษณะขา งตนมาใชใ นการยนื ยัน หลกั ฐานที่นำมากลาว อางจะข้ึนอยูก ับระบบ การจะนำวิธีการมาใชเพียงลักษณะอยา งใดอยา งหนงึ่ (Single-factor Authentication) มีขอจำกัดในการใช ตวั อยา งเชน - สิ่งที่คณุ มี (Possession Factor) นัน้ อาจจะสญู หาย หรอื ถูกขโมยได - สิง่ ทค่ี ณุ รู (Knowledge Factor) อาจจะถูกดกั ฟง เดา หรือขโมยจากเคร่อื งคอมพวิ เตอร - ส่งิ ทีค่ ณุ เปน (Biometric Factor) จดั ไดวา เปนวิธีท่มี คี วามปลอดภัยสูง อยางไรก็ตามการที่จะใชเทคโนโลยีนี้ไดนั้นจำเปนตองมกี ารลงทนุ ทีส่ ูง ดังนั้นจึงไดมีการนำแต ละคุณลักษณะมาใชรวมกัน (Multi-factor Authentication) ตัวอยางเชน ใชสิ่งที่คุณมีกับสิ่งที่คุณรูมาใช รวมกัน เชน การใชลายมือชื่อรวมกับการใชบัตรเครดิต หรือการใชรหัสผานรวมกับการใชบัตร ATM เปนตน การนำแตละลักษณะของการพิสูจนตัวตนมาใชรวมกันมากกวา 1 ลักษณะ จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษาความปลอดภัยของขอมลู 2) การกำหนดสิทธิ์ (Authorization) คือ ขั้นตอนในการอนุญาตใหแตละบุคคลสามารถ เขาถึงขอมูล หรือระบบใดไดบาง กอนอื่นตองทราบกอนวาบุคคลที่กลาวอางนั้น คือใครตามขั้นตอนการพิสูจน ตัวตนและตอ งใหแ นใจดว ยวาการพิสูจนต วั ตนน้ันถูกตอง 3) การเขารหัส คือ การเก็บขอมูลใหเปนสวนบุคคลจากบุคคลอื่นที่ไมไดรับอนุญาต สวนประกอบ 2 สว นทส่ี ำคัญที่จะชวยทำใหข อมูลนั้นเปนความลบั ไดกค็ อื การกำหนดสทิ ธิ์และการพสิ ูจนตัวตน เพราะวากอนการอนุญาตใหบุคคลที่กลาวอางเขาถึงขอมูล หรือถอดรหัสขอมูลนั้นตองสามารถแนใจไดวาบุคคลท่ี กลาวอางนั้นเปนใครและไดรับอนุญาตใหสามารถเขามาดูขอมูลได หรือไม ในการเขารหัสนั้น วิธีการหนึ่งที่ทำไดคือ 15

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน การเขารหัสในรูปแบบของกุญแจลับ (Secret key) ซึ่งในการใชคียรูปแบบนี้ตองเฉพาะผูที่มีกุญแจลับนี้เทานัน้ ทส่ี ามารถรับขอ มูลท่เี ขา รหัสแลวได 4) การรักษาความสมบูรณ (Integrity) คือ การรับรองวาขอมูลจะไมถูกเปลี่ยนแปลง หรือ ทำลายไปจากตนฉบับ (source) ไมวาจะเปนโดยบังเอิญ หรือดัดแปลงโดยเจตนาที่อาจสงผลเสียตอขอมูล การคุกคามความสมบูรณของขอมูล คือ การที่บุคคลที่ไมไดรับอนุญาตสามารถที่จะเขาควบคุมการจัดการของ ขอมูลได 5) การตรวจสอบ (Audit) คอื การตรวจสอบหลกั ฐานทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ซ่งึ สามารถใชใ นการ ติดตามการดำเนินการเพื่อตรวจสอบความถูกตองและแมนยำ ตัวอยางเชน การตรวจสอบบัญชีชื่อผูใช โดยผูตรวจบัญชี ซึ่งการตรวจสอบความถูกตองของการดำเนินการเพื่อใหแนใจวาหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกสนั้น ไดถูกสรางและสั่งใหทำงานโดยบุคคลที่ไดรบั อนญุ าต และในการเชื่อมตอ เหตุการณเขากับบคุ คลจะตองทำการ ตรวจสอบหลักฐานของบคุ คลน้นั ดว ย ซ่ึงถือเปนหลกั การพน้ื ฐานของขัน้ ตอนการทำงานของการพสิ จู นต ัวตนดวย การควบคุมความปลอดภัย 5 ระดับ ขางตน การพิสูจนตัวตนจัดเปนการตรวจสอบหลักฐานขั้นพื้นฐานท่ี สำคัญที่สุด ดงั นน้ั การพสิ ูจนตวั ตนดจี ะชวยเพิ่มความมน่ั คงปลอดภัยขั้นพ้นื ฐานใหกบั ระบบมากยิง่ ขึน้ 1.5.4 สวนประกอบของการพิสจู นตวั ตน การพสิ ูจนตัวตนสมบรู ณมสี วนประกอบพนื้ ฐาน แบง ไดเปน 3 สวน คือ 1) การพิสูจนตัวตน (Authentication) คือ สวนที่สำคัญที่สุดเพราะเปนขั้นตอนแรกของการ เขา ใชร ะบบ ผูเขาใชระบบตองถกู ยอมรับจากระบบวาสามารถเขา สูระบบได การพสิ ูจนต ัวตนเปนการตรวจสอบ หลักฐานเพ่ือแสดงวา เปน บคุ คลนัน้ จริง 2) การกำหนดสิทธ์ิ (Authorization) คือ ขอจำกัดของบุคคลที่เขามาในระบบ วาบุคคล คนน้นั สามารถทำอะไรกับระบบไดบาง 3) การบันทึกการใชงาน (Accountability) คือ การบันทึกรายละเอียดของการใชระบบและ รวมถึงขอมูลตาง ๆ ที่ผูใชกระทำลงไปในระบบ เพื่อผูตรวจสอบจะไดตรวจสอบไดวา ผูใชที่เขามาใชบริการได เปล่ียนแปลง หรอื แกไ ขขอมลู ในสวนใดบา ง 1.5.5 ประเภทของการพสิ ูจนตัวตน (Authentication Types) 1) การพสิ จู นต วั ตนโดยใชรหัสผาน (Authentication by Passwords) รหัสผา นเปนวิธีการที่ ใชมานานและนิยมใชกันแพรหลาย รหัสผานควรจำกัดใหเฉพาะผูใชที่มีสิทธิ์เทานั้นที่ทราบ แตวาในปจจุบันนี้ การใชแครหัสผา นไมม ปี ระสิทธภิ าพมากพอท่ีจะรักษาความมัน่ คงปลอดภัยใหก บั ระบบคอมพิวเตอร หรือระบบ เครือขายคอมพิวเตอร เนื่องจากการตั้งรหัสผานที่งายเกินไป และวิทยาการความรูที่กาวหนาทำใหรหัสผาน อาจจะถูกขโมยโดยระหวางการสื่อสารผานเครือขายได การเปลี่ยนรหัสผานอยูบอย ๆ สามารถที่จะบรรเทา ปญ หาน้ีได หรอื อาจจะใชเ ทคนิค leet มาชว ยในการต้ังรหัสผาน 16

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน leet คือ การใชตัวเลข หรือตัวอักษรที่มีรูปรางคลายกันมาทดแทนกัน เชน ใช 0 แทน O ตัวใหญ และใช 1 แทน I ตวั ใหญ อีกเทคนิคที่ทำใหแฮกเกอรไมสามารถโจมตีดวยวิธี Brute Force คือ การตั้งรหัสผานโดยใช ตัวอักษรที่ไมมีในคียบอรด หรือตัวอักษรที่ไมสามารถกดคียบอรดได เชน ใชตัวอักษรที่อยูบนปุม ~ ซึ่งบน Windows เวอรช ันภาษาไทยจะไมสามารถกดไดเพราะ Windows จะเขาใจวาผใู ชต องการเปลยี่ นภาษา ขอดี สามารถใชไดกับทุกระบบ ขอ เสยี จะไมป ลอดภัยเมอ่ื มีการสงขามระบบเครือขายทเ่ี ปน สาธารณะ หรือไมมกี ารเขา รหัสขอ มูล 2) การพิสูจนตวั ตนโดยใช PIN (Authentication by PIN) ( PIN : Personal Identification Number) เปนรหัสลับสวนบคุ คลทีใ่ ชเ ปน รหัสผา นเพ่อื เขาสรู ะบบ ซึ่ง PIN ใชอยางแพรห ลายโดยเฉพาะการทำ ธุรกรรมทางดานธนาคาร เชน บัตร ATM และเครดิตการดตาง ๆ การใช PIN ทำใหมีความปลอดภัยในการ สื่อสารขามระบบเครือขายสาธารณะมากขึ้น เนื่องจาก PIN จะถูกเขารหัสเอาไว และจำเปนตองมีเครื่องมือที่ สามารถถอดรหัสนี้ออกมาได เชน ฮารดแวรที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ และ ถูกติดตั้งไวในเครื่องของผูรับและ ผูสง เทา น้ัน ขอ ดี งายตอการจำและความปลอดภยั คอนขางดี และสามารถสอื่ สารขา มเครอื ขา ยสาธารณะได ขอเสีย ตอ งใชฮ ารแวรเ ฉพาะในการอา น PIN ไมสามารถใชกบั ตา งระบบกนั ได และราคาแพง 3) การพิสูจนตัวตนโดยใชลักษณะเฉพาะทางชีวภาพ (Authentication by Biometric traits) ลักษณะทางชีวภาพของแตละบุคคลเปนลักษณะทางภายภาพ จึงไมสามารถลอกเลียนแบบได เชน DNA และ Retina การนำลักษณะทางชีวภาพมาใชในการพิสูจนตัวตนจะใหความปลอดภัยสูงที่สุด เชน การใช ลายนิ้วมือแทนการตอกบัตร การใชเสียง และมานตาเพื่อยืนยันตัวตนกอนเขาหองเซิรฟเวอร การพิสูจนตัวตน ลกั ษณะน้ีถกู พัฒนาข้ึนเพอื่ หลกี เล่ยี งปญ หาท่เี กิดจากการใชรหสั ผา นเพยี งตัวเดียวซำ้ ๆ กนั 4) การพิสูจนตัวตนโดยใชรหัสผานเพียงครั้งเดียว (One-Time Password : OTP) OTP จะ ทำใหระบบมีความปลอดภัยมากขึ้น เพราะรหัสผานจะถูกเปลี่ยนทุกครั้งกอนที่ผูใชจะเขาสูระบบ การทำงาน ของ OTP คือ เมื่อผูใชตองการจะเขาใชระบบ ผูใชจะทำการรองขอไปยังเซิรฟเวอร จากนั้นเซิรฟเวอรจะสง Challenge String กลบั มาใหผูใช จากนน้ั ผใู ชจ ะนำ Challenge String และรหสั ลับท่ีมีอยูกบั ตัวของผูใชนำไป เขาแฮชฟงกชันแลวออกมาเปนคา Response ผูใชก็จะสงคานั้นกลับไปยังเซิรฟเวอร จะทำการตรวจสอบคาที่ ผูใชสงมาเปรียบเทียบกับคาที่เซิรฟเวอรเองคำนวณได โดยเซิรฟเวอรก็ใชวิธีการคำนวณเดียวกันกับผูใช เมื่อได คา ที่ตรงกนั เซริ ฟเวอรก็จะยอมรับใหผูใชเขา สูระบบ 5) การพิสูจนต ัวตนโดยการใชลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature) เปนการนำหลักการทำงาน ของการเขารหัสแบบใชคูรหัสกุญแจมาประยุกตใช โดยผูใชจะตองนำขอมูลไปเขาฟงกชันที่เรียกวา 17

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน แฮชฟงกชัน จากนั้นจะไดเมสเซสไดเจสต (Message Digest) และผูสงใชลายเซ็นดิจิทัลเปนกุญแจเขารหัส ขอ มลู เมื่อขอมูลถูกสงไปยังผูรับ ผูรับก็จะนำขอมูลจากผูสงนั้นผานแฮชฟงกชันเพื่อคำนวณ คาเมสเซสไดเจสต (Message Digest) และถอดรหัสลายเซ็นดวยกุญแจสารธารณะของผูสง ถาถอดรหัส ไดถูกตองและคา เมสเซสไดเจสตต รงกนั จะเปนการยืนยันขอ มลู จากผูใชจริง 6) การพิสูจนตัวตนโดยใชการถาม - ตอบ ผูใชจะเปนคนสรางคำถามและคำตอบขึ้นมาเอง จากนั้นจะสงใหกับเซิรฟเวอร ซึ่งคำถาม - คำตอบที่ผูใชสรางขึ้นมา จะมีเพียงผูใชเทานั้นที่ทราบคำตอบ ของแตล ะคำถามท่ถี กู สราง และเมอ่ื ผใู ชคนนน้ั ๆ เขา สูร ะบบได ระบบจะถามสุมคำถามเหลานั้นทีผ่ ูใชคนน้ัน ๆ สรางขึ้นมาถามผูใชคนนั้น ๆ กอนที่จะยอมใหเขาใชระบบไดจริง การใหใชระบบไดจริงจะไดรับการยินยอม ก็ตอเม่อื การตอบคำตอบทีผ่ ใู ชตอบน้นั สมั พนั ธกับคำตอบทม่ี ีอยใู นเซิรฟเวอร 7) ไมมีการพิสูจนตัวตน (No Authentication) ตามหลักการแลวการพิสูจนตัวตนไมมีความ จำเปน ถาเงื่อนไขตอไปนี้เปนจริงขอมูลเหลานั้นเปนขอมูลสาธารณะ ที่อนุญาตใหทุกคนเขาใชบริการและ เปลี่ยนแปลงได หรือขอมูลขาวสาร หรือแหลงของขอมูลนั้น ๆ สามารถเขาถึงไดเฉพาะบุคคลที่ไดรับอนุญาต เทานัน้ ขอ ดี งา ยตอการใชงานและคา ใชจ า ยต่ำ ขอ เสยี ความปลอดภัยของขอมูลจะขึน้ อยกู ับผูใชจะนำขอ มูลนนั้ ไปใชในทางทีค่ วร หรอื ไม 1.5.6 บทสรปุ การรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ของระบบคอมพวิ เตอร หรือระบบเครอื ขา ยคอมพิวเตอรเปนสิ่งท่ีควร ตระหนักเปนอยางยิ่งในปจจุบัน เพราะโลกในยุคปจจุบันเปนโลกแหงขอมูลขาวสาร การเก็บรักษาขอมูลให ปลอดภัยจึงเปนสิ่งสำคัญกับตัวบุคคลและองคกร เพราะฉะนั้นการที่จะอนุญาตใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งสามารถ เขาถึงขอมูลจึงเปนส่ิงที่ควรระมัดระวัง เพราะขอมูลบางอยางของบุคคลและองคกรมีความสำคัญและไม สามารถเปด เผยตอบคุ คลภายนอกได การพสิ ูจนต ัวตนจึงมคี วามสำคญั เนื่องจากวา การท่ีบุคคลใดบคุ คลหนึง่ จะเขาสูระบบได จะตองไดรับ การยอมรบั วาไดร ับอนุญาตจริง การตรวจสอบหลักฐานจึงเปนขั้นตอนแรกกอนอนุญาตใหเขาสูระบบ การยืนยันตัวตนยิ่งมีความ ซับซอนมากน่นั ก็หมายถึงวา ความปลอดภัยของขอมูลกม็ ีมากข้นึ ดว ย 18

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน 1.6 การสรางขอ สอบการวดั และการประเมินผลหลงั จากการเรียนรสู ำหรบั ครผู สู อน 1.6.1 แนวทางการวดั และประเมนิ ผลแบบออนไลน การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นผสู อนตองคำนงึ ส่งิ สำคญั 4 ประการ ดงั นี้ 1) การมีสวนรวม คือ ควรใหผูเรียนมีสวนรวมในการกำหนดวิธีการ และเกณฑการสงงาน เพื่อรับการประเมินจากผูสอน ทั้งนี้ ผูสอนนั้นสามารถเสนอวิธีการและเกณฑการสงใหกับผูเรียนไดตัดสินใจ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม การลดความยุงยามซับซอน และปองกันปญหาที่เกิดจากการสงงาน เชน ใบงาน สูญหาย มีการจดั หมวดหมูที่ชดั เจน ผสู อนและผูเ รียนสามารถติดตาม หรือตรวจสอบการสง งานได เปนตน 2) ความโปรงใส คือ การใหคะแนนควรมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจน ผูเรียนสามารถ ตรวจสอบคะแนนได และสอบถามผูสอนไดหากมขี อ สงสยั 3) เนนวตั ถปุ ระสงค คอื วดั และประเมินผลตามวัตถุประสงคของรายวิชา และเลือกวิธีการวัด และประเมนิ ที่เหมาะสม เชน แบบปฏิบัติ แบบอัตนยั แบบปรนัย และแบบปากเปลา เปน ตน 4) พัฒนาการสอน คือ การนำผลการประเมินผูเรียนไปใชในการพัฒนาการสอนของผูสอน เพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพการเรียนรูของผเู รียน 1.6.2 การสรางขอสอบออนไลน ผสู อนสามารถพิจารณา หรอื ตดั สินใจใชเครื่องมอื การสรา งขอ สอบ หรือการรับสงขอ สอบและ คำตอบจากผเู รยี นได ดงั น้ี 1) ควรเลือกใชระบบจัดการการเรียนการสอนออนไลนผานเครือขายอินเทอรเน็ต (LMS) ซึ่งจะมีเครื่องมือสำคัญสำหรับผูเรียน ผูสอน และผูดูแลระบบ เชน การจัดการรายวิชา การจัดการขอมูล การจัดการบทเรียน การสรางเนื้อหารายวิชา เครื่องมือวัดผลการเรียนรูระบบจัดการขอมูลผูเรียน การจัดการ สื่อสารและปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน เปนตน เชน Google Classroom และ MicrosoftTeams หรือเครื่องมือที่ทางหนวยงานสนับสนุน เพื่อใหเขาสอบ Login ดวยบัญชีที่เปนการยืนยันตัวตน เชน Google Form, Microsoft Forms และอ่นื ๆ 2) ระบบ LMS สามารถกำหนดเวลาปลอยและเวลาปดขอสอบได แตระบบนี้ไมสามารถปองกัน การทุจริตได 3) การสอบ ผูสอนควรเขียนคำชี้แจงและแนะนำรายละเอียดตาง ๆ ในการทำขอสอบ ใหชัดเจน หรือนัดหมายผูเรียนเขาหองเรียนออนไลนเพื่อชี้แจงควบคูไปดวย และทดสอบระบบการสอบกอน สอบจรงิ เพอ่ื ตรวจสอบปญหาและแกไข 4) คำตอบควรใหเปนการนำสงเขาระบบ และใหผูเรียนสามารถสงคำตอบ หรือรับสงไฟล คำตอบซำ้ ได 2 - 3 ครงั้ ภายในเวลาทกี่ ำหนด ปอ งกนั กรณีอินเตอรเ น็ตมปี ญ หาจากความไมเสถียร 19

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 5) ในกรณีที่ผูเรียนในชั้นเรียนมีความเหลื่อมล้ำดานเทคโนโลยี แนะนำใหเปนการเขียนตอบ กบั ผเู รียนทกุ คนในช้นั เพ่อื สรางความยุติธรรมและปองกนั การถกู รอ งเรยี น 6) ควรกำหนดวธิ กี ารสอบ หรือรปู แบบการสอบใหเ หมาะสมกับจำนวนผูเรียน และผูคมุ สอบ 7) ควรเปด ชองทางในการรับแจง ปญหา หรอื ขอความชวยเหลอื แกผเู รยี นระหวา งการสอบ 1.6.3 การจดั สอบและประเมินผลแบบออนไลน การจดั การสอบและการประเมนิ ผลแบบออนไลน แบงออกเปน 2 สว น ดงั น้ี 1) กอ นสอบ 1.1) ควรสำรวจอุปกรณที่ผูเรียนมี เชน โนตบุค แท็บเล็ต หรือสมารทโฟน และการเขาถึง สญั ญาณอินเตอรเนต็ ของผูเรยี น เชน อนิ เตอรเ นต็ บา น หรือเนต็ มือถอื 1.2) นำขอมูลจากขอ 1.1) มาประกอบการพิจารณาเลือกเครื่องมือสรางขอสอบ หรือ ระบบการสอบเพ่ือความเหมาะสมของผูเรียนโดยรวม 1.3) วเิ คราะหแ ละออกแบบรปู แบบการวดั และประเมนิ ผล ไดแ ก - ประเภทขอสอบ เชน ขอ สอบปรนยั อตั นัย รายงาน โครงการ วิดโี อบันทึกผลงาน และอน่ื ๆ - กำหนดระยะเวลาในการสอบ - กำหนดระยะเวลาการเปด ปดขอสอบ หรือการรบั ขอ สอบ - การใหค ะแนน หรือเกณฑก ารใหค ะแนน - รายละเอยี ดท่ตี อ งแจง แกผ ูเรยี นเพอ่ื เขาสอบ ทั้งนี้ มแี นวทางในการวดั และประเมนิ ผลของขอ สอบประเภทตาง ๆ ยกตัวอยา งไดด ังน้ี ตวั อยา งท่ี 1 ผลงาน/โครงการ/รายงาน - ควรมีการประเมินเปนระยะ และใหผูเรียนในชั้นเรียนมีสวนรวมในการประเมิน และผูเรียนประเมินตนเองควบคูก ัน เพื่อใหผ ูส อนไดติดตามพัฒนาการของผูเ รยี น และผูเ รียนเขาใจบทบาทของ ตนเอง - กำหนดและแจงเกณฑก ารประเมิน หรือการใหคะแนนใหผ ูเรยี นทราบลว งหนา - เลอื กใชช องทางรบั สง เพียงชองทางใดชอ งทางหนง่ึ ตวั อยา งที่ 2 สงั เกตพฤตกิ รรม การปฏิบตั ิ หรอื การทดลอง โดยบนั ทกึ คลิปวดิ ีโอ - ควรใหถ ายวิดโี อแบบ Long Take โดยใชมมุ กลองแบบ Long Shot หรอื Medium Shot - ในกรณีที่จำเปนตอง Close-Up ใหผูเรียนเปลีย่ นมุมกลองเปน Medium Shot หรือ Close-Up และบันทึกซำ้ 20

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน - กำหนดระยะเวลาของวิดีโอที่เหมาะสม เชน 5 - 10 นาที หรือ 5 นาที ไมเกิน 10 นาที เปน ตน - กำหนดระยะเวลาในการถายทำตัดตอวิดีโอเพื่อสงงานใหเหมาะสม หรือเพียงพอ กบั การดำเนนิ การ ตวั อยา งท่ี 3 การสอบในวนั และเวลาเดียวกนั - ควรแจง วนั สอบ ระบบ/โปรแกรมเวบ็ แอปพลิเคชนั ท่ีใชสอบ - ควรทดสอบระบบ/โปรแกรมเว็บแอปพลเิ คชนั ที่ใชส อบกบั ผูเรยี น - กำหนดระยะเวลาการสอบทีเ่ หมาะสม - แจงรายละเอียดเพอื่ การสอบใหช ัดเจน เชน อุปกรณสำหรบั การสอบ และการสง ขอ สอบ ตลอดจนวิธีการในการสอบและการสงคำตอบ ตัวอยางที่ 4 การสอบแบบกำหนดชว งเวลา - เขียนคำช้ีแจงและแนะนำรายละเอียดตา ง ๆ ในการทำขอ สอบ/การสอบใหช ดั เจน เชน วันท่สี อบ เวลาท่ีเริ่มสอบและสนิ้ สดุ การสอบ - ควรมกี ารแจง เตอื นผูเรยี นกอนปด รับคำตอบ 2) ระหวา งการสอบ 2.1) ขณะเขาสอบผูสอนสามารถตรวจสอบผเู รียนทเ่ี ขาสอบ ดังน้ี - ใชโปรแกรม/ระบบการสอบที่ผูเรียนตอ ง Login เพอ่ื เขาสอบ - ตรวจสอบหนาผูเ รียนที่เขาสอบดว ย Webcam 2.2) เปด ชองทางในการรบั แจง ปญหา หรือขอความชว ยเหลือแกผ เู รียนระหวา งการสอบ 1.6.4 แนวทางการลดการลอกขอสอบแบบออนไลน 1) สรางวนิ ัยความซอื่ สตั ยร ะหวางการสอน 2) ใหผเู รยี นเปด กลองขณะทำการสอบ 3) มขี อสอบหลายชุด 4) ใชโ ปรแกรมสอบท่ีสลบั ขอ ได และกำหนดเวลาสอบอตั โนมัติ หรือใชร ะบบในการสอบ 5) แจง คำสัง่ และการทำโทษทช่ี ดั เจน 21

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน 1.6.5 เครือ่ งมอื สรางขอ สอบ ปจ จบุ นั เครือ่ งมือในการวัดผลของผเู รยี นแบบออนไลน มีความทนั สมัยและตอบสนองตอการใชงาน ของผสู อนและผเู รียนไดดี สามารถตอบสนองการวัดผลการเรยี นรไู ดห ลายรูปแบบ เชน 1) Plickers เปนเครื่องมือในการสรางขอสอบที่สามารถตรวจคำตอบไดโดยการสแกน QR Code คำตอบของผูเรียนแตละคน สามารถดาวนโหลดแอปพลิเคชันใชงานบนสมารทโฟน หรือใชงานบน เว็บแอปพลิเคชัน ผูสอนดำเนินการสรางขอสอบโดยการระบุคำถาม และใสตัวเลือกคำตอบ A B C และ D กำหนดตัวเลือกที่ถูกตอง จนครบทุกขอ จากนั้นจึงดาวนโหลด QR Code ตามจำนวนผูเรียนแจงใหผูเรียนสแกน เพือ่ เขาสอบ ซง่ึ ผสู อนสามารถสลบั คำตอบได 2) Google Form เปนเครื่องมือในการสรางขอสอบที่มีการใชอยูทั่วไป โดยผูสอนจะตองตั้ง คาฟอรมเปนแบบทดสอบ และวิธกี ารเขา สอบ เชน Log in ดวยอีเมล (E-Mail) จากนนั้ สรางคำถามโดยสามารถ เลือกไดวาจะเปนแบบอัตนัย หรือปรนัย ตลอดจนสามารถใหผูเรียนสงคำตอบโดยการอัปโหลดไฟล ทั้งน้ี หากเปนแบบปรนัย ผูสอนสามารถเฉลยคำตอบเพื่อตรวจและคำนวณคะแนนได เมื่อสรางขอสอบจนครบทุกขอ ใหด ำเนินการรบั ลิงคเ พอื่ แชรใหผ ูเ รยี น หรือจะสงผา นทางอีเมล (E-Mail) ของผเู รยี น 3) Kahoot เปนเครื่องใชตอบคำถาม คำตอบทางออนไลน พรอมสรุปผลคะแนน คนที่ได คะแนนมากที่สุด เรียงลำดับ และรายบุคคล ดวยการเลนผานระบบออนไลนที่นักเรียนจะตองเลนผาน คอมพิวเตอร สมารทโฟน หรือแท็บเลต เชื่อมตอเขาสูระบบ เพื่อระบุชื่อคนเลน เก็บคะแนน หรือแขงขันกัน ซึ่งผูสอนสามารถตั้งคำถามและเฉลยคำตอบเพื่อใหผูเรียนเลนเกมแขงขันกันได โดยผูสอนทำการเลือกประเภท ของขอสอบ Quiz และดำเนินการสรางขอสอบ ระบุคำถาม ระยะเวลาตอบ ตัวเลือกคำตอบ และคำตอบท่ี ถูกตอง เมอ่ื เพม่ิ คำถามครบทกุ ขอ ใหกำหนดหัวขอเรื่องของการสอบใหเ รยี บรอย กดบนั ทึก เมื่อจะทำการสอบ/ทดสอบ ใหไปที่ play.kahoot.it เลือกชื่อหัวเรื่องที่ตองการ การเลน รายบุคคล และตั้งคาเกม เพื่อรับหมายเลข PIN จากนั้นแจงหมายเลข PIN ใหกับผูเรียน รอจนผูเรียนเขาครบทุก คนจึงเรมิ่ การสอบ/ทดสอบ 4) Socrative เปนเครื่องมือใชสรางแบบทดสอบ สามารถแสดงผลการสอบไดทันที รองรับ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สามารถใสภาพประกอบคำอธิบายตาง ๆ จุดเดน คือ ผูเรยี นสามารถทำขอสอบ ผานอุปกรณที่เชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ตไดหลากหลาย เชน มือถือสมารทโฟน แท็บเล็ต และเครื่อง คอมพิวเตอร โดยการสรางขอสอบ หรือแบบทดสอบ ใหผูสอนเลือกแถบ Quizzes พิมพหัวขอเรื่อง และเลือก รูปแบบคำถาม ซึ่งมีใหเลือก 3 แบบ คือ Multiple Choice True/False และ Short Answer จากนั้นก็ระบุ คำถามในชอ งคำถาม คำตอบในชอ งคำตอบ และคำตอบท่ถี กู ตอ ง จนครบทุกขอใหท ำการบนั ทึก เมื่อจะทำการสอบ/ทดสอบ ผูสอนจะตองแจง Room Name ใหผูเรียนเพื่อใหผูเรียน Log in Socrative และพิมพช่ือ Room Name ท่ไี ดรบั จากผูสอนในการเขาสอบ 22

หลักสูตรการพฒั นาครดู า นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน 5) quizizz เปนเครื่องมือสรางแบบทดสอบออนไลน (E-Testing) ผูเรียนสามารถทำ แบบทดสอบผานอุปกรณที่เชื่อมตอระบบอินเตอรเน็ต ผูเรียนทราบผลการสอบทันที และผูสอนไดรับรายงาน (Report) ผลการสอบและสามารถบันทึกลงเครื่องคอมพิวเตอรได จึงเหมาะกับการนำมาประยุกตใชกับการทำ ขอสอบกอนเรียน หลังเรียนเพื่อวัดผลการเรียนรูของผูเรียน หรือจัดกิจกรรมการสอบแบบเกมเพื่อเพิ่มความ สนุกสนานในหองเรียนออนไลน โดยการสรางขอสอบ หรือแบบทดสอบนั้นจะมีลักษณะคลายกับเครืองมือ ที่กลาวมาแลวกอนหนา แตมีจุดเดนท่ีผูสอนไดรับรายงาน (Report) ผลการสอบในรูปแบบของไฟล Excel และมีการใชงานที่งา ย โดยเมื่อสรางขอสอบ หรือแบบทดสอบครบทุกขอ ใหผูสอนกด Process เพื่อรับรหัสเขาหอง เมือ่ จะทำการสอบ/ทดสอบ ผสู อนจะตอ งแจง รหัสเขา หอง เมอื่ ผเู รียนเขา หอ งครบทุกคนก็ดำเนินการสอบ 1.7 การเลือกใชงาน Internet การเลอื กใช Web Browser สำหรบั การใช Web Portal ในยุคการสื่อสารในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) มีบทบาทกับ ชีวิตประจำวันของเราเปนอยางมากทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การ นำเอาเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่ออำนวยความสะดวกในการสื่อสาร ขอมูล หรือการดำรงชีวิตอยูในสังคมปจจุบัน ซึ่งเทคโนโลยีที่กลาวถึงประกอบไปดวยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร (computer technology) และเทคโนโลยที ี่เก่ียวของกบั การสือ่ สาร (communication technology) คอมพิวเตอร (computer) เปนเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถประมวลผลขอมูล อิเลก็ ทรอนกิ สใ นรูปแบบดิจิทัล โดยสามารถประยุกตใ ชงานไดห ลากหลาย ตามพจนานกุ รมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดนิยามคำวา “คอมพิวเตอร” ไววา เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทำหนาที่เสมือนสมองกล ใชสำหรับแกปัญหาตาง ๆ ทั้งที่งายและซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร “องคประกอบของคอมพิวเตอรจะ ประกอบไปดวยสวนตาง ๆ หลายสวนดวยกัน เชน ฮารดแวร (hardware) หมายถึง สวนที่เราสามารถจับตอง ไดและเห็นเปนรูปธรรม เชน คียบอรด เมาส หนาจอ ลำโพง เปนตน ซอฟตแวร (software) หมายถึง คำสั่ง หรอื โปรแกรมคอมพวิ เตอรซ ึ่งจะรวมไปถึงระบบปฏบิ ตั ิการ (operating system : OS) และโปรแกรมประยุกต (application software) นอกจากนั้นองคประกอบของคอมพิวเตอรยังรวมไปถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรและ ขอมูลสารสนเทศที่ปอนใหกับคอมพิวเตอรเพื่อใชในการประมวลผลอีกดวย อินเทอรเน็ต (internet) เปนเพียง ชองทางสำหรับการเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครือขายทั่วโลกเขาดวยกันเกิดเปนเครือขาย ขนาดใหญ หรือเครอื ขา ยใยแมงมุม (world wide web : www) ซง่ึ เราเรยี กส้นั ๆ วา “เว็บ” ประโยชนในการ เชื่อมตอ หรือใชงานอินเทอรเน็ตขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของผูใชงาน (user) เชน แสวงหาความรู ดูรายละเอียด สินคา เช็คอีเมล หรือเพื่อความบันเทิง ดูหนัง ฟงเพลง เลนเกม เปนตน ไมมีใครเปนเจาของและเปนพืน้ ที่ที่ทุก คนสามารถเขาถงึ ได 23

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน อินเทอรเน็ตกำลังเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว เปนที่นิยมและมีผูใชงานจำนวนมาก อินเทอรเน็ตจึง กอใหเ กดิ โอกาสและบริการใหมม ากมาย เชน การทำธุรกรรมผานระบบอินเทอรเ น็ต พบปะสนทนาแลกเปลี่ยน ขอ มลู กบั ผอู ่นื นอกจากนี้ อินเทอรเน็ตยังเปน ส่ือทนี่ ำเสนอความบันเทิงในรปู แบบตา ง ๆ ที่รองรับส่ือมัลติมีเดีย (multimedia) ที่มีขนาดใหญจำนวนมหาศาล ทำใหผูใชงานสามารถเขาถึงสื่อเหลานั้นไดงาย สะดวก รวดเร็ว และสามารถเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลา และยังเปนพื้นที่ใหผูใชงานสามารถประชาสัมพันธ นำเสนอสินคาและ บรกิ ารในรปู แบบท่ีนาสนใจและเขา ถงึ กลุมลูกคา ไดอยางท่ัวถึง แมนยำ จนมกี ารกลา ววาถา ธุรกิจใดไมสนใจโลก อนิ เทอรเ นต็ ธุรกจิ น้นั กำลงั ปฏเิ สธอนาคตของตัวเอง ความเปนมาของอินเทอรเน็ต เริ่มตนจากแนวความคิดเรื่อง เครือขายคอมพิวเตอร ที่ตองการให ผูใชงานคอมพิวเตอรตางระบบกันสามารถทำการเชื่อมตอ ติดตอสื่อสาร หรือแลกเปลี่ยนขอมูลกันได ซึ่งมีการ พัฒนาจากอดีตจนถึงปจจุบัน ทั้งเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการสื่อสารกอเกิดเปนเครือขายที่เรา รูจักกันดีในชื่อของอินเทอรเน็ต แนวคิดแรก ๆ เกิดขึ้นในชวงป ค.ศ.1950 และเริ่มปฏิบตั ิจริงในชวง ค.ศ.1960 ในยุคสงครามนิวเคลียร หรือสงครามเย็นระหวางสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการแขงขัน ทางดานเทคโนโลยีอวกาศ ทำใหเกิดการตื่นตัวที่จะพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูงเปนอยางมาก รัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยกระทรวงกลาโหมไดกอตั้งหนวยงานวิจัยชั้นสูงชื่อวา “อารพาเน็ต” (Advance Research Projects Agency Network : ARPANET) มีการสนับสนุนทุนสำหรับการวิจัยและริเริ่มโครงการเกี่ยวกับระบบเครือขาย คอมพิวเตอร ดวยความเชื่อวาการกระจายและเชื่อมโยงเครือขายโดยไมมีศูนยกลาง สามารถหลีกเลี่ยงความ เสียหายจากการสูรบหลังจากการโจมตี เพื่อใหมั่นใจวาหากถูกถลมดวยระเบิดนิวเคลียร เครือขายจะยัง สามารถเชือ่ มตอ กนั และสงขอมลู กันไดโ ดยไมถูกตดั ขาด การเชอื่ มโยงเครือขายของอารพ าเน็ตคร้ังแรกเปน การเชื่อมโยงกันระหวางมหาวทิ ยาลัยแคลิฟอรเนีย กับสถาบันวิจัยสแตนฟอรด ในชวงป ค.ศ.1969 และไดเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วในเวลาตอมาปจจุบันไดมีการ พัฒนาอยางตอเนื่องจนกลายเปนจุดเดนของระบบเครือขาย โดยใชโครงสรางการติดตอสื่อสารแบบทีซีพี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ทำใหคอมพิวเตอร สามารถเชื่อมตอติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลกันได นอกจากนี้ ทีซีพี/ไอพี ยังเปนมาตรฐานที่วาดวยการ กำหนดวิธีการติดตอ สอื่ สารระหวา งคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่มเชื่อมโยงเขาสูระบบอินเทอรเน็ต ตั้งแตกลางป พ.ศ. 2530 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดทำการเชื่อมโยง เพื่อสงอีเมล (E-mail) กับประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทำใหมีระบบอีเมล (E-mail) เชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตเปนครั้งแรก (สารานุกรรมไทนสำหรับเยาวชน, 2554) ตอมาในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2535 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเชาสายวงจรเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตเปน ครั้งแรก ในชวงระยะเวลาเดียวกันนี้กระทรวงวิทยาศาสตรฯ โดยศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ ไดมีโครงการที่จะเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรระหวางมหาวิทยาลัยขึ้น เครือขาย คอมพิวเตอรระหวางมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ไดพัฒนากาวหนาขึ้นเปนลำดับจนทำใหมีสถาบันออนไลน 24

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน กบั อินเทอรเ นต็ เปนกลมุ แรก ไดแ ก จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหง เอเชีย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ ในป พ.ศ.2535 เครือขายระหวางมหาวิทยาลัยไดเชื่อมโยงกันโดยมีแกนกลาง คือ ศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ และใหชื่อเครือขายนี้วา เครือขายไทยสาร (THAI Social/ Scientific, Academic and Research Network : THAISARN) เชื่อมโยงภายในประเทศ ทำใหทุกเครือขายยอย สามารถเช่อื มโยงเปนอินเทอรเ นต็ ในระดบั สากลได สญั ญาณอินเทอรเนต็ ในประเทศไทยจะถกู แบงออกเปนสอง ประเภทใหญ ๆ ไดแก สัญญาณอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย หรือผูใหบริการสัญญาณอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider : ISP) สำหรับบริษัทที่เปดใหบริการเชาสัญญาณอินเทอรเน็ตโดยทั่วไป และสัญญาณ อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาและการวิจัย สำหรับใชประโยชนในการจัดการศึกษาและการวิจัยของประเทศ โดยระบบเปนเครือขายแบบกระจายเชื่อมตอโครงขายทั่วประเทศโดยใชเคเบิลใยแกวนำแสง (fiber optic) ซึ่ง หนวยงานการศึกษา หรืองานวิจัยสามารถขอใชบริการไดฟรีทั่วประเทศ โดยผูดูแลและรับผิดชอบ คือ สำนกั งานบริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศึกษา หรอื UniNet (http://www.uni.net.th/) 1.7.1 การเลือกใชง าน Internet สำหรบั การใช Web Portal องคประกอบและการทำงานของอินเทอรเน็ต ในรูปแบบการทำงานของอินเทอรเน็ตจะประกอบ ไปดว ย 3 สว นหลัก ๆ สำคัญดว ยกันดงั นี้ 1) ผูรองขอบริการ (Client) คือ เครื่องของผูใชงานซึ่งไมจำเปนตองเปนคอมพิวเตอรเสมอไป อาจจะอยูในรูปแบบของแท็บเล็ต (tablet) สมารทโฟน (smartphone) หรือโนตบุก (note-book) ที่ทำการ เชอ่ื มตอ กบั ระบบเครอื ขายและตอ งการรอ งขอขอ มลู หรือบรกิ ารตา ง ๆ ทีม่ ีอยูบนเครือขา ยอนิ เทอรเนต็ ซ่งึ การ รองขอจะตองทำผานมาตรฐานขอตกลง หรือขอกำหนดในการติดตอสื่อสารระหวาง เครื่องผูรองขอบริการ กับเครื่องผูใหบริการ การรองขอบริการอาจจะอยูในรูปแบบของเว็บไซต (website) อีเมล (E-mail) การถาย โอนไฟล (file transfer) ฐานขอมูล (database) โปรแกรม (application) หรือไฟลเอกสาร (document) เปนตน 2) ผูใหบริการ (Server) เปนเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ที่เปดใหบริการตาง ๆ บน เครือขาย อินเทอรเน็ต ซึ่งรูปแบบการใหบริการก็มีอยูหลากหลาย เชน web server, mail server, file server, database server, multimedia server หรือapplication server เปนตน เพื่อรองรับการ รองขอจาก ผรู อ งขอบริการ 3) เครือขายคอมพิวเตอร (computer network) เปนเครือขายที่เชื่อมโยงระหวางผูรองขอ บริการและผูใหบริการ ซึ่งรูปแบบของเครือขาย หรือการเชื่อมตอก็มีอยูหลากหลาย ขึ้นอยูกับผูใชงานมีการ เขาถึงอินเทอรเน็ตในรูปแบบใด มีทั้งที่เปนแบบมีสายและแบบไรสาย เชน เชื่อมตอโดยใชสายแลนสัญญาณ ไวไฟ เครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ หรือแมแตการรับสัญญาณจากดาวเทียม อุปกรณเครือขายและเทคโนโลยี บนอินเทอรเน็ต อุปกรณที่ใชสำหรับเชื่อมตอเครือขายมีใหเลือกมากมายในปจจุบันขึ้นอยูกับความตองการ 25

หลักสูตรการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ของผใู ชแ ละขนาดของเครอื ขา ยวาจะตองการเครือขายท่ีรองรบั จำนวนลูกขา ยมากนอยเพียงใด ความเร็วเทาใด ตอ งการระบบอะไรบางเพ่ือรองรับการทำงานในองคก ร หรือหนวยงานนน้ั ๆ ในหัวขอ น้ี ขอยกตวั อยางอุปกรณ เครือขายที่จำเปนภายในบาน หรือสำนักงานขนาดเล็ก ใหผูเขาอบรมไดลองศึกษา หนาที่การทำงานของ อปุ กรณต า ง ๆ ดังน้ี 3.1) โมเด็ม (modulate and demodulate: modem) ทำหนาที่ในการแปลงสัญญาณ อนาล็อก (analog signals) จากสายสัญญาณโทรศัพทใหกลายเปนสัญญาณดิจิทัล (digital signals) เพื่อให สามารถใชงานในระบบประมวลผลขอมูลของคอมพิวเตอรได และแปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร ใหเปน สญั ญาณอนาลอ็ กเพ่อื สงไปบนคูส ายโทรศพั ท 3.2) เราทเตอร (router) เปนอุปกรณที่ทำหนาท่ีเชื่อมตอเครือขาย หรือเลือกชองทาง ในการสงผานขอมูลที่ดีที่สุดในการเชื่อมตอเครือขายทำใหสามารถเชื่อมตอคอมพิวเตอรไดมากกวาหนึ่งเครื่อง ในเวลาเดียวกัน ในปัจจุบันอุปกรณเราทเตอรอาจถูกติดตั้งโมเด็ม อุปกรณรวมสายและตัวปลอยสัญญาณ ไวเรสมาดวยในตวั 3.3) การดแลน (LAN card) หรืออีเทอรเน็ตการดเปนอุปกรณที่ทำหนาที่ในการรับสง ขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งจะมีสายสัญญาณที่ใชสำหรับเชื่อมตอ เครือขายเขาดวยกัน โดยทั่วไปอาจติดตั้งมากับเมนบอรดของเครื่องคอมพิวเตอร หรือโนตบุกเรียบรอยแลว เรียกวาการดแลนแบบออนบอรด ซึง่ ความเรว็ ในการเช่ือมตอ จะอยทู ่ี 100 Mbps หรอื 1000 Mbps ที่เรียกกัน วา กกิ ะบติ แลน (Gigabit LAN) 3.4) การดไวเรส (wireless card) เปนอุปกรณที่ทำหนาที่ในการรับสงขอมูลจากเครื่อง คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในระบบเครือขายเหมือนกันกับการดแลน แตแตกตางตรงท่ี การด ไวเรสแลนไมตองมีการเดินสายสัญญาณ เนื่องจากจะรับสงขอมูลผานคลื่นวิทยุ ทำใหงายและสะดวกตอการ เคลื่อนยายและใชงาน แตเครือขายจะตองมีอุปกรณปลอยสัญญาณไวเรส และระยะทาง ที่ใชไมไกลมากนัก ซึ่งการรับสงขอมูลไดจำนวนไมมากนักเหมาะสำหรับการเช็คอีเมล (E-mail) เขาเว็บไซต หรือใชงานที่ไมหนัก มากเกินไป โดยทั่วไปจะติดตั้งมากับอุปกรณเคลื่อนท่ี เชน สมารทโฟน โนตบุก ปจจุบันมีทั้งที่ติดตั้งมาแลว ออนบอรด แบบการดและแบบยูเอสบี 3.5) สายยูทีพี (Unshield Twisted Pair : UTP) เปนสายสัญญาณที่เชื่อมตอคอมพิวเตอร กับอุปกรณเชื่อมตอเครือขาย หรือที่เรียกวา สายแลน ซึ่งการเชื่อมตอสายแลนกับอุปกรณสายสัญญาณ จะตองประกอบไปดว ยยทู ีพีและหัวทใ่ี ชในการเชอื่ มตอที่เรยี กวา “RJ45” 3.6) ฮับ (hub) หรือสวิตซ (switches) ทำหนาที่เหมือนกัน คือ เปนตัวกลางในการ เชื่อมตอคอมพิวเตอร หรือเปนอุปกรณรวมสายและกระจายสัญญาณขอมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อให คอมพิวเตอรทกุ เครือ่ งในเครอื ขา ยสามารถเช่ือมตอ กันได ขอแตกตาง คือ สวติ ซจะดกี วาตรงทีส่ ามารถสงขอมูล 26

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน ไดท กุ เครอื่ งพรอ มกนั แตฮับจะสง ขอ มลู ไดท ีละเครอื่ ง อปุ กรณทัง้ สองจะมหี ลายชองสัญญาณ หรือพอรท ใหผูใช เลือกเพ่ือใหร องรบั ตามจำนวนเครอื่ งคอมพิวเตอรท่มี ีอยูใ นเครอื ขายของผูใ ชง านเอง 3.7) อุปกรณปลอยสัญญาณไวเรส (wireless access point : wap) หรือเรียกสั้น ๆ วา AP เปนอุปกรณที่ทำหนาที่ในการปลอยสัญญาณโดยใชคลื่นวิทยุใหกับอุปกรณไรสาย เพื่อใหสามารถเชื่อมตอ กบั เครือขา ยได ซง่ึ อาจแยก หรอื ถกู ติดตง้ั มากบั เราทเ ตอรเ รียบรอ ยแลว เทคโนโลยีในปจจุบันทำใหสามารถเขาถึงขอมูลและบริการตาง ๆ ไดโดยงาย เปนการเชื่อมตอโลก เขา ดว ยกันทำใหล ดขอ จำกัดลงไปได หากรวมเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรในปจ จุบนั กับเทคโนโลยีการสือ่ สาร และมี การนำไปใชในทางสรา งสรรค อนิ เทอรเ น็ตจะมปี ระโยชนอ ยา งมหาศาลในหลาย ๆ ดานดว ยกัน ดงั น้ี 1) ดานการติดตอสื่อสาร อินเทอรเน็ตทำใหเราสามารถเชื่อมตอคนทั้งโลกเขาดวยกันไดแค ปลายนวิ้ คลิก ซ่ึงมีรูปแบบการใหบ รกิ ารการสอ่ื สารบนเครือขา ยอนิ เทอรเ น็ตอยหู ลากหลายดวยกัน เชน การสง ขอความ การสนทนาออนไลน ซึ่งในปจ จุบันอินเทอรเน็ตมีความเร็วเพิ่มขึ้นทำใหเราสามารถ แลกเปลี่ยนขอมูล หรือสื่อมัลติมีเดียไดโดยงาย รวดเร็ว ซึ่งรองรับการรับสงขอมูลในปริมาณมากและการสนทนาแบบเวลาจริง (real time) สามารถรองรับการสนทนาแบบเห็นหนากันในขณะนั้น รวมไปถึงการประชุมทางไกล (conference) ซ่ึงลดขอ จำกดั ทางดานเวลาและระยะทางได หรือการประชาสัมพนั ธแนะนำสินคา บริการตาง ๆ จากผูใหบริการถึงลูกคา และที่สำคัญคือ การติดตอสื่อสารผานอินเทอรเน็ตในปจจุบัน ไมไดขึ้นอยูกับ คอมพิวเตอรเสมอไป ซึ่งอาจจะใหเราเขาถึงไดโดยใชอุปกรณเคลื่อนที่ เชน แท็บเล็ต สมารทโฟน เปนตน ทำใหงา ยตอการใชงาน มขี นาดเลก็ สะดวกตอการพกพาและยังสามารถใชง านไดท กุ ท่ที กุ เวลาที่ตอ งการอกี ดวย 2) ดานการศึกษา อินเทอรเน็ตถูกนำเอามาประยุกตใชเพื่อการศึกษา เพื่ออำนวยความสะดวก ทางดานตาง ๆ เชน ดานการบริหารการศึกษา มีการนำเอาอินเทอรเน็ตมาใชเพื่อการลงทะเบียน การบริการ จัดและนำเสนอตารางเรียน และระบบรายงานผลการเรียน เปนตน และยังเปนสื่อการเรียนการสอน บทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มีประสิทธิภาพ เพื่อฝกปฏิบัติและทบทวนในเนื้อหาที่ยากตอ ความเขาใจ มีการนำเอาอินเทอรเน็ตมาใชใ นดานการศึกษาทางไกล ผูเ รียนสามารถเขาหองเรียนไดแมอยูคนละ ที่กับผูสอน โดยมีการถายทอดการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต รวมไปถึงกิจกรรมการเขากลุม สนทนาเน้ือหาในบทเรียน หรือกจิ กรรมการเรยี นการสอน เกิดการเรียนรแู บบสรางสรรคก บั ผูเรยี น นอกจากนน้ั อินเทอรเน็ตยังเปนแหลงศึกษาคนควาเนื้อหาและองคความรูที่มีขนาดใหญ สำหรับผูเรียน ซึ่งมีสื่อหลากหลาย ประเภท หลากหลายภาษา สงเสริมใหเกิดทักษะในการวิเคราะห สืบคนไดอยางมีประสิทธิภาพ และที่สำคัญ คือ เครือขายอินเทอรเน็ตยังเปนสื่อใหผูเรียนเขาถึงผูเชี่ยวชาญ เพื่อขอคำปรึกษาคำแนะนำจากผูที่มีความรูได อยางอิสระตามที่ตัวเองสนใจ และเกิดกิจกรรมรวมกันไดโดยไมจำเปนตองอยูแคในหองเรียน ทำใหหองเรียน เปด กวา งมากยิง่ ขน้ึ ในปจจุบันมเี ครอื ขา ยที่เกี่ยวของกบั การศึกษา เพื่อถายทอดความรู แหลง สืบคนสารานกุ รม หรือขอมูลที่นักเรียนนักศึกษาตองการมากมาย เชน เครือขายไทยสาร เครือขายคอมพิวเตอรกาญจนาภิเษก 27

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน เครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย หรือแฟนเพจกลุมที่เกี่ยวของกับการแลกเปล่ียนความรูบนโซเชียล เน็ตเวริ ค เปนตน 3) ดานเศรษฐกิจ อินเทอรเน็ตกอใหเกิดรูปแบบการประกอบธุรกิจที่แตกตางกันออกไป เจาของ ธุรกิจในปจจุบันไมจำเปนตองมีหนาราน หรือสต็อกสินคาขนาดใหญ แคมีสินคา หรือบริการก็สามารถ ประชาสัมพันธสินคาและบริการของตัวเองไดผานระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-commerce) หรือผาน เครือขายสังคมออนไลนที่กำลังเปนที่นิยมในปจจุบัน เนื่องจากสามารถเขาถึงสินคาและบริการไดงายและ สะดวก สามารถตรวจสอบเที่ยวบิน ดูคุณสมบัติของสินคา เปรียบเทียบราคาสินคา บนอินเทอรเน็ตยังมี ชองทางในการชำระคาบริการหลากหลาย สะดวก และมีความปลอดภัยมากขึ้น ทำใหเจาของธุรกิจสามารถ เขาถึงกลุมลูกคาไดโดยตรง และผูบริโภคสามารถเขาถึงสินคาที่ตัวเองกำลังมองหาได และไมไดจำกัดแค ภายในประเทศเทานั้น พาณิชยอิเล็กทรอนิกสกอใหเกิดเม็ดเงินหมุนเวียนภายในประเทศจำนวนมหาศาล และ กอ ใหเกิดผลดีตอ ระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ 4) ดานสังคม อินเทอรเน็ตกอใหเกิดรปู แบบการมีชีวิตอยูในสังคมแบบใหม ทำใหลดชองวางระหวาง คนในสังคม และทุกคนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตไดโดยไมมีการแบงแยกเชื้อชาติ ศาสนา ฐานะ ลดความ เหลื่อมล้ำในสังคม และสามารถชวยผูดอยโอกาสทางสังคมใหสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศไดอยางทัดเทียม ปจจุบันไดมีการพัฒนาเว็บไซตบนเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อใหรองรับการเขาใชงานของผูที่มีความบกพรอง ทางดานรา งกาย เชน ผูบกพรอ งทางดานสายตา ทางหู ผูสูงอายุ ที่เปน อปุ สรรคตอการเขา ถงึ ขอ มูล หรอื บริการ ทจ่ี ำเปน ทีร่ จู กั กนั โดยทัว่ ไปวา “Web Accessibility” เปนเวบ็ ไซตท่ที ุกคนสามารถเขา ถึงไดอยา งเทาเทยี มโดย พัฒนาอางอิงตามมาตรฐานขององคกร w3c (World Wide Web Consortium) ซึ่งไดมีการวางหลักในการ ออกแบบเม่อื ป พ.ศ. 2548 โดยใชช ่อื วา WCAG 2.0 (Web Content Accessibility Guidelines 2.0) เพ่ือลด อุปสรรคทางดา นความบกพรอ งของรางกาย ในการเขาถงึ ขอมูลสารสนเทศบนอินเทอรเนต็ 5) ดานการแพทยและสาธารณสุข ปจจุบันมีการนำเอาอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ทางดานการแพทยอยางแพรหลาย ตั้งแตการลงทะเบียนคนไข ที่อยูของบานคนไข การวินิจฉัยโรคเบื้องตน การใหรายละเอียดเกี่ยวกับยาและการรักษา เพื่อการดูประวัติผูปวย อาการปวย หรือประวัติการรักษาที่ รวดเร็ว ถูกตอง แมนยำ นอกจากนั้น ยังเปนชองทางในการศึกษาและวิจัยทางการแพทย โดยปจจุบันมีระบบ การแพทยท างไกล (telemedicine) เพือ่ ใชในการสนบั สนุนและแลกเปลี่ยนขอมูลการรกั ษาของผูปว ย โดยการ ประยุกตใชเทคโนโลยคี อมพิวเตอรร วมกับเทคโนโลยีทางดานการสื่อสารท่ีทันสมัย และบุคลากรทางการแพทย ยังสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ เพื่อประสิทธิภาพทางดานการรักษาคนไขที่ดีมากยิ่งขึ้น และยังลดปญหา การขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยอีกดวย ในปจจุบันยังมีการนำเอาอินเทอรเน็ตไปใชในการรายงาน สถานการณ ประชาสัมพันธ แจงเตือนสถานการณทางดานสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น เชน การระบุพื้นที่เสี่ยง ตอการปกคลุมของหมอกควันจากภัยพิบัติ การแจงเตือนพื้นที่เสี่ยงตอโรคระบาด พิกัดและแผนที่บานของ 28

หลักสูตรการพัฒนาครดู า นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน ผูปวยที่ชวยตัวเองไมได เปนตน ซึ่งขอมูลเหลานี้สามารถนำเอามาใชงานผานเครือขายอินเทอรเน็ต และ สามารถแสดงผลผา นคอมพิวเตอรแ ละอุปกรณเคลอื่ นท่ไี ดเปนอยางดี 6) ดานเกษตรและอุตสาหกรรม ปจจุบันมีการนำเอาอินเทอรเน็ตมาประยุกตใชประโยชน ดานการเกษตรมากมาย เชน การจัดทำฐานขอมูลเพื่อการเกษตรและการพยากรณผลผลิตดานการเกษตร การพัฒนาระบบตรวจรูความชื้นของอากาศ การแจงเตือนการใหน้ำแกพืชสวนผานเครือขายอินเทอรเน็ต การรายงานพยากรณอากาศ ภัยพิบัติ พื้นที่เสี่ยงภัยแลง พื้นที่เส่ียงภัยโรคและศัตรูพืช เปนตน ทางดาน อุตสาหกรรมมีระบบตรวจสอบโรงงาน สารเคมี โรงผลิต รวมถึงภัยที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และรายงานผล ในทันที การควบคุมการจายไฟฟา การเปดปดไฟฟา หรืออุปกรณผานระบบเครือขาย รวมไปถึงการควบคุม ขัน้ ตอนในการผลิตและการติดตอ สื่อสารเพื่อการซ้อื ขายแลกเปลย่ี นสนิ คาและบริการทางดานการอุตสาหกรรม เปนตน 7) ดา นการเงินและการธนาคาร ในการซอื้ ขายแลกเปลยี่ นสินคาและบรกิ ารบนเครอื ขา ยอนิ เทอรเนต็ ขั้นตอนสำคัญอีกขั้นตอน คือ การชำระคาสินคา หรือบริการ ในปจจุบันธนาคารไดพัฒนาระบบเพื่อใหรองรับ การชำระสินคา และการเขาถึงขอมูลทางดานการเงินของลูกคาผานอินเทอรเน็ตเพื่อใหงายและสะดวกในการ ทำธุรกรรม เชน การตรวจสอบยอดเงินในบัญชี การโอนเงิน การถอนเงิน การบริการสินเชื่อ อัตราแลกเปลี่ยน รวมไปถึงการชำระคาบริการตาง ๆ ที่รูจักกันดีในชื่อของธนาคารออนไลน (E-banking) ซึ่งมีทั้งผานเว็บไซต และผานโปรแกรมประยุกตบนอปุ กรณเ คลื่อนท่ี 8) ดานการคมนาคม มีการใชอินเทอรเน็ตเพื่อการสื่อสารเกี่ยวกับการเดินทางและการคมนาคม เชน การแจงตารางเวลาการเดินทางของรถไฟ ที่มีการเชื่อมโยงขอมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานีทำใหทราบขอมูล การจองและซื้อตั๋วโดยสาร การจองรถทัวรออนไลนที่สามารถเลือกแถวที่นั่งไดตามที่ผูโดยสารพึงพอใจ และ สามารถชำระคาบริการผานระบบธนาคารออนไลน การเช็คขอมูลขาวสารขอมูลสายการบิน การจองตั๋ว เครื่องบิน และสามารถเช็คอินไดผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต ทำใหไมเสียเวลาและสะดวกตอการเดินทาง มีการรายงานสภาพการจราจรบนทองถนน ความคับคั่งของปริมาณรถ รวมไปถึงดูกลองวงจรปดแบบเวลาจริง ในขณะนั้น ซึ่งในปจจุบันระบบยังสามารถคำนวณหาเสนทางที่ใกลที่สุด รวดเร็วและประหยัดที่สุดในการ เดนิ ทางไดอีกดวย 9) ดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีวิเคราะหขอมูลสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร บนพื้นโลก เรียกวา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) เปนระบบท่ี นำเขา มาชว ยในการรวบรวม จดั เกบ็ ประมวลผล และแสดงผลขอมลู แผนทท่ี างภมู ิศาสตร เชน แผนท่ีภาพถาย ทางอากาศ ภาพถายดาวเทียม ขอมูลเชิงพื้นที่ การใชงานประโยชนที่ดิน การจราจร แผนที่ภาษี การพยากรณ อากาศ การควบคุมสิ่งแวดลอม รวมไปถึงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ขอมูลเหลานี้ถูกนำเสนอผาน เครือขายอินเทอรเน็ตทำใหงายตอการเขาถึงและสะดวกตอการบริหารจัดการ เชน การเตือนภัยพิบัติโดยใช ระบบจไี อเอส พิกดั ตำแหนงบานของผปู วย เปน ตน ทำใหไดรบั ขอ มลู ทถ่ี กู ตอ งแมนยำและรวดเร็ว 29

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 10) ดานการทหารและความม่ันคง มีการใชอนิ เทอรเน็ตเพื่อการทหารอยา งแพรหลายทั้งในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งขอดีของการเผยแพรขอมูลทางการทหาร คือ สามารถปกปด หรือเลือกชั้นระดับความลับ ของเอกสาร หรือขอความได อินเทอรเน็ตนอกจากใชในการติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลทางการทหารแลว ยังสามารถใชในการติดตาม การสำรวจเพื่อความไดเปรียบทางยุทธวิธี เชน การดูขอมูลพื้นที่เพื่อสนับสนุนการ โจมตีภาคพื้นดิน การคำนวณระยะวิถีการยิง การแจงพิกัดพรอมแนบภาพถายของสถานที่ที่นาสงสัย เปนตน ซึ่งสามารถประยุกตใชงานไดหลากหลาย ในดานความมั่นคงสามารถใชอินเทอรเน็ตเพื่อติดตามผูตองสงสัย หรือคนหาตัวบุคคลได เชน คนหารถหาย แจงขอมูลผูตอง สงสัย ติดตามตำแหนงของผูราย ดูความเคลื่อนไหว ของผูชมุ นมุ เปน ตน 11) ดา นความบนั เทงิ เทคโนโลยีไดเขามาสนบั สนุนการพกั ผอนหยอ นใจ ความสนุกสนานเพลดิ เพลิน ไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งรูปแบบการใหบริการทางดานความบันเทิงมีมากมายหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับ วัตถุประสงคของผูเขาไปใชงาน เชน การดูหนัง ดูรายการทีวียอนหลัง ฟงเพลง ดาวนโหลดสื่อมัลติมีเดีย เลนเกมออนไลน หรือการสนทนากบั เพ่อื นบนโซเชียลเน็ตเวริ ค เปน ตน เน่อื งจากอินเทอรเ น็ตในปจจุบันรองรับ สื่อมัลติมีเดียที่หลากหลายและมีปริมาณมาก และผูใชงานสามารถเขาถึงสื่อความบันเทิงเหลานี้ไดตลอด 24 ชั่วโมง ทุกที่ทุกเวลา สามารถเลือกความบันเทิงจากแหลงตาง ๆ ไดทั่วโลกทั้งในประเทศและตางประเทศ จึงทำใหการใชงานอินเทอรเน็ตเพื่อความบันเทิงเปนที่นิยมและมีผูเขาใชงานเพื่อรองขอสื่อความบันเทิงเหลานี้ เปนจำนวนมาก และเทคโนโลยที ี่เลือกใชในระบบเพื่อเปน พนื้ ฐานความรขู องผูใ ชงาน 1.7.2 การเลือกใช Web Browser สำหรบั การใช Web Portal เว็บเบราวเซอร (Web Browser) เปนโปรแกรมนำเขาสูโลกอินเตอรเน็ต เพื่อคนหาขอมูลตาง ๆ จากทั่วโลก ในปจจุบันมีเบราวเซอรใหเลือกใชงานอยางมากมาย เชน Firefox, Chrome, Opera, Internet Explorer และ Safari เปนตน ซงึ่ เว็บเบราวเซอรที่ดีควรจะตองปลอดภัย เขา ใชง านงาย รวดเรว็ และสามารถ คน หาสง่ิ ทีต่ องการได โดยมีแนวทางในการเลือกใช ดงั นี้ 1) กำหนดตามวัตถุประสงค คือ การกำหนดคุณลักษณะของซอฟตแวรที่ตองการใหตรงกับ วัตถุประสงคมากที่สุด เชน ความวองไวในการเขาถึงขอมูล การใชงานงาย สะดวกรวดเร็วในการเขาใชงาน รวมถึงคุณลักษณะของจอแสดงผล เชน การแสดงหนาจอบนโนตบุค แท็บเล็บ และสมารทโฟน หรือฟงกชัน การคนหาทร่ี วดเรว็ 2) ขนั้ ตอนการใชง านไมย ุงยาก (Ease of Use) ควรตอ งเขา ใชง านงาย กลาวคือ ผใู ชง านไมตองกังวล วา จะใชงานไมเปน หรือเปด ใชง านไมได แมว าผใู ชง านจะไมมคี วามรดู านคอมพวิ เตอร 3) มีความปลอดภัยสูง (Security) ซึ่งเปนสิ่งสำคัญอยางที่สุดของการเขาสูโลกอินเตอรเน็ต ดังนั้น การเลือกเบราวเซอร จึงควรเลือกที่มีระบบปองกัน Pop-up ไวรัส รวมทั้งภัยคุกคามดานขอมูลตาง ๆ ตลอดจนสามารถลบขอ มูลสว นตัว เพอื่ สรางความมน่ั ใจเวลาเขาใชง านในขณะท่ีกำลังออนไลน 30

หลกั สูตรการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน 4) ความรวดเร็วและความเขากันได (Speed & Compatibility) เว็บเบราวเซอรที่ดี ผูใชงานตอง สามารถใชงานอินเตอรเน็ตเขาเวบ็ ไซตตา ง ๆ ไดอ ยา งรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากที่สดุ 5) ใหการชวยเหลือ หรือสนับสนุน (Help/Support) เว็บเบราวเซอรสวนใหญสามารถใชงานไดฟรี การใหบริการดานความชวยเหลือ/สนับสนุนลูกคาจึงเปนสวนที่มีความสำคัญและมีประโยชนมาก เมื่อเกิด ปญหาขึ้นในระหวา งการใชง าน นักพัฒนาของเว็บเบราวเซอรจะตองพรอมใหการสนับสนุนแลวชวยขจัดปญหา ผานชองทางตาง ๆ เชน โทรศัพท อเี มล (E-mail) คำถามที่พบบอ ย (FAQs) และคมู อื การใชง าน เปน ตน 1.8 กระบวนการใชงาน Web Portal เพื่อใชในการจัดการเรียนรู และประเมินผลทางการเรียนสำหรับ การจัดการเรียนรูแบบออนไลน 1.8.1 ความหมาย เว็บพอรทัล (Web Portal) คือ เว็บไซตที่ไดรับการออกแบบเพื่อใหเขาถึงขอมูล/บริการภายใน เว็บไซตนั้น รวมทั้งอาจมีการเชื่อมตอไปยังเว็บไซตอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ การใชงานเว็บพอรทัล ขึ้นอยูกับลักษณะ การใชงาน หรอื ความตองการของแตล ะหนว ยงาน/ผใู ช ดังนี้ - เพื่อใหส ามารถเขาถึงคอนเทนต แอปพลเิ คชนั หรือขอ มลู อ่ืน ๆ ไดจากหนาเว็บหนาเดียว - เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพในการตอิ ตอ สือ่ สารกัน ระหวางผรู บั บริการ และผใู หบริการ หรอื ระหวา งหนว ยงานภายใน - เพื่อใหสามารถเขา ถงึ ขอมลู ไดโ ดยตรง - เพอ่ื การบรกิ ารงานจัดงานไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ หรืองายข้นึ 1.8.2 ประเภทของ Web Portal แบงออกเปน 3 ประเภทน้ี 1) Vertical Portals คือ พอรทัลประเภทที่จะมีการกำหนดสิทธิ์ผูใชงาน ที่ทำการ Login เขาสูพอรทัล โดยคอนเทนต ที่แสดงในหนาเว็บนั้น จะแสดงตามสิทธิ์ของผูใชงานแตละคนที่ไดรับการกำหนด จากหนว ยงาน หรือองคก รท่ีสังกดั อยู ตัวอยางเชน เวบ็ พอรทลั ของหนวยงานราชการ 2) Horizontal Portals คือ เว็บพอรทัล ประเภทที่นำเอาคอนเทนต ตาง ๆ มาวางสำหรับ ผใู ชงานอินเตอรเ น็ตโดยทว่ั ไป เชน Sanook, Kapook และ Dek-d เปนตน 3) Enterprise Portals คือ เว็บพอรทัล ประเภทสรางขึ้นเพื่อใชเองในหนวยงานนั้น ๆ หรือ เรียกอีกอยางวา Intranet Portal โดย เว็บพอรทัล ประเภทนี้จะเนนการใชงานในหนวยงาน โดยอาจจะรวม เอาการสอ่ื สารรูปแบบ ตา ง ๆ เขามาดวย เชน อเี มล ขอความ หรือเว็บการประชุม 1.8.3 Web Portal สำหรับการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน เว็บพอรทัล สำหรับการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ออกแบบมาเพื่อใชในการจัดการเรียนรูและ ประเมนิ ผลการเรยี น ซงึ่ จะมอี งคป ระกอบหลัก 4 องคป ระกอบ คอื 31

หลกั สตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 1) ระบบจัดการรายวิชา (Course Management System) เปนเครื่องมือชวยสรางรายวิชา จดั ทำและนำเขาเนอ้ื หาของรายวชิ าตาง ๆ รวมถงึ แหลง คนควา ขอมลู กจิ กรรม และใบงาน เปนตน 2) ระบบบริหารจัดการขอมูลผูเรียน (User Management System) เปนเครื่องมือในการ จัดการใชงานตามการเขาใชงานไดห ลายระดับ เชน ผูดูแลระบบ ผูสอน และผูเรียน เปนตน สามารถตรวจสอบ สมาชกิ ผใู ชงาน และการเก็บรายละเอียดขอมูลของผใู ชงาน 3) ระบบตรวจสอบกิจกรรมและติดตามประเมินผล (Test&Tracking Management System) เปนเครื่องมือชวยสรางกิจกรรมแบบทดสอบ ขอสอบ/บทปฏิบัติการ ใบงาน ระบบการสอบ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น 4) ระบบจัดการการสื่อสารและปฏิสัมพันธ (Communication Management System) เปนเคร่อื งมอื ในการติดตอ สื่อสารกนั หรือสรา งปฏสิ ัมพันธร ะหวางผสู อนกบั ผสู อน ผสู อนกบั ผเู รียน และผูเรียน กับผูเรียน มีทั้งรูปแบบ Online และ Offline ไดแก Web-board, E-mail, Chat room, News, Calendar เปนตน ทั้งนี้ อีกสวนประกอบหนึ่งที่สำคัญ ระบบคลาวด ซึ่งยอมาจาก การประมวลผลระบบคลาวด เพื่อการจัดเก็บขอมูลผานอินเทอรเน็ตของเว็บพอรทัลสำหรับการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ซึ่งจะมีคาการ บริการขึ้นอยูกับขนาดความจุ และจำนวนผูใชงาน แตมีขอดี คือ สามารถเขาถึงเว็บพอรทัลไดจากทุกท่ี ที่สามารถเชื่อมตออินเตอรเน็ต ไมสิ้นเปลืองทรัพยากรของหนวยงานทั้งการจัดหาอุปกรณในการจัดเก็บขอมูล และบุคคลากร/เจาหนาท่ีเทคนคิ เพ่ือดูแลเซริ ฟเวอร 32

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแ บบออนไลน บทปฏบิ ัติการบทท่ี 1 1. ใหผูเ ขา อบรมสรา งพ้ืนที่จดั เก็บขอ มูลของระบบคลาวดสวนตวั โดยการยืนยันตวั ตนดว ยอีเมล (E-mail) และรหสั ผา น 2. ใหผูเขา อบรม Upload เน้ือหาของรายวิชาของตนเองลงในระบบคลาวดสวนตัว และกำหนดสิทธิ์การเขาถงึ แบบระบุคนใหเ ปน ผแู สดงความคดิ เห็น และกำหนดสทิ ธิ์ใหผใู ชงานอินเตอรเน็ตทุกคนเปน ผูมสี ิทธิ์อา น 33

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน บทท่ี 2 การใชงาน Web Application เพ่ือใชใ นการผลติ สอื่ การเรยี นรใู นยุคดจิ ทิ ลั เว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) คือ โปรแกรมที่ถูกพัฒนาเพื่อการอำนวยความสะดวก ในดานตาง ๆ ตอบสนองตามความตองการของผูใชงาน หรือผูบริโภค โดยสามารถประมวลผลและแสดงผล บนเว็บเบราวเซอร (Browser) ใชงานผานการเชื่อมตออินเตอรเน็ต โดยไมตองติดตั้งโปรแกรม หรือ แอปพลิเคชันลงเครื่อง มีรูปแบบที่ใชงานคอนขางงาย จึงใชทรัพยากรคอนขางนอย สามารถดาวนโหลด หรือตอบเสนอการทำงานไดเร็ว ซึ่งในปจจุบันมีเว็บแอปพลิเคชันใหบริการที่หลากหลาย ผูบริโภคสามารถ เลอื กใชบริการไดต ามความสนใจ ความเหมาะสม และความถนดั ภาพที่ 2.1 CANVA เว็บแอปพลเิ คชันสำหรับการออบแบบกราฟกตาง ๆ ภาพที่ 2.2 Anyflip เว็บแอปพลิเคชันสำหรบั สรา งหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส (E-book) หรือฟลปิ บคุ (Flipbook) 34

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 2.1 ประโยชนข อง Web Application เว็บแอปพลเิ คชนั มีขอดีทีเ่ ปนประโยชนในการใชง านเพอ่ื การผลติ สือ่ การเรยี นรใู นยคุ ดจิ ทิ ัล ดังนี้ 2.1.1 เว็บแอปพลเิ คชนั สามารถใชไดทัง้ กับองคกรขนาดเลก็ และขนาดใหญ เพราะมคี า ใชจ ายต่ำ โดยคิดคา ใชจ ายตามจำนวนการใชงานจริง ภาพท่ี 2.3 ตัวอยา งคาใชจา ยในเว็บแอปพลเิ คชัน จากภาพที่ 2.3 เว็บแอปพลิเคชันบางสวนจะสามารถเริ่มตนใชงานแบบฟรีได ผูใชงานสามารถเขาไป ทดลองใชไ ดกอนตัดสินใจ 35

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 2.1.2 การใชงานงาย เนื่องจากอินเตอรเน็ต และคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ หรือเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่องคกรควรมเี พอื่ ใชใ นการปฏิบตั ิงาน 2.1.3 มีบริการระบบการจัดเก็บขอมูลบนระบบคลาวด ผูใชงานไมตองบันทึกลงในคอมพิวเตอร โดยตรง และสามารถแชร หรอื เผยแพรไ ด รวมถงึ สามารถใชง านรวมกันได 2.1.4 คอมพวิ เตอรไ มจ ำเปน ตองมปี ระสิทธภิ าพสูงกส็ ามารถใชงานเว็บแอปพลิเคชนั ได 2.1.5 สามารถใชงานที่ใดก็ได และสามารถใชคอมพิวเตอรเครื่องใดก็ได เพราะใชการ login เพื่อเขาใชงาน ผานเว็บแอปพลิเคชนั 2.1.6 องคกรไมตองมีเจาหนาที่/บุคลากรดานเทคนิคเพื่อดูแลและบำรุงรักษา เนื่องจากผูใหบริการ จะเปนผูดแู ล บำรงุ รักษา ตลอดจนปรับปรงุ และพฒั นาเว็บแอปพลเิ คชนั นน้ั 2.1.7 สามารถใชไดกับระบบปฏิบัติการ หรือแพลตฟอรมที่หลากหลาย เชน Windows Linux และ Mac ทำใหส ามารถลดคาใชจาย หรอื ไมมีคา จายเพม่ิ 2.1.8 เว็บแอปพลิเคชัน สามารถเชื่อมตอ หรือใชงานรวมกับบริการออนไลน แอปพลิเคชันอื่น ๆ และโซเชยี ลมเี ดยี เชน Line, Facebook, Instagram, Twitter, Youtube, และ Pinterrest เปนตน ทั้งนี้ เว็บแอปพลิเคชัน มีขอจำกัดที่สำคัญ คือ เว็บแอปพลิเคชนั ตองการอินเตอรเน็ตเพื่อการใชงาน มเี พียงบางสวนทสี่ ามารถทำงานแบบออฟไลนได 2.2 ความแตกตางระหวา ง Web Application กับ Software Computer เว็บแอปพลิเคชัน กับ ซอฟตแวรคอมพิวเตอร ตางมีความโดดเดน จุดแข็ง และจุดออนในการใชงาน ทีต่ า งกัน ซงึ่ สามารถเปรียบเทียบคณุ สมบัติไดต ามตารางท่ี 2.1 ตารางที่ 2.1 เปรียบเทียบคณุ สมบัตริ ะหวา งเวบ็ แอปพลเิ คชนั กับ ซอฟตแวรค อมพิวเตอร คณุ สมบัติ เว็บแอปพลเิ คชนั ซอฟตแวรค อมพิวเตอร การตดิ ตง้ั ไมจำเปนตองดาวนโหลด หรือติดตั้งการปรับ การติดตั้งตองในคอมพิวเตอร ใชและการอัปเกรดจะทำบนเครื่องเซิรฟเวอร แตละเครื่องแยกกัน รวมไปถึง หลกั เพยี งชดุ เดยี วของผูใหบ ริการ การอัปเดทแอปพลิเคชันก็ตองทำ บนคอมพิวเตอรแตละเครื่อง เทาน้นั การเขาถึง สามารถเขาถงึ ไดจากทกุ ที่ จงึ ไมมีขอจำกัดดาน การใชงานจะถูกจำกัดไวดวย ตำแหนงที่ตั้งและทำใหผูใชสามารถเขาถึง ตำแหนงทางกายภาพ และดวย แอปพลเิ คชันไดจ ากทกุ ทโี่ ดยใชอ นิ เทอรเ น็ต เหตุนี้จึงสามารถเขาถึงไดจาก เครื่องที่ติดตั้งเทานั้น โดยปกติจะ ใชทรัพยากรจากคอมพิวเตอรที่ 36

หลกั สตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรูแ บบออนไลน คุณสมบัติ เวบ็ แอปพลเิ คชัน ซอฟตแวรค อมพวิ เตอร ประสทิ ธภิ าพ ติดตั้งเอง อาจจะ หรือไมจำเปน การใชง าน ตองใชการเชื่อมตออินเทอรเน็ตใน แพลตฟอรม การทำงาน ความปลอดภัย การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันตองอาศัยการ ซอฟตแวรคอมพิวเตอรจะติด เชื่อมตอแ ล ะความเร็วข องส ัญ ญ า ณ ตั้งอยูบนเครื่องคอมพิวเตอรที่จะ อินเทอรเน็ตเปนอยางมาก การปราศจาก ใชงาน ไมจำเปนตองมีการ สัญญาณอินเทอรเน็ต หรือการเชื่อมตอที่ไม เชื่อมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ต เสถียรมีปญหาโดยตรงตอประสิทธิภาพการ ทำใหไมตองเผชิญกับปญหาที่เกิด ทำงานของเวบ็ แอปพลิเคชัน จากการเชื่อมตอสัญญาณ อินเทอรเน็ต แตอาจจะพบกับ ปญหาเครื่องชาเนื่องจาก RAM ไมเ พยี งพอ ตอ งอาศยั การเชื่อมตออินเทอรเ นต็ ในการใชงาน ไมตองใชอินเทอรเน็ตในการใช งาน แตการอัปเดตของซอฟตแวร คอมพิวเตอรบางตัวยังจำเปนตอง อาศยั อินเตอรเนต็ เปน ตวั กลาง มีความยืดหยุน สามารถทำงานไดกับหลากหลาย จำเปนตองไดรับการพัฒนา รูปแบบของแพลตฟอรม โดยตองการเพียงอาศัย เฉพาะเจาะจงเพื่อใหรองรับกับ เวบ็ เบราวเซอรในการทำงาน แพลตฟอรม ของเครอ่ื งคอมพวิ เตอรที่ แตกตา งกนั มีความเสี่ยงดานความปลอดภัยที่สูงข้ึน มีการควบคุมการเขาถึงที่จำกัด เนอ่ื งจากถูกออกแบบมาเพ่ือใหม ีความสามารถ กวา และผูดูแลระบบมีการ ในการเขาถึงงาย การเปดใหผูใชจำนวนมากใน ควบคุมทงี่ ายขน้ึ จงึ ปลอดภัยยิ่งข้ึน เครือขายเขาใชงานยอมเปนการเสี่ยงตอการ คุณสามารถควบคุมแอปพลิเคชัน ถกู คุกคาม แบบสแตนดอโลน (standalone) ทั้งหมดและปกปองจากชองโหว ตา ง ๆ 37

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน คณุ สมบตั ิ เวบ็ แอปพลเิ คชนั ซอฟตแวรค อมพิวเตอร การเชอื่ มตอ อาศัยการเชื่อมตออินเทอรเน็ตและความเร็ว เปนแบบสแตนดอโลน (standalone) เปนอยางมาก การขาดอินเทอรเน็ต หรือการ และไมตองเผชิญกับอุปสรรคใด ๆ คาบรกิ าร เชื่อมตอไมดีอาจทำใหเกิดปญหาดาน ทเี่ กิดจากการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ต อินเตอรเ นต็ ประสทิ ธิภาพกบั เวบ็ แอปพลเิ คชัน มีคาใชจา ยในคาบรกิ ารอนิ เตอรเนต็ แทบจะไมมีคาใชจายกับการใช อนิ เทอรเน็ต ท่ีมา : https://www.kodeendpoint.com/web-based-applications-and-desktop-software/ 2.3 สว นประกอบของ Web Application เว็บแอปพลิเคชัน สามารถแยกสวนประกอบ ออกเปน 2 สว นหลกั ๆ คอื 2.3.1 สวนของเซริ ฟเวอร มหี นาทีห่ ลกั ในการใหบริการเว็บแอปพลิเคชันใหก ับผใู ชงาน ประกอบดว ย 1) เว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) ทำหนาที่ติดตอกับผูใชงาน รับและแสดงขอมูล ประมวลผลขอ มลู จดั การขอ มูลในฐานขอมลู และอื่น ๆ 2) เว็บเซิรฟเวอรซอฟตแวร (web server software) เปนโปรแกรมที่ทำงานอยูบน เว็บเซิรฟเวอร มีหนาที่หลัก คือ ประมวลผล HTTP request ที่ไดรับมาและตอบกลับดวย HTTP response ใหก ับผใู ชง าน 3) ระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหนาที่ในการจัดการกับทรัพยากรของเครื่อง เซิรฟ เวอร เชน CPU memory และ bandwidth เปน ตน 2.3.2 สวนของผูใชง าน ประกอบดวย 1) เว็บเบราวเ ซอร (web browser) เปนซอฟตแวรท ผ่ี ูใชง านใชในการเขาถึงเวบ็ แอปพลิเคชัน 2) สวนตอความสามารถเว็บและเบราวเซอร (web plugin และ browser add- on/extension) คือ โปรแกรมที่ถูกเขยี นใหทำงานรว มกบั เว็บเบราวเซอร 3) ระบบปฏิบัติการ (operating system) ทำหนาที่ในการจัดการกับทรัพยากรของเครื่อง คอมพิวเตอร 2.4 การใชง าน Web Application 2.4.1 การใชงานเว็บแอปพลิเคชัน เริ่มตนจากการเปดเว็บเบราวเซอร เชน Google Chrome, Safari, Microsoft Edge, Moziila, Firefox, Internet Explorer และ Opera เปนตน 38

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ภาพท่ี 2.4 Google Chrome 2.4.2 เขาสูเว็บแอปพลิเคชันที่ใหบริการตาง ๆ ตามที่ตองการ โดยพิมพ URL/ชื่อเว็บแอปพลิเคชัน ลงในชอ งหมายเลข 1 หรอื พิมพช ่อื เว็บแอปพลเิ คชนั ลงในชอ งหมายเลข 2 ตามภาพท่ี 5 1 2 ภาพที่ 2.5 การเขา เว็บแอปพลิเคชันผา นเว็บเบราวเซอร 39

หลกั สตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ภาพท่ี 2.6 การเขาเวบ็ แอปพลิเคชัน 2.4.3 ลงทะเบยี นเขาใชง านครง้ั แรก ดว ยอเี มล (E-mail) หรอื ดว ยบัญชโี ซเชยี ลมีเดยี เชน Facebook, Google, Microsoft เปนตน 1) เลือกคลกิ “Sing in” หรอื “Sign up” หรือ “สมัครใชง าน” หรอื “ลงชอื่ ” (A) 40

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน (B) (C) 41

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน (D) ภาพที่ 2.7 ตวั อยาง “Sing in” หรือ “Sign up” หรอื “สมคั รใชง าน” หรือ “ลงช่อื ” 2) เลือกวิธกี ารลงทะเบยี น ดว ยอีเมล (E-mail) หรอื ดวยบัญชโี ซเชยี ลมีเดยี ภาพท่ี 2.8 เลอื กวธิ กี ารลงทะเบียน 42

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน 3) ดำเนินการลงทะเบยี นตามขั้นตอนของเว็บแอปพลิเคชนั 1 2 ภาพท่ี 2.9 ตัวอยา งการลงทะเบยี นดวย Google mail 1 2 (A) 43

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน 3 (B) 4 (C) ภาพท่ี 2.10 ตวั อยา งการลงทะเบียนดว ย Facebook 44

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรูแ บบออนไลน 4) เลือกลักษณะการใชงาน หรือประเภทการใชงาน เชน ครู นักเรียน องคกรธุรกิจ สถานศกึ ษา และสวนตัว เปนตน เพื่อเว็บแอปพลเิ คชันจะแนะนำแมแ บบท่ีเหมาะสมให ภาพที่ 2.11 ตวั อยา งลกั ษณะการใชงาน หรอื ประเภทการใชง าน 45

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน 5) เขา ใชงานเว็บแอปพลิเคชันเพอื่ ผลติ สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี สำหรบั การเรียนการสอน ภาพที่ 2.12 ตวั อยา งการเขาใชงานเวบ็ แอปพลิเคชัน 2.5 Web Application เพอ่ื การผลิตส่อื มลั ตมิ ีเดีย เว็บแอปพลเิ คชันเพ่ือการผลิตสอื่ มลั ตมิ เี ดยี สำหรับการนำไปใชก ารเปนสื่อการเรียนการสอนออนไลน หรือแบบ Onsite ชวยสรางการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) มีผูใหบริการจำนวนมาก โดยจะมีจุดเดนท่ี แตกตางจึงมักจะขึ้นอยูกับความพึงพอใจของผูใชงาน หรือความถนัด โดยมีเว็บแอปพลิเคชันที่จะขอแนะนำ ใชงาน ดังนี้ 2.5.1 PubHTML5 เปนฟรี HTML5 Digital Publishing Platform ที่ออกแบบมาเพื่อแปลงไฟล PDF, MS, Office, OpenOffice ใหเปน Flipbook หรือE-Book ตามแมแบบที่ทำงานบนเว็บเบราวเซอร ทำให Flipbook หรือE-Book มีปฏิสัมพันธกับผูอานมากขึ้น นอกจากนี้ สามารถดาวนโหลดติดตั้ง บนเคร่อื งคอมพิวเตอรระบบปฏิบตั กิ าร Windows และ Mac ภาพท่ี 2.13 PubHTML5 46

หลกั สูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแ บบออนไลน 2.5.2 Anyflip เปนเว็บแอปพลิเคชันที่ใหบริการสราง Flipbook หรือE-Book เชนเดียวกับ PubHTML5 ดว ยการอปั โหลดไฟลP DF และกำหนดคา รายละเอยี ดขอมลู ของเอกสาร ภาพท่ี 2.14 Anyflip 2.5.3 Quizizz เปนเว็บแอปพลิเคชันที่ใชเปนเครื่องมือในการสรางแบบทดสอบ หรือประเมินผล ออนไลน ในลักษณะของเกมถาม-ตอบ แบบปรนัย รองรับไดมาถึง 500 ผูใช/เกม แสดงผลไดท้ังภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ใสภาพและเสียงประกอบไดเพื่อสรางความนาสนใจ หรือดึงดูดใจผูเรียน โดยผูเรียนสามารถเขา รวมผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต เชน คอมพิวเตอร แท็บเล็ต และสมารทโฟนท่ี ระบบปฏิบตั ิการ IOS และ Android ภาพที่ 2.15 Quizizz 47

หลักสูตรการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 2.5.4 Liveworksheets เปนเวบ็ แอปพลิเคชนั สำหรับการสรางใบงานที่ตอบสนองการเรียนออนไลน การทำใบงานของผูเรียนและการตรวจงานของผูสอนรวดเร็ว สามารถจัดแบงหมวดหมูไดอยางชัดเจนชวยการ บรหิ ารจดั การ มรี ปู แบบที่หลากหลาย เชน การโยงเสน จับคู การแยกหมวดหมู การเลือกถูก-ผิด การเติมคำจาก ตัวเลือกที่กำหนดให ขอสอบปรนัย ขอสอบแบบอัตนัย และการพูด-ออกเสียง ที่สำคัญเปนเว็บแอปพลิเคชัน ทส่ี ามารถใชง านไดฟรี ภาพท่ี 2.16 Liveworksheets 2.5.5 CANVA เปนเว็บแอปพลิเคชันเพื่อการออกแบบงานกราฟกตาง ๆ เชน งานโฆษณา โปสเตอร ภาพสำหรับสื่อโซเชียลมีเดีย ปกหนังสือ และงานนำเสนอ เปนตน โดยสามารถผสมผสานสื่อหลายชนิด ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ การใชงานงาย มีแมแบบใหเลือกใชงานตามความเหมาะสม อยางหลากหลาย และประการสำคัญ คือ สามารถเริ่มตนใชงานไดฟรี และสามารถใชงานโดยการติดตั้งใน คอมพิวเตอร และสมารท โฟน หรอื แทบ็ เลต็ ได ภาพที่ 2.17 CANVA 48

หลกั สูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 2.5.6 Animaker เปนเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการสรางการตูนแอนิเมชัน หรือกราฟกวิดีโอ สำหรับ ประกาศ โฆษณา ประชาสัมพันธ การนำเสนอ และสื่อใหความตาง ๆ แบบงาย โดยผูใชงานสามารถเลือก แมแ บบมาปรับแตง รูปรา ง และความเคลือ่ นไหวได (A) (B) ภาพท่ี 2.18 Animaker 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook