Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อีเวนต์และการนำเสนอกิจกรรมน่าสนใจเป็นพิเศษ การเรียนทางไกล มีภาพประกอบ 3 มิติ มีสีสัน

อีเวนต์และการนำเสนอกิจกรรมน่าสนใจเป็นพิเศษ การเรียนทางไกล มีภาพประกอบ 3 มิติ มีสีสัน

Published by Supawan Chomthong, 2021-03-15 10:00:03

Description: อีเวนต์และการนำเสนอกิจกรรมน่าสนใจเป็นพิเศษ การเรียนทางไกล มีภาพประกอบ 3 มิติ มีสีสัน

Search

Read the Text Version

ความหมายและประเภท ของสอื สงั คมออนไลน์

ความหมายของสือสงั คมออนไลน์ สือสังคมออนไลน์ หมายถึง สือดิจิทัลทีเปนเครอื งมอื ในการปฏิบตั ิการทางสังคม (Social Tool) เพอื ใช้สือสารระหว่างกันในเครอื ขา่ ยทางสังคม (Social Network) ผ่านทาง เว็บไซต์และโปรแกรมประยกุ ต์บนสือใดๆ ทีมกี ารเชือมต่อกับอินเทอรเ์ น็ต โดยเน้นให้ผใู้ ช้ ทังทีเปนผสู้ ่งสารและผรู้ บั สารมสี ่วนรว่ ม (Collaborative) อยา่ งสร้างสรรค์ ในการผลิตเนือหาขนึ เอง (User-Generate Content: UGC) ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง

ประเภทของสอื สงั คมออนไลน์ ประเภทของสอื สังคมออนไลน์ มีดว้ ยกนั หลายชนดิ ขึนอยู่กบั ลักษณะ ของการนาํ มาใช้โดยสามารถแบ่งเปนกล่มุ หลกั ดงั นี 1. Weblogs หรอื เรยี กสันๆ ว่า Blogs 2. Social Networking หรอื เครอื ขา่ ย 3. Micro Blogging และ Micro Sharing คือ สือส่วนบคุ คลบนอินเทอรเ์ น็ตทีใช้ ทางสังคมในอินเทอรเ์ น็ต ซึงเปนเครอื หรอื ทีเรยี กกันว่า “บล็อกจิว” ซึงเปน เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ ขอ้ คิด ขา่ ยทางสังคมทีใช้สําหรบั เชือมต่อ เว็บเซอรว์ ิสหรอื เว็บไซต์ที ใหบ้ รกิ ารแก่ เหน็ บนั ทึกส่วนตัว โดยสามารถแบง่ ปน ระหว่างบคุ คล กลุ่มบคุ คล เพอื ใหเ้ กิด บคุ คลทัวไป สําหรบั ใหผ้ ใู้ ช้บรกิ ารเขยี น ใหบ้ คุ คลอืนๆ โดยผรู้ บั สารสามารถ เปนกลุ่มสังคม (Social Community) ขอ้ ความสันๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที เขา้ ไปอ่าน หรอื แสดงความคิดเหน็ เพมิ เรยี กว่า “Status” หรอื “Notice” เพอื เติมได้ ซึงการแสดงเนือหาของบล็อกนัน เพอื รว่ มกันแลกเปลียนและแบง่ ปน แสดงสถานะของตัวเองว่ากําลังทําอะไร จะเรยี งลําดับจากเนือหาใหมไ่ ปสู่เนือหา ขอ้ มลู ระหว่างกันทังด้านธุรกิจ อยู่ หรอื แจ้งขา่ วสารต่างๆ แก่กลุ่มเพอื น เก่า ผเู้ ขยี นและผอู้ ่านสามารถค้นหา การเมอื ง การศึกษา เช่น Facebook, ในสังคมออนไลน์ทังนีการกําหนดใหใ้ ช้ เนือหายอ้ นหลังเพอื อ่านและแก้ไขเพมิ Hi5, Ming, Linked in, Myspace, ขอ้ มลู ในรูปขอ้ ความสันๆ ก็เพอื ใหผ้ ใู้ ช้ที เติมได้ตลอดเวลา เช่น Extern, Yousef, Friendster เปนทังผเู้ ขยี นและผอู้ ่านเขา้ ใจงา่ ย ทีนิยม Blogging, WordPress, Blogger, ใช้กันอยา่ งแพรห่ ลายคือ Twitter Emanation

ประเภทของสอื สงั คมออนไลน์ 4. Online Video เปนเว็บไซต์ทีใหบ้ รกิ ารวิดีโอออนไลน์โดย 5. Photo Sharing เปนเว็บไซต์ทีเน้นใหบ้ รกิ ารฝากรูปภาพ ไมเ่ สียค่าใช้จ่าย ซึงปจจุบนั ได้รบั ความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายและ โดยผใู้ ช้บรกิ ารสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพอื นํามา ขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ เนืองจากเนือหาทีนําเสนอในวิดีโอออนไลน์ ไมถ่ ูกจํากัดโดยผงั รายการทีแน่นอนและตายตัว ทําใหผ้ ใู้ ช้บรกิ าร ใช้งานได้ ทีสําคัญนอกเหนือจากผใู้ ช้บรกิ ารจะมโี อกาสแบง่ ปน สามารถติดตามชมได้อยา่ งต่อเนือง เพราะไมม่ โี ฆษณาคัน รวมทังผู้ รูปภาพแล้ว ยงั สามารถใช้เปนพนื ทีเพอื เสนอขายภาพทีตนเองนํา ใช้สามารถเลือกชมเนือหาได้ตามความต้องการและยงั สามารถ เชือมโยงไปยงั เว็บวิดีโออืนๆ ทีเกียวขอ้ งได้จํานวนมากอีกด้วย เช่น เขา้ ไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop, Express, Zoom Youtube, MSN, Yahoo 6. Wikis เปนเว็บไซต์ทีมลี ักษณะเปนแหล่งขอ้ มลู หรอื ความ 7. Discuss / Review/ Opinion เปนเว็บบอรด์ ทีผใู้ ช้อินเทอรเ์ น็ต รู้ (Data/Knowledge) ซึงผเู้ ขยี นส่วนใหญอ่ าจจะเปนนักวิชาการ สามารถแสดงความคิดเหน็ โดยอาจจะเกียวกับ สินค้าหรอื บรกิ าร ประเด็นสาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Opinions, นักวิชาชีพหรอื ผเู้ ชียวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทังการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึงผใู้ ช้สามารถเขยี นหรอื แก้ไขขอ้ มลู Outshot, Yahoo! Answer, Pan tip ,Yelp ได้อยา่ งอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online

ประเภทของสอื สังคมออนไลน์ 8. Virtual Worlds คือการสรา้ งโลกจินตนาการ 9. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคําสอง 10. Podcasting หรอื Podcast มาจากการรวม โดยจําลองส่วนหนึงของชีวิตลงไป จัดเปนสือ คําคือ Crowd และ Outsourcing เปนหลักการขอ ตัวของสองคํา คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึง สังคมออนไลน์ทีบรรดาผทู้ ่องโลกไซเบอรใ์ ช้เพอื ความรว่ มมอื จากบคุ คลในเครอื ขา่ ยสังคม “POD” หรอื Personal On - Demand คือ อุปสงค์ สือสารระหว่างกันบนอินเทอรเ์ น็ตในลักษณะโลก ออนไลน์ โดยสามารถจัดทําในรูปของเว็บไซต์ทีมี หรอื ความต้องการส่วนบคุ คล เสมอื นจรงิ (Virtual Reality) ซึงผทู้ ีจะเขา้ ไปใช้ วัตถุประสงค์หลักเพอื ค้นหาคําตอบและวิธกี ารแก้ ส่วน“Broadcasting” เปนการนําสือต่างๆ มารวม บรกิ ารอาจจะบรษิ ทั หรอื องค์การด้านธุรกิจ ด้าน ปญหาต่างๆทังทางธุรกิจ การศึกษา รวมทังการ กันในรูปของภาพและเสียง หรอื อาจกล่าวงา่ ยๆ การศึกษา รวมถึงองค์การด้านสือ เช่น สํานักขา่ ว สือสาร โดยอาจจะเปนการดึงความรว่ มมอื จาก Podcast คือ การบนั ทึกภาพและเสียงแล้วนํามา รอยเตอร์ สํานักขา่ วซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่าย เครอื ขา่ ยทางสังคมมาช่วยตรวจสอบขอ้ มลู เสนอ ไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพอื เผยแพรใ่ หบ้ คุ คล ในการซือพนื ทีเพอื ใหบ้ คุ คลในบรษิ ทั หรอื องค์กร ความคิดเหน็ หรอื ใหข้ อ้ เสนอแนะ กลุ่มคนทีเขา้ มา ภายนอก (The public in general) ทีสนใจ ได้มชี ่องทางในการนําเสนอเรอื งราวต่างๆ ไปยงั ใหข้ อ้ มลู อาจจะเปนประชาชนทัวไปหรอื ผมู้ คี วาม ดาวน์โหลดเพอื นําไปใช้งาน เช่น Dual Geek กลุ่มเครอื ขา่ ยผใู้ ช้สือออนไลน์ ซึงอาจจะเปนกลุ่ม เชียวชาญเฉพาะด้านทีอยใู่ นภาคธุรกิจหรอื แมแ้ ต่ Podcast, Wiggly Podcast ลูกค้าทังหลัก และรองหรอื ผทู้ ีเกียวขอ้ งกับธุรกิจ ในสังคมนักขา่ ว ขอ้ ดีของการใช้หลัก Crowd ของบรษิ ทั หรอื องค์การก็ได้ ปจจุบนั เว็บไซต์ทีใช้ souring คือ ทําใหเ้ กิดความหลากหลายทาง หลัก Virtual Worlds ทีประสบผลสําเรจ็ และมชี ือ ความคิดเพอื นําไปแก้ปญหา ทีมปี ระสิทธภิ าพ เสียง คือ Second life ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรอื คัดกรองขอ้ มลู ซึง เปนปญหาสาธารณะรว่ มกันได้ เช่น Idea storm, My Starbucks Idea

อุปกรณเ์ ครืองมอื ทางสือสงั คมออนไลน์ คอมพวิ เตอร์ คือ เครืองคํานวณ อิเล็กทรอนิกส์ทีสามารถทํางาน สมาร์ทโฟน คือ โทรศัพท์มอื ถือ แท็บเล็ต (Tablet) คือ อุปกรณ์ คํานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคําสังด้วยความเร็วสูงอยา่ งต่อ ทีนอกเหนือจากใช้ โทรออก-รับ คอมพวิ เตอร์ทีมหี น้าจอระบบสัมผสั ขนาด เนืองและอัตโนมตั ิ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ สายแล้วยงั มแี อพพลิเคชันให้ใช้ ใหญ่ มขี นาดหน้าจอตังแต่ 7 นิวขนึ ไป พก คําจํากัดความของคอมพวิ เตอร์ไว้ค่อนขา้ งกะทัดรัดว่า เครืองอิเล็กทรอ งานมากมาย สามารถรองรับการ พาได้สะดวก สามารถใช้งานหน้าจอผา่ น ใช้งานอินเทอร์เน็ตผา่ น 3G, Wi-Fi การสัมผสั ผา่ นปลายนิวได้โดยตรง มแี อพ นิกส์แบบอัตโนมตั ิ ทําหน้าทีเสมอื นสมองกล ใช้สําหรับแก้ปญหาต่างๆ และสามารถใช้ งานโซเชี ยล พลิเคชันมากมายให้เลือกใช้ ไมว่ ่าจะรับ- ทังทีงา่ ยและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครือง เน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชั น ส่งอีเมล์, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟง คอมพวิ เตอร์หมายถึง เครืองมอื ทีช่วยในการคํานวณและการประมวลผล สนทนาชันนํา เช่น LINE, เพลง, เล่นเกม หรือแมก้ ระทังใช้ทํางาน ขอ้ มลู Youtube, Facebook, Twitter เอกสารออฟฟต ขอ้ ดีของแท็บเล็ตคือ ฯลฯ โดยทีผใู้ ช้สามารถปรับแต่ง มหี น้าจอทีกว้าง ทําให้มพี นื ทีการใช้งาน ลูกเล่นการใช้ งานสมาร์ทโฟนให้ เยอะ มนี าหนักเบา พกพาได้สะดวกกว่า ตรงกับความต้องการได้มากกว่า โน๊ตบคุ๊ หรือ คอมพวิ เตอร์ สามารถจด มอื ถือธรรมดา บนั ทึกหรือใช้เปนอุปกรณ์เพอื การศึกษา ได้เปนอยา่ งดี

อุปกรณเ์ ครือข่าย เซิรฟ์ เวอร์ (Server) หรอื เรยี กอีกอยา่ งหนึงว่า เครอื งแมข่ า่ ย เปนเครอื งคอมพวิ เตอรห์ ลักในเครอื ขา่ ย ทีทําหน้าทีจัดเก็บและใหบ้ รกิ ารไฟล์ขอ้ มลู และทรพั ยากรอืนๆ กับคอมพวิ เตอรเ์ ครอื งอืน ๆ ใน เครอื ขา่ ย โดยปกติคอมพวิ เตอรท์ ีนํามาใช้เปนเซิรฟ์ เวอรม์ กั จะเปนเครอื งทีมสี มรรถนะสูง และมฮี ารด์ ดิสก์ความจําสูงกว่า คอมพวิ เตอรเ์ ครอื งอืน ๆ ในเครอื ขา่ ย ไคลเอนต์ (Client) หรอื เรยี กอีกอยา่ งหนึงว่า เครอื งลูกขา่ ย เปนคอมพวิ เตอรใ์ นเครอื ขา่ ยทีรอ้ งขอ บรกิ ารและเขา้ ถึงไฟล์ขอ้ มลู ทีจัดเก็บในเซิรฟ์ เวอร์ หรอื พดู งา่ ย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เปนคอมพวิ เตอร์ ของผใู้ ช้แต่ละคนในระบบเครอื ขา่ ย ฮับ (HUB) หรอื เรยี ก รพี ตี เตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพวิ เตอร์ ฮับ มหี น้าทีรบั ส่งเฟรมขอ้ มลู ทุกเฟรมทีได้รบั จากพอรต์ ใดพอรต์ หนึง ไปยงั พอรต์ ทีเหลือ คอมพวิ เตอรท์ ีเชือมต่อเขา้ กับฮับจะแชรแ์ บนด์วิธหรอื อัตราขอ้ มลู ของเครอื ขา่ ย เพราะฉะนันถ้ามคี อมพวิ เตอรเ์ ชือมต่อมากจะทําใหอ้ ัตราการส่งขอ้ มลู ลดลง เนทเวิรค์ สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครอื ขา่ ยทีทําหน้าทีในเลเยอรท์ ี 2 และทําหน้าทีส่งขอ้ มลู ทีได้รบั มาจากพอรต์ หนึงไปยงั พอรต์ เฉพาะทีเปนปลายทางเท่านัน และทําใหค้ อมพวิ เตอรท์ ีเชือมต่อกับพอรต์ ทีเหลือส่งขอ้ มลู ถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการรบั ส่งขอ้ มลู หรอื แบนด์วิธจึงไมข่ นึ อยกู่ ับคอมพวิ เตอร์ ปจจุบนั นิยม เชือมต่อแบบนีมากกว่าฮับเพราะลดปญหาการชนกันของขอ้ มลู เราต์เตอร์ (Router) เปนอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอรท์ ี 3 เราท์เตอรจ์ ะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานีปลายทางทีส่วนหวั (Header) ขอ้ แพก็ เก็ตขอ้ มลู เพอื ทีจะ กําหนดและส่งแพก็ เก็ตต่อไป เราท์เตอรจ์ ะมตี ัวจัดเส้นทางในแพก็ เก็ต เรยี กว่า เราติงเทเบลิ (Routing Table) หรอื ตารางจัดเส้นทางนอกจากนียงั ส่งขอ้ มลู ไปยงั เครอื ขา่ ยทีให้ โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียงั เชือมต่อกับเครอื ขา่ ยอืนได้ เช่น เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต

อปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ย (ตอ่ ) บรดิ จ์ (Bridge) เปนอุปกรณ์ทีมกั จะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เขา้ ด้วยกัน ทําใหส้ ามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรอื ยๆ โดยที ประสิทธภิ าพรวมของระบบ ไมล่ ดลงมากนัก เนืองจากการติดต่อของเครอื งทีอยใู่ นเซกเมนต์เดียวกันจะไมถ่ ูกส่งผา่ น ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และ เนืองจากบรดิ จ์เปนอุปกรณ์ทีทํางานอยใู่ นระดับ Data Link Layer จึงทําใหส้ ามารถใช้ในการเชือมต่อเครอื ขา่ ยทีแตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เปนต้น บรดิ จ์ มกั จะถูกใช้ในการเชือมเครอื ขา่ ยยอ่ ยๆ ในองค์กรเขา้ ด้วยกันเปนเครอื ขา่ ยใหญ่ เพยี งเครอื ขา่ ยเดียว เพอื ให้ เครอื ขา่ ยยอ่ ยๆ เหล่านันสามารถติดต่อกับเครอื ขา่ ยยอ่ ยอืนๆได้ เกตเวย์ (Gateway) เปนอุปกรณ์ฮารด์ แวรท์ ีเชือมต่อเครอื ขา่ ยต่างประเภทเขา้ ด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวยใ์ นการเชือมต่อเครอื ขา่ ย ทีเปนคอมพวิ เตอรป์ ระเภทพซี ี (PC) เขา้ กับคอมพวิ เตอรป์ ระเภทแมคอินทอช (MAC) เปนต้น ประโยชน์และขอ้ จํากดั ของสงั คมออนไลน์ แมล้ ักษณะของเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ จะเปนสือใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารสามารถกระจายออกไปอยา่ งรวดเรว็ และ กว้างขวางมคี ุณประโยชน์มากมายในด้านการติดต่อสือสาร แต่ก็เปรยี บเสมอื นดาบสองคมหากผใู้ ช้ขาดคุณธรรม จรยิ ธรรม สามญั สํานึก การรูจ้ ักเคารพสิทธิ ของผอู้ ืน และความระมดั ระวังในการใช้แล้ว สังคมออนไลน์เหล่านีก็จะ เปน\"สังคมอันตราย\"ทีจะเปนด้านมดื ของสังคมไทย

ประโยชนข์ อง Social networks เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ 1.สามารถแลกเปลียน 2.เปนคลังขอ้ มลู ความ 3.ประหยัดค่าใช้จ่ายใน 4.เปนสือในการนําเสนอผล ข้อมูลความรู้ในสิงที สนใจร่วมกันได้ รูข้ นาดยอ่ มเพราะเรา การติดต่อสือสารกับ งานของตัวเอง เช่น งาน สามารถเสนอและ คนอืนสะดวกและ เขยี น รูปภาพ วีดิโอต่างๆ แสดงความคิดเหน็ รวดเร็ว เพอื ใหผ้ อู้ ืนได้เขา้ มารบั ชม และแสดงความคิดเห็น 5.ใช้เปนสือในการโฆษณา 6.ช่วยสรา้ งผลงาน 7.คลายเครยี ดได้ 8.สรา้ งความ ประชาสัมพนั ธห์ รอื บรกิ าลูก และรายได้ใหแ้ ก่ผใู้ ช้ สําหรบั ผใู้ ช้ทีต้อง สัมพนั ธท์ ีดีจาก ค้าสาหรบั บรษิ ทั และองค์กร งานเกิดการจ้างงาน การหาเพอื นคุยเล่น เพอื นสู่เพอื นได้ ต่างๆช่วยสรา้ งความเชือมนั แบบใหมๆ่ ขนึ สนุกๆ ใหล้ ูกค้า

ข้อจาํ กดั ของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1.เว็บไซต์ใหบ้ รกิ ารบางแหง่ 2. Social Network เปนสังคม 3. เปนช่องทางในการถูกละเมดิ 7.ขอ้ มลู ทีต้องกรอก อาจจะเปดเผยขอ้ มลู ส่วนตัว ออนไลน์ทีกว้าง หากผใู้ ช้รูเ้ ท่า ลิขสิทธิ ขโมยผลงาน หรอื ถูก เพอื สมคั รสมาชิกและ มากเกินไป หากผใู้ ช้บรกิ ารไม่ ไมถ่ ึงการณ์หรอื ขาดวิจารณ แอบอ้างเพราะ Social Network แสดงบนเว็บไซต์ในรูป ระมดั ระวังในการกรอกขอ้ มลู ญาณอาจโดนหลอกลวงผา่ น Service เปนสือในการเผยแพร่ แบบ Social อาจถูกผไู้ มห่ วังดีนํามาใช้ใน อินเทอรเ์ น็ต หรอื การนัดเจอกัน ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้ Network ยากแก่การ ทางเสียหาย หรอื ละเมดิ สิทธิ เพอื จุดประสงค์รา้ ย ตามทีเปน บคุ คลอืนได้ดูและแสดงความ ตรวจสอบว่าจรงิ หรอื ส่วนบคุ คลได้ ขา่ วตามหน้าหนังสือพมิ พ์ คิดเหน็ ไม่ ดังนันอาจเกิด ปญหาเกียวกับ 4.ผใู้ ช้ทีเล่นsocialnet 5.ถ้าผใู้ ช้หมกหมนุ่ อยกู่ ับ 6.จะทําให้เสียเวลาถ้า เว็บไซต์ทีกําหนดอายุ workและอยกู่ ับหน้าจอ socialnetwork มากเกิน ผู้ใช้ใช้อย่างไร้ การสมคั รสมาชิก คอมพวิ เตอรเ์ ปนเวลา ไปอาจทําใหเ้ สียการ ประโยชน์ หรอื การถูกหลอกโดย นานอาจสายตาเสียได้ เรยี นหรอื ผลการเรยี น บคุ คลทีไมม่ ตี ัวตนได้ หรอื บางคนอาจตาบอด ตกตาลงได้ ได้

ยกตัวอยา่ งประโยชน์และขอ้ จํากัดการใช้เฟซบกุ๊ เปนศูนยแ์ ห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา ในกรณีทียกเลิกการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นเพราะสภาพอากาศไมเ่ อืออํานวย ครูผสู้ อนสามารถใช้ เฟชบกุ๊ เปนศูนยแ์ หง่ การเรยี นรูร้ ว่ มกับผเู้ รยี นโดยการกําหนดหวั ขอ้ เกียวกับวิชาทีสอนเพอื ใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกันแสดง ความคิดเหน็ - ไมค่ วรใช้ขอ้ ความทีรุนแรงในการแสดงความคิดเหน็ เกียวกับผเู้ รยี นและสถานศึกษา - หลีกเลียงการแสดงขอ้ ความทีก่อใหเ้ กิดขอ้ โต้แยง้ ทีรุนแรง - ควรตังค่าการแสดงความคิดเหน็ ต่างๆ ทีผเู้ รยี นทุกคนสามารถเขา้ ไปอ่านได้ - ควรแสดงความคิดเหน็ เกียวกับผเู้ รยี นในเชิงบวกเท่านัน จะเหน็ ได้ว่า เฟซบกุ๊ เปนศูนยแ์ หง่ การเรยี นรูแ้ ละเปนหว่ งโซ่การศึกษาขนาดใหญท่ ีทรงประสิทธภิ าพในการเรยี นรูแ้ บบไรข้ ดี จํากัด ซึงครูผสู้ อนและผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงได้จากทุกที ทุกเวลา ตลอดวันละ24 ชัวโมง สัปดาหล์ ะ 7 วัน ฉะนัน ผบู้ รหิ ารการศึกษาจึงควรกําหนดแนวปฏิบตั ิในการใช้ เฟซบกุ๊ อยา่ งเหมาะสมเพอื ช่วยลดความเสียงด้านการใช้ เฟซบกุ๊ ไปในทางทีผดิ หรอื ด้านการก่อใหเ้ กิดความเสือมเสียชือเสียงแก่สถานศึกษา ยงิ กว่านัน ผบู้ รหิ ารการศึกษาจําเปนต้องพฒั นานโยบายการใช้ เฟซบกุ๊ ทีมอี ยเู่ ปนระยะๆ เพอื ใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์และยคุ สมยั ทีเปลียนแปลงไปด้วย

ประโยชน์และขอ้ จํากัด การประยกุ ต์ใช้งาน Youtubeเพอื การเรียนการสอน Youtube เปนเว็บไซต์ทีใหบ้ รกิ ารแลกเปลียนภาพวิดีโอระหว่างผใู้ ช้ได้ฟรี โดยนําเทคโนโลยขี องAdobeFlashมาใช้ใน การแสดงภาพวิดีโอ ซึงยทู ูบมนี โนบายไมใ่ หอ้ ัปโหลดคลิปทีมภี าพโปเปลือยและคลิปทีมลี ิขสิทธนิ อกเสียจากเจ้าของลิขสิทธไิ ด้ อัปโหลดเองเมอื สมคั รสมาชิกแล้วผู้ ใช้จะสามารถใส่ภาพวิดีโอเขา้ ไปแบง่ ปนภาพวิดีโอใหค้ นอืนดูด้วยแต่หากไมไ่ ด้สมคั ร สมาชิกก็สามารถเขา้ ไปเปดดูภาพวิดีโอทีผใู้ ช้คนอืน ๆใส่ไว้ในYoutubeได้แมจ้ ะก่อตังได้เพยี งไมน่ าน (youtubeก่อตังขนึ เมอื เดือนกุมภาพนั ธ์ ค.ศ.2005)Youtubeเติบโตอยา่ งรวดเรว็ มาก เปนทีรูจ้ ักกันแพรห่ ลายและได้รบั ความนิยมทัวโลก ต่อมาป ค.ศ.2006กูเกิลซือยทู ูบตอนนียทู ูบจึงกลายเปนส่วนหนึงของกูเกิลแล้ว แต่ด้วยตัวยทู ูบเองทีมเี นือหามากมายเปนแสนชิน ทังสือและเครอื งมอื การเรยี นรูด้ ีๆทีสามารถใช้เปนสือการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นได้แต่ในขณะเดียวกันก็มสี ือประเภททีสุ่ม เสียง และทําใหเ้ ด็กและเยาวชนไขว้เขวไปได้ ทังจากมวิ สิควีดีโอ การต์ ูนและไมไ่ ด้ใช้เปนช่องทางเพอื การเรยี นรูส้ ักทีเดียว จึงเปนทีมาของการเปดหน้าการศึกษาล่าสุดเของยทู ูบขนึ ทีเรยี กว่า“ยทู ูบสําหรบั โรงเรยี น”หรอื (Youtube forSchools) เปนช่อง ทางการเรยี นรูท้ ีจัดตังขนึ โดยจะมเี นือแต่เรอื งการศึกษาแต่เพยี งอยา่ งเดียวโดยได้รว่ มมอื กับภาคีด้านการศึกษากว่า600แหง่ เช่น TED ,Smithsonian เว็บไซด์ชือดังเรอื งทีได้รวบรวมแหล่งเรยี นรูแ้ ละนิทรรศการต่างๆเอาไว้,SteveSpangler แหล่งผลิต เกมและของเล่นเพอื การพฒั นาทักษะด้านวิทยาศาสตร์ หรอื Numberphile ทีสอนคณิตศาสตรอ์ อนไลน์เปนต้น นอกจากนีเพอื ใหง้ า่ ยต่อการค้นหา ยทู ูบได้ทํางานรว่ มกับครูในการจัดแบง่ เนือหากว่า300ชิน ออกเปนรายวิชาและระดับชัน โดยสือเหล่านียู ทูบเชือว่าจะช่วยเสรมิ การเรยี นรูใ้ นหอ้ งเรยี นได้เปนอยา่ งดี ทําใหห้ อ้ งเรยี นสนุกสนานขนึ และเด็กๆก็จะตังใจเรยี นมากยงิ ขนึ

ประโยชน์ของการใช้เฟ ข้อจํากดั ของการใช้เฟซบุ๊ก ขอ้ จาํ กัด ซบ๊กุ เพือการเรยี นการสอน เพือการเรียนการสอน 1.อาจมกี าร 1.สือสารถึง 2.นักศึกษามี 1.อาจละเมดิ สิทธิ ละเมดิ ลิขสิทธิ นักศึกษาได้อยา่ ง ความสะดวก ส่วนบคุ คลได้ สิทธสิ ่วนบคุ คล รวดเรว็ กว่าการ ในการรบั รู้ ได้ ใช้อีเมลล์หรอื อี ขอ้ มลู ขา่ วสาร เลิรน์ นิง 3.ส่งเสรมิ การกระตุ้นใหน้ ักศึกษาได้ 2.อาจารยห์ รอื 2.อาจมกี าร แบง่ ปนความรู้ แลกเปลียนความคิด นักศึกษาไมเ่ ปนส่วน กระทําทีไมด่ ี ได้อยา่ งทัวถึงและรวดเรว็ ตัวในการขอ้ ความ หรอื รูปภาพต่างๆ

ประโยชน์ของ YouTube สําหรับโรงเรียน 1. กว้างขวางครอบคลุมYouTubeสําหรบั โรงเรยี นเปดโอกาสใหโ้ รงเรยี นต่างๆเขา้ ถึงวิดีโอเพอื การศึกษาฟรนี ับแสน รายการจาก YouTube EDU วิดีโอเหล่านีมาจากองค์กรทีมชี ือเสียงต่างๆเช่น Stanford, PBS และ TED รวมทังจากพนั ธมติ รที กําลังได้รบั ความนิยมของYouTubeซึงมยี อดผชู้ มนับล้านๆ คนเช่น Khan Academy, Steve Spangler Science และ Numberphile 2. ปรบั แก้ได้สามารถกําหนดค่าเนือหาทีดูได้ในโรงเรยี นของคุณ โรงเรยี นทังหมดจะได้รบั สิทธเิ ขา้ ถึง เนือหาYouTubeEDUทังหมด แต่ครูและผดู้ ูแลระบบอาจสรา้ งเพลยล์ ิสต์วิดีโอทีดูได้เฉพาะในเครอื ขา่ ยของโรงเรยี นเท่านันได้ เช่นกัน 3. เหมาะสมสําหรบั โรงเรยี นผบู้ รหิ ารโรงเรยี นและครูสามารถลงชือเขา้ ใช้และดูวิดีโอใดๆ ก็ได้แต่นักเรยี นจะไมส่ ามารถ ลงชือเขา้ ใช้และจะดูได้เฉพาะวิดีโอYouTube EDUและวิดีโอทีโรงเรยี นได้เพมิ เขา้ ไปเท่านันความคิดเหน็ และวิดีโอทีเกียวขอ้ ง ทังหมดจะถูกปดใช้งานและการค้นหาจะจํากัดเฉพาะวิดีโอ YouTube EDU เท่านัน 4. เปนมติ รกับครู YouTube.com/Teachers มเี พลยล์ ิสต์วิดีโอนับรอ้ ยรายการทีได้มาตรฐานการศึกษาทัวไปและจัด ระเบยี บตามหวั เรอื งและระดับชัน เพลยล์ ิสต์เหล่านีสรา้ งขนึ โดยครูเพอื เพอื นครูด้วยกันดังนันคุณจึงมเี วลาในการสอนมากขนึ และใช้เวลาค้นหาน้อยลง