Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDF 04 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ ม.4 (ใช้)

PDF 04 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ ม.4 (ใช้)

Published by อลงกรณ์ โสดา, 2022-08-26 04:06:25

Description: PDF 04 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ ม.4 (ใช้)

Search

Read the Text Version

สวสั ดคี รับ ครูอลงกรณ์ โสดา สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษาฯ ม.4 วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา พ 31101 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท4ี่ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565

สุขศึกษาฯ ม.4

มาตรฐาน พ 1.1 สุขศึกษาฯ ม.4 เข้าใจธรรมชาตขิ องการ ตวั ชี้วดั เจริญเตบิ โตและ พฒั นาการของมนุษย์ พ 1.1 ม4-6/2 วางแผนดูแลสุขภาพตาม ภาวะการเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของตนเอง และบุคคลในครอบครัว

มาตรฐาน พ 4.1 สุขศึกษาฯ ม.4 เห็นคุณค่าและมที ักษะในการ ตวั ชี้วดั สร้างเสริมสุขภาพ การดารง สุขภาพ การป้องกนั โรค และ พ 4.1 ม4-6/5 วางแผน การสร้างเสริมสมรรถภาพ และปฏิบัตติ ามแผนการ เพื่อสุขภาพ พฒั นาการของตนเองและ บุคคลในครอบครัว

การวาง ความหมาย สุขศึกษาฯ ม.4 ของสุขภาพ แผนพฒั นา ความหมาย สุขภาพตนเอง สาระการ ของการ เรียนรู้ วางแผน สุขภาพ ความสาคัญของ การวางแผน พฒั นาสุขภาพ

สุขศึกษาฯ ม.4 แนวคดิ ทุกคนจาเป็ นต้องตระหนักถงึ ความสาคญั ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในทุกมิติ คือ มิติทางกาย มิติทางจิตใจ มิติทางสังคม และมิติทางปัญญา โดยมีการวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเอง และปฏิบัติตามแผนในทุกมิติ อย่างสม่าเสมอ จะนาไปสู่การมีสุขภาพท่ีดีท้ังในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนต่อไป

สุขศึกษาฯ ม.4 ความหมายของสุขภาพ สุขภาพ หมายถงึ ภาวะการดารงชีวติ ทมี่ คี วามสมบูรณ์ท้งั ร่างกาย จติ ใจ รวมท้งั การอยู่ร่วมกนั ในสังคมได้ด้วยดี อยู่บนพืน้ ฐานของคุณธรรม และการใช้ สตปิ ัญญา และไม่ได้เพยี งแต่ความปราศจากโรคหรือความพกิ ารเท่านัน

สุขศึกษาฯ ม.4 ความหมายของสุขภาพ ดงั น้ัน ในปัจจุบนั คาว่าสุขภาพ จึงไม่ได้มคี วามหมายเฉพาะ สุขภาพกายและจิตเท่าน้ัน แต่ยงั รวมมติ ิทางสังคม และมติ ทิ าง ปัญญาด้วย สุขภาพจึงมอี งค์ประกอบ 4 ส่วน ดงั นี้

สุขศึกษาฯ ม.4 มติ ิทางกาย มติ ิทางจิตใจ องค์ประกอบของสุขภาพ 4 มติ ิ มติ ิทางสังคม มติ ิทางสติปัญญา

1. มิติทางกาย สุขศึกษาฯ ม.4 สุขภาพ มีองค์ประกอบ ๔ ส่วน มรี ่างกายแข็งแรง ไม่เจบ็ ป่ วยโดยไม่จาเป็ น ไม่ตายก่อน วยั อนั ควร เม่ือเกดิ การเจบ็ ป่ วยสามารถกลบั คืนได้รวดเร็ว สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขได้

มติ ทิ างกาย สุขศึกษาฯ ม.4 ควรปฏบิ ตั ิ ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอและถูกต้อง ดงั นี้ กนิ อาหารท่ีมคี ุณค่า ทางโภชนาการเพยี งพอ ไม่บริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอออล์ มกี ารป้องกนั อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ บริการสาธารสุขที่มีอยู่ในท้องถน่ิ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สุขศึกษาฯ ม.4 2.มติ ิทางจติ ใจ จติ ใจดี มคี วามสุข ไม่เครียดและ รู้จกั วธิ ีจัดการ กบั ความเครียด การวาดภาพเป็ นการผ่อนคลายทางด้านจิตใจท่ีสร้างสรรค์

มติ ทิ างจติ ใจ สุขศึกษาฯ ม.4 ควรปฏบิ ัติ สร้างสัมพนั ธ์และความอบอุ่นในครอบครัว ดงั นี้ ดูแลเอาใจใส่ สมาชิกในครอบครัวที่ ช่วยเหลือตนเอง มคี วามเฉลยี วฉลาดทางสตปิ ัญญา และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์แก้ปัญหา ด้วยวิธีสร้างสรรค์และเหมาะสม รู้จักวิธีการผ่อนคลายความเครียด ในทางสร้างสรรค์

สุขศึกษาฯ ม.4 3.มติ ทิ างสังคม มกี ารพงึ่ พาช่วยเหลือเกือ้ กลู กนั อยู่ร่วมกนั ในสังคม อย่างมคี วามสุขมีสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมทดี่ ี มีอาชญากรรมและความรุนแรงน้อย การช่ วยเหลือเกื้อกูลกันในสั งคม เป็ นหน้าที่ของทุกคนในสังคม

มติ ทิ างสังคม สุขศึกษาฯ ม.4 ควรปฏิบตั ดิ งั นี้ ช่วยเหลือผู้อื่นเท่าท่ีจะกระทาได้ ไม่เห็นแก่ตัวจนเกินไป ระมดั ระวงั ความปลอดภัยจากอาชญากรรมและ ความรุนแรงท่ีเกิดขึน้ ต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ มสี ัมมาอาชีพและรายได้เพยี งพอ ต่อการดารงชีวติ อย่างปกติสุข ดูแลที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ ดูแลสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมสี ุขภาพดี

สุขศึกษาฯ ม.4 3.มิตทิ างปัญญา หรือจติ วญิ ญาณ มีจติ ใจท่เี ป่ี ยมสุข เข้าถงึ ความดงี าม ถูกต้อง มจี ติ ใจดี มเี มตตากรุณา และเข้าใจสิ่งต่างๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ อย่างมเี หตุผล การน่ังสมาธิเป็ นการพัฒนา ทางด้านสติปัญญา

มติ ทิ างปัญญา สุขศึกษาฯ ม.4 ควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ หลกี เลย่ี ง งด ลด เลิกอบายมุขและส่ิงเสพติด มคี วามรักใคร่ สามคั คี เอื้ออาทรต่อผู้อ่ืน มีสติปัญญาแก้ไขปัญหา และความขัดแย้ง ด้วยเหตุผลและสันติวธิ ี ยดึ ม่นั ในหลักศาสนาและวฒั นธรรมที่ดีงาม

สุขศึกษาฯ ม.4 การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง

การวาง สุขศึกษาฯ ม.4 แผนพฒั นา ความหมายของการ สุขภาพ วางแผนพัฒนาสุขภาพ หมายถึง การกาหนดแนวทาง วธิ ีการในการ สร้างสุขภาพดูแลส่งเสริมสุขภาพล่วงหน้า โดยมี การประเมนิ ภาวะสุขภาพและวเิ คราะห์ผลการ ประเมินภาวะสุขภาพ นาข้อมูลมาวางแผนพฒั นา สุขภาพและกาหนดแนวทางวิธีการพฒั นาสุขภาพ และการประเมินผลเพ่ือให้มสี ภาวะสุขภาพท่ี สมบูรณ์แขง็ แรง ในท้งั ๔ มติ ิ

สุขศึกษาฯ ม.4 สขุ ภาพท่ีสมบรู ณ์แขง็ แรง ใน ๔ มิติ

สุขศึกษาฯ ม.4 ความสาคัญของการวางแผนพัฒนาสุขภาพ การที่เราอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขน้ันต้องมสี ุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญาทส่ี มบูรณ์แขง็ แรง เช่น มสี มรรถภาพทางกายดี อวยั วะต่างๆทางานได้ตามปกติ มบี ุคลกิ ภาพทด่ี ี มองโลกในแง่ดี คดิ ใน ทางบวก มสี ัมพนั ธ์ทดี่ กี บั ผู้อื่น มีเพื่อน ญาตพิ น่ี ้องทรี่ ักใคร่ ห่วงใย เอือ้ อาทรต่อกนั ใช้เหตุผลในการตดั สินใจ แก้ปัญหาด้วยสันตวิ ธิ ี ไม่ใช้ความ รุนแรง

สุขศึกษาฯ ม.4 ความสาคัญของการวางแผนพฒั นาสุขภาพ ทุกคนจะต้องดูแลรักษาและพฒั นาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว รวม ไปถงึ เพื่อนในโรงเรียนและในชุมชน โดยแต่ละบุคคลน้ันต้องมีความรู้ ในการสร้างเสริมสุขภาพเพ่ือให้มีความสมบูรณ์ท้งั ด้านร่างกายและ จติ ใจซ่ึงสามารถทาได้โดยการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อสร้างเสริม สุขภาพให้ดี การวางแผนพฒั สุขภาพของตนเองจึงมคี วามสาคญั อย่าง ยง่ิ สาหรับทุกคนเพราะการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้มีความสมบูรณ์ ท้งั ด้านร่างกายและจิตใจเป็ นเร่ืองท่ที ุกคนต้องทาด้วยตวั เอง คนอ่ืนทา ให้ไม่ได้ และสุขภาพดไี ม่มขี าย ใครอยากได้กต็ ้องปฏบิ ตั ดิ ้วยตวั เอง

สุขศึกษาฯ ม.4 ผ่อนคลายความเครีมยดอย่างเหมาะสม ตวั อย่างการ นอนหลบั พกั ผ่อนอย่างเพยี งพอ สร้างเสริม สุขภาพให้ รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ สมบูรณ์ ดื่มนา้ สะอาดอย่างเพยี งพอ มองโลกในแง่บวก ทาจติ ใจให้ผ่องใส ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ

สุขศึกษาฯ ม.4 การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง เร่ิมต้นจากการประเมนิ ภาวะสุขภาพของ ตนเอง การนาข้อมูลจากการประเมนิ ภาวะ สุขภาพมาจดั ทาแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง และมกี ารปฏบิ ัตติ นตามแผนพฒั นาสุขภาพที่ กาหนดไว้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลเพื่อ ปรับปรุงและพฒั นาสุขภาพตนเอง

สุขศึกษาฯ ม.4 การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง เป็ นกระบวนการครอบคลุมท้ัง 5 ข้ันตอนดังนี้

สุขศึกษาฯ ม.4 1.ข้ันตอนการประเมินปัญหา 2.ข้ันตอนการวิเคราะปัญหาปัญหา 3.ข้ันตอนการวางแผนและแก้ปัญหา 4.ข้ันตอนการลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ 5.ข้ันตอนการประเมินผล

สุขศึกษาฯ ม.4 1.ข้ันตอนการประเมินปัญหา โดยการประเมินสุขภาพตนเองใน ด้านสุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิต สุขภาพทางสังคม สุขภาพทางปัญญา

สุขศึกษาฯ ม.4 2.ข้ันตอนการวิเคราะปัญหาปัญหา หาสาเหตุของปัญหาและดาเนินการปรับปรุง แก้ไข โดยนาข้อมูลข้ันท่ี1 มาศึกษาเพ่ือหาสาเหตุ ว่าเกิดจากสาเหตุใด เช่นเกิดจากสาเหตุจากตัว บุคคล จากสภาพแวดล้อมในชุมชน หรือจาห พันธุกรรม

สุขศึกษาฯ ม.4 3.ข้ันตอนการวางแผนและแก้ปัญหา เป็ นการคิดหาวิธีการแก้ไข วางแผนดูแล สุขภาพให้เหมาะสม ตามวิธีการพัฒนาสุขภาพ ของตนเองท้ัง 4 ด้าน คือทางกาย ทางจิตใจ ทางสังคม ทางสติปัญญา

สุขศึกษาฯ ม.4 4.ข้ันตอนการลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ ต้องปฏิบัติด้วยความเต็มใจและมีวินัยในตัวเอง เพื่อให้ เกิดผลดีต่อสุขภาพของตนเอง

สุขศึกษาฯ ม.4 5.ข้ันตอนการประเมินผล เป็ นการตรวจสอบว่าแผนพัฒนาสุขภาพท่ีเราเลือกปฏิบัติหรือ วางแผนน้ัน ประสบความสาเร็จหรือไม่ โดยการกลับไปประเมิน ตนเองหรือตรวจสุขภาพโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ หลังจากทราบผลแล้ว มาปรับแผนพัฒนาสุขภาพตนเองต่อไป

สุขศึกษาฯ ม.4 การวางแผนพฒั นาสุขภาพตนเอง ประกอบด้วยข้ันตอน 1. การประเมนิ ภาวะสุขภาพ การดาเนินงานดังนี้ 2. การทาแผนพฒั นาสุขภาพ

สุขศึกษาฯ ม.4 1.การประเมินภาวะสุขภาพ การประเมนิ ภาวะสุขภาพ เป็ นข้นั ตอนเร่ิมต้นของ การวางแผนพฒั นาสุขภาพการประเมนิ ภาวะสุขภาพ ของบุคคลเป็ นการบอกได้ว่าในขณะน้ันภาวะสุขภาพ ท้งั สุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็ นอย่างไร ตลอดจน ภาวะทางสังคมและภาวะทางปัญญาเป็ นอย่างไร ซ่ึง ภาวะสุขภาพกจ็ ะเปลย่ี นแปลงไปตามพฤตกิ รรมของ บุคคลและสภาพแวดล้อม

สุขศึกษาฯ ม.4 1.การประเมินภาวะสุขภาพ ประกอบด้วยขนั้ ตอน 1. การประเมนิ ภาวะสุขภาพทางกาย การดาเนิ นงานดงั นี้ 2. การประเมินภาวะสุขภาพทางจติ 3. การประเมินภาวะสุขภาพทางสังคม 4. การประเมนิ ภาวะสุขภาพปัญญา

สุขศึกษาฯ ม.4 1.1.การประเมินภาวะสุขภาพทางกาย ให้พจิ ารณาว่ามีปัญหาสุขภาพทางกาย หรือไม่ เช่น เป็ นโรคต่างๆ เหนื่อยง่าย สายตาผดิ ปกติ อื่นๆ เป็ นต้น ...ถ้าพบอาการแบบนใี้ ห้ประเมนิ ได้เลยว่า.... ภาวะร่างกายไม่ดตี ้องรีบพบแพทย์เพื่อตรวจ รักษา นอกจากนยี้ งั ประเมนิ สุขภาพของตนเอง ก่อนเพ่ือให้รู้ว่าตนเองมสี ุขภาพเป็ นอย่างไรมี ความผดิ ปกตหิ รือพบปัญหาสุขภาพหรือไม่

สุขศึกษาฯ ม.4 วธิ ิการประเมนิ 1. การตรวจเลือด สุขภาพทางกาย 2. การตรวจความดันเลือด มหี ลายวธิ ีดงั นี้ 3. การชั่งนา้ หนักและวดั ส่วนสูง 4. การวดั ดัชนีมวลกาย

1.1ระดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ด สุขศึกษาฯ ม.4 เป็นไขมนั ในเลือดชนิดหน่ึง ระดบั ปกติไม่ควรเกิน 1.1.1 การตรวจเลือด 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL) ถา้ มากกวา่ น้ีถือวา่ สูง ควรควบคุมอาหาร ออกกาลงั กายเป็นประจา 1.2 ระดบั ไตรกลเี ซอไรด์ และควรไปพบแพทยเ์ พือ่ ปฏิบตั ิตามคาแนะนา ของแพทย์ เป็นไขมนั ในเลือดอีกชนิดหน่ึง ระดบั ปกติไมค่ วรเกิน 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL) ถา้ มีการควบคุมอาหารทด่ี ี 1.3 ระดบั เอชดแี อล (HDL) ออกกาลงั กายอยเู่ สมอทาให้ระดบั ไตรกลีเซอไรดล์ ดลงได้ ควรไปพบแพทยเ์ พอ่ื รับคาแนะนาและรักษาที่ถูกตอ้ ง หรือไขมนั ดี ซ่ึงเป็นไขมนั ท่ีมีความหนาแน่นสูง (mg/dL) ในผหู้ ญิงควรมีคา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 40 มิลลิกรัม/ 1.4 ระดบั แอลดแี อล (LDL) เดซิลิตรและในผชู้ ายควรมีค่าไมน่ อ้ ยกวา่ 50 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ถือวา่ ปกติการออกกาลงั กายจะช่วย ซ่ึงเป็นไขมนั ท่ีมีความหนาแน่นนอ้ ย ถา้ มีมากไม่ดี เพิ่มระดบั เอชดีแอลไดม้ าก รวมท้งั ควบคุมระดบั ควรมีคา่ ไมเ่ กิน 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ถือวา่ ปกติการ คอเลสเตอรอลไดเ้ ช่นกนั ปฏิบตั ิตนในการควบคุมระดบั คอเลสเตอรอลจะช่วย ใหร้ ะดบั แอลดีแอลลดลงได้

1.5 ระดบั นำ้ ตำลในเลอื ด สุขศึกษาฯ ม.4 ตามปกติเด็ก ควรอยรู่ ะหวา่ ง 60 - 100 มิลลิกรัม/ 1.1.1 การตรวจเลือด เดซิลิตร (mg/dL) ผใู้ หญ่ควรอยรู่ ะหวา่ ง 70 - 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL) ถา้ สูงเกิน 100 มิลลิกรัม/ 1.6 ระดบั กรดยรู ิกในเลอื ด (Uric Acid) เดซิลิตรถือวา่ ภาวะน้าตาลในเลือดสูง มีโอกาสเป็น เบาหวาน ตามปกติในผชู้ ายไมค่ วรเกิน 7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL)และในผหู้ ญิงไมค่ วรเกิน 6 มิลลิกรัม/ 1.7 จำนวนเม็ดเลอื ดแดง เดซิลิตร (mg/dL) ถา้ สูงกวา่ น้ีถือวา่ กรดยรู ิกในเลือด สูง มีโอกาสเป็นโรคเก๋าต์ ปกติควรอยรู่ ะหวา่ ง 4.5 – 6.0*102 เซลล/์ ลูกบาศก์ มิลลิเมตร (cell/mm³) 1.8 ควำมเข้มข้นของเมด็ เลอื ดแดง 1.9 จำนวนเมด็ เลอื ดขำว ผชู้ ายควรอยู่ 40 – 45 % ผหู้ ญิงควรอยรู่ ะหวา่ ง 37 - 47 % และตรวจวดั การนาพาออกซิเจนของเลือดใน ปกติควรอยรู่ ะหวา่ ง 4. – 11*103 เซลล/์ ลูกบาศก์ การหาจานวนฮีโมโกบินผชู้ ายควรอยู่ 13 – 18 มิลลิเมตร (cell/mm³) มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL) ผหู้ ญิงควรอยรู่ ะหวา่ ง 12 – 16 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (mg/dL)ถา้ มีค่านอ้ ยกวา่ น้ีเสี่ยงภาวะเลือดจาง ถา้ มีคา่ มากกวา่ น้ีเส่ียงภาวะ เลือดขน้

สุขศึกษาฯ ม.4 1.1.2 การตรวจความดนั เลือด คือ ค่าความดนั ภายในหลอดเลือดแดง ซ่ึงเกิดจากการ บีบตวั ของหวั ใจ ส่งผา่ นหลอดเลือดเพ่อื นาออกซิเจนไปเล้ียง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย มีสองค่าคือ คือค่าความดนั ตวั บน เป็นค่าความดนั ขณะที่หวั ใจบีบตวั และค่าความดนั ตวั ล่าง เป็นค่าความดนั ขณะท่ีหวั ใจคลายตวั โดยปกติคนเราจะมีค่า ความดนั เลือดประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท หรือมาก นอ้ ยกวา่ น้ีเลก็ นอ้ ย

สุขศึกษาฯ ม.4 ตารางประเมนิ ความดนั โลหิต

สุขศึกษาฯ ม.4 1.1.3 การชั่งนา้ หนักและวดั ส่วนสูง ถ้าพจิ ารณาว่า บุคคลอ้วน หมายถึง ภาวะท่ีร่างกายได้รับพลังงานจากอาหาร มากกว่าพลงั งานที่ร่างกายใช้ไป ทาให้เหลือพลงั งานที่สะสมไว้ในร่างกายในรูปแบบไขมัน มากขนึ้ สาหรับผู้ใหญ่สามารถประเมนิ ด้วยวธิ ีง่าย ๆ คือ .......คานวณค่าดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index).......

สุขศึกษาฯ ม.4 เกณฑ์ดชั นี มวลกาย เกณฑ์ดชั นีมวลกาย สาหรับการชั่งนา้ หนกั และส่วนสูง นอกจากเป็ นวธิ ีการประเมนิ ภาวะ สุขภาพทางการแพทย์ บุคคลทว่ั ไปยงั ทาการประเมนิ ด้วยตนเองได้เป็ น ประจา

สุขศึกษาฯ ม.4 1.2 การประเมินภาวะสุขภาพทางจิต การทค่ี นเราสามารถทราบภาวะทางจิตใจของตนเองได้น้ันย่อม เป็ นประโยชน์มาก เพราะจะได้มกี ารปรับปรุงและส่งเสริม สุขภาพจิตของตนเองให้มีสุขภาพจิตทด่ี ีอยู่เสมอ การประเมนิ ภาวะทางจิตใจ และอารมณ้ั์น้ันสามารถประเมินได้โดยใช้แบบ ประเมนิ ซึ่งมหี ลายแบบ เช่น แบบทดสอบความเครียด แบบวดั ความสุข เป็ นต้น

สุขศึกษาฯ ม.4 แบบคดั กรองภาวะซึมเศร้าใน วยั รุ่น (CES-D)ฉบับภาษาไทย

สุขศึกษาฯ ม.4 1.3.การประเมินภาวะสุขภาพทางสังคม การประเมนิ ภาวะสุขภาพทางสังคมน้นั สามารถประเมนิ จาก สภาพความ เป็ นอย่ทู ่ีดขี องคนในสังคม เช่น อาจะใช้เกณฑ์การประเมนิ ตามตวั ชี้วดั ที่ กาหนดไว้ เช่น สังคมมคี วามปลอดภัยจากอาชญากรรมและความรุนแรง ดารง ชีวตอยู่ในอย่ใู นสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการมีสุขภาพดี มที ่ีอย่อู้ าศัยถูก สุขลกั ษณะ มนี า้ สะอาดเพยี งพอ รวมท้ังได้รับการศึกษาในระบบและมโี อกาส เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวติ เพื่อพฒั นาทกั ษะทางสุขภาพอย่างถูกต้องตลอดจนมี การประกอบอาชีพ มรี ายได้ มกี ารดารงชีวติ อย่างพอเพยี งและสามารถอยู่ใน สังคมได้อย่างมคี วามสุข

สุขศึกษาฯ ม.4 แบบประเมนิ ภาวะสุขภาพทางสังคม ลาดบั รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ 1. นกั เรียนรู้สึกวา่ มีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ ิน 2. นกั เรียนอาศยั อยใู่ นบา้ นที่ถูกสุขลกั ษณะ 3. นกั เรียนอาศยั อยใู่ นสิ่งแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อการมีสุขภาพดี 4. นกั เรียนมีน้าสะอาดเพียงพอต่อการใชใ้ นการอุปโภค บริโภค 5. นกั เรียนมีรายไดเ้ พยี งพอต่อการดารงชีวติ 6. นกั เรียนมีโอกาสไดเ้ รียนรู้เพ่ือเพม่ิ ทกั ษะสุขภาพ 1. มคี าตอบใช่ทุกข้อ แสดงว่าสุขภาพทางสังคมดี 2. มีคาตอบไม่ใช่ในข้อใดหาสาเหตุและแนวทางปรับปรุงในส่วนทน่ี กั เรียนแก้ไขได้ 3. มคี าตอบไม่ใช่มากกว่า 3 ข้อ ควรปรึกษาครู เพ่ือหาทางในการปรับปรุงสุขภาพทางสังคม

สุขศึกษาฯ ม.4 1.4.การประเมินภาวะสุขภาพทางปัญญา หรือ\"สุขภาพทางจติ วญิ ญาณ\" ความเข้าใจสภาพควาามเป็ น จริง ความถูกต้อง มจี ติ ใจดี มีความเมตตากรุณา และมจี ิตใจท่ี เปี่ ยมสุข การประเมนิ ภาวะสุขภาพทางปัญญา ใช้เกณฑ์การ ประเมินได้จากการท่ีประชาชนสามารถลด ละ เลกิ อบายมุขและ สารเสพตดิ มคี วามสามคั คี เอือ้ อาทรเกือ้ กลู กนั มีสตแิ ละปัญญา สามารถแก้ไขความขดั แย้งด้วยเหตุผลและสันติ ตลอดจนยดึ มั่น ในหลกั ศาสนา และวฒั นธรรมที่ดงี ามของชาติ

สุขศึกษาฯ ม.4 A B C D แบบประเมนิ ภาวะสุขภาพทางปัญญา EFGH ลาดบั รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ 1. นกั เรียนไม่ยงุ่ เกี่ยวกบั อบายมุข 2. นกั เรียนไม่ใชส้ ารเสพติด 3. นกั เรียนมีญาติพ่ีนอ้ งเพ่ือนฝงู ท่ีปรองดองกนั 4. นกั เรียนมีความเอ้ืออาทรต่อบุคคลอน่ื และบคุ ลอ่นื เอ้อื อาทรต่อนกั เรียน 5. นกั เรียนสามารถแกไ้ ขปัญหาอยา่ งมีเหตุผล ไม่ใชค้ วามรุนแรง 6. นกั เรียนปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนา 7. นกั เรียนปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมที่ดีงามของคนไทย 1. มีคาตอบใช่ทุกข้อ แสดงว่าสุขภาพทางปัญญาดี 2. มีคาตอบไม่ใช่ในข้อใดหาสาเหตุและแนวทางปรับปรุงในส่วนท่ีนกั เรียนแก้ไขได้ 3. มีคาตอบไม่ใช่มากกว่า 3 ข้อ ควรปรึกษาครู เพื่อหาทางในการปรับปรุงสุขภาพทางปัญญา

สุขศึกษาฯ ม.4 ปัญหาสุขภาพ ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น ในวยั รุ่น ยงิ่ ในกล่มุ วัยรุ่น ซ่ึงเป็ นช่วงเวลาท่พี ฒั นาจาก วยั เดก็ ไปสู่วัยผู้ใหญ่ มีการเปลยี่ นแปลงต่างๆ ที่ สาคญั ท้งั ทางด้านร่างกาย จติ ใจ สังคมและ สติปัญญาพบว่า ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยมดี งั นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook