Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Published by Lampang special education center, 2021-11-04 02:35:09

Description: หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

หยิบสงิ่ ของ ทซี่ อื้ แลว้ คิดวา่ ค้มุ คา่ ทสี่ ุดกบั เงินทีเ่ สยี ไป 1 นาที

หยบิ สิง่ ของ ทซี่ อื้ แลว้ คิดวา่ ไม่คุ้มค่าทสี่ ดุ กับเงินทเี่ สียไป 1 นาที

คุณรู้หรือไม่ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2504-2509 วกิ ฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 หรือ เรียกทวั่ ไปในประเทศไทยวา่ “วกิ ฤตตม้ ยากงุ้ ” แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) เป็นแผนท่ีไดอ้ ญั เชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระ ราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มาเป็นปรัชญานาทางใน การพฒั นาและบริหารประเทศ

พืน้ ฐานของการพฒั นาประเทศ “...ในการพฒั นาประเทศน้ันจาเป็ นต้องทาตามลาดับขนั้ ตอน เริ่มด้วยการสร้างพนื้ ฐาน คอื วคิชวาามเมมื่อีกพนิ น้ืมฐีใชา้นขอเกงิดปครวะาชมามช่ันนกค่องพนอดค้ววยรวแิธลีก้วารจทึงคปี่ ่อรยะสหรย้าัดงรเสะมริมัดคระววามังเแจตร่ถิญกู อตย้อ่างงตคา่อมยหเปล็ นัก ค่อยไปตามลาดับ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และประหยัด เพื่อป้องกันความ ผิดพลาดล้มเหลว และเพอื่ ให้บรรลผุ ลสาเร็จได้แน่นอนบริบรู ณ์...” พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ 6

พออยู่ พอใช้ พออก พอใจ พอมี พอกนิ

กรอบแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญาทีช่ ้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนในทางที่ควรของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ รวมถงึ การพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง เพือ่ ความมนั่ คง และยง่ั ยนื โดยเฉพาะการ พฒั นาเศรษฐกิจเพือ่ ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์ ทางสายกลาง  พอเพียง เป้าหมาย มุ่งใหเ้ กิดความสมดุลของกระบวนการพฒั นาทุกมิติและพร้อมต่อการรองรับการ เปล่ยี นแปลงท่ีรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั ทางเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรม พอประมาณ จากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยมุ่งสู่ความสุขอยา่ งยงั่ ยนื หลกั การ มีเหตผุ ล มภี มู ิค้มุ กนั ในตวั ท่ีดี สร้างความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีต่อผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน เงอ่ื นไขความรู้ เง่อื นไขคณุ ธรรม เง่ือนไขพืน้ ฐาน (ความรู้คู่คุณธรรม) อาศยั ความรอบรู้ ความระมดั ระวงั และความรอบคอบในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ อดทน เพยี ร มสี ติ ปัญญา ในการวางแผน และการดาเนินการทุกข้นั ตอน รวมถึงการเสริมสร้างจิตใจของคนใน ชาติทุกระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสตั ย์ สุจริต และใหม้ ีความรอบรู้ที่ นำสู่ เหมาะสม ดาเนินชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ สมดลุ และพรอ้ มรบั ต่อการเปลี่ยนแปลงในดา้ นวตั ถุ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม 8



















เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็ นแนวทางประพฤตปิ ฏิบัตเิ พ่ือการดารงอยู่อย่างมคี วามสุขตาม ศักยภาพของตนเอง (ทาอะไรให้เหมาะสมกบั ฐานะของตัวเอง) รู้จกั ประหยดั รู้จกั ใช้ ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด ใช้อย่างระวงั รอบคอบ ไม่ก่อให้เกดิ ปัญหาและ ผลกระทบให้แก่ตนเอง และผู้อ่ืน



การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผสู้ อน ความพอประมาณ ใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสมกบั เน้ือหาท่ีสอน การเรียนการสอนมคี วาม เหมาะสมกบั ความสนใจและศกั ยภาพผเู้ รียน และใชส้ ื่อที่เหมาะสม ใชง้ บประมาณท่ี เหมาะสมกบั บริบทการเรียนการสอนที่เหมาะสม ความมีเหตุมีผล มีจุดประสงคแ์ ละเหตุผลในการจดั การเรียนรู้ตรงตามคุณภาพผเู้ รียน ก่อใหเ้ กิดลกั ษณะท่ีพึงประสงคอ์ ยา่ งมีเหตุ มีผล มุ่งใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิแก่ผเู้ รียน ภูมิคุ้มกัน มีแผนการจดั การเรียนรู้ ครูมีทักษะในกระบวนการแกป้ ัญหา มีแผน สารองสาหรับรองรับเหตฉุ ุกเฉิน 20

การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผสู้ อน เงื่อนไขความรู้ ครูตอ้ งมีความรู้เรื่องการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ มีความรู้เร่ืองหลกั สูตร เน้ือหาท่ี จะจัดการเรียนรู้ รู้เร่ืองรูปแบบ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ การเลือกใช้ส่ือท่ี เหมาะสม การวดั ผลและประเมินผลที่หลากหลายตรงตามสภาพจริง มีความรู้ในการใช้ เทคโนโลยใี หม่ๆ เงื่อนไขคุณธรรม ครูตอ้ งมีความรับผิดชอบ เป็ นมืออาชีพ มีความขยนั ใช้สติปัญญาในการแกไ้ ข ปัญหาเก่ียวกบั การเรียนการสอน ใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้มาแนะนาเด็ก มีเมตตาธรรม มีความ ซ่ือสัตย์ สุจริต 21

กจิ กรรม ยกตวั อย่างการใช้ ชีวติ ประจาวนั โดยให้เช่ือมโยงกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั 3 ห่วง 2 เงื่อนไข และนาเสนอ (10 นาท)ี

พกั เบรค 15 นาที

เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกจิ พอเพยี งและแนวปฏบิ ตั ขิ องทฤษฏีใหม่ เป็ นแนวทางการ พฒั นาทน่ี าไปสู่ความสามารถในการพง่ึ ตนเองในระดบั ต่าง ๆ อย่างเป็ นข้นั ตอน



เศรษฐกจิ พอเพยี ง มี 2 รูปแบบ คือ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบพืน้ ฐาน คือ ความ พอมพี อกนิ สามารถพง่ึ ตนเองได้โดยไม่โลภมาก และไม่เบียดเบียนคนอ่ืน 2. เศรษฐกิจพอเพยี งแบบก้าวหน้า คือ การแลกเปลี่ยนร่วมมือช่วยเหลือกัน เพ่ือทาให้ ส่วนรวมได้รับประโยชน์ และนาไปสู่การพฒั นา ชุมชนและสังคมให้เจริญอย่างยงั่ ยืน

ทฤษฎใี หม่ข้นั ท่ี 1



ทฤษฏีใหม่ข้ันที่ 2 1.การผลติ เม่ือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ 5.สังคมและ 2.การตลาด ปฏิบตั ิในท่ีดินของตนจนไดผ้ ลแล้ว ก็ตอ้ ง ศาสนา เร่ิมข้นั ที่สอง คือ ใหเ้ กษตรกรรวมพลงั กนั ในรูปแบบกลุ่ม หรือสหกรณ์ โดยได้รับ 4.การศึกษา 3.สวัสดิการ ความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชนในการ ดาเนินการ ร่วมแรง ร่วมใจกนั ดาเนินการ ในดา้ น- การผลิต -การตลาด - ความเป็ นอยู่ สวสั ดิการ -การศึกษา -สังคมและศาสนา

ทฤษฏใี หม่ข้ันที่ 3 เ ม่ื อ ด า เ นิ น ก า ร ผ่ า น พ ้น ข้ ัน ที่ ส อ ง แ ล้ว เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรควรพฒั นากา้ วหน้า ไปสู่ข้นั ที่สามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อ จดั หาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพฒั นา คุณภาพชีวิต ท้ังน้ี ท้ังฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ าย ธนาคารกบั บริษทั จะไดร้ ับประโยชนร์ ่วมกนั







พวกเราจะเลือกหานา้ ใส่ตุ่มหรือจะอุดรูร่ัวตุ่มก่อน ??? หวย ดอกเบีย้

อา้ งอิง มูลนิธิชยั พฒั นา • https://www.chaipat.or.th/2010-06-03-03-39-51/item/1302-2010-06-03-05-49-42.html สานกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ (สานกั งาน กปร.) • http://www.rdpb.go.th/th/Projects สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร • https://www.oae.go.th/ มูลนิธิปิ ดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาริสถาบนั ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปิ ดทองหลงั พระ สืบสาน แนวพระราชดาริ • http://www.pidthong.org/philosophy.php#.YX9tCZ5Bw2w


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook