Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา

Published by id.tee789, 2020-07-14 10:55:10

Description: วันอาสาฬหบูชา

Search

Read the Text Version

วนั อาสาฬหบูชา สำหรับพุทธศาสนกิ ชนทกุ คน คงทราบกนั ดวี า่ ทุกวนั ขึน้ 15 คำ่ เดอื น 8 ของทุกปีท้ังนี้ คำวา่ \"อาสาฬหบูชา\" สามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ อา-สาน-หะ-บ-ู ชา หรือ อา-สา-ละ-หะ-บ-ู ชา ซึ่งจะประกอบด้วยคำ 2 คำ คือ อาสาฬห ที่แปลว่า เดือน 8 ทางจันทรคติ กับคำว่า บูชา ทแี่ ปลวา่ การบชู า เม่ือนำมารวมกนั จงึ แปลวา่ การบชู าในเดอื น 8 หรือการบชู าเพอื่ ระลกึ ถึง เหตุการณส์ ำคญั ในเดอื น 8 วนั อาสาฬหบูชา คือวันที่ พระพทุ ธเจ้า ไดท้ รงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นคร้ังแรก หลังจากตรัสรู้ได้ 2 เดือน โดยแสดงปฐมเทศนาโปรด พระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ที่ป่าอิสิปตน มฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ จนพระอัญญาโกณฑัญญะ ได้บรรลุธรรมและขอบวช เปน็ พระภกิ ษุรปู แรกในพระพุทธศาสนา จงึ ถอื ว่าวนั นม้ี ีพระรตั นตรยั ครบองคส์ ามบริบูรณค์ ร้ัง แรกในโลก คือ มีทั้ง พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อน พุทธศกั ราช 45 ปี พระธรรมท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงแก่ ปญั จวคั คียท์ ั้ง 5 เรยี กว่า \"ธมั มจกั กปั ปวัตนสูตร\" แปลว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม ซึ่งหลังจากปฐมเทศนา หรือเทศนากัณฑ์แรกท่ี พระองคท์ รงแสดงจบลง พระอัญญาโกณฑญั ญะกไ็ ด้ดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเปน็ พระโสดาบนั จึงขออปุ สมบทเป็นพระภิกษใุ นพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้ากไ็ ด้ประทานอุปสมบทใหด้ ้วยวธิ ี ที่เรียกว่า \"เอหิภิกขุอุปสัมปทา\" พระโกณฑัญญะ จึงได้เป็น พระอริยสงฆ์องค์แรกใน พระพุทธศาสนา ต่อมา พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตา เห็นธรรม และได้อุปสมบทตามลำดับ

สำหรับใจความสำคญั ของการปฐมเทศนา มีหลักธรรมสำคญั 2 ประการ คือ 1. มชั ฌมิ าปฏิปทา หรือทางสายกลาง เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ กลาง ๆ ถูกตอ้ งและ เหมาะสมที่จะใหบ้ รรลถุ งึ จุดหมายได้ มใิ ชก่ ารดำเนินชีวิตท่เี อียงสดุ 2 อย่าง หรืออยา่ งหน่ึง อย่างใด คอื การหมกม่นุ ในความสขุ ทางกาย มวั เมาในรปู รส กลนิ่ เสยี ง รวมความเรยี กวา่ เป็น การหลงเพลิดเพลินหมกมนุ่ ในกามสุข หรอื กามสขุ ัลลกิ านโุ ยค การสร้างความลำบากแก่ตน ดำเนินชีวิตอย่างเลื่อนลอย เชน่ บำเพ็ญตบะการ ทรมานตน คอยพึ่งอำนาจสิ่งศักดส์ิ ทิ ธ์ิ เปน็ ต้น ซง่ึ การดำเนินชวี ิตแบบที่ก่อความทุกขใ์ ห้ตน เหน่อื ยแรงกาย แรงสมอง แรงความคดิ รวมเรียกว่า อัตตกิลมถานโุ ยค ซ่งึ เป็นการดำเนิน ชีวิตดว้ ยปญั ญา โดยมหี ลักปฏิบตั เิ ป็นองคป์ ระกอบ 8 ประการ เรยี กวา่ อริยอฏั ฐงั คิกมัคค์ หรอื มรรคมอี งค์ 8 ได้แก่ 1. สัมมาทฏิ ฐิ เหน็ ชอบ คือ รู้เขา้ ใจถกู ตอ้ ง เหน็ ตามท่เี ป็นจรงิ 2. สัมมาสังกัปปะ ดำรชิ อบ คอื คดิ สุจรติ ตั้งใจทำสิง่ ท่ีดงี าม 3. สมั มาวาจา เจรจาชอบ คือ กลา่ วคำสจุ รติ 4. สัมมากมั มันตะ กระทำชอบ คอื ทำการทสี่ จุ ริต 5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสมั มาชีพหรืออาชพี ท่ีสุจรติ 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชัว่ บำเพญ็ ดี 7. สมั มาสติ ระลกึ ชอบ คือ ทำการดว้ ยจติ สำนึกเสมอ ไมเ่ ผลอพลาด 8. สมั มาสมาธิ ตง้ั จิตมนั่ ชอบ คอื คุมจติ ใหแ้ น่วแน่ม่ันคงไมฟ่ งุ้ ซา่ น

2. อรยิ สัจ 4 แปลว่า ความจริงอนั ประเสริฐของอรยิ ะ ซงึ่ คือบคุ คลที่ห่างไกลจากกิเลส ไดแ้ ก่ 1. ทุกข์ ได้แก่ ปัญหาทัง้ หลายทเี่ กิดข้นึ กับมนุษย์ บุคคลต้องกำหนดร้ใู หเ้ ท่าทันตาม ความเป็นจรงิ วา่ มนั คอื อะไร ตอ้ งยอมรบั รู้ กล้าสูห้ น้าปญั หา กลา้ เผชญิ ความจรงิ ต้องเขา้ ใจใน สภาวะโลกว่าทกุ สิง่ ไมเ่ ทย่ี ง มกี ารเปลย่ี นแปลงไปเปน็ อยา่ งอน่ื ไมย่ ึดตดิ 2. สมทุ ัย ได้แก่ เหตเุ กดิ แหง่ ทกุ ข์ หรอื สาเหตขุ องปัญหา ตัวการสำคัญของทุกข์ คือ ตัณหาหรอื เสน้ เชือกแห่งความอยากซง่ึ สัมพันธ์กับปัจจยั อน่ื ๆ 3. นโิ รธ ไดแ้ ก่ ความดับทุกข์ เร่ิมดว้ ยชวี ติ ท่อี ิสระ อยอู่ ย่างร้เู ทา่ ทันโลกและชวี ติ ดำเนินชวี ิตด้วยการใชป้ ัญญา 4. มรรค ไดแ้ ก่ กระบวนวธิ แี หง่ การแกป้ ัญหา อนั ไดแ้ ก่ มรรคมอี งค์ 8 ประการ ดงั กลา่ วข้างต้น กิจกรรมวนั อาสาฬหบูชา พธิ ีกรรมโดยทว่ั ไปทีน่ ิยมกระทำในวันน้ี คอื การทำบุญ ตกั บาตร รกั ษาศลี ฟังพระ ธรรมเทศนา และสวดมนต์ ในตอนค่ำกจ็ ะมีการเวยี นเทยี นที่เป็นการสบื ทอดประเพณีอันดี งามของไทยเรา ดังนน้ั พทุ ธศาสนิกชนทั้งหลายควรเขา้ วดั เพอื่ นอ้ มระลกึ ถงึ คณุ พระรัตนตรัย อีกท้งั ยังเปน็ การชว่ ยชะล้างจิตใจให้ปลอดโปรง่ ผ่องใส จะได้มีร่างกายและจิตใจท่ีพรอ้ ม สำหรบั การดำเนินชวี ติ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook