Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย

ภาษาไทย

Published by pinyada220626, 2020-06-08 03:16:04

Description: ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ห น้ า | 201 กิจกรรมทายบท กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนสรปุ คณุ คาของภาษาไทยมาพอสงั เขป ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอไปน้ีส้นั ๆ ใหไดใจความ 1. ภาษาไทยเปน มรดกทางวฒั นธรรมอยา งไร ? ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. ภาษาไทยกอ ใหเกิดความจรรโลงใจไดอยา งไร ? ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. อาชพี ใดตองอาศัยการพูดเปนชองทางในการประกอบอาชพี ? ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. อาชีพใดตองอาศยั การเขียนเปนชอ งทางการประกอบอาชพี ? ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. ความรูและทักษะเรือ่ งใดบางท่ผี ปู ระกอบอาชพี พธิ กี รตอ งเรยี นรแู ละฝกฝนเพม่ิ เตมิ ? ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

202 | ห น้ า กจิ กรรมที่ 3 จงวงกลมลอมรอบขอ ที่ถูกตอ งทส่ี ุด 1. อาชพี ใดท่ีจัดเปน อาชพี ทใี่ ชภ าษาไทยในทางสรา งสรรคแ ละเปน ศลิ ปะรปู แบบหนง่ึ ? 2. ก. กวี ข. พธิ กี ร ค. นกั จดั รายการวิทยุ ง. นักประชาสัมพนั ธ 2. อาชพี ใดทต่ี องใชความสามารถท้งั การพดู และการเขยี น ? ก. บรรณาธิการ ข. นักเขยี นสารคดี ค. นกั พิสูจนอกั ษร ง. นกั จัดรายการวิทยุ 3. อาชพี ใดทต่ี อ งอาศัยความสามารถในการพูดและตองมบี คุ ลิกภาพทดี่ ี ? ก. พิธีกร ข. นกั เขยี นบทโทรทศั น ค. ผสู อ่ื ขา วหนังสอื พมิ พ ง. นักโฆษณา-ประชาสัมพนั ธ 4. อาชพี ใดท่ตี อ งมคี วามสามารถในการเขียนเปน พเิ ศษ ? ก. พธิ กี ร ข. นกั เขียน ค. บรรณาธิการ ง. นกั จดั รายการวทิ ยุ 5. การศกึ ษาในสาขาใดทาํ ใหส ามารถประกอบอาชพี ที่ใชภาษาเพ่อื การสื่อสารมวลชนได ? ก. ครศุ าสตร ข. ศลิ ปะศาสตร ค. นิเทศศาสตร ง. อกั ษรศาสตร

ห น้ า | 203 เฉลยแบบฝก หดั บทท่ี 1 เร่ืองการฟง การดู กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี 1.1 การฟงและการดู หมายถึง การท่ีมนุษยรับรูเร่ืองราวตาง ๆ จากแหลงของเสียงหรือ ภาพหรอื เหตุการณซ ่งึ เปน การฟงจากผูพูดโดยตรง หรือฟงและดูผานอุปกรณหรือส่ิงตาง ๆ แลวเกิด การรับรูและนําไปใชประโยชนไดโ ดยตองศกึ ษาจนเกดิ ความถูกตอง วองไว ไดประสิทธภิ าพ 1.2 จุดมุงหมายของการฟง และการดู 1. ฟงเพื่อจับใจความสําคัญไดวาเรื่องที่ฟงนั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เกิดขึ้นท่ีไหน เม่อื ไร หรอื ใครทําอะไรที่ไหน เม่อื ไร 2. ฟงเพื่อจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง มีการบันทึกยอ เพื่อชวย ความจาํ 3. ฟงและดูเพอื่ ความเพลิดเพลิน ไดแก การฟงเพลง ฟงดนตรี ดูภาพยนตร ดูภาพ สวยงาม ฟง นิทาน เปน ตน กิจกรรมท่ี 3 เลือกคาํ ตอบทถี่ ูกตองทีส่ ุดเพยี งคําตอบเดียว 1. ก 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก เฉลย บทท่ี 2 การพดู กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบที่ถูกทส่ี ดุ เพียงขอ เดยี ว 1. ง 2. ข 3. ข 4. ค 5. ค กจิ กรรมที่ 2 ใหผ ูเรียนยกตัวอยางการกระทาํ ทไี่ มม ีมารยาทในการพดู มา 5 ตัวอยาง 1. พูดใหรา ยผอู ่นื 2. พดู หยาบคาย 3. พดู ยกตนขม ทาน 4. พดู ดุดนั พดู เสียงดัง 5. พูดไมถ ูกกาลเทศะ

204 | ห น้ า เฉลย บทท่ี 3 การอา น กจิ กรรมที่ 1 1. การอา นในใจมีจุดมุงหมาย คอื 1) จับใจความไดถกู ตอ งรวดเรว็ 2) เกดิ ความรู ความเขาใจ และความคดิ 3) ใชเ วลาวา งใหเ ปน ประโยชน 4) ถา ยทอดความรใู หผ อู นื่ ได 2. การอานออกเสียงมีหลกั การ 1) ออกเสยี งถูกตอ งชดั เจน 2) เสียงดังใหผฟู งไดยนิ 3) เปนเสียงพูดโดยธรรมชาติ 4) เขาถงึ ลกั ษณะของเน้ือเรื่อง 5) รูจกั ทอดจงั หวะและหยดุ หายใจ 3. จงยกตัวอยา งการอานออกเสียงท่ีเปนทางการ คือ การอา นในชัน้ เรียน อา นในทป่ี ระชุม อา นรายงาน อา นคําปราศรัย อานสารในโอกาสท่ีสําคญั ตา ง ๆ กจิ กรรมท่ี 2 การนาํ ขอ ความหรือประโยคที่เปน หวั ใจของเรื่องออกมา กิจกรรมท่ี 3 วิทยุ โทรทัศน เทปเสยี ง วีดิทศั น ซีดี คอมพวิ เตอร อินเทอรเนต็ กจิ กรรมที่ 4 การอานเพื่อการวิเคราะหวจิ ารณ เปนการอธบิ ายลกั ษณะของงานเขียน โดยแยกแยะ รายละเอยี ดส่งิ ทสี่ ําคญั ของงานเขยี นนั้นออกมาใหเ ดน ชัด เพ่ือชี้ใหเ หน็ สวนทง่ี ดงาม หรอื จดุ บกพรอ ง ที่แฝงอยเู พ่อื ใหเห็นคุณคาของหนังสอื เลม นั้น การวิจารณห นงั สือ เปนการหาความรปู ระเภท และลกั ษณะของงานเขียนเรื่องนน้ั ๆ ใหเขาใจ กอนวิจารณ มีการแยกประเด็นขอดี ขอบกพรองท่ีควรนาํ มากลาวถึงไวตางหากใหชัดเจน และเปรยี บเทยี บกบั ผลงานของนักเขยี นท่เี ขยี นเร่อื งในแนวเดยี วกัน กิจกรรมที่ 5 มารยาทในการอา นมีดังนี้ 1. ไมอา นออกเสยี งดงั ในทท่ี ่ีตองการความสงบ 2. ไมทําลายหนงั สอื โดยขูด ขดี พับ หรือฉกี สว นท่ีตอ งการ 3. ไมควรอานเรือ่ งทเี่ ปนสว นตัวของผูอ ื่น 4. อานอยา งตง้ั ใจ มสี มาธิ และไมท าํ ลายสมาธิผอู ืน่

ห น้ า | 205 5. เมื่ออานหนังสือเสร็จแลว ควรเก็บหนงั สอื ไวทเี่ ดิม เฉลย บทที่ 5 หลักการใชภาษา กิจกรรมท่ี 1 แยกคาํ ตอไปนตี้ ามตาราง คําประสม ผลไม พลเรือน นพเกา คาํ สมาส รัฐบาล ศิลปกรรม รูปธรรม มหาชน อัคคีภัย พระเนตร พุทธกาล คหกรรม ภมู ศิ าสตร คําสนธิ วทิ ยาลัย สัญญาณ นโยบาย กจิ กรรม 2 ใหผ เู รียนพจิ ารณาประโยคตอ ไปนีว้ า เปนประโยคชนิดใด 1. ประโยคความเดยี ว 2. ประโยคความซอ น 3. ประโยคความเดียว 4. ประโยคความรวม 5. ประโยคความเดยี ว กจิ กรรมท่ี 5 จบั คูสาํ นวนใหตรงกับความหมาย 1 ฒ 2 ฉ 3ซ 4จ 5ก 6ญ 11ฎ 12ช 7ฐ 8 ฑ 9ณ 10ข กิจกรรมท่ี 6 เขียนคาํ พังเพยใหต รงกบั ความหมาย 1. ราํ ไมด ีโทษปโ ทษกลอง 2. มือไมพ ายเอาเทารานํา้ 3. ข่ีชา งจับตก๊ั แตน 4. ฟน ฝอยหาตะเขบ็ 5. กระเชอกนั ร่วั กจิ กรรมท่ี 7 1. กลอนสภุ าพ 2. กาพยย านี 11

206 | ห น้ า เฉลย บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม 1. การพินจิ หมายถงึ การพจิ ารณาตรวจสอบ พรอ มทงั้ วเิ คราะหแ ยกแยะและประเมนิ คาได 2. หลักเกณฑใ นการพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม 1) ความเปน มาหรอื ประวตั หิ นังสอื และผูแตง 2) ลักษณะคําประพันธ 3) เรอื่ งยอ 4) เน้อื เรือ่ ง 5) แนวคดิ จดุ มุง หมาย 6) คุณคาของวรรณคดแี ละวรรณกรรม 3. เพลงพน้ื บาน หมายถงึ เพลงทีเ่ กดิ จากคนทองถ่นิ ตา ง ๆ ท่ีคดิ รูปแบบการเลน ทวงทํานอง ภาษาเรยี บงายไมซับซอ น 4. เพลงพน้ื บา น จะแบงเปนภาคตามภมู ิศาสตร คอื เพลงพ้ืนบานภาคกลาง เพลงพ้ืนบาน ภาคเหนือ เพลงพื้นบา นภาคใต และเพลงพื้นบา นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 5. – 6. 1.ข 2. ก 3. ข 4. ก 5. ค 6.ค 7. ค 8. ค 9. ง 10. ง

ห น้ า | 207 เฉลย บทที่ 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชพี กิจกรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนสรปุ คุณคาของภาษาไทยมาพอสงั เขป คุณคา ของภาษาไทยมีหลายประการ ดังนี้ 1. คณุ คา ทางวัฒนธรรม ภาษาไทยเปน ภาษาทีม่ ีทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ซ่ึงเขียนโดยใช ตัวอักษรของไทยท่ีประดิษฐข้ึนใชเองโดยพอขุนรามคําแหงมหาราชในสมัยสุโขทัย ซ่ึงการที่ชาติใด ก็ตามมีอักษรในภาษาใชเองได แสดงวาชาติน้ันเปนชาติที่มีวัฒนธรรมสูง มีความเจริญ จึงมีอักษรใน ภาษาใชเอง และถือเปนมรดกทางวัฒนธรรมทใ่ี ชสืบทอดมาจนทกุ วนั นี้ 2. เปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสารของคนในชาติ เพราะประเทศไทยมีวัฒนธรรมและ ภาษาถ่ินแตกตางกันใน 5 ภูมิภาค โดยมีภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาเพ่ือการสื่อสารของคนทั้ง 5 ภมู ภิ าค เปนภาษาราชการ 3. เปน เครือ่ งมือในการเรียนรแู ละแสวงหาความรู ในการเรยี นรวู ชิ าอน่ื ๆ หรอื เรื่องราวตา ง ๆ ตองอาศยั ภาษาไทยภาคกลาง ซึง่ บางคร้งั เรยี กภาษามาตรฐาน เปน ภาษาในการเรยี นรวู ชิ าอื่น ๆ ท้ังการ อานและการเขียน 4. เปน เครื่องมือในการสรา งความเขาใจอันดีตอกนั ของคนในทุกภูมภิ าค 5. เปนเคร่ืองมือในการสรางเอกภาพของชาติ เพราะภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาที่ใช ในการสื่อสารความเขาใจของคนในภูมิภาคตาง ๆ ซึ่งเปนสื่อรวมใจใหคนไทยในแตละภาคได ติดตอสื่อสารแลกเปล่ยี นความรู ขาวสาร ขอมูล และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ทาํ ใหตระหนักระลึก ถึงความเปนเชื้อชาตเิ ผา พันธุเดยี วกัน 6. เปนเคร่ืองจรรโลงใจ ภาษาไทยเปน ภาษาดนตรี มีเสียงวรรณยกุ ต 5 เสยี ง ทําใหภาษาไทย มเี สยี งสงู ตาํ่ ไพเราะ เมอื่ นาํ มาแตงเปนคาํ ประพันธ ไมว าจะเปนโคลง ฉันท กาพย กลอน จึงกอใหเกิด ความจรรโลงใจ ความบนั เทิงใจ

208 | ห น้ า กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเ รียนตอบคําถามตอไปนส้ี ั้น ๆ ใหไ ดใจความ 1. ภาษาไทยเปน มรดกทางวฒั นธรรมอยางไร ภาษาไทยเปนภาษาทีม่ ีอกั ษรเปนของตนเอง ท้ังภาษาพูด และภาษาเขียน ซึ่งชาติที่สามารถ ประดิษฐอักษรในภาษาใชเองได มีแตชาติที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมเทานั้น จึงจะมีอักษรในภาษา เปนของตนเองและคนไทยไดใชสืบทอดมาจนทุกวนั นี้ 2. ภาษาไทยกอใหเกดิ ความจรรโลงใจไดอยา งไร ภาษาไทยเปน ภาษาท่มี วี รรณยกุ ตเ พื่อผนั ใหค ําในภาษามเี สยี งสงู ต่าํ ไดถ งึ 5 เสยี ง ทาํ ให ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี เมอ่ื นาํ มาแตงเปน คาํ ประพนั ธทงั้ รอยแกว และรอ ยกรอง ทําใหไ ดอ รรถรส ของภาษา กอ ใหเ กิดความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ จรรโลงใจแกผ ูอ าน 3. อาชีพใดตองอาศยั การพดู เปน ชอ งทางในการประกอบอาชพี อาชพี พธิ กี ร อาชีพนกั โฆษณา - ประชาสมั พันธ อาชพี นักรายการวิทยุ - โทรทศั น 4. อาชพี ใดตอ งอาศัยการเขยี นเปนชองทางในการประกอบอาชีพ อาชพี กวี นักเขยี น ทง้ั เขยี นนวนยิ าย เร่อื งสั้น บทละคร นกั เขียนสารคดี 5. ความรูและทักษะเรือ่ งใดบา งทผี่ ปู ระกอบอาชพี พธิ ีกรตอ งเรยี นรูและฝกฝนเพมิ่ เติม 1. ศลิ ปะการพูดและศลิ ปะการเขียน 2. ระดบั ของภาษา 3. เรอื่ งของนาํ้ เสยี งในภาษา 4. เรอื่ งของหลกั การใชภ าษา 5. เรอ่ื งของการพฒั นาบคุ ลิกภาพและการแตง กาย 6. การพัฒนาองคค วามรูในตนเอง กจิ กรรมที่ 3 1. ก 2. ง 3. ก 4. ข 5.ค

ห น้ า | 209 บรรณานุกรม การศึกษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธกิ าร, หมวดวิชาภาษาไทย (สองระดับ) ชดุ ที่ 1 การรบั สารดว ย การอา น และการฟง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน หลกั สูตร การศกึ ษานอกโรงเรียน กรงุ เทพฯ โรงพมิ พครุ สุ ภา 2541 การศึกษานอกโรงเรียน กทม : ชดุ การเรยี นทางไกล หมวดวิชาภาษาไทย ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน โรงพิมพค รุ สุ ภา, 2546 กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธิการ. แบบเรียนวชิ าภาษาไทย (วิชาบังคับ) ตอนที่ 2 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาการสง สารตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกโรงเรียน ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน พทุ ธศักราช 2530 กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสอื อา นเพ่ิมเตมิ วิชาภาษาไทย (วิชาบงั คับ) ตอนที่ 1 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาการรบั สาร หลักสูตรการศกึ ษา นอกโรงเรียน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน พทุ ธศกั ราช 2530 กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธิการ. แบบเรยี นภาษาไทย (วิชาเลือก) ตอนที่ 2 ศลิ ปศึกษาตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกโรงเรยี น ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน พุทธศักราช 2530 โรงพิมพครุ สุ ภาลาดพรา ว 2540 กรมการศึกษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธิการ. หมวดวชิ าภาษาไทย (วิชาบังคับ) ชดุ ที่ 3 การพดู ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน หลกั สูตรการศึกษานอกโรงเรียน พิมพคร้งั ท่ี 2 พ.ศ.2539. กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธกิ าร. ชุดวิชาภาษาไทย หมวดวิชาภาษาไทย ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน โรงพมิ พคุรสุ ภาลาดพราว 2546 ณัฐยา อาจมังกร, ภาษาไทย ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน หลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 สามเจรญิ พาณชิ ย การพิมพ (กรงุ เทพฯ) จาํ กัด 2548 ประพันธ เรืองณรงค กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาไทยชวงชัน้ ท่ี 3 ม.1-3 (เลม 1) กรุงเทพฯ : ประสานมิตร 2545. ประพนธ เรอื งณรงค รศ. และคณะ ชุดปฏิรูปการเรียนรู กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชว งชน้ั ที่ 3 ม.1 - ม.3 วราภรณ บํารงุ กลุ อา นถูก-สะกดถกู -คํา-ความหมาย-ประโยค.กรุงเทพฯ : ตนออ 2536.252 หนา. ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. หมวดวชิ าภาษาไทย (วิชาบงั คบั ) ชดุ ท่ี 5 ภาษาพาสนกุ ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน หลกั สูตรการศึกษานอกโรงเรยี น กรุงเทพฯ ครุ ุสภา 2538. สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดปราจีนบุรี.ชุดวิชาภาษาไทย.ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน โรงพิมพครุ ุสภา 2546 อัมรา บญุ าทพิ ย และบปุ ผา บญุ าทิพย, ภาษาไทย 1 กรุงเทพ : ประสานมติ ร, 2540

210 | ห น้ า หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายช่อื ผูเ ขารว มประชุมปฏิบัติการพัฒนาหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ระหวางวันที่ 10 – 13 กุมภาพันธ 2552 ณ บา นทะเลสคี รมี รีสอรท จังหวัดสมุทรสงคราม 1. นางสาวพิมพใ จ สิทธสิ ุรศักดิ์ ขาราชการบาํ นาญ 2. นางพมิ พาพร อนิ ทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 3. นางกานดา ธวิ งศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 4. นายเริง กองแกว สํานกั งาน กศน. จังหวดั นนทบรุ ี รายชือ่ ผูเขารวมประชุมบรรณาธิการหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ครั้งท่ี 1 ระหวา งวันที่ 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอูทองอินน จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพิมพใ จ สิทธสิ ุรศกั ด์ิ ขาราชการบํานาญ สํานกั งาน กศน. จงั หวัดนนทบรุ ี 2. นายเรงิ กองแกว กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ คร้ังที่ 2 ระหวางวนั ที่ 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอูทองอนิ น จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใจ สิทธสิ ุรศกั ดิ์ ขาราชการบํานาญ สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั นนทบรุ ี 2. นายเริง กองแกว กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรัตน เวโรจนเ สรีวงศ

ห น้ า | 211 คณะผจู ดั ทาํ ที่ปรกึ ษา จรี วฒุ ิ เลขาธกิ าร กศน. อิ่มสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายอภิชาติ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชัยยศ แกว ไทรฮะ ท่ีปรกึ ษาดานการพฒั นาหลกั สตู ร กศน. 3. นายวัชรินทร ตัณฑวฑุ โฒ ผอู ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรกั ขณา คณะทํางาน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา ผพู ิมพต น ฉบบั คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน เหลอื งจิตวัฒนา กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางปยวดี กววี งษพิพัฒน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางเพชรินทร ธรรมธิษา กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ บา นชี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลนี ี 5. นางสาวอรศิ รา ผอู อกแบบปก ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค

212 | ห น้ า รายช่ือผเู ขา รวมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารปรบั ปรุงเอกสารประกอบการใชหลกั สตู ร และสื่อประกอบการเรยี นหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระหวา งวันท่ี 4 – 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมิรามา กรุงเทพมหานคร สาระความรพู น้ื ฐาน (รายวชิ าภาษาไทย) ผพู ัฒนาและปรับปรุง หนว ยศึกษานิเทศก ประธาน 1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนว ยศกึ ษานิเทศก 2. นางเกลด็ แกว เจริญศกั ดิ์ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น เลขานุการ 3. นางนพรัตน เวโรจนเสรีวงศ ผชู วยเลขานุการ กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสมถวิล ศรีจนั ทรวิโรจน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาววันวิสาข ทองเปรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook