Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4.หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตอิสระในบ้านสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

4.หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตอิสระในบ้านสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

Published by Lampang special education center, 2021-09-22 08:43:51

Description: หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตอิสระในบ้านสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

Search

Read the Text Version

1 หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวติ อิสระในบา้ น สาหรบั เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา สรุ ญั จติ วรรณนวล เอกสารเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาในหลกั สตู รการศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ (กศ.ด.) สาขาวชิ าการศกึ ษาพิเศษ ของมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 2563

2 หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวติ อิสระในบา้ น สาหรบั เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา สรุ ญั จติ วรรณนวล เอกสารเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาในหลกั สตู รการศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ (กศ.ด.) สาขาวชิ าการศกึ ษาพิเศษ ของมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 2563

3 คำนำ หลกั สูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางสติปัญญา พัฒนาขึน้ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาในหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) สาขาวิชาการศกึ ษาพิเศษ ของมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ โดยหลกั สตู รมีจุดม่งุ หมาย เพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบ้านสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ซ่ึงประกอบดว้ ย 1) การทาความสะอาดบา้ น 2) การปรุงอาหาร 3) การทาความสะอาดภาชนะ 4) การซกั เสือ้ ผา้ และ 5) การทาความสะอาดหอ้ งนา้ ดว้ ยการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิงานจริง ท่ีเนน้ ใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกและเรียนรูจ้ ากการทางานบา้ นตามขนั้ ตอน และการประเมินตามสภาพจริงท่ีเป็น การประเมินในหลายมิติ นกั เรียนเช่ือมโยงสิ่งท่ีไดเ้ รียนรูก้ บั ชวี ิตประจาวนั ไดท้ งั้ ในสถานศกึ ษาและ ท่บี า้ น การจัดทาหลกั สตู รเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความ บกพร่องทางสติปั ญญานี้ได้รับความอนุเคราะห์อย่างดีย่ิงจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุวดี วิริยางกูร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล อาจารย์ ดร.พิกุล เลียวสิริพงศ์ ดร.สมพร หวานเสร็จ นางศิริพร ดาระสุวรรณ์ นางสุมล ศรีใจ นางสาววิชิตา เกศะรักษ์ นางสาวลลิภทั ร สืบเมือง เป็นผูท้ รงคณุ วฒุ ิประเมินหลกั สูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิต อสิ ระในบา้ นสาหรบั เด็กท่มี คี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา จงึ ขอขอบคณุ เป็นอยา่ งสงู มา ณ ท่นี ี้ ขอขอบคณุ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาปริญญานิพนธท์ ่ีตรวจสอบ ส่งเสรมิ และเสนอแนะจนเป็นผล ใหห้ ลกั สตู รฉบบั นมี้ คี วามสมบรู ณ์ สรุ ญั จิต วรรณนวล นิสิตปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าการศกึ ษาพิเศษ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

4 หนา้ 2 สำรบัญ 3 5 คานา 5 สารบญั 7 บทท่ี 1 จดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร 7 8 1. เหตผุ ลและความจาเป็น 9 2. วิสยั ทศั น์ 10 3. หลกั การ 10 4. จดุ ม่งุ หมาย 10 5. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 11 บทท่ี 2 เนือ้ หาสาระ 13 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ 15 2. สาระการเรยี นรู้ 20 3. สาระการเรียนรูแ้ ละมาตรฐานการเรยี นรู้ 20 4. โครงสรา้ งของหลกั สตู ร 33 5. ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ 33 บทท่ี 3 การจดั การเรียนรู้ 35 1. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 38 2. ส่อื และเทคโนโลยสี ิ่งอานวยความสะดวก 3. แหลง่ เรยี นรู้ บทท่ี 4 การวดั และประเมินผล เอกสารอา้ งองิ

5 บทที่ 1 จดุ มุง่ หมำยของหลักสตู ร 1. เหตผุ ลและควำมจำเป็ น การจัดการศึกษาในศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษท่ีผ่านมาเป็นการจัดการศึกษาในลักษณะการ ชว่ ยเหลือระยะแรกเร่มิ ใหก้ บั เดก็ ท่มี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษซ่งึ เป็นเดก็ เล็ก แต่ในขณะเดียวกนั มี เดก็ โตท่อี ายรุ ะหวา่ ง 7 – 18 ปี ซ่งึ มีจานวนมากกว่าเดก็ เล็กถงึ สามเทา่ ยงั คงไดร้ บั การจดั การศกึ ษา เฉกเช่นเดียวกบั เด็กเล็ก ซ่งึ ในวยั ท่ีเปลี่ยนไปเด็กควรไดร้ บั การจดั ประสบการณท์ ่ีเหมาะสมกบั อายุ และสิ่งแวดลอ้ มท่ีเด็กดารงชีวิตเพ่ือใหเ้ ด็กสามารถดารงชีวิตไดอ้ ย่างอิสระลดการพ่งึ พิงผปู้ กครอง ชมุ ชนหรือสงั คมใหไ้ ด้ โดยเฉพาะการจดั การศึกษาใหก้ บั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาซ่งึ มี ความบกพร่องในพฤติกรรมการปรบั ตนควรจดั ประสบการณใ์ หเ้ ด็กไดเ้ รียนรูใ้ นเร่ืองท่ีใกลเ้ คียงกับ ชวี ิตประจาวนั เพ่อื จะไดส้ ามารถนาไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในสถานการณท์ ่บี า้ น เด็กท่ีมี ภาวะบกพร่องทางสติปั ญญาเป็ นกลุ่มของความผิดปกติทางพัฒนาการและ พฤติกรรมจดั เป็นเด็กท่มี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษประเภทหน่ึง โดยมีระดบั เชาวนป์ ัญญาต่ากวา่ 70 มีพฤติกรรมการปรบั ตนบกพร่องใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ทักษะดา้ นความคิดรวบยอด ทักษะด้าน สังคม และทักษะด้านการปฏิบัติ โดยเด็กจะแสดงอาการในช่วงท่ีสมองมีการพัฒนา คือ อายุ แรกเกิด – 18 ปี (AAIDD, 2017; American Psychiatric Association, 2013: 31) ซ่ึงพฤติกรรม การปรบั ตนเป็นความสามารถในการปฏิบตั ิตนในชีวิตประจาวันท่วั ๆ ไป จึงเป็นความสามารถของ บคุ คลนนั้ ท่ีจะสามารถดารงชีวิตไดด้ ว้ ยตนเองในสงั คม (นพวรรณ ศรีวงคพ์ านิช และ อิสราภา ช่ืน สวุ รรณ, 2561) ดงั นนั้ การจดั การเรียนการสอนควรเป็นรูปธรรมและมีแนวทางปฏิบตั ิในทกั ษะการ ปรบั ตัวท่ีชัดเจนเพ่ือใหเ้ ด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาสามารถเรียนรูท้ ่ีจะดูแลตัวเอง ซ่ึง ทกั ษะการปรบั ตวั นีห้ ากไดร้ บั การสนบั สนุนท่ีเหมาะสมจะช่วยใหพ้ วกเขามีอิสระในการดาเนินชีวิต (Bright Hub Education, 2010?) การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษาครูควรเลอื กสอนในเร่ืองท่ีจาเป็นต่อชีวิตของ เด็กท่ีมีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา สว่ นหลกั สตู รควรเนน้ ทกั ษะการช่วยเหลือตนเองและทกั ษะ อ่ืนๆ ท่ีจะเป็นประโยชนใ์ นการดารงชีวิตของเด็กต่อไป เช่น สอนทกั ษะวิชาการท่ีนาไปใชไ้ ดจ้ ริง (Functional Academic Skills) สอนทักษะการปรับตัว และการสอนใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยีส่ิงอานวย

6 ความสะดวก (กุลยา ก่อสุวรรณ และ ยุวดี วิริยางกูร, 2560: 196 – 197) ดังนนั้ สถานศึกษาท่ีจัด การศึกษาสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาอายุ 7 ปีขึน้ ไป โดยเฉพาะศูนยก์ ารศึกษา พิเศษควรพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีอยู่บนพืน้ ฐานของความต้องการจาเป็นทงั้ ในปัจจุบนั และ อนาคตของผู้เรียน ในการจัดการเรียนการสอนไม่มีการสอนทักษะตามลาดับขั้นตอนของ พฒั นาการแต่ละวยั ของผเู้ รียน แต่ใหค้ วามสาคญั กบั การสอนทกั ษะท่ีช่วยเตรียมผเู้ รียนใหม้ ีความ พรอ้ มสาหรบั การนาทกั ษะท่ีไดเ้ รียนรูไ้ ปใชไ้ ดต้ ลอดชีวิต หรือรูปแบบหลกั สูตรเชิงการนาไปใชใ้ น ชีวิต (Functional Curriculum Model) หรือเรียกอีกอย่างว่ารูปแบบหลักสูตรเชิงสภาพแวดลอ้ ม (Environmental or Ecological Model) (Wehman, P., 2013.; Wehman, P., Kregel, J., 2020) หลกั สตู รหรือโปรแกรมท่ีเหมาะสมกบั เด็กทุกกล่มุ อายตุ อ้ งเป็นหลกั สตู รตลอดแนวท่ีออกแบบตาม หลักการ เนน้ ความเป็นเฉพาะบุคคลและใช้บุคคลเป็นศูนยก์ ลาง เพ่ือใหเ้ ด็กท่ีมีความตอ้ งการ จาเป็นพิเศษ ครอบครวั และผูเ้ กี่ยวขอ้ งไดม้ ีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการวางแผน การมีเป้าหมาย รว่ มกนั ในปัจจบุ นั และอนาคตท่จี ะตอ้ งประคบั ประคองไปใหถ้ ึง โดยมกี ารสอ่ื สารตลอดชว่ งอายเุ พ่ือ สรา้ งความต่อเน่ือง หลกั การท่ีว่ามีความเหมาะสมกับสภาพการนาไปใชใ้ นชีวิตจริง การพฒั นา โปรแกรมตลอดแนว ต้องมีการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็นของบุคคลในสภาพแวดล้อมท่ี แตกต่างกนั เพ่ือจดั ลาดบั ความสาคญั ตามความจาเป็นของผเู้ รียนท่ีจะตอ้ งเรียนรู้ เพ่ือการปฏิบตั ิ ตนไดเ้ หมาะสมในชมุ ชน หลกั การท่ีเป็นโปรแกรมระยะยาวท่ีออกแบบจะตอ้ งมีการปรบั เป้าหมาย วตั ถปุ ระสงคใ์ หม้ ีความเจาะจง และเหมาะสมกบั สมรรถนะของผเู้ รียน ทงั้ ในการวางแผนการจัดทา แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล และการจดั การเรียนการสอน เพ่ือช่วยใหผ้ เู้ รียนเรียนรูไ้ ดต้ าม วัตถุประสงคข์ องโปรแกรมและบรรลุศักยภาพสูงสุด และหลักการท่ีเน้นนิเวศวิทยาสาหรบั การ ปฏิบตั ิท่ีครู ผปู้ กครอง ผเู้ รียนและผเู้ ก่ียวขอ้ งจะไดร้ ่วมวิเคราะหก์ ิจกรรมท่ีจาเป็นเรง่ ด่วนในแต่ละ สภาพแวดลอ้ มหลกั ของการดารงชีวิต เพ่ือสรา้ งพืน้ ฐานการปฏิบตั ิกิจกรรมใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนา ทักษะท่ีจาเป็นต้องใช้ในสถานการณ์ท่ัวไปในท่ีอ่ืน ๆ โดยเด็กควรมีอายุตั้งแต่ 11 ปีขึน้ ไป (Wehman, P., Kregel, J., 2012) หลกั สูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางสติปัญญา เป็นหลกั สตู รท่อี อกแบบใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี นน้ การทางานบา้ น ของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาเป็นรายบุคคล และเนน้ การสอนกระบวนการทางาน ท่ีมีการเตรียมการทางานและจบกระบวนการทางานอย่างเป็นขนั้ เป็นตอน โดยใชร้ ูปแบบการเรยี น การสอนทางตรง โดยม่งุ เนน้ ใหค้ วามรูท้ ่ลี กึ ซงึ้ ช่วยใหผ้ เู้ รยี นรูส้ ึกมีบทบาทในการเรยี น ทาใหผ้ เู้ รียน มีความตงั้ ใจในการเรียนรูแ้ ละช่วยใหผ้ เู้ รียนประสบความสาเร็จในการเรียน รูปแบบการเรียนการ

7 สอนนมี้ ่งุ ชว่ ยใหไ้ ดเ้ รียนรูท้ งั้ เนอื้ หาสาระและมโนทศั น์ รวมทงั้ ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ทิ กั ษะตา่ ง ๆ จนสามารถ ทาไดด้ ีและประสบผลสาเรจ็ ไดใ้ นเวลาท่จี ากดั เป็นประโยชนต์ อ่ การเรียนรูข้ องผเู้ รียนมากท่สี ดุ ชว่ ย ใหผ้ เู้ รียนมีใจจดจ่อกบั ส่ิงท่ีเรียน (ทิศนา แขมมณี. 2560: 256) ใหเ้ ด็กฝึกปฏิบตั ิจนเกิดเป็นทักษะ ใหน้ าไปใชท้ างานท่ีบา้ นได้ ซ่ึงการวัดและประเมินผลการเรียนรูจ้ าเป็นตอ้ งมีการปรบั เปล่ียนให้ สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะ โดยม่งุ วดั สมรรถนะอนั เป็นองคร์ วม ของความรูท้ ักษะ เจตคติและคุณลักษณะต่าง ๆ วัดจากพฤติกรรม การกระทา การปฏิบัติท่ี แสดงออกถึงความสามารถในการใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติและคณุ ลกั ษณะต่าง ๆ ตามเกณฑก์ าร ปฏิบัติ (Performance Criteria) ท่ีกาหนดเป็นการวัดอิงเกณฑ์ มิใช่ อิงกลุ่มและมีหลักฐานการ ปฏิบตั ิ (Evidence) ใชต้ รวจสอบได้ ใชก้ ารประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) จาก ส่ิงท่ีผูเ้ รียนไดป้ ฏิบัติจริงและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน เช่น การประเมินจากการปฏิบัติ (Performance assessment) เป็นตน้ (คณะกรรมการอสิ ระเพ่อื การปฏริ ูปการศึกษาและสานักงาน เลขาธิการสภาการศกึ ษา. 2562) 2. วิสยั ทศั น์ หลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางสติปัญญาม่งุ พฒั นาผเู้ รียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาใหม้ ีความสามารถในการทางาน บ้านได้ตามขั้นตอนและสามารถนาไปปฏิบัติได้ในสถานท่ีท่ีต่างออกไป โดยมุ่งเน้นผู้เรียน เป็นสาคญั บนพืน้ ฐานความเช่ือว่า ทกุ คนสามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ 3. หลกั กำร หลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางสตปิ ัญญา มหี ลกั การท่สี าคญั ดงั นี้ 1. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาท่มี งุ่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กท่มี ีความบกพร่องทางสตปิ ัญญาพฒั นาตาม ธรรมชาติ เต็มศักยภาพโดยมีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเป้าหมายการพัฒนาให้มี ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ภายใตค้ วามรว่ มมอื ของสถานศกึ ษาและครอบครวั

8 2. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั มโี ครงสรา้ งความยืดหย่นุ ทงั้ ดา้ นสาระ การเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรูท้ ่ใี หค้ วามสาคญั กบั ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษเฉพาะบคุ คล 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนของการ ทางาน ท่เี รม่ิ จากการเตรียมการทางาน การลงมอื ทางาน และจบกระบวนการทางาน 4. จดุ มุ่งหมำย หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวิตอสิ ระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพรอ่ งทาง สติปัญญาม่งุ พฒั นาผเู้ รียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาใหม้ ีความสามารถในการทางานบา้ น ไดต้ ามขนั้ ตอนและสามารถนาไปปฏิบตั ิไดใ้ นสถานท่ีท่ีต่างออกไป จึงไดก้ าหนดเป็นจุดหมายให้ เกิดกบั ผเู้ รยี นเม่ือจบหลกั สตู ร ดงั นี้ 1) การทาความสะอาดบ้าน โดยมีกระบวนการทางานจากเร่ิมต้นจนสิน้ สุดงาน ประกอบดว้ ย การเตรียมอปุ กรณ์ การลงมือทา และการเก็บอปุ กรณ์ ดงั นี้ (1) ปัดหยากไย่ (2) ปัด และเชด็ โตะ๊ (3) กวาดพนื้ และ (4) ถพู นื้ 3) การปรุงอาหาร โดยมีกระบวนการทางานจากเร่ิมตน้ จนสิน้ สุดงาน ประกอบดว้ ย การเตรียมอปุ กรณ์ การลงมือทา และการเกบ็ อปุ กรณ์ 4) การทาความสะอาดภาชนะ โดยมีกระบวนการทางานจากเร่ิมตน้ จนสิน้ สุดงาน ประกอบดว้ ย การเตรียมอปุ กรณ์ การลงมอื ทา และการเกบ็ อปุ กรณ์ 2) การซกั เสือ้ ผา้ โดยมีกระบวนการทางานจากเร่ิมตน้ จนสิน้ สุดงาน ประกอบด้วย การเตรยี มอปุ กรณ์ การลงมอื ทา และการเก็บอปุ กรณ์ 5) การทาความสะอาดเครื่องใชใ้ นครวั เรือน โดยมีกระบวนการทางานจากเร่มิ ตน้ จน สิน้ สดุ งาน ประกอบดว้ ย การเตรียมอุปกรณ์ การลงมือทา และการเก็บอุปกรณ์ ดงั นี้ (1) การเช็ด กระจก (2) การลา้ งผนงั หอ้ งนา้ (3) การลา้ งสว้ ม และ (4) การลา้ งพนื้ หอ้ งนา้

9 5. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชวี ิตอสิ ระในบา้ นสาหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพรอ่ งทาง สตปิ ัญญาไดก้ าหนดคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียนไวด้ งั นี้ 1. ฟังคาส่งั เป็น 2. รบั รูแ้ ละยอมรบั 3. ปฏิบตั ิตาม 4. อดทนทางานจนเสรจ็ 5. ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกดิ กบั ตนเองหรือผอู้ ่ืน 6. เพลิดเพลินขณะทางาน 7. มเี จตคตทิ ่ดี ีและถกู ตอ้ งต่อการทางานบา้ น 8. แสดงความช่ืนชมผลงาน นอกจากนนั้ หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวติ อิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่มี คี วาม บกพรอ่ งทางสติปัญญาไดก้ าหนดสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนไวด้ งั นี้ 1. ความสามารถในการทางาน 2. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต

10 บทท่ี 2 เนือ้ หำสำระ หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชวี ติ อสิ ระในบา้ นสาหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพรอ่ งทาง สตปิ ัญญาไดก้ าหนดเนือ้ หาสาระท่ีจาเป็นไวด้ งั นี้ 1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ เป้าหมายการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะโดยคานึงถึงความตอ้ งการ จาเป็นสาหรบั การดารงชีวิตอิสระในบา้ นของเด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญาหลงั จบหลกั สูตร จึงกาหนดใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการทาความสะอาดบา้ น 2. สาระการเรยี นรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการปรุงอาหาร 3. สาระการเรยี นรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการทาความสะอาดภาชนะ 4. สาระการเรียนรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการซกั เสือ้ ผา้ 5. สาระการเรียนรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการทาความสะอาดหอ้ งนา้ ในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรูไ้ ดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเป้าหมายสาคญั ของการ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะบสุ ่งิ ท่ผี เู้ รยี นพงึ รู้ ปฏิบตั ิได้ เม่อื จบหลกั สตู ร 2. สำระกำรเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย องคค์ วามรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคณุ ลกั ษณะ ท่พี งึ ประสงค์ ซ่งึ กาหนดใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนในหลกั สตู รเพ่ือเสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ น สาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาจาเป็นตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

11 1. สาระการเรียนรูท้ กั ษะการทาความสะอาดบา้ น โดยมกี ระบวนการทางานจากเร่มิ ตน้ จน สิน้ สดุ งาน ไดแ้ ก่ (1) ปัดหยากไย่ (2) ปัดและเชด็ (3) กวาดพนื้ และ (4) ถพู นื้ 2. สาระการเรียนรูท้ กั ษะการปรุงอาหาร โดยมีกระบวนการทางานจากเร่ิมตน้ จนสิน้ สุด งาน ไดแ้ ก่ (1) เตรียมอปุ กรณ์ (2) ลงมือทา (3) เกบ็ อปุ กรณ์ 3. สาระการเรียนรู้กลุ่มทักษะการทาความสะอาดภาชนะ โดยมีกระบวนการทางาน จากเรม่ิ ตน้ จนสิน้ สดุ งาน ไดแ้ ก่ (1) เตรียมอปุ กรณ์ (2) ลงมือทา และ (3) เก็บอปุ กรณ์ 4. สาระการเรียนรูก้ ลมุ่ ทกั ษะการซกั เสือ้ ผา้ โดยมีกระบวนการทางานจากเรม่ิ ตน้ จนสิน้ สดุ งาน ไดแ้ ก่ (1) เตรยี มอปุ กรณ์ (2) ลงมือซกั และ (3) เก็บอปุ กรณ์ 5. สาระการเรียนรู้กลุ่มทักษะการทาความสะอาดห้องนา้ โดยมีกระบวนการทางาน จากเร่มิ ตน้ จนสิน้ สดุ งาน ไดแ้ ก่ (1) เช็ดกระจก (2) ลา้ งผนงั หอ้ งนา้ (3) ลา้ งสว้ ม และ (4) ลา้ งพืน้ หอ้ งนา้ 3. สำระกำรเรยี นรู้และมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรู้ทักษะกำรทำควำมสะอำดบำ้ น มำตรฐำนที่ 1 ปัดหยากไย่ มำตรฐำนท่ี 2 ปัดและเช็ดโต๊ะ มำตรฐำนที่ 3 กวาดพนื้ มำตรฐำนท่ี 4 ถพู นื้ สำระกำรเรียนรู้ทกั ษะกำรปรุงอำหำร มำตรฐำนที่ 1 การทาไขเ่ จยี ว สำระกำรเรียนรู้กลุม่ ทักษะกำรทำควำมสะอำดภำชนะ มำตรฐำนที่ 1 การทาความสะอาดภาชนะ สำระกำรเรียนรู้กลุ่มทกั ษะกำรซักเสือ้ ผำ้ มำตรฐำนที่ 1 การซกั ผา้ ดว้ ยเคร่ืองซกั ผา้ แบบ 2 ถงั สำระกำรเรียนรู้กลุ่มทักษะกำรทำควำมสะอำดห้องน้ำ มำตรฐำนที่ 1 เช็ดกระจก มำตรฐำนที่ 2 ลา้ งผนงั หอ้ งนา้

12 มำตรฐำนที่ 3 ลา้ งสว้ มแบบน่งั ราบ มำตรฐำนที่ 4 ลา้ งพนื้ หอ้ งนา้

1 4. โครงสร้ำงของหลกั สตู ร โครงสรา้ งหลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบ การเรยี นรู้ รวมเป็น 150 ช่วั โมง โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ ท่ี กลุม่ ทกั ษะ ผลกำรเรียนรู้ 1 การทาความ 1) เดก็ รูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดบา้ น สะอาดบา้ น และปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง 2 การปรุงอาหาร 2) เด็กสามารถปฏิบตั กิ ารทาความสะอาด บา้ นไดค้ รบถว้ นและมผี ลสาเรจ็ 1) เดก็ รูข้ นั้ ตอนการจดั เตรยี มและปรุง อาหารและปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนไดถ้ กู ตอ้ ง 2) เด็กสามารถปฏบิ ตั กิ ารจดั เตรียมและปรุง อาหารไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็ 3 การทาความ 1) เดก็ รูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดภาชนะ สะอาดภาชนะ และปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏบิ ตั ิการทาความสะอาด ภาชนะไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็

13 บา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ประกอบดว้ ย 5 หน่วย สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก เรยี น คะแนน บา้ นเป็นท่พี กั อาศยั ควรทาความสะอาดอยู่ 40 30 เสมอ หากกวาดและถูอยา่ งถกู ตอ้ งตามขนั้ ตอน กจ็ ะทาใหบ้ า้ นสะอาดน่าอยู่ อาหารเป็นส่งิ ท่รี บั ประทานเขา้ ไปแลว้ เกิด 20 15 ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย ควรปรุงใหส้ กุ กอ่ น 20 15 รบั ประทาน หากเตรียมและปรุงอาหารให้ ถกู ตอ้ งตามขนั้ ตอนกจ็ ะไดอ้ าหารท่นี ่า รบั ประทาน ถว้ ยจานชอ้ นเป็นอปุ กรณใ์ นการรบั ประทาน อาหารสว่ นตวั ควรลา้ งทาความสะอาดทกุ ครงั้ หลงั รบั ประทานอาหาร หากถว้ ยจานชอ้ นมี ความสะอาดก็จะทาใหไ้ ม่เกิดโรคทางเดินอาหาร

1 ท่ี หน่วยกำรเรียนรู้ ผลกำรเรยี นรู้ 4 การซกั เสือ้ ผา้ 1) เดก็ รูข้ นั้ ตอนการซกั และจดั เก็บเสือ้ ผา้ และปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง 5 การทาความ สะอาดหอ้ งนา้ 2) เดก็ สามารถปฏิบตั ิการการซกั และจดั เก็บ เสือ้ ผา้ ไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็ 1) เดก็ รูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดหอ้ งนา้ และปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏบิ ตั ิการทาความสะอาด หอ้ งนา้ ไดค้ รบถว้ นและมผี ลสาเรจ็

4 สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนัก เรียน คะแนน เสือ้ ผา้ เป็นเคร่ืองน่งุ ห่มท่สี าคญั ของรา่ งกาย ควร 30 15 หม่นั ซกั ใหส้ ะอาดอย่เู สมอ หากซกั เสือ้ ผา้ ให้ ถกู ตอ้ งตามขนั้ ตอนกจ็ ะทาใหเ้ สือ้ ผา้ สะอาด สวยงามน่าสวมใส่ หอ้ งนา้ เป็นสถานท่ปี ลดทกุ ขแ์ ละสรา้ งสขุ ควร 40 25 หม่นั ทาความสะอาดอยเู่ สมอ หากลา้ งหอ้ งนา้ ใหถ้ กู ตอ้ งตามขนั้ ตอนกจ็ ะทาใหห้ อ้ งนา้ สะอาด นา่ ใชไ้ มเ่ ป็นแหลง่ เพาะเชอื้ โรค รวม 150 100

15 5. ตำรำงวเิ ครำะหม์ ำตรฐำนกำรเรียนรู้ พฤตกิ รรมกำรเรียนรู้ สมรรถนะ กลุ่มทกั ษะ ควำมรู้ ทกั ษะทสี่ ำคัญ คุณลักษณะ สำคัญ (K) (P) อันพงึ ประสงค์ ของผูเ้ รียน (A) (C) 1. การทาความ 1) ขนั้ ตอนการ 1) ปฏิบตั ิตาม 1) ฟังคาส่งั เป็น 1) การทางาน สะอาดบา้ น ทางาน แบบท่แี สดง 2) รบั รูแ้ ละ 2) ทกั ษะชวี ิต 2) อปุ กรณใ์ น ขนั้ ตอนการ ยอมรบั การทางาน ทางาน 3) ปฏิบตั ิตาม แต่ละขนั้ 2) ใชอ้ ปุ กรณ์ 4) อดทนทางาน 3) วิธีการใช้ ตามขนั้ ตอน จนเสรจ็ อปุ กรณ์ 3) การใช้ 5) ป้องกนั 4) การใช้ อปุ กรณ์ อนั ตรายท่จี ะ อปุ กรณ์ รว่ มกนั หลาย เกิดกบั ตนเอง 5) การเก็บรกั ษา ชิน้ หรือผอู้ ่ืน 6) เกณฑก์ าร 4) การดแู ล 6) เพลิดเพลิน พิจารณา อปุ กรณข์ ณะ ขณะทางาน ชิน้ งาน ใช้ 7) เจตคตทิ ่ดี ีและ 5) การเก็บ ถกู ตอ้ งต่อ อปุ กรณ์ การทาความ สะอาดบา้ น 8) ช่นื ชมผลงาน

16 พฤติกรรมกำรเรียนรู้ สมรรถนะ กลุม่ ทักษะ ควำมรู้ ทกั ษะทสี่ ำคัญ คุณลักษณะ สำคัญ (K) (P) อันพึงประสงค์ ของผูเ้ รียน 2. การปรุง (A) (C) อาหาร 1) ขนั้ ตอนการ 1) ปฏิบตั ิตาม 1) ฟังคาส่งั เป็น 1) การ จดั เตรียม แบบท่แี สดง 2) รบั รูแ้ ละ แกป้ ัญหา และปรุง ขนั้ ตอนการ ยอมรบั 2) ทกั ษะชีวิต อาหาร จดั เตรียม 3) ปฏิบตั ิตาม 2) อปุ กรณใ์ น และปรุง 4) อดทนทางาน การ อาหาร จนเสรจ็ จดั เตรียม 2) ใชอ้ ปุ กรณ์ 5) ปอ้ งกนั และปรุง ตามขนั้ ตอน อนั ตรายท่จี ะ อาหารแต่ละ 3) การใช้ เกดิ กบั ตนเอง ขนั้ อปุ กรณ์ หรือผอู้ ่ืน 3) วธิ ีการใช้ รว่ มกนั หลาย 6) เพลิดเพลนิ อปุ กรณ์ ชิน้ ขณะทางาน 4) การใช้ 4) การดแู ล 7) เจตคตทิ ่ดี ีและ อปุ กรณ์ อปุ กรณข์ ณะ ถกู ตอ้ งต่อ 5) การเกบ็ รกั ษา ใช้ การจดั เตรียม 6) เกณฑก์ าร 5) การเกบ็ และปรุง พจิ ารณา อปุ กรณ์ อาหาร ชิน้ งาน 8) ช่นื ชมผลงาน

17 พฤติกรรมกำรเรียนรู้ สมรรถนะ กลุม่ ทกั ษะ ควำมรู้ ทักษะทส่ี ำคัญ คุณลกั ษณะ สำคญั (K) (P) อนั พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น (A) (C) 3. การทาความ 1) ขนั้ ตอนการ 1) ปฏิบตั ิตาม 1) ฟังคาส่งั เป็น 1) การทางาน สะอาด ทางาน แบบท่แี สดง 2) รบั รูแ้ ละ 2) ทกั ษะชวี ิต ภาชนะ 2) อปุ กรณใ์ น ขนั้ ตอนการ ยอมรบั การทางาน ทางาน 3) ปฏิบตั ิตาม แต่ละขนั้ 2) ใชอ้ ปุ กรณ์ 4) อดทนทางาน 3) วิธีการใช้ ตามขนั้ ตอน จนเสรจ็ อปุ กรณ์ 3) การใช้ 5) ป้องกนั 4) การใช้ อปุ กรณ์ อนั ตรายท่จี ะ อปุ กรณ์ รว่ มกนั หลาย เกดิ กบั ตนเอง 5) การเกบ็ รกั ษา ชิน้ หรือผอู้ ่ืน 6) เกณฑก์ าร 4) การดแู ล 6) เพลดิ เพลิน พิจารณา อปุ กรณข์ ณะ ขณะทางาน ชิน้ งาน ใช้ 7) เจตคติท่ดี ีและ 5) การเก็บ ถกู ตอ้ งต่อ อปุ กรณ์ การทาความ สะอาด ภาชนะ 8) ช่นื ชมผลงาน

18 พฤติกรรมกำรเรียนรู้ สมรรถนะ กลุม่ ทักษะ ควำมรู้ ทักษะทส่ี ำคัญ คุณลักษณะ สำคัญ (K) (P) อนั พงึ ประสงค์ ของผ้เู รยี น (A) (C) 4. การซกั เสือ้ ผา้ 1) ขนั้ ตอนการ 1) ปฏิบตั ิตาม 1) ฟังคาส่งั เป็น 1) การทางาน ทางาน แบบท่แี สดง 2) รบั รูแ้ ละ 2) ทกั ษะชีวิต 2) อปุ กรณใ์ น ขนั้ ตอนการ ยอมรบั การทางาน ทางาน 3) ปฏิบตั ิตาม แตล่ ะขนั้ 2) ใชอ้ ปุ กรณ์ 4) อดทนทางาน 3) วิธีการใช้ ตามขนั้ ตอน จนเสรจ็ อปุ กรณ์ 3) การใช้ 5) ป้องกนั 4) การใช้ อปุ กรณ์ อนั ตรายท่จี ะ อปุ กรณ์ รว่ มกนั หลาย เกิดกบั ตนเอง 5) การเกบ็ รกั ษา ชิน้ หรอื ผอู้ ่ืน 6) เกณฑก์ าร 4) การดแู ล 6) เพลิดเพลิน พิจารณา อปุ กรณข์ ณะ ขณะทางาน ชิน้ งาน ใช้ 7) เจตคตทิ ่ดี ีและ 5) การเกบ็ ถกู ตอ้ งต่อการ อปุ กรณ์ ซกั และจดั เก็บ เสือ้ ผา้ 8) ช่นื ชมผลงาน

19 พฤติกรรมกำรเรียนรู้ สมรรถนะ สำคัญ กลุม่ ทกั ษะ ควำมรู้ ทักษะทส่ี ำคัญ คณุ ลักษณะ (K) (P) อนั พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น 5. การทาความ (C) (A) สะอาด 1) การทางาน หอ้ งนา้ 1) ขนั้ ตอนการ 1) ปฏิบตั ิตาม 1) ฟังคาส่งั เป็น 2) ทกั ษะชวี ิต ทางาน แบบท่แี สดง 2) รบั รูแ้ ละ 2) อปุ กรณใ์ น ขนั้ ตอนการ ยอมรบั การทางาน ทางาน 3) ปฏิบตั ิตาม แต่ละขนั้ 2) ใชอ้ ปุ กรณ์ 4) อดทนทางาน 3) วธิ ีการใช้ ตามขนั้ ตอน จนเสรจ็ อปุ กรณ์ 3) การใช้ 5) ป้องกนั 4) การใช้ อปุ กรณ์ อนั ตรายท่จี ะ อปุ กรณ์ รว่ มกนั หลาย เกดิ กบั ตนเอง 5) การเกบ็ รกั ษา ชิน้ หรือผอู้ ่ืน 6) เกณฑก์ าร 4) การดแู ล 6) เพลดิ เพลนิ พจิ ารณา อปุ กรณข์ ณะ ขณะทางาน ชิน้ งาน ใช้ 7) เจตคติท่ดี ีและ 5) การเกบ็ ถกู ตอ้ งต่อ อปุ กรณ์ การทาความ สะอาด เคร่ืองใชใ้ น ครวั เรือน 8) ช่นื ชมผลงาน

20 บทที่ 3 กำรจดั กำรเรยี นรู้ 1. แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรูต้ ามหลกั สตู รเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา ผวู้ ิจยั ไดอ้ อกแบบกจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model) ผสมผสานกบั การวิเคราะห์ งาน (Task Analysis) การกระตนุ้ เตือน (Prompting) และการเสริมแรง (Reinforcement) เพ่ือให้ เด็กเกิดทักษะการทางานจึงออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ ป็นกระบวนการทางานท่ีมีการเร่ิมตน้ ทางาน และสนิ้ สดุ งาน โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model) เป็นรูปแบบการสอนรูปแบบ หน่ึงท่ีเน้นการแยกย่อยทักษะการเรียนรูอ้ อกเป็นขั้นตอน มิไดจ้ ากัดท่ีการสอนสาระการเรียนใด โดยเฉพาะ มกี ารออกแบบกิจกรรมท่ีใชใ้ นการเรียนการสอนท่มี ลี าดบั ขนั้ ตอนชดั เจน ซง่ึ ผเู้ รยี นจะตอ้ ง ประสบผลสาเรจ็ ทีละขนั้ ตอน ก่อนท่ีจะเรียนในขนั้ ตอนต่อ ๆ ไป ดงั นนั้ การสอนตรงเป็นการสอนท่ีเนน้ กระบวนการสอนมากกว่าสาระการสอน เป็นการสอนท่ีเป็นระบบระเบียบและการฝึกปฏิบตั ิ (Joyce, B.R.; & Weil, M. 2009: 343-346; ทิศนา แขมมณี, 2560: 256) โดยหลกั สตู รเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะ การดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาไดอ้ อกแบบขนั้ ตอนการสอน ไว้ 4 ขนั้ ตอน คือ 1) ขนั้ นา 2) ขนั้ สอนและฝึก 3) ขนั้ วดั ผล และ 4) ขนั้ สรุป การวิเคราะหง์ าน (Task Analysis) เป็นการแยกย่อยงาน หรือเนือ้ หาวิชาท่ีตอ้ งการจะสอน เดก็ ในแต่ละครง้ั ของการสอน ออกเป็นขนั้ ตอนย่อย ๆ หรอื หลายขนั้ ตอนเล็ก ๆ โดยแต่ละขนั้ ตอนของ งานจะเร่ิมจากพฤติกรรมท่ีเด็กไดท้ าไดง้ ่ายและเพ่ิมความยากขึน้ ทีละน้อย จนเด็กสามารถทาได้ สาเรจ็ บรรลเุ ป้าหมายไดด้ ว้ ยตนเองเพ่ือใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรูไ้ ดง้ ่ายและทาใหเ้ ดก็ ประสบความสาเร็จ ในการเรยี นครง้ั นนั้ ๆ โดยใชเ้ วลาในการฝึกแต่ละขนั้ ตอนไม่นานเกินไป สง่ิ ท่สี าคญั คอื ในการเรียนแต่ ละครง้ั ผสู้ อนจะตอ้ งใหเ้ ด็กไดฝ้ ึกในขนั้ ตอนท่งี ่ายใหไ้ ดเ้ สียก่อนแลว้ จึงจะฝึกในขนั้ นตอนท่ียากขึน้ แต่ ทงั้ นีต้ อ้ งขึน้ อย่กู บั ระดบั ความสามารถของเด็กแต่ละคนดว้ ย (National Professional Development Center on ASD, 2010: 1.; สมเกตุ อทุ ธโยธา, 2560: 129; สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ, 2561: 28.; Wehman, P.; Kregel, J. 2020: 164)

21 การกระตุน้ เตือน (Prompting) เป็นการช่วยเหลือเพ่ือใหเ้ ด็กทาไดถ้ ูกตอ้ งหรือใกลเ้ คียง พฤติกรรมเปา้ หมายมากท่สี ดุ (ยวุ ดี วริ ยิ างกรู , ภทรา นาพนงั และ วนิดา สนิ เบญจพงศ.์ 2561: 75) ซ่ึงประเภทของการกระตุน้ เตือนมีหลากหลาย ไดแ้ ก่ การกระตุน้ เตือนทางกาย (Full Physical Prompt) การกระตนุ้ เตอื นดว้ ยการแตะตวั หรือการกระตนุ้ เตือนทางกายบางส่วน (Partial Physical Prompt) การกระตุน้ เตือนดว้ ยท่าทาง (Gestural Prompt) การกระตุน้ เตือนทางวาจา (Verbal Prompt) การกระตนุ้ เตือนดว้ ยการวางตาแหน่ง (Positional Prompt) และการกระตนุ้ เตือนแบบ ลา่ ชา้ (Time Delay) (ยวุ ดี วิรยิ างกรู , ภทรา นาพนงั และ วนดิ า สนิ เบญจพงศ,์ 2561: 75-76) การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการทาใหพ้ ฤติกรรมท่ีพึงประสงคเ์ พ่ิมขึน้ ส่วนการ ลงโทษ (Punishment) เป็นการทาใหพ้ ฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงคล์ ดลง การจัดการเรียนการสอน ทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นมีจุดประสงคใ์ หผ้ ูเ้ รียนมีทักษะหรือความสามารถท่ีสูงขึน้ การ เสริมแรงในแผนการจดั การเรียนรูจ้ ึงเลือกใชก้ ารเสริมแรงทางบวก โดยสกินเนอร์ (Skinner, B.F. 1938) ระบุว่าการเสริมแรงทางบวกว่า เป็นการเพิ่มความถี่ของการเกิดของพฤติกรรมท่ีเกิดการ เรียนรูใ้ หม่ อนั เป็นผลมาจากกรรมท่ีตามหลงั พฤติกรรม ก่อใหเ้ กิดพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ โดย หลักสูตรเพ่ือเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตอิสระในบ้านสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทาง สติปัญญาไดอ้ อกแบบการเสรมิ แรงทางบวกประเภทตัวเสรมิ แรงทางสงั คม (Social Reinforcers) จานวน 2 ลกั ษณะ คือ คาชมและปรบมือ หลกั สตู รเพ่อื เสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวิตอสิ ระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพรอ่ งทาง สติปัญญาไดอ้ อกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ ป็นหน่วยการเรยี นรูจ้ านวน 5 หนว่ ย ดงั นี้ หน่วยกำรเรียนรู้ กลุ่มทกั ษะ 1 บา้ นของฉนั น่าอยู่ การทาความสะอาดบา้ น 2 อาหารของฉนั นา่ กิน การปรุงอาหาร 3 ถว้ ยจานของฉนั น่าหยิบใช้ การทาความสะอาดภาชนะ 4 เสือ้ ผา้ ของฉนั น่าสวมใส่ การซกั เสอื้ ผา้ 5 เสือ้ ผา้ ของฉนั สะอาดจงั การทาความสะอาดหอ้ งนา้

22 กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามหนว่ ยการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้ ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ เตรียมการ เป็นขนั้ ใหเ้ ด็กฝึกการเตรียมพนื้ ท่แี ละอปุ กรณใ์ นการทางาน ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ ทางาน เป็นขนั้ ใหเ้ ด็กฝึกทางานตามกระบวนการก่อนและหลงั ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ สิน้ สดุ งาน เป็นขนั้ ใหเ้ ด็กฝึกรบั รูว้ ่างานเสร็จและฝึกการเก็บอุปกรณแ์ ละความ เรยี บรอ้ ยของพนื้ ท่ี การนาหลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบ้านสาหรบั เด็กท่ีมีความ บกพรอ่ งทางสติปัญญาไปสกู่ ารปฏิบตั ิโดยการออกแบบเป็นหน่วยการเรียนรู้ จานวน 5 หน่วยการ เรียนรู้ และแยกย่อยเป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ รายละเอยี ดดงั นี้

23 หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี 1 บำ้ นของฉันน่ำอยู่ กลุม่ ทักษะกำรทำควำมสะอำดบำ้ น ผลการเรยี นรู้ 1) เด็กรูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดบา้ นไดถ้ กู ตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏบิ ตั กิ ารทาความสะอาดบา้ นไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็ กำรวิเครำะห์ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ แนวทำงกำรวดั ผลกำรเรียนรู้ และประเมนิ ผล แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 ดำ้ นควำมรู้ การปัดหยากไย่ กำรเรียนรู้ เดก็ มคี วามรู้ ดำ้ นควำมรู้ 1) ขนั้ ตอนการทาความ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 เด็กชี้ บอก อธิบาย เตรยี มอปุ กรณป์ ัดหยากไย่ สะอาดบา้ น สาธิต 2) อปุ กรณใ์ นการทางานแต่ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 ลงมอื ปัดหยากไย่ ละขนั้ 3) วธิ ีการใชอ้ ปุ กรณ์ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 3 4) การใชอ้ ปุ กรณ์ เก็บอปุ กรณป์ ัดหยากไย่ 5) การเก็บรกั ษา 6) เกณฑก์ ารพิจารณา แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 การปัดและเช็ดโตะ๊ ชิน้ งาน แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 เตรยี มอปุ กรณป์ ัดและเชด็ โต๊ะ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 ลงมือปัดและเช็ดโต๊ะ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 3 เกบ็ อปุ กรณป์ ัดและเช็ดโตะ๊

24 กำรวิเครำะห์ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ แนวทำงกำรวดั ผลกำรเรยี นรู้ และประเมินผล ด้ำนทักษะทส่ี ำคัญ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 กำรเรียนรู้ เด็กสามารถ การกวาดพนื้ ดำ้ นทกั ษะทสี่ ำคัญ 1) ปฏิบตั ิตามแบบท่แี สดง เด็กลงมอื ทาตาม แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 ขนั้ ตอนไดถ้ กู ตอ้ ง ขนั้ ตอนการทาความ เตรยี มอปุ กรณก์ วาดพนื้ สะอาดบา้ น ดำ้ นคณุ ลักษณะอัน 2) ใชอ้ ปุ กรณต์ ามขนั้ ตอน แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 พึงประสงค์ 3) การใชอ้ ปุ กรณร์ ่วมกนั ลงมือกวาดพนื้ เดก็ มีพฤติกรรมตงั้ ใจ หลายชนิ้ และสนใจในการ 4) การดแู ลอปุ กรณข์ ณะใช้ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 3 ทางานทกุ ขนั้ ตอน 5) การเก็บอปุ กรณ์ เกบ็ อปุ กรณก์ วาดพนื้ ด้ำนคณุ ลกั ษณะอันพึง แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 4 ประสงค์ การถพู นื้ 1) ฟังคาส่งั เป็น 2) รบั รูแ้ ละยอมรบั แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 3) ปฏิบตั ิตาม เตรยี มอปุ กรณถ์ พู นื้ 4) อดทนทางานจนเสรจ็ 5) ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกิด แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 ลงมือถพู นื้ กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื 6) เพลดิ เพลินขณะทางาน แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 3 7) เจตคตทิ ่ดี ีและถกู ตอ้ งตอ่ เกบ็ อปุ กรณถ์ พู นื้ การทาความสะอาดบา้ น 8) ช่นื ชมผลงาน

25 หน่วยกำรเรียนรู้ 2 อำหำรของฉันน่ำกนิ กลุม่ ทักษะกำรปรุงอำหำร ผลการเรียนรู้ 1) เด็กรูข้ นั้ ตอนการจดั เตรยี มและปรุงอาหารท่ชี อบไดถ้ ูกตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏิบตั ิการจดั เตรียมและปรุงอาหารท่ชี อบไดค้ รบถว้ นและมผี ลสาเรจ็ กำรวเิ ครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรวัด และประเมินผล ด้ำนควำมรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 เดก็ มคี วามรู้ เตรียมอปุ กรณท์ าไข่เจยี ว กำรเรียนรู้ 1) ขนั้ ตอนการจดั เตรียมและ ดำ้ นควำมรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 เด็กชี้ บอก อธิบาย ปรุงอาหาร ลงมอื ทอดไขเ่ จยี ว 2) อปุ กรณใ์ นการจดั เตรยี ม สาธิต แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 และปรุงอาหารแต่ละขนั้ เก็บอปุ กรณท์ าไขเ่ จยี ว 3) วิธีการใชอ้ ปุ กรณ์ 4) การใชอ้ ปุ กรณ์ 5) การเก็บรกั ษา 6) เกณฑก์ ารพิจารณา ชิน้ งาน

26 กำรวิเครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้ แนวทำงกำรวัด และประเมนิ ผล ด้ำนทกั ษะทส่ี ำคัญ เด็กสามารถ กำรเรียนรู้ 1) ปฏิบตั ิตามแบบท่แี สดง ดำ้ นทักษะทสี่ ำคัญ เด็กลงมือทาตาม ขนั้ ตอนการจดั เตรยี มและ ขนั้ ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง ปรุงอาหาร 2) ใชอ้ ปุ กรณต์ ามขนั้ ตอน ดำ้ นคุณลกั ษณะ 3) การใชอ้ ปุ กรณร์ ว่ มกนั อันพงึ ประสงค์ หลายชนิ้ เดก็ มพี ฤติกรรมตงั้ ใจ 4) การดแู ลอปุ กรณข์ ณะใช้ และสนใจในการ 5) การเก็บอปุ กรณ์ ทางานทกุ ขนั้ ตอน ด้ำนคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ 1) ฟังคาส่งั เป็น 2) รบั รูแ้ ละยอมรบั 3) ปฏิบตั ิตาม 4) อดทนทางานจนเสรจ็ 5) ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกดิ กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื 6) เพลดิ เพลินขณะทางาน 7) เจตคติท่ดี ีและถกู ตอ้ งต่อ การจดั เตรยี มและปรุง อาหาร 8) ช่นื ชมผลงาน

27 หน่วยกำรเรียนรู้ 3 ถว้ ยจำนของฉนั น่ำหยบิ ใช้ กลุม่ ทกั ษะกำรทำควำมสะอำดภำชนะ ผลการเรยี นรู้ 1) เด็กรูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดภาชนะไดถ้ กู ตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏบิ ตั กิ ารทาความสะอาดภาชนะไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็ แนวทำงกำรวดั กำรวิเครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจัดกำรเรยี นรู้ และประเมินผล กำรเรยี นรู้ ด้ำนควำมรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 ด้ำนควำมรู้ เดก็ มคี วามรู้ เตรียมอปุ กรณท์ าความ เด็กชี้ บอก อธิบาย สาธิต 1) ขนั้ ตอนการทาความ สะอาดภาชนะ สะอาดภาชนะ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 2) อปุ กรณใ์ นการทางานแต่ ลงมือทาความสะอาด ละขนั้ ภาชนะ 3) วธิ ีการใชอ้ ปุ กรณ์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 4) การใชอ้ ปุ กรณ์ เกบ็ อปุ กรณท์ าความ 5) การเก็บรกั ษา สะอาดภาชนะ 6) เกณฑก์ ารพจิ ารณาชนิ้ งาน

28 กำรวเิ ครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้ แนวทำงกำรวัด และประเมนิ ผล ด้ำนทักษะทส่ี ำคัญ เด็กสามารถ กำรเรยี นรู้ 1) ปฏิบตั ิตามแบบท่แี สดง ด้ำนทักษะทสี่ ำคัญ เดก็ ลงมอื ทาตามขนั้ ตอน ขนั้ ตอนการทางาน ไดถ้ กู ตอ้ ง 2) ใชอ้ ปุ กรณต์ ามขนั้ ตอน 3) การใชอ้ ปุ กรณร์ ่วมกนั ดำ้ นคุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ หลายชนิ้ เดก็ มีพฤติกรรมตงั้ ใจและ 4) การดแู ลอปุ กรณข์ ณะใช้ สนใจในการทางาน 5) การเก็บอปุ กรณ์ ทกุ ขนั้ ตอน ด้ำนคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1) ฟังคาส่งั เป็น 2) รบั รูแ้ ละยอมรบั 3) ปฏิบตั ิตาม 4) อดทนทางานจนเสรจ็ 5) ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกดิ กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื 6) เพลิดเพลนิ ขณะทางาน 7) เจตคติท่ดี ีและถกู ตอ้ งต่อ การทาความสะอาดภาชนะ 8) ช่นื ชมผลงาน

29 หน่วยกำรเรียนรู้ 4 เสือ้ ผ้ำของฉันน่ำสวมใส่ กลุม่ ทกั ษะกำรซกั ผ้ำ ผลการเรยี นรู้ 1) เด็กรูข้ นั้ ตอนการซกั และตากเสือ้ ผา้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏบิ ตั กิ ารการซกั และตากเสอื้ ผา้ ไดค้ รบถว้ นและมีผลสาเรจ็ กำรวิเครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้ แนวทำงกำรวดั และประเมินผล ด้ำนควำมรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 กำรเรียนรู้ เด็กมคี วามรู้ เตรยี มอปุ กรณซ์ กั ผา้ ดำ้ นควำมรู้ เด็กชี้ บอก อธิบาย สาธิต 1) ขนั้ ตอนการซกั และจดั เก็บ ดว้ ยเครอื่ งซกั ผา้ แบบ เสือ้ ผา้ 2 ถงั 2) อปุ กรณใ์ นการทางานแต่ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 ละขนั้ ลงมอื ซกั ผา้ ดว้ ยเครื่อง 3) วธิ ีการใชอ้ ปุ กรณ์ ซกั ผา้ แบบ 2 ถงั 4) การใชอ้ ปุ กรณ์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 5) การเก็บรกั ษา เกบ็ อปุ กรณซ์ กั ผา้ ดว้ ย 6) เกณฑก์ ารพิจารณาชนิ้ งาน เคร่อื งซกั ผา้ แบบ 2 ถงั

30 กำรวิเครำะหผ์ ลกำรเรียนรู้ แนวทำงกำรจัดกำรเรยี นรู้ แนวทำงกำรวดั และประเมินผล ด้ำนทักษะทสี่ ำคัญ เดก็ สามารถ กำรเรียนรู้ 1) ปฏิบตั ิตามแบบท่แี สดง ด้ำนทกั ษะทสี่ ำคัญ เด็กลงมือทาตามขนั้ ตอน ขนั้ ตอนการซกั และจดั เก็บ ไดถ้ กู ตอ้ ง เสือ้ ผา้ 2) ใชอ้ ปุ กรณต์ ามขนั้ ตอน ด้ำนคณุ ลักษณะอันพงึ 3) การใชอ้ ปุ กรณร์ ว่ มกนั ประสงค์ หลายชนิ้ เดก็ มีพฤติกรรมตงั้ ใจและ 4) การดแู ลอปุ กรณข์ ณะใช้ สนใจในการทางาน 5) การเก็บอปุ กรณ์ ทกุ ขนั้ ตอน ด้ำนคุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ 1) ฟังคาส่งั เป็น 2) รบั รูแ้ ละยอมรบั 3) ปฏิบตั ิตาม 4) อดทนทางานจนเสรจ็ 5) ป้องกนั อนั ตรายท่จี ะเกิด กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื 6) เพลิดเพลินขณะทางาน 7) เจตคตทิ ่ดี ีและถกู ตอ้ งตอ่ การซกั และจดั เก็บเสือ้ ผา้ 8) ช่นื ชมผลงาน

31 หน่วยกำรเรยี นรู้ 5 หอ้ งน้ำของฉันสะอำดจัง กลุ่มทกั ษะกำรทำควำมสะอำดหอ้ งน้ำ ผลการเรียนรู้ 1) เด็กรูข้ นั้ ตอนการทาความสะอาดหอ้ งนา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง 2) เดก็ สามารถปฏิบตั กิ ารทาความสะอาดหอ้ งนา้ ไดค้ รบถว้ นและมผี ลสาเรจ็ กำรวเิ ครำะหผ์ ลกำร แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ แนวทำงกำรวัด เรยี นรู้ และประเมินผล แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 ด้ำนควำมรู้ การเชด็ กระจก กำรเรยี นรู้ เด็กมีความรู้ ด้ำนควำมรู้ 1) ขนั้ ตอนการทาความ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 เดก็ ชี้ บอก อธิบาย เตรยี มอปุ กรณเ์ ช็ดกระจก สะอาดหอ้ งนา้ สาธิต 2) อปุ กรณใ์ นการทางาน แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 ลงมอื เชด็ กระจก แตล่ ะขนั้ 3) วิธีการใชอ้ ปุ กรณ์ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 3 4) การใชอ้ ปุ กรณ์ เก็บอปุ กรณเ์ ช็ดกระจก 5) การเกบ็ รกั ษา 6) เกณฑก์ ารพิจารณา แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 ชิน้ งาน การลา้ งผนงั หอ้ งนา้ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 เตรยี มอปุ กรณล์ า้ งหอ้ งนา้ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 ลงมอื ลา้ งผนงั หอ้ งนา้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 การลา้ งสว้ มแบบน่งั ราบ

32 กำรวิเครำะหผ์ ลกำร แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้ แนวทำงกำรวดั เรียนรู้ และประเมินผล กำรเรียนรู้ ดำ้ นทักษะทส่ี ำคัญ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 4 ด้ำนทกั ษะทสี่ ำคัญ เดก็ สามารถ การลา้ งพนื้ หอ้ งนา้ เดก็ ลงมือทาตาม 1) ปฏิบตั ิตามแบบท่แี สดง แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 1 ขนั้ ตอนไดถ้ กู ตอ้ ง ขนั้ ตอนการความ ลงมอื ลา้ งพนื้ หอ้ งนา้ สะอาดหอ้ งนา้ แผนการจดั การเรียนรูย้ ่อยท่ี 2 2) ใชอ้ ปุ กรณต์ ามขนั้ ตอน เกบ็ อปุ กรณก์ ารลา้ งหอ้ งนา้ 3) การใชอ้ ปุ กรณร์ ่วมกนั หลายชนิ้ 4) การดแู ลอปุ กรณข์ ณะใช้ 5) การเกบ็ อปุ กรณ์ ดำ้ นคุณลักษณะอันพงึ ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอัน ประสงค์ พงึ ประสงค์ 1) ฟังคาส่งั เป็น เด็กมีพฤติกรรมตงั้ ใจ 2) รบั รูแ้ ละยอมรบั และสนใจในการทางาน 3) ปฏิบตั ิตาม ทกุ ขนั้ ตอน 4) อดทนทางานจนเสรจ็ 5) ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกิด กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื 6) เพลดิ เพลินขณะทางาน 7) เจตคติท่ดี ีและถกู ตอ้ งตอ่ การทาความสะอาด เครอ่ื งใชใ้ นครวั เรือน 8) ช่นื ชมผลงาน

33 2. สอื่ กำรเรียนรู้และเทคโนโลยีสิ่งอำนวยควำมสะดวก ส่ือการเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกท่ีกาหนดไวส้ าหรบั จัดกิจกรรมตาม หลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบ้านสาหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทาง สติปัญญา ประกอบดว้ ย 1. สื่อของจรงิ ซ่งึ เป็นอปุ กรณใ์ นการทางานท่ีใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ของผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล ดงั นี้ 3.1 หน่วยการเรียนรูบ้ า้ นของฉนั น่าอยู่ เชน่ ไมก้ วาด ไมถ้ ู ผา้ ขรี้ วิ้ เป็นตน้ 3.2 หน่วยการเรียนรูอ้ าหารของฉนั นา่ กิน เชน่ กระทะไฟฟ้า ตะหลิว เป็นตน้ 3.3 หน่วยการเรียนรูถ้ ว้ ยจานของฉันน่าหยิบใช้ เช่น นา้ ยาลา้ งจาน แกว้ นา้ ถว้ ยจาน เป็นตน้ 3.4 หน่วยการเรียนรูเ้ สือ้ ผา้ ของฉันน่าสวมใส่ เช่น นา้ ยาซกั ผา้ กาละมัง เคร่ืองซกั ผา้ เป็นตน้ 3.5 หนว่ ยการเรียนรูห้ อ้ งนา้ ของฉนั สะอาดจงั เช่น นา้ ยาลา้ งหอ้ งนา้ แปรงขดั สว้ มแบบ น่งั ยอง สว้ มแบบน่งั ราบ เป็นตน้ 2. สือ่ สนบั สนนุ การเรียนรูผ้ ่านการมองหรือสื่อทางสายตา รวมทงั้ ปา้ ยกระดานสือ่ สาร 3. ส่อื การสอนออนไลน์ เช่น นทิ าน เพลงในแอพพลเิ คช่นั ยทู ปู เป็นตน้ 3. แหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรียนรูท้ ่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีตามหลักสูตรเพ่ือเสริมสรา้ งทักษะการ ดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ใชส้ ถานท่ีในสถานศึกษาโดย การจาลองหอ้ งเรียนใหเ้ สมือนบา้ นของผเู้ รียนเป็นรายบุคคล และเนน้ การลงมือการทางานจริงใน สถานการณจ์ รงิ ดงั นี้ 1. หน่วยการเรียนรู้บ้านของฉันน่าอยู่ จาลองห้องเรียนให้ผู้เรียนได้ทาความสะอาด หอ้ งนอน หอ้ งรบั แขก หอ้ งครวั 2. หน่วยการเรียนรู้อาหารของฉันน่ากิน ให้ผู้เรียนเลือกทาอาหารท่ีตนเองชอบ คือ การทาไข่เจยี วในหอ้ งครวั กอ่ นมอื้ อาหารกลางวนั

34 3. หน่วยการเรียนรูถ้ ว้ ยจานของฉันน่าหยิบใช้ ใหผ้ ูเ้ รียนลา้ งแกว้ นา้ ชอ้ น สอ้ ม ถว้ ยและ จานท่ตี นเองใชห้ ลงั รบั ประทานอาหารกลางวนั ท่โี รงอาหาร 4. หนว่ ยการเรียนรูเ้ สือ้ ผา้ ของฉนั น่าสวมใส่ ใหผ้ เู้ รียนนาเสอื้ ผา้ ท่ใี ส่แลว้ ของตนเองมาจาก บา้ นเพ่ือซกั ดว้ ยวิธีการท่ีเป็นจริงของตนเองในบา้ นจาลอง ไดแ้ ก่ การซกั ดว้ ยเครื่องซกั ผา้ ประเภท เดียวกบั ท่บี า้ นของผเู้ รียน 5. หน่วยการเรียนรูห้ อ้ งนา้ ของฉันสะอาดจงั ใหผ้ ูเ้ รียนลงมือลา้ งหอ้ งนา้ ในหอ้ งเรียนของ ตนเองหรือหอ้ งนา้ ในบรเิ วณสถานศกึ ษาตามลกั ษณะของสว้ มท่ใี ชท้ ่ีบา้ นของผเู้ รียน

35 บทที่ 4 กำรวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามหลักสูตรเพ่ือเสริมสร้างทักษะการ ดารงชวี ติ อสิ ระในบา้ นสาหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา มกี ารดาเนินการ 3 ระยะ ดงั นี้ ระยะท่ี 1 การประเมินก่อนเรียน มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือประเมินความสามารถพืน้ ฐานของ ผเู้ รียน เพ่ือนามาวางแผนการจดั แผนการเรียนรูข้ องผเู้ รียนแต่ละคน โดยใชแ้ บบประเมินก่อนและ หลงั การเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ซ่งึ มเี กณฑก์ ารประเมนิ 5 ระดบั และเกณฑก์ ารวดั ผลประเมนิ ผล 5 ระดบั ดงั นี้ เกณฑก์ ารประเมิน 4 หมายถงึ ทาไดเ้ อง 3 หมายถงึ ทาได้ โดยมีผใู้ หญ่ช่วยกระตนุ้ เตือนดว้ ยวาจา 2 หมายถึง ทาได้ โดยมผี ใู้ หญ่ช่วยกระตนุ้ เตือนดว้ ยท่าทาง 1 หมายถึง ทาได้ โดยมผี ใู้ หญ่ชว่ ยกระตนุ้ เตือนทางกาย 0 หมายถึง ไม่ยอมทาหรือทาไม่ได้ เกณฑก์ ารวดั ผลประเมนิ ผล ผา่ น รอ้ ยละ 80 - 100 หมายถงึ ดเี ย่ยี ม ผ่าน รอ้ ยละ 70 - 79 หมายถงึ ดีมาก ผ่าน รอ้ ยละ 60 - 69 หมายถึง ดี ไม่ผา่ น รอ้ ยละ 50 - 59 หมายถงึ พอใช้ ไมผ่ า่ น รอ้ ยละ 0 - 49 หมายถงึ ปรบั ปรุง

36 ระยะท่ี 2 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการประเมินระหว่างการเรียนการสอนเพ่ือ พฒั นาการเรียนรูเ้ ป็นการวดั และประเมินผลเพ่อื การพฒั นา (Formative Assessment) ท่เี กิดขนึ้ ใน ห้องเรียนทุกวัน เป็นการประเมินเพ่ือให้รูจ้ ุดเด่น จุดท่ีต้องปรับปรุง จึงเป็นข้อมูลเพ่ือใช้ใน การพัฒนาในการเก็บขอ้ มูล ผูส้ อนตอ้ งใชว้ ิธีการและเครื่องมือการประเมินท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การชักถาม เป็นตน้ ในระยะนีใ้ ชแ้ บบประเมินตามสภาพจริงการเสริมสรา้ งทักษะ การดารงชีวิตอิสระในบา้ นสาหรบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา มีการประเมินตามสภาพ จริงใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ประเมินความรู้ (K: Knowledge) ประเมินทักษะกระบวนการ (P: Practice) และประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A: Attribute) ดงั นี้ การประเมินความรู้ มีเกณฑก์ ารพิจารณาสาหรบั การตดั สินเพ่ือใหค้ ะแนนสาหรบั ผตู้ รวจ 5 ระดบั ดงั นี้ ระดบั คะแนน ความรู้ 0 บอกหรอื ชีอ้ ปุ กรณห์ รอื ขนั้ ตอนการทางานหรอื วิธีการเก็บอปุ กรณไ์ มไ่ ดเ้ ลย 1 บอกหรือชีอ้ ปุ กรณห์ รอื ขนั้ ตอนการทางานหรือวธิ ีการเก็บอปุ กรณไ์ ดบ้ า้ ง 2 บอกหรือชีอ้ ุปกรณห์ รือขัน้ ตอนการทางานหรือวิธีการเก็บอุปกรณไ์ ด้คร่ึงหนึ่ง ของภาพทงั้ หมด 3 บ อ ก ห รื อ ชี้อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ ขั้ น ต อ น ก า ร ท า ง า น ห รื อ วิ ธี ก า ร เ ก็ บ อุ ป ก ร ณ์ ไ ด้ เป็นสว่ นใหญ่ 4 บอกหรอื ชอี้ ปุ กรณห์ รอื ขนั้ ตอนการทางานหรือวธิ ีการเก็บอปุ กรณไ์ ดท้ กุ ภาพ

37 การประเมินทักษะกระบวนการ มีเกณฑก์ ารพิจารณาสาหรบั การตัดสินเพ่ือให้ คะแนนสาหรบั ผตู้ รวจ 5 ระดบั ดงั นี้ ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการ 0 ไมย่ อมทาหรอื ทาไมไ่ ด้ 1 ทาได้ โดยมผี ใู้ หญ่ชว่ ยกระตนุ้ เตือนทางกาย 2 ทาได้ โดยมีผใู้ หญ่ช่วยกระตนุ้ เตือนดว้ ยทา่ ทาง 3 ทาได้ โดยมผี ใู้ หญ่ชว่ ยกระตนุ้ เตือนดว้ ยวาจา 4 ทาไดเ้ อง การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มีเกณฑก์ ารพิจารณาสาหรบั การตัดสิน เพ่อื ใหค้ ะแนนสาหรบั ผตู้ รวจ 5 ระดบั ดงั นี้ ระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 0 เฉ่ือย ไม่ยอมทา 1 ทาตามครูโดยไมข่ ดั ขืน เม่อื ครูชกั ชวน 2 สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมโดยครูไมต่ อ้ งชกั ชวน 3 ตงั้ ใจดู พยายามทาตามแบบ ตอบเม่อื ครูถามหรอื ถามครูเพ่อื ใหค้ รูแนะ 4 กระตอื รือรน้ นาเพ่อื น เป็นแบบอย่างใหเ้ พ่อื น ระยะท่ี 3 เป็นการวัดและประเมินผลเพ่ือตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผล การเรียนรู้ (Summative Assessment) การประเมินเพ่อื ตดั สนิ ผลการเรียนท่ดี ี ตอ้ งใหโ้ อกาสผเู้ รียน แสดงความรูค้ วามสามารถดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลายและพิจารณาตดั สินบนพืน้ ฐานของเกณฑผ์ ล การปฏิบตั ิมากกว่าใชเ้ ปรียบเทียบระหว่างผเู้ รียน การวดั ผลในระยะท่ี 3 นี้ ใชแ้ บบประเมินเดียวกบั ระยะท่ี 1 เพ่อื เปรยี บเทียบผลก่อนและหลงั เรียน

38 เอกสำรอำ้ งองิ AAIDD. (2017). Diagnostic Adaptive Behavior Scale. Retrieved from https://aaidd.org/intellectual-disability/definition American Psychiatric Association. (2013). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders : DSM-5TM Bangkok: iGroup Press. Bright Hub Education. (2010?). Understanding the Meaning of Adaptive Skills for Special Education Students. Retrieved from https://www.brighthubeducation.com/special-ed-learning-disorders/73324- improving-adaptives-skills-in-students-with-intellectual-disabilities Joyce, B.R., & Weil, M. (2009). Models of Teaching. 6th ed. Boston: Allyn; & Bacon. National Professional Development Center on ASD. ( 2010) . Task Analysis: Steps for Implementation. Retrieved from https://autismpdc.fpg.unc.edu/sites/autismpdc.fpg.unc.edu/files/TaskAnalyisSt eps_0.pdf Wehman, P. (2013). Life Beyond the Classroom: Transition Strategies for Young People with Disabilities. (5th ed.). Pual H. Brookes Publishing. Baltimore, Maryland. Wehman, P., & Kregel, J. (2012). Functional Curriculum for Elementary, Middle, and Secondary Age Students with Special Needs (3th ed.). Austin, Texas: Proed an International Publisher. Wehman, P., & Kregel, J. (2020). Functional Curriculum for Elementary and Secondary Students with Special Needs. (4th ed.). Austin, Texas: Proed an International Publisher. กลุ ยา กอ่ สวุ รรณ, และ ยวุ ดี วริ ยิ างกรู . (2560). การสอนและการชว่ ยเหลือบคุ คลทมี่ ีความ บกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา. เชียงใหม่: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลบั เชียงใหม.่

39 เอกสำรอำ้ งองิ (ตอ่ ) คณะกรรมการอิสระเพ่อื การปฏริ ูปการศกึ ษาและสานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. 2562. การจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะเชงิ รุก. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการอิสระเพ่อื การปฏริ ูป การศกึ ษาและสานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา สืบคน้ จาก https://drive.google.com/file/d/1WeVeLg5YEhwesxM0npXdm0vBr5RHWZto/vie w ทศิ นา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน องค์ความรูเ้ พอื่ การจดั กระบวนการเรียนรูท้ มี่ ี ประสทิ ธิภาพ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 21). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ยวุ ดี วิรยิ างกรู , ภทรา นาพนงั และ วนดิ า สนิ เบญจพงศ.์ (2561). การจดั การพฤตกิ รรมสาหรบั ครู การศกึ ษาพเิ ศษ. เชียงใหม่: ลีโอมเี ดียดไี ซน.์ สมเกตุ อทุ ธโยธา. (2560). การเรยี นรวมสาหรบั เดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการพเิ ศษในโรงเรยี นปกติ. (พมิ พ์ ครง้ั ท่ี 13). เซียงใหม:่ อินฟอรเ์ มช่นั เทคโนโลย.ี สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ. (2561). การจดั การศกึ ษาสาหรบั บุคคลท่ีมีความบกพร่องทาง สติปัญญา. ชุดเอกสารศึกษาด้วยตนเอง เล่มที่ 9 วิชาความรู้พืน้ ฐานด้านการจัด การศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารหรือผเู้ รียนทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ. เอกสารอดั สาเนา.