Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานหลักประชาธิปไตย

โครงงานหลักประชาธิปไตย

Published by pondpatipatpankaew, 2021-09-15 02:54:52

Description: โครงงานหลักประชาธิปไตย

Search

Read the Text Version

โครงงานการศึกษาคน้ ควา้ และองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง หลักการประชาธิปไตยใช้ได้กบั ทกุ เรื่อง จริงหรือไมใ่ นสงั คมไทย โดย นายปฏิพฒั น์ ปานแกว้ ม.5/14 เลขท่ี 1 นายนัทธพงศ์ ก่อเกยี รติ ม.5/14 เลขที่ 2 นางสาวพิมพล์ ภสั พชั รพจนาภรณ์ ม.5/14 เลขท่ี 12 นางสาวจาฏุพัจน์ ขวญั หมง้ ม.5/14 เลขท่ี 13 นางสาวศิรภสั สร คลายทุกข์ ม.5/14 เลขท่ี 14 รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของวิชา การศกึ ษาคน้ คว้า และสร้างองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง IS30201 ภาคเรยี นที่1 ปกี ารศกึ ษา 2564

โครงงานการศึกษาคน้ คว้าและองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง เรือ่ ง หลักการประชาธิปไตยใชไ้ ดก้ บั ทุกเรื่อง จริงหรือไม่ในสังคมไทย โดย นายปฏพิ ฒั น์ ปานแก้ว ม.5/14 เลขที่ 1 นายนทั ธพงศ์ ก่อเกยี รติ ม.5/14 เลขท่ี 2 นางสาวพมิ พ์ลภัส พชั รพจนาภรณ์ ม.5/14 เลขที่ 12 นางสาวจาฏุพัจน์ ขวญั หมง้ ม.5/14 เลขท่ี 13 นางสาวศิรภสั สร คลายทุกข์ ม.5/14 เลขที่ 14 ครทู ี่ปรึกษา คุณครเู พชรณา บริพันธ์ รายงานน้เี ป็นสว่ นหนึง่ ของวิชา การศึกษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง IS30201 ภาคเรยี นที่1 ปกี ารศึกษา 2564

บทคัดย่อ เน่อื งจากสถานการณป์ ัจจุบันมีการเรียกร้องเกยี่ วกับเรอ่ื งเสรภี าพและประชาธิปไตย เป็นวงกว้างในหลาย พื้นทแี่ ละมกี ารเรียกร้องทางสือ่ ตา่ งๆตวั อย่างเชน่ ขา่ วโทรทัศน์ ในสอ่ื ออนไลน์ หรืออนิ เตอร์เน็ตมากมาย ทำให้ ส่อื ต่างต่างออกมาใหค้ วามรู้เกย่ี วกับเร่ืองหลกั ประชาธิปไตยต่างๆมากมายและเป็นเรือ่ งที่พบเจอไดใ้ น ชวี ิตประจำวัน ไมว่ ่าจะทโี่ รงเรยี น ท่ีบ้าน หรอื ในสังคมต่างๆลว้ นมีความคิดที่ไม่เหมอื นกนั ทำให้หลกั ประชาธปิ ไตยจงึ เป็นหลกั การที่แกไ้ ขปญั หาอันดับต้นๆท่ผี คู้ นใช้ในการแก้ปัญหา ทำใหก้ ลมุ่ ของพวกเราจงึ คดิ ข้นึ ได้วา่ หลักประชาธิปไตยท่ีเราใช้กนั อยใู่ นชีวิตประจำน้ันเปน็ หลัก ประชาธิปไตยท่แี ท้จริงหรือไม่อย่างไร จงึ ทำใหเ้ กดิ เปน็ ประเด็นคน้ ควา้ ในเร่อื งน้ี

กิตติกรรมประกาศ โครงงานน้สี ำเร็จลลุ ่วงได้ดว้ ยความกรุณาจากคุณครูเพชรณาคณุ ครูที่ปรกึ ษาโครงงานทไ่ี ดใ้ หค้ ำเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ มาโดยตลอดจนโครงงานเลม่ น้เี สร็จสมบูรณผ์ ศู้ ึกษาจึงขอกราบ ขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ขอกราบขอบพระคณุ พอ่ คุณแมแ่ ละผูป้ กครองทใ่ี ห้คำปรกึ ษาในเร่ืองต่าง ๆ รวมทงั้ เปน็ กำลงั ใจ ที่ดีเสมอมา สุดท้ายนข้ี อขอบคณุ เพื่อน ๆ ทชี่ ่วยให้คำแนะนำดี ๆ เก่ียวกับการเลือกทำและเกี่ยวกับโครงงานชนิ้ น้ี ผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หนา้ ก บทคดั ย่อ ข กิตตกิ รรมประกาศ ค สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1 1 ท่ีมาและความสำคัญ 2 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขตการศกึ ษา 3-7 สมมุติฐาน 8-9 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง 10 บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน 11 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 12 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ทีม่ าและความสำคัญ ปัจจบุ นั เราได้เห็นการเรยี กรอ้ งตามส่อื ตา่ งๆ โดยท่สี ่วนใหญ่ขอ้ เรียกร้องจะเกยี่ วกบั หลกั ประชาธิปไตย และมีการพูดถึงเป็นส่วนมาก หากย้อนไปในวยั เรียนตอนชัน้ ประถมศึกษาในวิชาหน้าทพ่ี ลเมืองตามท่ี กระทรวงศกึ ษาธิการได้จดั การเรยี นการสอน ในวิชานี้จะสอนใหน้ กั เรยี นรู้จักใช้หลกั ประชาธิปไตยแกไ้ ขปัญหา ต่างๆทพ่ี บเจอ แตเ่ มอ่ื มองในมมุ มองปจั จบุ นั ถา้ ใช้หลักการประชาธิปไตยกับทุกปญั หาที่พบเจอ เราตอ้ ง คำนงึ ถึงความถูกตอ้ งและเทีย่ งตรงเปน็ หลกั ซ่ึงจะขัดกับทถี่ ูกปลูกฝงั วา่ ตอ้ งฟงั เสียงส่วนใหญม่ ากกว่า จากข้อความขา้ งตน้ ทางกลุ่มของพวกเราจึงนำขอ้ สงสัยนมี้ าจัดทำเปน็ โครงงานเพอ่ื ใหส้ มาชิกในกลุ่มและ เพ่อื นรว่ มชนั้ ทราบถึงวธิ กี ารใชห้ ลักการ ประชาธปิ ไตยอยา่ งถูกตอ้ ง 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพ่ือให้นักเรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในเรอ่ื ง การใช้หลักประชาธิปไตยในสถานการณท์ ี่พบเจอ ปัญหาให้ถูกตอ้ ง 1.2.2 เพ่ือให้นกั เรยี นมที ักษะ ประสบการณ์ ในเรือ่ ง การตัดสนิ ใจทถี่ กู ตอ้ ง โดยคำนึงถึงความถกู ผฺ ดิ และเข้าใจเสียงทน่ี ้อยกว่า 1.2.3 เพื่อให้นกั เรยี นมเี จตคตทิ ดี่ ี มีทกั ษะการทำงานกลมุ่ มีความรบั ผดิ ชอบ และสามารถนำความร้ทู ่ี ได้รับไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได้อย่างสรา้ งสรรค์

1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 1. พ้นื ท่ี/สถานท่ี : โรงเรยี นสภาราชนิ ี จังหวัดตรงั 2 .ระยะเวลา : 1ปีการศกึ ษา 1.4 สมมตุ ิฐาน หลกั การประชาธปิ ไตยคอื การท่คี ดิ หาวิธแี ก้ปัญหาร่วมกัน โดยไม่เนน้ เสียงข้างมากหรอื น้อยเป็นหลกั แตจ่ ะคำนึงถึงความเสมอภาค การใชเ้ หตผุ ลและท่สี ำคญั คือตอ้ งไม่ขัดกับหลกั ความถกู ต้องและหลกั กฎหมาย

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง จากการทำรายงานการศกึ ษาค้านคว้า เรื่อง หลกั ประชาธปิ ไตย ผูจ้ ดั ทำโครงงานได้ศกึ ษาคน้ ควา้ และ หาขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้องมาประกอบเพ่อื ให้มีความชัดเจนมากขน้ึ สามารถสรุปรายละเอยี ดได้ดังนี้ 2.1 หวั ใจหลักของหลักประชาธิปไตย หลกั การสำคัญอันเปรียบเสมือน หัวใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตย คอื ความเทา่ เทียมกนั และความเสมอภาคกันของคนในสงั คม แต่อย่างไรก็ตามถงึ แมว้ ่าคนทกุ ๆ คนในสังคมจะมสี ิทธิและเสรีภาพ อย่างเตม็ เปี่ยมในตัวเอง แต่คนในสงั คมก็ไมอ่ าจจะ อยรู่ ่วมกนั ได้โดยปราศจากกฎเกณฑ์ ปราศจากกฎระเบยี บ หรือปราศจากผปู้ กครอง ทง้ั น้เี พราะการอยรู่ ่วมกนั ในลักษณะเช่นนนั้ อาจจะกอ่ ให้เกิด ความวนุ่ วายและสบั สน อันจะทำให้สภาพของสังคมนนั้ ไมแ่ ตกต่างไปจากสภาวะสงครามขาดความปลอดภยั และขาดความม่ันคงใน ชวี ิตของตนและครอบครัวด้วยเหตนุ ี้ประชาชนจงึ ตอ้ งยอมสละสทิ ธิ เสรภี าพและผลประโยชน์บางประการของ ตน โดยการมอบอำนาจทม่ี อี ยู่นนั้ ใหก้ ับตัวแทน ซึ่งประชาชนเลือกสรรแล้ว ให้มีหน้าทแี่ ละอำนาจทเ่ี หนือกว่า ตนในการปกครอง โดยที่ผแู้ ทนหรอื ผู้ปกครองนน้ั จะต้อง ปกครองประชาชนหรือคนในสงั คมใหต้ รงตาม เปา้ หมายและหลักการของการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย คอื การปกปอ้ งสทิ ธิ เสรีภาพ และรักษาไว้ซึ่ง ความเสมอภาค ตลอดจนกระทั่งผลประ โยชน์ของประชาชนส่วนใหญเ่ ปน็ สำคัญ

2.2 สิทธิและหน้าทขี่ องประชาชนตามรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับปัจจุบนั พ.ศ.๒๕๔๐ ถือว่าหวั ใจสาํ คญั ของการเมืองคอื ประชาชนจึงไดป้ รับการเมอื งใหป้ ระชาชนได้มสี ว่ นร่วมในการปกครองประเทศมากข้นึ ดว้ ยการเพ่มิ สทิ ธิ เสรีภาพใหป้ ระชาชนในด้านต่าง ๆ พร้อมทง้ั ทําให้สิทธแิ ละเสรีภาพน้ันมผี ลเปน็ จรงิ ในทางปฏบิ ตั ิ คาํ วา่ “สทิ ธ”ิ พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ใหค้ าํ จํากัดความไว้ว่า หมายถงึ อาํ นาจทจ่ี ะกระทําการ ใดๆ ไดอ้ ย่างอิสระ โดยไดร้ ับการรับรองจากกฎหมาย ส่วนคาํ ว่า “เสรีภาพ” หมายความวา่ การทีบ่ คุ คล สามารถจะเลือกคดิ ทาํ พูดอยา่ งไรก็ตามความพอใจของตน และคาํ วา่ “หน้าที่ ” หมายความว่า กจิ ท่ี ควรทํา กิจทีต่ อ้ งทํา ซ่ึงแตกตา่ งกนั ไปตามบทบาทของแตล่ ะคน เช่น พอ่ แม่ มหี นา้ ที่ อบรมเลี้ยงดูลูกสาวน ลกู มหี นา้ ท่ี แสดงความกตัญญู ตอ่ พอ่ แม่ นักเรยี นมหี น้าท่ี เรยี นหนงั สือเหล่าน้ี เป็นต้น ฉะนน้ั การคํานึงถึงสทิ ธิเสรภี าพ และหนา้ ที่ ของคนเราจงึ เปน็ สิ่งสําคัญที่ ควรตระหนกั รูแ้ ละจะ ตอ้ งไมล่ ว่ งล้ำสทิ ธิเสรีภาพของบุคคลอน่ื ซึ่งถอื เป็นปกติของสงั คมท่ี จะกาํ หนดสิทธิเสรีภาพ และหนา้ ท่ี ของ บุคคลว่าจะใชท้ าํ อะไรก็ได้ ตราบเทา่ ที่ไมส่ ร้าง ความเดือดร้อนใหแ้ กผ่ ูอ้ ืน่ โดยรฐั ธรรมนูญฉบับปัจจุบนั ได้ ใหก้ ารรบั รองสิทธเิ สรีภาพ ความเสมอภาค ตลอดจนหนา้ ท่ีของประชาชนคนไทยไว้ ดังน้ี ๑. การรบั รองศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ ๒. การรับรองความเสมอภาคของบุคคล ๓. สทิ ธใิ นชวี ติ และรา่ งกาย ๔. สทิ ธใิ นทรพั ย์สนิ สว่ นบคุ คล ๕. สิทธิและเสรภี าพในการศกึ ษาหาความรู้ ๖. สทิ ธใิ นการไดร้ บั การรักษาพยาบาล ๗. สทิ ธใิ นการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ๘. สทิ ธใิ นการรบั รขู้ ้อมูลข่าวสารสาธารณะและข้อมูลทางราชการ ๙. สิทธใิ นการแจ้งความร้องทกุ ข์

๑๐. สทิ ธิของบุคคลวัยต่างๆ ๑๑. สทิ ธิของผู้บริโภค ๑๒. สิทธขิ องชมุ ชนท้องถิ่นดงั้ เดมิ ๑๓. สทิ ธขิ องผู้ต้องหาในคดอี าญา ๑๔. สิทธขิ องบุคลากรรัฐ ๑๕. เสรีภาพในการนับถือศาสนา ๑๖. เสรภี าพในการประกอบอาชีพการงาน ๑๗. เสรีภาพทางการเมือง ๑๘. เสรีภาพของสอื่ มวลชน ๑๙. ขอบเขตของสิทธิและเสรีภาพ 2.3 หลกั การพ้นื ฐานของประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองท่ียดึ มั่นหลกั การขั้นพน้ื ฐาน ดงั น้ี (1) การยอมรับว่าคนทุกคนมีสติปัญญา มีเหตุผล (2) ยอมรับวา่ ทุกคนมีอสิ ระและเสรีภาพ (3) การยอมรบั วา่ ทกุ คนมคี วามเทา่ เทยี มกัน (4) อำนาจสูงสดุ ในการปกครองเปน็ ของประชาชน (5) อำนาจปกครองของรฐั บาลเกิดข้ึนจากความยนิ ยอมของประชาชนผู้ถูกปกครองโดยมีวิธีการแสดงความ ยนิ ยอมต่าง ๆ ทีส่ ำคญั คอื การใช้สิทธเิ ลือกตั้ง

(6) ประชาชนมสี ทิ ธิในการคัดค้านหรือเปลย่ี นแปลงรัฐบาลตามวธิ ีการทก่ี ฎหมายกำหนด หากว่ารฐั บาลไม่ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้ เช่น การเปล่ยี นไปลงคะแนนเสียงให้พรรคฝา่ ยคา้ นเมื่อมี การเลือกตง้ั การเข้าชือ่ ถอดถอนนายกรัฐมนตรี 2.4 กตกิ าประชาธิปไตย 1. การเลือกตัง้ โดยเสรี เพอื่ กำหนดบคุ คลทีจ่ ะรบั มอบอำนาจในการปกครองการบรหิ าร 2. การให้สทิ ธคิ ัดค้านอย่างมีเหตมุ ผี ลและบริสทุ ธ์ิใจ 3. การให้เสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น 4. มวี ินัยและเคารพกฎหมาย 5. ตัดสนิ ปัญหา โดยเสียงขา้ งมากและยอมรับความสำคัญของเสียงข้างนอ้ ย 6. การมีรัฐธรรมนูญเปน็ กฎหมายสูงสดุ ในการปกครอง เพอ่ื เปน็ หลักประกันสิทธิเสรภี าพของประชาชน การเสรมิ สร้างความร้เู ก่ียวกบั ประชาธปิ ไตยและ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในองค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่ิน 7. การมสี ทิ ธใิ นการรบั รู้ขอ้ มลู ข่าวสาร 2.5 รูปแบบประชาธิปไตย แบง่ ออกไดเ้ ป็นสองรูปแบบ ดังน้ี 2.5.1 ประชาธปิ ไตยโดยตรง (Direct democracy) ประชาธิปไตยโดยตรงเกดิ ขึ้นในชมุ ชนเล็ก ๆ เช่น ในสมัยกรีกโบราณ ซง่ึ สามารถเรยี กประชุม ประชาชนได้ทกุ คนและลงมตโิ ดยการชมู ือ

2.5.2 ประชาธิปไตยโดยการเลอื กตั้งตัวแทน(Representative democracy) เน่ืองจากประชาชนในชุมชนมเี ปน็ จำนวนมาก ดังนนั้ จึงต้องใช้วิธเี ลอื กตั้งผู้แทนเข้าไปทำหนา้ ที่ แทนตนในรฐั สภา ซึ่งประชาธปิ ไตยโดยการเลือกตง้ั ตวั แทนมสี องระบบ คือระบบรฐั สภา ซง่ึ มี และระบบประธานาธิบดี ซง่ึ มีประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นแม่แบบลกั ษณะสำคญั ของประชาธิปไตย แบบเลอื กตัง้ ตัวแทนมดี ังน้ี 1. มพี รรคการเมืองเสนอนโยบายใหป้ ระชาชนเลือก 2. มีการเลอื กตง้ั 3. มีการใชส้ ิทธิออกเสียงโดยประชาชน 4. มีรฐั บาลทีม่ าจากเสียงสว่ นใหญข่ องผู้แทนราษฎร

บทที่3 วธิ กี ารดำเนนิ งาน 3.1 วิธกี ารดำเนินงาน 3.1.1 รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกับหลกั การประชาธปิ ไตยตามเวบ็ ไซต์ และหนงั สือต่างๆ 3.1.2 นำข้อมลู ที่รวบรวมมาใหแ้ กส่ มาชิกมาเพื่อให้พดู คุยและ แบ่งปนั ความรู้ที่ค้นควา้ มาให้แกส่ มาชกิ ในกลุม่ 3.1.3 นำขอ้ มลู ทพ่ี ดู คยุ และแบ่งปันมาตคี วามและสรุปเป็นรายงาน

3.2 แผนการดำเนนิ งาน แผนการดำเนินงาน ในการจัดทำการศึกษาคน้ คว้าครง้ั นี้ ผทู้ ำการค้นควา้ อสิ ระมีแผนการดำเนินงานดังนี้ ระยะเวลา รายการทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ ผู้รับผิดชอบ ผู้เก่ยี วข้อง 21พค. - 1. การกำหนดปัญหาและหวั ขอ้ การศึกษาคน้ ควา้ ปฏิพฒั น์ สมาชกิ ในกลุ่มและครทู ่ปี รึกษา 4 มิ.ย.64 4 มิ.ย. - 2.ศกึ ษาคน้ คว้าหาเอกสารอา้ งอิงและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง ปฏพิ ฒั น์ สมาชิกในกลุ่มและครูทป่ี รกึ ษา 18ม.ิ ย.64 นัทธพงศ์ 18 มิ.ย. 3.กำหนดกรอบแนวความคดิ และวางแผนการดำเนนิ งาน พมิ พ์ลภัส สมาชกิ ในกลมุ่ และครทู ี่ปรึกษา 64 ในรูปแบบการเขยี นเค้าโครงการศึกษาคน้ คว้า จาฏุพัจน์ ศริ ภสั สร 19 ม.ิ ย. – 4.ลงมอื ทำการศกึ ษาค้นค้น/ทำโครงงาน ปฏิพัฒน์ สมาชกิ ในกลมุ่ และครทู ่ีปรึกษา 14 ก.ค. นทั ธพงศ์ 64 พมิ พล์ ภสั จาฏุพจั น์ ศริ ภสั สร 14 ก.ค. – 5.สรุปรายงานการศึกษาคน้ คว้า จาฏพุ ัจน์ สมาชิกในกลมุ่ และครทู ีป่ รกึ ษา 7 ก.ย. 64 ในรปู แบบเอกสารทางวิชาการ “โครงงาน” แบบ 5 บท ศริ ภัสสร 8 ก.ย. 64 6. นำเสนอผลงานแกส่ าธารณชน หรอื ปฏิพัฒน์ สมาชิกในกลมุ่ และครทู ี่ปรกึ ษา จัดนิทรรศการผลงานการศึกษาคน้ คว้า นทั ธพงศ์ พิมพ์ลภัส จาฏพุ ัจน์ ศริ ภัสสร

บทท่ี4 ผลการดำเนินงาน จากการศกึ ษาคน้ คว้าเก่ียวกับเรอื่ ง หลักการประชาธปิ ไตยผูจ้ ัดทำโครงงานได้รบั ผลจากการศึกษา ค้นคว้าดงั นี้ 4.1 ผลจากการศกึ ษาค้นควา้ 4.1.1 ทำให้สมาชกิ ทราบถงึ การใชห้ ลักประชาธิปไตยท่ถี กู ตอ้ งและ ครอบคลมุ ตามหลักการประชาธิปไตย 4.1.2 ทำให้สมาชกิ ในกลมุ่ ได้ความรู้ความเขา้ ใจในเร่อื งหลกั ประชาธปิ ไตยท่เี ปน็ หลกั ในการปกครองประเทศ 4.1.3 เป็นแนวทางให้สมาชิกใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ในอนาคตโดยทจ่ี ะไม่ ขดั กบั กฎระเบยี บของสงั คมและเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีให้กับคนอน่ื ๆ

บทท่ี5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผล สรปุ ได้วา่ ผลจากการศึกษาคน้ คว้าข้อมลู ท่สี มาชิกในกลุ่มมคี วามรู้ในเร่ืองประชาธปิ ไตยทเ่ี ปน็ หลัก ประชาธปิ ไตยทถี่ กู ตอ้ งและแทจ้ รงิ ตามหัวใจหลักประชาธปิ ไตยคือความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของทุก คนโดยคำนึงถงึ ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั และความถกู ต้อง และไดม้ กี ารแนะนำความรู้ใหเ้ พ่ือนของสมาชกิ ในกลมุ่ ทำ ใหม้ เี พ่อื นๆเขา้ ใจหลกั ประชาธิปไตยและใชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ งและภาคภมู ใิ จ 5.2 อภปิ รายผล 5.2.1 ทำใหส้ มาชิกในกลมุ่ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งการใชห้ ลกั ประชาธิปไตยได้อยา่ งถกู ต้อง 5.2.2 ทำให้สมาชกิ ในกล่มุ มีทักษะ ประสบการณ์ ในเรอื่ ง การตัดสนิ ใจที่ถกู ตอ้ ง โดยคำนึงถึง ความถูกฺผดิ และเขา้ ใจเสียงที่นอ้ ยกว่า 5.2.3 ทำให้สมาชิกในกล่มุ มีเจตคตทิ ดี่ ี มีทกั ษะการทำงานกล่มุ มคี วามรับผิดชอบ และสามารถนำความรู้ ทไี่ ด้รบั ไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันได้อย่างสร้างสรรค์

บรรณานุกรม สำนกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร. (2560). รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐. 3 ม.ิ ย. 2564, จากhttps://www.cdc.parliament.go.th กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ. สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องประชาชนตามรัฐธรรมนูญ. 3 ม.ิ ย. 2564, จากhttps://www.dsi.go.th สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2563). รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย. 4 มิ.ย. 2564, จากhttps://www.krisdika.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook