Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบกระดูก ม.4

ระบบกระดูก ม.4

Published by อลงกรณ์ โสดา, 2022-07-04 03:38:18

Description: ระบบกระดูก ม.4

Search

Read the Text Version

สุขศึกษาและพลศึกษา ม.4 รหัสวชิ า พ31101 ภาคเรียนท1่ี ปี การศึกษา2565 โรงเรียนมณเี สวตรอุปถัมภ์ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาปราจนี บุรี นครนายก

ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ระบบ โครง กระดกู

ระบบโครงกระดกู ระบบโครงสร้างกระดูกและข้อ ประกอบด้วยอวยั วะประเภทกระดูก กระดูกอ่อน ข้อต่อ เอน็ และพงั ผืด รวมประกอบเป็ นโครงของร่างกาย ร่วมกบั ระบบกล้ามเนื้อและระบบ ประสาท ทาให้เกดิ การเคล่ือนไหว

ระบบโครงกระดูก ระบบโครงกระดูกมีความสาคัญต่ อ ระบบการทางานในร่างกายมนุษย์ทาหน้าที่ พยุงและป้องกันอวยั วะภายในของร่างกาย ตลอดจนเป็ นท่ียึดเกาะของกล้ามเนื้อและ ช่ วยในการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ จึ ง จาเป็ นต้องดูแลมิให้เส่ือมสลายและรักษา สุขภาพกระดูกไว้

ความสาคญั ของ ระบบกระดูกและข้อต่อ ช่วยในการ เคลื่อนไหว

หน้าทข่ี อง... ระบบกระดูกและข้อต่อ

1 ยดึ เกาะกล้ามเนื้อและเอน็ ทาให้เกดิ การเคล่ือนไหว

2 ช่วยในการทรงตวั

3 เกบ็ แคลเซียม เป็ นแหล่งเกบ็ และแจกจ่ายแคลเซียม สาหรับทาให้เลือด กล้ามเนื้อ และไตแขง็ แรง ช่วยให้ประสาทส่วนกลางทางานเป็ นปกติ

4 ป้องกนั อวยั วะภายใน ป้องกนั อวยั วะที่สำคญั เช่น หวั ใจ ปอด รวมถึง เส้นเลือดจำกอนั ตรำย และ กำรกระทบกระเทือนต่ำง ๆ

5 ผลติ เม็ดเลือด

“กระดูกในร่างกายของคนเรามกี ช่ี ิ้น”

ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) กระดูกในร่างกายของคนเรา เมื่อร่างกายเจริญเตบิ โตสมบูรณ์ 206 ชิ้น

ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ประเภทของกระดูก แบ่งออกเป็ น 2 กล่มุ

ประเภทของกระดูก 12 กระดูกแกน กระดูกรยางค์

1 1 กระดูกแกน เป็ นกระดูกที่เป็ นแกนกลำงของร่ำงกำย ทำหนำ้ ที่ค้ำจุนและป้องกนั อนั ตรำย ใหแ้ ก่อวยั วะสำคญั ภำยใน ร่ำงกำย มี จำนวนท้งั สิ้น ๘๐ ชิ้น

“กระดูกในร่างกายของคนเรามกี ช่ี ิ้น”

1.กระดูกแกน (Axial Skeleton) เป็ นโครงกระดูกทเี่ ป็ นแกนกลางของร่างกาย ทาหน้าทค่ี า้ จุนและป้องกนั อนั ตรายให้แก่อวยั วะ สาคญั ในร่างกาย มจี านวนท้งั สิ้น 80 ชิ้น ประกอบด้วย

กระดูกแกน (Axial Skeleton)

2. กระดูกรยางค์ เป็นโครงกระดูกท่ีเช่ือมต่อกบั กระดูกแกน มี หนำ้ ท่ีค้ำจุนและเกี่ยวขอ้ งกบั กำรเคลื่อนไหวของ ร่ำงกำย จำนวนท้งั สิ้น 126 ชิ้น ประกอบดว้ ย

ระบบโครงกระดูก ชนิด กระดกู แบ่งตามรูปรา่ ง ของ ที่ปรากฏได้ 4 ชนิด กระดกู

1.กระดูกยาว (Long bone) เป็ นกระดูกรูปร่างยาว ตรงกลางเรียวคอด บริเวณหัวท้ายของกระดูก เรียกว่า Epiphysis ภายในจะพบกระดูกพรุน (Spongy bone) และปก คลุมภายนอกด้วยกระดูกแขง็ (Compact bone) ส่วนบริเวณตรงกลาง (Shaft) เรียก Diaphysis กระดูกส่วนนีโ้ ดยมากจะเป็ นกระดูกแข็ง ใน บริเวณนีจ้ ะพบช่องว่างทเ่ี รียกว่า Medullary canal ซึ่งบรรจุไข กระดูก (Bone marrow) และเป็ นแหล่งกาเนิดของเมด็ เลือด กระดูก ยาวชนิดนี้ ได้แก่ กระดูกยาว กระดูกขา เป็ นต้น มี 90 ชิ้น

1.กระดูกยาว (Long bone) เป็ นกระดูกรูปร่างยาว ตรงกลางเรียวคอด บริเวณหัวท้ายของกระดูก เรียกว่า Epiphysis ภายในจะพบกระดูกพรุน (Spongy bone) และปกคลุม ภายนอกด้วยกระดูกแขง็ (Compact bone) ส่วนบริเวณตรงกลาง (Shaft) เรียก Diaphysis กระดูกส่วนนีโ้ ดยมากจะเป็ นกระดูกแขง็ ในบริเวณนีจ้ ะพบ ช่องว่างทเี่ รียกว่า Medullary canal ซ่ึงบรรจไุ ขกระดูก (Bone marrow) และเป็ นแหล่งกาเนิดของเมด็ เลือด กระดูกยาวชนิดนี้ ได้แก่ กระดูกยาว กระดูกขา เป็ นต้น มี 90 ชิ้น

2.กระดูกส้ัน (SHORT bone) เป็นกระดูกทม่ี ลี กั ษณะรปู รา่ งสัน้ ความกวา้ งและความยาว ใกล้เคียงกัน รูปร่างเปน็ ก้อน ๆ เช่น กระดูกขอ้ มือ กระดูกข้อเท้า เป็นต้น มี 30 ชนิ้

3.กระดูกรูปแบน (Flat bone เป็นกระดกู ท่มี ีรปู ร่างแบนและบาง ส่วนใหญ่โค้งงอ ไดแ้ ก่ กระดกู กะโหลกศรี ษะ ทเ่ี รียกวา่ Diploe กระดูกซ่ีโครง กระดูกสะบัก กระดูกหน้าอก กระดูกเชงิ กราน เป็นตน้ มี 38 ช้ิน

4 กระดูกรูปแปลก (Irregular bone) เป็นกระดูกรูปรา่ งไม่แนน่ อน มีลักษณะ คล้ายกระดูกสนั้ แปลกเฉพาะไมส่ ามารถจดั ให้อยใู่ นกลุ่มของกระดูกยาว กระดูกสน้ั กระดูกแบน ไดแ้ ก่ กระดูกสนั หลัง กระดูกขมับ กระดกู ก้นกบ กระดูกขากรรไกรเป็นต้น มี 46 ช้นิ

ชนิด ของ ข้อตอ่

ข้อต่อ(Joint) โครงสร้างของมนุษย์จะเช่ือมต่อกนั ด้วยข้อต่อซ่ึง จะทาให้ร่างกายมนุษย์เคลื่อนไหวได้หลายทศิ ทาง

ข้อต่อ(Joint) กระดูกแต่ละชิ้นที่ทางานร่วมกันจะถูกเช่ือมต่อกันโดยข้อต่อและเอ็นต่างๆ ซึ่งมี หน้าที่เชื่อมต่อกระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป โดยเอ็น (Ligament)เป็นตัวยึดเกาะ ระหว่างกระดูกแต่ละช้ินให้ต่อเชื่อมกันเป็นโครงร่างของมนุษย์ และเป็นส่วนหน่ึง ของการเคล่ือนไหวของมนุษย์ ส่วนบริเวณท่ีกระดูกมาต่อกันน้ัน เรียกว่า ข้อต่อ (Joint)ซ่งึ มีลกั ษณะการตอ่ แตกต่างกนั ตามหน้าทีแ่ ละการทางานของอวัยวะนั้นๆ ข้อต่อแบ่งออกเปน็ 3 ชนิด ได้แก่

ชนิด ของ ข้อตอ่

1.ข้อต่อทเ่ี คล่ือนไหวไม่ได้ (Completely Immovable Joint) เป็นขอ้ ตอ่ ของกระดกู ทีม่ ีลกั ษณะแบน ขอบหยักจะถกู เชือ่ มกนั โดย FibrousTissue และช่องตามรอยตอ่ จะมี เส้นใยของเนอื้ เยื่อเกย่ี วพันแทรกอยู่ เชน่ กระดกู กะโหลกศรี ษะ กระดูกหนา้ เปน็ ต้น

2.ข้อต่อที่เคล่ือนไหวได้ (Movable Joint) เป็นลักษณะของขอ้ ตอ่ ที่กระดกู ท้ังสองชน้ิ มาเช่ือมต่อกนั แลว้ สามารถเคลื่อนไหวไปมาได้เล็กนอ้ ย มี 2 ลกั ษณะ คือ 2.1แบบท่กี ระดกู มาต่อกันโดยกระดูกอ่อนเปน็ ตวั เชือ่ ม เชน่ ข้อต่อ กระดูกสนั หลงั 2.2แบบกระดกู ตอ่ กันโดยมเี อ็นยดึ เช่น ข้อต่อทป่ี ลายกระดูกขาท่อน ลา่ ง

3.ข้อต่อท่เี คลื่อนไหวได้อย่างอิสระ (Freely Movable Joint) เปน็ ขอ้ ตอ่ ทพ่ี บมากท่ีสุด ขอ้ ตอ่ ชนิดน้ที าให้อวัยวะสว่ นนน้ั ๆ มกี าร เคลอื่ นไหวไดม้ าก ซึง่ เปน็ ขอ้ ตอ่ ท่เี กิดจากกระดกู 2 ชิน้ ขน้ึ ไปมาตอ่ กัน โดยท่ีหัวและทา้ ยของกระดกู แต่ละชน้ิ จะห้มุ ด้วยกระดกู อ่อนเพื่อลดการ เสยี ดทาน มเี อ็นยึดกระดกู ทง้ั สองอยู่ มลี ักษณะเป็นถงุ ในถุงมเี ย่ือบางๆ ช่วยขบั ของเหลวสาหรบั หลอ่ ลนื่ ขอ้ ต่อลกั ษณะน้สี ามารถแบ่งตาม ลักษณะและความสามารถได้ 5 ลักษณะดงั น้ี

3.1แบบบอลในเบ้า (Ball and Socket Joint) ข้อต่อชนิดนี้ปลายกระดูกข้างหน่ึงมีลักษณะกลม สอดเข้าไปในปลายของกระดูกอีกช้ินหน่ึงที่มี ลักษณะเปน็ เบา้ ซึ่งทาให้มีการเคล่ือนไหวได้มาก ท่ีสุดเกือบทุกทิศทาง กระดูกท่ีมีข้อต่อชนิดนี้ คือ ข้อต่อกระดูกสะโพก ข้อต่อกระดกู หัวไหล่

3.2แบบบานพบั (Hinge Joint) เป็นข้อต่อที่สามารถเคลื่อนไหวได้ทิศทาง เดียวคือ เปิด-ปิด เช่นเดียวกับบานพับ ประตู ข้อต่อชนิดนี้พบในข้อศอก หัวเข่า นวิ้ มือ นว้ิ เท้า

3.3แบบอานม้า (Saddle Joint) เป็นขอ้ ตอ่ ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ 2 ทิศทางมี ลกั ษณะการต่อกนั เหมอื นอานม้า ขอ้ ต่อประเภท น้ีพบในขอ้ ตอ่ ระหว่างกระดูกโคนน้วิ หัวแมม่ อื กับ ขอ้ มือ

3.4 แบบแบนราบ (Gliding Joint or Plane Joint) เป็นขอ้ ตอ่ ระหวา่ งกระดูกท่ีมีหนา้ ตัดเรียบ ทาให้เกิดการเคล่อื นไหวใน ลักษณะเลือ่ นถูกนั ไปมา พบในข้อตอ่ ทีก่ ระดูกขอ้ มือและข้อตอ่ กระดูกขอ้ เท้า

3.5 แบบรูปเดือย (Pivot Joint) เป็นขอ้ ตอ่ ท่มี ีกระดูกชน้ิ หน่ึงหมนุ อยู่ในวงของกระดกู อีกชนิ้ หนง่ึ ขอ้ ตอ่ ชนิดน้สี ามารถเคล่อื นไหวได้แบบเดยี ว คอื บดิ หมนุ ได้ครึ่ง รอบ เชน่ ข้อตอ่ ระหว่างกระดูกปลายแขนด้านนอกกับกระดูก ปลายแขนด้านใน

ความสาคญั ของระบบโครงกระดูก 1 ประกอบเป็ นโครงร่างส่วนทแ่ี ขง็ ของร่างกาย 2 เป็ นทรี่ องรับอวยั วะต่างๆ ของร่างกาย 3 เป็ นท่ียึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มกี ารเคลื่อนไหวได้ 4 เป็ นทส่ี ร้างเมด็ เลือด 5 เป็ นทเ่ี กบ็ และจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม 6 ป้องกนั อวยั วะภายในร่างกาย เช่น ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท เป็ นต้น

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดูก รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่โดยเฉพาะอาหารทม่ี สี ารแคลเซียม (Calcium) และวติ ามนิ ดี (Vitamin D) ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม และผกั ผลไม้ต่างๆ

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดูก ออกกาลงั กายเป็ นประจาสมา่ เสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง

การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ การทางานของระบบกระดูก ระมดั ระวงั การเกดิ อบุ ัตเิ หตุกบั กระดูก เช่น สวมหมวกนิรภัยในขณะขบั ข่ี จกั รยานยนต์ คาดเข็มขดั นิรภยั ในขณะขับข่หี รือโดยสารรถยนต์

สรปุ ระบบต่างๆ ของร่างกาย ซ่ึงประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทางานประสาน สัมพนั ธ์กนั เช่น ระบบโครงกระดูก ประกอบด้วยกระดูกท้ังสิ้น ๒๐๖ ชิ้น ซึ่งแบ่ง ออกเป็ น ๒ กล่มุ คือ กระดูกแกน และกระดูกรยางค์ ระบบผิวหนัง ประกอบด้วย หนังกาพร้าและหนังแท้ สาหรับระบบกล้ามเนื้อประกอบด้วย กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรี ยบ เป็ น กล้ามเนื้อที่ประกอบขนึ้ เป็ นอวยั วะภายในของร่างกาย และกล้ามเนื้อหัวใจน้ัน มี คุณสมบัติพิเศษท่ีสามารถทางานได้เอง ทุกระบบที่กล่าวมานี้จะมีการประสาน สัมพนั ธ์กนั เพ่ือให้ร่างกายทาหน้าท่ีได้ตามปกติ

สรปุ กล่าวคือ ระบบโครงกระดูกจะทาหน้าทค่ี า้ จุนร่างกายให้คงรูปร่างอยู่ได้ ระบบ ของกล้ามเนื้อจะทาหน้าทใี่ นการเคล่ือนไหวของร่างกายท้งั หมด และระบบ ผวิ หนังจะทาหน้าทปี่ ้องกนั และปกปิ ดอวยั วะภายในไม่ให้ได้รับอันตราย ป้องกนั เชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกายโดยง่าย ขบั ของเสียออกจากร่างกาย โดยต่อมเหงื่อทา หน้าทข่ี บั เหงื่อออกมาช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ดังน้ันเราจึงจาเป็ น จะต้องมีการดูแล สร้างเสริมการทางานของท้งั ๓ ระบบเพื่อให้สามารถดารง ประสิทธิภาพการทางานของร่างกายได้เป็ นอย่างดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook